Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore TFEX_InvestorsPracticeGuide2018

TFEX_InvestorsPracticeGuide2018

Published by Stock Virgin, 2019-12-30 12:10:20

Description: TFEX_InvestorsPracticeGuide2018

Search

Read the Text Version

ค่มู ือผ้ลู งทนุ ฉบับลงทุนในอนุพนั ธ์ Derivatives



ช่ือเอกสาร Investor’s Practice Guide ค่มู อื ผู้ลงทุน ฉบบั ลงทนุ ในอนุพนั ธ์ ผแู้ ตง่ กฤติยา สุทธิชน่ื และอลิศรา ฮวั วานิช กองบรรณาธกิ าร ปยิ าภรณ์ ครองจันทร์ พงษพ์ นั ธ์ พลู เพมิ่ และอจั ฉราภร ศรีสุโข จดั ทำ�โดย ฝ่ายพฒั นาความรู้ผู้ลงทนุ ศูนยส์ ง่ เสรมิ การพัฒนาความรตู้ ลาดทนุ (TSI) ตลาดหลกั ทรัพย์แหง่ ประเทศไทย เลขที่ 93 ถนนรชั ดาภิเษก แขวงดินแดง เขตดนิ แดง กรงุ เทพฯ 10400 โทรศัพท์ 0 2009 9999 โทรสาร 0 2009 9991 เว็บไซต ์ www.set.or.th/education พิมพ์ครัง้ ที่ 1 พฤศจกิ ายน 2555 จ�ำ นวน 10,000 เล่ม พมิ พค์ รั้งท่ี 2 ธันวาคม 2555 จำ�นวน 20,000 เล่ม พิมพค์ ร้งั ท่ี 3 พฤศจิกายน 2557 จำ�นวน 5,000 เล่ม จ�ำ นวนหน้า 82 หน้า (รวมปก) ลขิ สทิ ธขิ์ องตลาดหลกั ทรัพยแ์ หง่ ประเทศไทย สงวนสทิ ธิ์ ห้ามลอกเลยี นแบบไม่ว่าสว่ นใดส่วนหน่งึ ของ หนงั สือ นอกจากจะได้รบั อนญุ าต

Contents สารบญั 06 อนุพนั ธ.์ .. ขึ้นก็ใช่ ลงก็ชอบ 08 รจู้ กั อนพุ ันธส์ กั นิด กอ่ นคดิ เทรด 30 เช็คความพร้อมกอ่ นลงทุนในอนุพันธ์ 32 ขน้ั ตอนการลงทุนในอนุพันธ์ กำ�หนดเปา้ หมายและระยะเวลาลงทุน  คาดการณท์ ศิ ทางราคาสินค้าอ้างอิง  เลือกกลยุทธล์ งทุนทีเ่ หมาะสม ตัดสนิ ใจซื้อขาย หมัน่ เชค็ สถานะ และปดิ สถานะการลงทุน ประเมนิ ผลการลงทนุ และปรบั พอร์ตลงทนุ

52 ซอ้ื ขายอย่างม่นั ใจ ต้องเขา้ ใจกลไกตลาด 62 ตวั อย่างการลงทุนในอนพุ นั ธ์ 72 รู้จักหาความรู้ สรา้ งภูมคิ มุ้ กนั การลงทุน 74 ศัพท์อนพุ นั ธน์ า่ รู้ Derivatives

Lesson 1 อนุพนั ธ.์ .. ข้ึนก็ใช่ ลงก็ชอบ คุณเคยมองหา วิธีลงทนุ ทจ่ี ะท�ำ กำ�ไร ท้งั ในภาวะตลาดขาข้ึน และขาลงบ้างไหม? เชอื่ วา่ หลายคนคงเคยคดิ เชน่ น้ี เพราะโดยทว่ั ไปเรามกั จะไดก้ �ำ ไร กต็ อ่ เมอื่ ภาวะ เศรษฐกจิ ดหี รอื ตลาดอยใู่ นชว่ งขาขน้ึ แตห่ ากภาวะเศรษฐกจิ ถดถอยหรอื ตลาดอยใู่ น ชว่ งขาลง ผลู้ งทนุ อยา่ งเราๆ กจ็ ะอยใู่ นภาวะซบเซาตามไปดว้ ย เพราะไมส่ ามารถสรา้ ง ผลตอบแทนจากการลงทุนไดอ้ ยา่ งใจฝัน แถมดีไมด่ ี อาจขาดทนุ อกี ตา่ งหาก 06 Investor’s Practice Guide คู่มอื ผ้ลู งทนุ ฉบบั ลงทนุ ในอนุพนั ธ์

ถ้าเป็นเช่นนั้น... บอกได้คำ�เดียวว่าคุณไม่ควรพลาดที่จะลงทุนใน “อนุพันธ์” ซง่ึ ถกู ออกแบบมาเพอื่ ประโยชน์ในการบรหิ ารความเสย่ี งของพอรต์ การลงทนุ และเพมิ่ โอกาสในการสรา้ งผลตอบแทนจากการลงทนุ ใหส้ งู ขนึ้ ดว้ ยจ�ำ นวนเงนิ ลงทนุ ทน่ี อ้ ยกวา่ ท่ีส�ำ คัญ คอื สามารถทำ�ก�ำ ไรได้ในทกุ สภาวะ ไมว่ า่ ตลาดจะอย่ใู นชว่ งขาขนึ้ หรอื ขาลง อย่างไรก็ตาม แม้อนุพันธ์จะมีจุดเด่นตรงท่ีผู้ลงทุน “มีโอกาสได้กำ�ไร สูงมาก” ในทางกลบั กัน ผลู้ งทุนก็ “มโี อกาสขาดทุนสงู มาก” เชน่ กัน ดังนั้น กอ่ นที่ จะลงทุนในอนุพันธ์ คุณควรถามตนเองให้แน่ใจก่อนว่า... พร้อมที่จะเส่ียงมากน้อย แค่ไหน กล้าไดก้ ลา้ เสียเพยี งใด โดยคุณอาจทดลองทำ�แบบ ทดสอบระดับความเสี่ยงท่ียอมรับ ได้จากเว็บไซต์ SET Education ที่ www.set.or.th/education เพื่อประเมินดูว่าตนเองยอมรับความเส่ียง ได้มากน้อยขนาดไหน ซึ่งผลลัพธ์ท่ีได้ต้อง บอกวา่ “คุณยอมรบั ความเส่ยี งไดม้ าก” ถงึ จะเหมาะกบั การลงทนุ ในอนพุ นั ธ์ 07Investor’s Practice Guide คมู่ อื ผูล้ งทนุ ฉบบั ลงทุนในอนุพันธ์

Lesson 2 รจู้ กั อนพุ ันธ์สักนิด กอ่ นคดิ เทรด ก่อนที่จะไปทำ�ความรู้จักกับ “อนุพันธ์” เราลองมาดูตัวอย่างจากส่ิงใกล้ตัวที่ พบในชีวติ ประจ�ำ วนั ซ่ึงมลี ักษณะใกล้เคยี งกบั อนพุ ันธก์ นั ก่อนดกี วา่ สญั ญาซอื้ ขายบ้าน B เมื่อเราไปเลือกซื้อบ้านและเจอบ้านที่ถูกใจ เราจะทำ� สัญญาซื้อขายกับบริษัทที่เป็นเจ้าของโครงการ โดยวางเงิน ดาวน์ไว้จำ�นวนหน่ึงก่อน เช่น 100,000 บาท เพื่อเป็นหลัก ประกนั ว่าจะซื้อบ้านราคา 1,000,000 บาท ซง่ึ ก�ำ หนดจะแลว้ เสร็จและส่งมอบในอกี 6 เดอื นขา้ งหนา้ สัญญาซ้ือขายน้ีเทียบเคียงได้กับอนุพันธ์ เนื่องจาก เปน็ สญั ญาทจ่ี ะซอ้ื ขายบา้ นในเงอื่ นไขทตี่ กลงกนั โดยจะสง่ มอบ บ้านกันในอนาคต ซ่ึงมูลค่าของสัญญาขึ้นอยู่กับราคาบ้าน เช่น ราคาบา้ นและท่ีดินปรับข้ึนเป็น 1,200,000 บาท แตเ่ ราจะ สามารถซอื้ บา้ นได้ในราคาเพยี ง 1,000,000 บาท ตามทตี่ กลง กนั ไว้ จึงอาจกล่าวได้ว่า... มลู คา่ ของสัญญาซอ้ื ขายบา้ นเพ่มิ ขึน้ 200,000 บาท เมอื่ ราคาบา้ นเพม่ิ ข้นึ เป็น 1,200,000 บาท 08 Investor’s Practice Guide ค่มู อื ผลู้ งทนุ ฉบบั ลงทนุ ในอนพุ ันธ์

คปู อง ของโรงแรม ร้จู ักอนพุ ันธ์ สญั ญา สกั นดิ ซ้อื ขายบา้ น คูปองของโรงแรม coupon เมื่อเราไปเดินในงานมหกรรมไทยเที่ยวไทยและถูกใจราคา ห้องพักต่อคืนของโรงแรมแห่งหน่ึง ซ่ึงปกติจะอยู่ที่ 5,000 บาท ในช่วงฤดูท่องเท่ียว หรือ 3,000 บาท ในช่วงนอกฤดูท่องเที่ยว โดยโรงแรมแหง่ นเี้ สนอขายคปู องหอ้ งพกั ในราคาเพยี ง2,000บาท ซึ่งลูกค้าต้องจ่ายเงินค่ามัดจ�ำไว้ก่อน 500 บาท แต่สามารถ น�ำคูปองไปใช้ในชว่ งเวลาใดก็ไดต้ ลอดปี คูปองน้ีเทียบเคียงได้กับอนุพันธ์ เนื่องจากเป็นข้อตกลง ท่ีจะให้เข้าพักในโรงแรมตามราคาท่ีตกลงกัน โดยลูกค้ามีสิทธิ เลือกว่าจะใช้บริการในอนาคตหรือไม่ก็ได้ หากลูกค้าใช้คูปอง เข้าพักในช่วงฤดูท่องเที่ยว ก็หมายความว่าลูกค้าได้รับส่วนลด จากโรงแรม 3,000 บาท แต่หากลกู คา้ ยงุ่ จนลมื ไปว่าซื้อคูปองไว้ และไม่ไดเ้ ขา้ พกั ในโรงแรมเลย คปู องกจ็ ะหมดอายไุ ปโดยปรยิ าย 09Investor’s Practice Guide คู่มือผลู้ งทุน ฉบบั ลงทนุ ในอนุพนั ธ์

ความหมายของอนพุ ันธ์ ดงั น้ัน “อนุพนั ธ”์ (Derivatives) จึงเปน็ สญั ญาทางการเงินทท่ี ำ�ขน้ึ ในปจั จบุ ัน เพ่อื ตกลงซ้อื ขาย หรือใหส้ ิทธิในการซือ้ ขายสินค้าอ้างองิ ในอนาคต กลา่ วง่ายๆ คอื “ผู้ซือ้ ” และ “ผขู้ าย” ทำ�สญั ญาตกลงกนั วนั นว้ี า่ จะซอ้ื หรอื ขาย สนิ คา้ อา้ งองิ จ�ำ นวนกห่ี นว่ ย ที่ราคาเท่าใด แล้วจะสง่ มอบและช�ำ ระราคากนั เมอื่ ใด อนุพันธ์ ตกลงกนั สง่ มอบ+ชำ�ระเงิน ตกลงเง่ือนไขในวนั นี้ ส่งมอบและช�ำ ระเงนิ ในอนาคต “ผซู้ ้ือ” เรยี กว่า “มีสถานะซือ้ ” หรือ “Long Position” “ผ้ขู าย” เรยี กว่า “มสี ถานะขาย” หรอื “Short Position” “สนิ ค้าท่ตี กลงซอื้ ขายกัน” เรยี กวา่ “สนิ ค้าอ้างองิ ” หรือ “Underlying Asset” 10 Investor’s Practice Guide คมู่ อื ผู้ลงทนุ ฉบบั ลงทุนในอนพุ นั ธ์

จุดเด่นของอนพุ ันธ์ ลกั ษณะพื้นฐานทเี่ ป็นจุดเด่นของอนพุ นั ธ์มี 3 ประการ คอื 1 เป็นสินค้าท่ีไม่มมี ูลค่าในตัวเอง แตม่ มี ลู คา่ ขึน้ อยกู่ บั สนิ ค้าอนื่ ท่ีอนพุ ันธน์ ้นั อ้างอิงอยู่ สินค้าอ้างอิง หรือ Underlying Asset น้ัน อาจเป็นได้ท้ัง “สินค้าโภคภัณฑ์ ทสี่ ามารถจบั ตอ้ งไดจ้ รงิ ๆ” เชน่ ทองค�ำ นำ้� มนั โลหะเงนิ สนิ คา้ เกษตรตา่ งๆ หรอื อาจ เปน็ “สนิ คา้ ทางการเงนิ ” เชน่ หนุ้ สามญั พนั ธบตั ร อตั ราแลกเปลยี่ น อตั ราดอกเบยี้ ดชั นรี าคาหลกั ทรพั ย์ หรอื ดชั นที างการเงนิ ประเภทอนื่ ๆ ตามทอ่ี นพุ นั ธน์ น้ั ก�ำหนดไว้ หุ้นสามญั พนั ธบัตร ทองค�ำ น�้ำมนั ดิบ โลหะเงิน อตั ราแลกเปลี่ยน อตั ราดอกเบย้ี ขา้ ว ยางพารา ดชั นหี ลกั ทรพั ย์ ดัชนกี ารเงิน ประเภทอน่ื อนพุ ันธ์สินค้าโภคภณั ฑ์ (Commodity Derivatives) อนุพันธท์ างการเงิน (Financial Derivatives) 11Investor’s Practice Guide คู่มอื ผลู้ งทนุ ฉบบั ลงทนุ ในอนุพันธ์

2 ใชเ้ งินลงทุนนอ้ ย มโี อกาสได้อตั ราผลตอบแทนสงู เนอ่ื งจากผลู้ งทนุ ไมต่ อ้ งจา่ ยเงนิ เตม็ มลู คา่ สญั ญาเพยี งแคว่ างเงนิ หลกั ประกนั ประมาณ10-15%ของมลู คา่ สญั ญาทง้ั จ�ำ นวนกอ่ นซอื้ ขาย ดงั นน้ั ก�ำ ไรหรอื ขาดทนุ ทเี่ กดิ ขนึ้ กจ็ ะมสี ดั สว่ นทส่ี งู เมอ่ื เทยี บกบั เงนิ ลงทนุ ตง้ั ตน้ จงึ อาจกลา่ วไดว้ า่ ...อนพุ นั ธ์ อาจสร้าง “กำ�ไร” ได้สูงกว่าการซื้อขายสินค้าอ้างอิงโดยตรง ในทางตรงกันข้าม ก็อาจสร้าง “ผลขาดทุน” ที่สูงกวา่ การซอื้ ขายสนิ ค้าอา้ งอิงโดยตรงไดเ้ ช่นกัน ทองค�ำแท่ง น้�ำหนกั 10 บาท ลงทนุ โดยตรง ใช้เงินลงทนุ สูง อนุพันธ์ ทองค�ำแทง่ นำ้� หนัก 10 บาท ใช้เงินลงทนุ นอ้ ย อนพุ ันธ์ 3 มีอายุจ�ำ กดั อนพุ นั ธจ์ ะมกี าร“ก�ำ หนดวนั สน้ิ อายไุ วอ้ ยา่ งชดั เจน” เชน่ 1 เดอื น, 3 เดอื น, 6 เดือน เปน็ ต้น ซงึ่ อายุน้ีจะแตกตา่ ง mo3nth กนั ไปในแต่ละประเภทของสญั ญา 12 Investor’s Practice Guide คูม่ อื ผู้ลงทุน ฉบับลงทุนในอนพุ นั ธ์

ประเภทของสนิ ค้าท่ีซื้อขาย ในตลาดสัญญาซอื้ ขายล่วงหนา้ อนุพันธ์ท่ีซ้ือขายใน บริษัท ตลาดสัญญาซื้อขายล่วงหน้า (ประเทศไทย) จ�ำ กดั (มหาชน) หรือ Thailand Futures Exchange (TFEX) มี 2 ประเภทหลกั ๆ คอื “ฟิวเจอรส์ ” (Futures) และ “ออปชนั ” (Options) ฟิวเจอรส์ (Futures) Futures หรอื “สัญญาซ้ือขายลว่ งหน้า” เป็นสัญญาท่ี “ผู้ซื้อ” ตกลงว่าจะซ้ือสินค้า จากผู้ขาย ในขณะที่ “ผู้ขาย” ก็ตกลงที่จะขายสินค้า ให้กับผู้ซ้ือ โดยตกลงราคาที่จะซื้อขายกันตั้งแต่วันนี้ แตม่ กี �ำ หนดวา่ จะสง่ มอบสนิ คา้ ตามสญั ญาเพอ่ื แลกกบั การชำ�ระเงนิ ในอนาคต การซอื้ ขายฟวิ เจอรส์ ตอ้ งซอื้ ขายในตลาดสญั ญา ซื้อขายล่วงหน้าท่ีมีการจัดตั้งอย่างเป็นทางการ ซึ่ง ผู้ซ้ือและผู้ขายไม่จำ�เป็นต้องถือสัญญาไว้จนครบ กำ�หนด แต่อาจซื้อขายหรือเปล่ียนมือกันได้โดยผ่าน กลไกของตลาดสัญญาซ้อื ขายลว่ งหน้า เม่ือถึงเวลาท่ีกำ�หนด ผู้ซ้ือและผู้ขายมีพันธะ “ต้องซอ้ื ขาย” กนั ตามท่ีตกลงในสัญญา 13Investor’s Practice Guide คูม่ อื ผ้ลู งทุน ฉบบั ลงทุนในอนุพนั ธ์

ออปชัน (Options) Options หรอื “สญั ญาสิทธ”ิ เป็นสัญญาที่ผู้ซื้อได้รับ “สิทธิซ้ือ” หรือ “สิทธิขาย” สินค้าอ้างอิงในราคา เวลา และเง่ือนไข ตามทก่ี �ำ หนดไว้จากผู้ขาย หากซอ้ื “คอลออปชนั ” (Call Options) จะไดร้ บั “สิทธิซื้อ” จากผู้ขาย แต่ถ้าซื้อ “พุทออปชัน” (Put Options) กจ็ ะได้รบั “สิทธิขาย” จากผู้ขาย โดยผซู้ ือ้ “มสี ิทธจิ ะเลอื กใชส้ ิทธหิ รอื ไม่” ก็ได้ ใน ขณะที่ผูข้ ายมีภาระ “ตอ้ งปฏบิ ตั ิ” ตามพันธะในสัญญา โดยปจั จุบนั TFEX ไดเ้ ปดิ ใหม้ กี ารซ้อื ขายอนุพันธท์ ้ังสิ้น 10 ประเภทดว้ ยกนั ไดแ้ ก่ ฟิวเจอร์ส (Futures) สัญญาซื้อขายล่วงหน้าที่อ้างอิงกับ “ดัชนี SET50” ซง่ึ ค�ำ นวณมาจากราคาหนุ้ สามญั จดทะเบยี น ที่มีขนาดใหญ่ และมีสภาพคล่องสูงจำ�นวน 50 บริษัท โดยหุ้นท่ีนำ�มาคำ�นวณดัชนี SET50 จะมีการปรับ รายช่ือทุกๆ 6 เดือน เพื่อให้ได้หุ้นที่เป็น “ตัวใหญ่” และ “ยอดนิยม” เหมาะกับตลาดในขณะนนั้ จริงๆ 14 Investor’s Practice Guide คู่มอื ผูล้ งทนุ ฉบับลงทนุ ในอนพุ ันธ์

สัญญาซื้อขายล่วงหน้าทอ่ี า้ งองิ กับ “ดชั นหี มวด ธรุ กจิ ” ในตลาดหลกั ทรพั ยแ์ หง่ ประเทศไทยปจั จบุ นั เปดิ ใหม้ กี ารซอื้ ขายSectorFuturesใน5หมวดธรุ กจิ ไดแ้ ก่ ธนาคาร เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอ่ื สาร พลงั งาน พาณิชย์ อาหารและเครื่องด่ืม สัญญาซ้ือขายล่วงหน้าท่ีอ้างอิงกับ “ราคาหุ้น สามัญจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ” ซึ่ง TFEX จะคดั เลอื กหนุ้ จากหมวดอตุ สาหกรรมตา่ งๆ โดยจะเปน็ หนุ้ ที่มขี นาดใหญ่ มสี ภาพคลอ่ งสงู และมีความผนั ผวน ของของราคาพอสมควร 15Investor’s Practice Guide ค่มู ือผ้ลู งทุน ฉบบั ลงทนุ ในอนุพันธ์

สัญญาซ้ือขายล่วงหน้าท่ีอ้างอิงกับ “อัตรา แลกเปลี่ยนเงินบาทต่อเงินดอลล่าร์สหรัฐ” ซ่ึงเป็น สกุลเงินสำ�คัญที่ใช้ในการซ้ือขายสินค้าและบริการกัน ท่ัวโลก จึงเป็นเครื่องมือที่ใช้ในการป้องกันความเสี่ยง จากอัตราแลกเปลี่ยนได้เป็นอยา่ งดี สัญญาซื้อขายล่วงหน้าที่อ้างอิงกับ “อัตรา ดอกเบี้ย” ปัจจุบันเปิดให้มีการซ้ือขาย Interest Rate Futures ท่ีอา้ งอิงกับอตั ราดอกเบ้ยี 2 อัตรา ไดแ้ ก่ อตั ราดอกเบี้ย BIBOR ประเภท 3 เดือน พันธบตั รรฐั บาล อายุ 5 ปี สญั ญาซอ้ื ขายลว่ งหนา้ ทอ่ี า้ งองิ กบั “ราคาทองค�ำ แท่งทมี่ คี วามบรสิ ทุ ธิ์ 96.5%” ปจั จบุ นั เปดิ ให้มีการซ้ือ ขาย Gold Futures 2 ขนาด ไดแ้ ก่ ทองค�ำน้�ำหนกั 10 บาท (152.44 กรมั ) ทองค�ำน�้ำหนกั 50 บาท (762.20 กรัม) เพื่อให้ผู้ลงทุนสามารถท�ำก�ำไรได้ทั้งในภาวะ ราคาทองขาขน้ึ และราคาทองขาลง 16 Investor’s Practice Guide คู่มือผลู้ งทนุ ฉบบั ลงทนุ ในอนพุ นั ธ์

สญั ญาซอ้ื ขายลว่ งหนา้ ทอี่ า้ งองิ กบั “ราคาทองค�ำ แท่งที่มีความบริสุทธิ์ 99.5%” ซึ่งถูกออกแบบให้มี ราคาเสนอซ้ือขายเคลื่อนไหวตามราคาทองคำ�ใน ตลาดโลก และไมม่ ผี ลกระทบจากคา่ เงนิ ในการค�ำ นวณ กำ�ไรขาดทุน เพ่ืออำ�นวยความสะดวกให้ผู้ลงทุน สามารถติดตาม วิเคราะห์ราคา และซื้อขายได้ง่ายข้ึน โดยไม่มีการส่งมอบทองคำ�จริง แต่ใช้การชำ�ระราคา เปน็ เงินสด สัญญาซ้ือขายล่วงหน้าท่ีอ้างอิงกับ “ราคา ทองค�ำ แท่งทีม่ ีความบริสทุ ธ์ิ 99.99%” ซึง่ ก�ำ หนดให้มี การรบั มอบส่งมอบ (Physical Delivery) โดยซ้อื ขาย เปน็ สกลุ เงินดอลลารส์ หรฐั ฯ แตช่ ำ�ระราคาเปน็ เงนิ บาท เพิ่มโอกาสท�ำ ก�ำ ไรบนราคาทองค�ำ ได้อย่างมัน่ ใจ สัญญาซื้อขายล่วงหน้าที่อ้างอิงกับ “ราคายาง แผน่ รมควันชั้น 3” โดยก�ำ หนดให้มกี ารรับมอบสง่ มอบ (Physical Delivery) เป็นเครื่องมือท่ีช่วยเพ่ิมโอกาส ทำ�กำ�ไรหรือใช้ป้องกันความเส่ียงจากความผันผวน ของราคายางพารา ซ่ึงถือเป็นสินค้าท่ีมีความสำ�คัญ อย่างมากตอ่ การพฒั นาเศรษฐกจิ ของโลก 17Investor’s Practice Guide คู่มือผู้ลงทนุ ฉบบั ลงทนุ ในอนุพนั ธ์

ออปชัน (Options) สัญญาสิทธิที่อ้างอิงกับ “ดัชนี SET50” หรือ กล่าวง่ายๆ คอื เป็นสัญญาทผ่ี ้ซู ื้อได้ “สทิ ธิในการซอื้ ” หรอื “สทิ ธใิ นการขาย” ดชั นี SET50 ตามจ�ำ นวน ราคา และภายในระยะเวลาทต่ี กลงกนั ไว้ เมื่อรู้จักอนุพันธ์ทั้ง 10 ประเภทอย่างคร่าวๆ แล้ว ลองมาทำ�ความเข้าใจ “ลักษณะและเงือ่ นไขตา่ งๆ” (Contract Specification) ของสญั ญาแตล่ ะประเภท ซ่งึ TFEX ได้กำ�หนดไว้เปน็ มาตรฐานและประกาศใหผ้ ลู้ งทุนทราบโดยท่ัวกัน ทง้ั นี้ ผู้ลงทุนสามารถตดิ ตามสนิ ค้าใหมๆ่ และรายละเอียดเพ่มิ เติมอื่นๆ ไดจ้ าก เว็บไซต์ตลาดสญั ญาซอ้ื ขายล่วงหน้า www.tfex.co.th 18 Investor’s Practice Guide คมู่ ือผลู้ งทุน ฉบบั ลงทนุ ในอนพุ ันธ์

SET50 Futures หวั ขอ้ ลักษณะสัญญา สนิ ค้าอา้ งอิง ดชั นี SET50 ทีค่ ำ�นวณและเผยแพร่ โดยตลาดหลกั ทรัพยแ์ ห่งประเทศไทย ช่ือยอ่ สญั ญา S50 ตวั คูณดัชน ี 200 บาท ตอ่ 1 จดุ ของดชั นี เดือนที่สัญญา เดือนใกล้ 3 เดอื นตดิ ต่อกนั และเดอื น สิน้ สดุ อายุ สดุ ทา้ ยของไตรมาส ใน 3 ไตรมาสถัดไป ราคาเสนอซ้ือขาย เสนอซือ้ ขายเปน็ ระดับดชั นี ช่วงราคาซื้อขายขัน้ ต่�ำ 0.1 จุด (คิดเปน็ 20 บาทตอ่ สัญญา) ชว่ งการเปลีย่ นแปลง ±30% ของราคาทีใ่ ชช้ �ำ ระราคาล่าสุด ของราคาสูงสุดแต่ละวนั การจ�ำ กัดฐานะ ห้ามมฐี านะสทุ ธริ วมใน SET50 Futures และ SET50 Options เมือ่ ค�ำ นวณฐานะเทียบเท่า กับฐานะใน SET50 Futures ในเดือนใด เดือนหนึ่งหรือทุกเดือนรวมกันเกิน 100,000 สญั ญา วนั ซอ้ื ขายวันสุดทา้ ย วันทำ�การก่อนวันทำ�การสุดท้ายของเดือน ท่ีสัญญาส้ินสุดอายุ โดยสัญญาท่ีครบอายุ จะซอื้ ขายไดถ้ งึ เวลา 16.30 น. ราคาท่ีใชช้ ำ�ระราคา ค่าเฉล่ียของดัชนี SET50 ในวันซื้อขายวัน ในวันซอ้ื ขายสุดทา้ ย สุดท้าย โดยคำ�นวณจากค่าดัชนี SET50 ในช่วง 15 นาทีสุดท้าย และค่าดัชนีราคาปิด ของวันนั้น โดยตัดค่าที่มากที่สุด 3 ค่า และ คา่ ทีน่ อ้ ยท่ีสุด 3 คา่ ออก 19Investor’s Practice Guide คมู่ ือผู้ลงทนุ ฉบับลงทุนในอนุพนั ธ์

Sector Futures หวั ขอ้ ลกั ษณะสญั ญา สินคา้ อ้างอิง ดัชนีหมวดธุรกจิ ซ่งึ ค�ำ นวณและเผยแพร่ อาหาร โดยตลาดหลักทรพั ย์แหง่ ประเทศไทย ดังต่อไปนี้ และ เครอ่ื งดืม่ ธนาคาร เทคโนโลยี พลังงาน พาณชิ ย์ สารสนเทศ และการสอ่ื สาร ชือ่ ย่อสัญญา BANK ICT ENERG COMM FOOD ขนาดของสญั ญา 1 ,000 บาท 10 บาท ตอ่ 1 จุดของดัชนี ต่อ 1 จดุ ของดัชนี เดือนที่สัญญา มีนาคม มิถนุ ายน กนั ยายน และธนั วาคม ส้ินสุดอาย ุ โดยนับไปไมเ่ กิน 4 ไตรมาส ราคาเสนอซือ้ ขาย เสนอซอ้ื ขายเป็นระดบั ดัชนี ชว่ งราคาซ้อื ขายขั้นตำ�่ 0.1 จดุ ของดชั นี 1 จุดของดัชนี (คดิ เป็น 10 บาท (คดิ เปน็ 100 บาท ต่อสญั ญา) ตอ่ สัญญา) ชว่ งการเปลีย่ นแปลง ±30%ของราคาส�ำ หรบั การสง่ มอบหรอื ใชอ้ า้ งองิ เพอื่ ค�ำ นวณ ของราคาสงู สดุ แตล่ ะวนั สว่ นต่างของราคา เพื่อใช้ในการชำ�ระหนี้ประจำ�วันล่าสุด การจ�ำ กัดฐานะ ห้ามมีฐานะรวมสุทธิใน Sector Futures ท่ีอ้างอิงกับดัชนี หมวดธรุ กจิ ใดหมวดธุรกิจหนงึ่ ท่หี มดอายเุ ดอื นใดเดือนหนง่ึ หรอื ทกุ เดือนรวมกันเกิน 20,000 สัญญา วันซื้อขายวันสดุ ทา้ ย วันทำ�การก่อนวันทำ�การสุดท้ายของเดือนที่ชำ�ระราคาหรือ ส่งมอบของสัญญาซ้ือขายล่วงหน้า โดยสัญญาที่ครบอายุ จะซื้อขายได้ถึงเวลา 16.30 น. ราคาทใ่ี ช้ชำ�ระราคา คา่ เฉลย่ี ของดชั นหี มวดธรุ กจิ อา้ งองิ ในวนั สดุ ทา้ ยของการซอื้ ในวันซื้อขายสดุ ท้าย ขาย โดยคำ�นวณจากค่าดัชนีหมวดธุรกิจอ้างอิงในช่วง 15 นาทีสุดทา้ ย และค่าดัชนีราคาปิดของวนั นน้ั หลงั จากตดั ค่าท่ีมากทสี่ ุด 3 ค่า และค่าทน่ี อ้ ยทส่ี ดุ 3 ค่าออก 20 Investor’s Practice Guide คู่มือผู้ลงทนุ ฉบบั ลงทุนในอนุพันธ์

Stock Futures หัวขอ้ ลกั ษณะสัญญา สินค้าอา้ งองิ หุ้นสามัญจดทะเบียนตามรายช่อื ที่ TFEX ประกาศ ชือ่ ย่อสญั ญา ชือ่ ยอ่ หุ้นอ้างองิ ขนาดของสญั ญา 1,000 หุน้ ต่อ 1 สัญญา เดือนทสี่ ัญญา มีนาคม มิถนุ ายน กันยายน และธันวาคม สนิ้ สดุ อายุ โดยนบั ไปไมเ่ กิน 4 ไตรมาส ราคาเสนอซ้อื ขาย เสนอซ้ือขายเป็นราคาตอ่ ห้นุ ชว่ งราคาซ้ือขายขั้นต�่ำ 0.01 บาท (คดิ เปน็ 10 บาท ตอ่ สญั ญา) ชว่ งการเปล่ยี นแปลง ±30% ของราคาท่ีใชช้ �ำ ระราคาล่าสุด ของราคาสงู สดุ แต่ละวัน การจำ�กัดฐานะ หา้ มมฐี านะสทุ ธริ วมใน Stock Futures ของหนุ้ ใดหนุ้ หน่ึงในเดอื นใดเดอื นหน่ึงหรอื ทุกเดือนรวม กันไมเ่ กินกวา่ จ�ำ นวนทีต่ ลาดสญั ญาซอ้ื ขาย ล่วงหนา้ ประกาศก�ำ หนด วันซ้อื ขายวนั สุดทา้ ย วันท�ำ การกอ่ นวันทำ�การสดุ ทา้ ยของเดอื นท ี่ สัญญาสิ้นสดุ อายุ โดยสญั ญาทีค่ รบอายจุ ะซอื้ ขายไดถ้ ึงเวลา 16.30 น. ราคาทีใ่ ช้ช�ำ ระราคา คำ�นวณจากค่าเฉลย่ี ถ่วงนำ้�หนักของการซ้ือขาย ในวนั ซอื้ ขายสุดทา้ ย ของหุ้นอ้างอิงของ Stock Futures ในช่วง 15 นาทสี ดุ ท้าย และ ณ เวลาปิดท�ำ การซื้อขาย ของห้นุ อ้างอิงในวนั ซอ้ื ขายวันสุดทา้ ย 21Investor’s Practice Guide ค่มู ือผ้ลู งทนุ ฉบับลงทุนในอนุพนั ธ์

USD Futures หวั ขอ้ ลกั ษณะสญั ญา สนิ คา้ อา้ งองิ อตั ราแลกเปล่ยี นเงนิ บาทต่อดอลลาร์สหรฐั ชอื่ ย่อสัญญา USD ขนาดของสญั ญา 1,000 USD เดอื นที่สัญญาสน้ิ สดุ อายุ เดือนปฏิทนิ ทตี่ ่อเน่ืองเรียงล�ำ ดับกัน 3 เดือนที่ใกล้ท่ีสดุ และเดือนสุดท้ายของไตรมาสถัดไป (มีนาคม มิถุนายน ราคาเสนอซ้ือขาย กันยายน และธนั วาคม) อีก 1 เดอื น ช่วงราคาซ้ือขายขน้ั ต่ำ� เป็นเงนิ บาทต่อดอลลารส์ หรัฐอเมรกิ า ช่วงการเปลย่ี นแปลง 0.01 (คดิ เปน็ 10 บาทต่อสัญญา) ของราคาสูงสุดแต่ละวนั ±2% ของราคาทใ่ี ชช้ �ำ ระราคาลา่ สดุ กรณมี กี ารซอื้ ขาย ที่ Ceiling และ Floor จะหยุดการซื้อขายช่ัวคราว กอ่ น การจ�ำกัดฐานะ เปิดให้ซื้อขายอีกครั้ง พรอ้ มขยายช่วงการเปล่ยี นแปลง ราคาเปน็ ±4% ของราคาที่ใช้ช�ำ ระราคาลา่ สุด วนั ซ้อื ขายวนั สุดทา้ ย หา้ มมฐี านะสทุ ธริ วมใน USD Futures ทห่ี มดอายเุ ดอื น ใดเดือนหน่ึงหรอื ทัง้ หมดเกิน 10,000 สัญญา ราคาทใี่ ชช้ ำ�ระราคา วันทำ�การกอ่ นวนั ทำ�การสดุ ท้ายของเดือนทช่ี ำ�ระราคา ในวันซอ้ื ขายสุดท้าย หรือส่งมอบของสัญญาซื้อขายล่วงหน้า โดยสัญญาท่ี ครบอายจุ ะซอ้ื ขายได้ถงึ เวลา 11.00 น. ใช้อัตราแลกเปล่ียนเงินบาทต่อเงินดอลลาร์สหรัฐที่ ประกาศโดย Thomson Reuters ณ เวลา 11.00 น. ในวนั สุดท้ายของการซอ้ื ขาย 22 Investor’s Practice Guide คมู่ ือผู้ลงทุน ฉบับลงทุนในอนุพันธ์

3M BIBOR Futures หวั ข้อ ลักษณะสัญญา สนิ คา้ อา้ งองิ อัตราดอกเบ้ีย BIBOR ประเภท 3 เดือน ช่ือย่อสัญญา BB3 ขนาดของสัญญา มลู ค่าเท่ากับ 10,000,000 บาท เดอื นทีส่ ัญญาส้นิ สุดอายุ มนี าคม มถิ ุนายน กนั ยายน และธันวาคม โดยนับไปไม่เกนิ 2 ไตรมาส ราคาเสนอซอ้ื ขาย เสนอซอ้ื ขายต่อหนว่ ยเปน็ คา่ 100 - อตั ราดอกเบี้ย ลว่ งหนา้ ของ 3M BIBOR ช่วงราคาซ้ือขายขนั้ ตำ�่ 0.005 (คดิ เปน็ 125 บาทต่อสัญญา) ช่วงการเปลย่ี นแปลง ±1.25% ของราคาที่ใช้ช�ำระราคาล่าสุด กรณีมี ของราคาสงู สุดแต่ละวนั การซ้ือขายท่ี Ceiling และ Floor จะหยุดการซื้อขาย ช่ัวคราว ก่อนเปิดให้ซื้อขายอีกครั้ง พร้อมขยายช่วง การจ�ำกัดฐานะ การเปล่ียนแปลงราคาเป็น ±2.50% ของราคาที่ใช้ ช�ำระราคาลา่ สดุ วนั ซ้ือขายวนั สดุ ท้าย หา้ มมีฐานะสุทธิรวมใน 3M BIBOR Futures ในเดอื นใด ราคาที่ใช้ชำ�ระราคา เดือนหน่งึ หรือทุกเดือนรวมกนั เกิน 2,000 สัญญา ในวนั ซือ้ ขายสดุ ท้าย วันพุธที่สามของเดือนที่สัญญาสิ้นสุดอายุ โดยสัญญา ทคี่ รบอายุจะซอ้ื ขายได้ถงึ เวลา 11.00 น. ก�ำหนดใหเ้ ท่ากับ 100 - อตั ราดอกเบ้ีย 3M BIBOR ซงึ่ ประกาศโดยธนาคารแห่งประเทศไทย ณ เวลา 11.00 น. ในวันซื้อขายวันสุดท้าย 23Investor’s Practice Guide คมู่ ือผู้ลงทุน ฉบบั ลงทนุ ในอนพุ ันธ์

5Y GOV Bond Futures หัวข้อ ลกั ษณะสญั ญา สนิ คา้ อ้างองิ พันธบัตรรัฐบาล อายุ 5 ปีที่มีอัตราดอกเบ้ียหน้าตั๋ว 5% ต่อปี จา่ ยดอกเบยี้ 2 ครั้งตอ่ ปี โดยมกี ลมุ่ พนั ธบัตร (Basket of Eligible Bonds) เปน็ ตวั แทนของสนิ คา้ อา้ งองิ ชื่อยอ่ สัญญา TGB5 ขนาดของสัญญา มลู คา่ เท่ากบั 1,000,000 บาท เดือนท่สี ัญญา มีนาคม มิถุนายน กนั ยายน และธันวาคม สิ้นสุดอาย ุ โดยนบั ไปไม่เกนิ 2 ไตรมาส ราคาเสนอซอ้ื ขาย เสนอซ้ือขายเป็นราคาต่อพันธบตั รมลู คา่ 100 บาท ชว่ งราคาซ้อื ขายข้นั ต่ำ� 0.01 (คิดเป็น 100 บาทต่อสัญญา) ช่วงการเปลีย่ นแปลง ±2.50%ของราคาทใ่ี ชช้ �ำระราคาลา่ สดุ กรณมี กี ารซอื้ ขาย ของราคาสงู สุดแตล่ ะวนั ที่ Ceiling และ Floor จะหยดุ การซอื้ ขายชวั่ คราว กอ่ นเปดิ ให้ซื้อขายอีกคร้ัง พร้อมขยายช่วงการเปล่ียนแปลง ราคาเป็น ±5% ของราคาทใี่ ชช้ �ำระราคาล่าสดุ การจ�ำกัดฐานะ ห้ามมีฐานะสุทธิรวมใน 5Y Gov Bond Futures ในเดือนใดเดือนหนึ่งหรือทุกเดือนรวมกันเกิน 10,000 สัญญา วันซือ้ ขายวนั สดุ ท้าย วันพุธที่สามของเดือนท่ีสัญญาสิ้นสุดอายุ โดยสัญญา ท่ีครบอายจุ ะซือ้ ขายได้ถงึ เวลา 16.00 น. ราคาท่ีใชช้ �ำระราคา ก�ำหนดเป็นราคาต่อพันธบัตรมูลค่า 100 บาทและ ในวนั ซอื้ ขายสุดท้าย ค�ำนวณจากอัตราคิดลด (Yield) ของกลุ่มพันธบัตร (Basket of Eligible Bonds) ในวันสุดท้ายของการ ซื้อขาย ซึ่งอัตราคิดลดของพันธบัตรแต่ละรุ่นในกลุ่ม พันธบัตรน้ัน จะเป็นข้อมูลท่ีได้รับจากสถาบันการเงิน ที่ TFEX ก�ำหนด 24 Investor’s Practice Guide คมู่ ือผลู้ งทนุ ฉบับลงทนุ ในอนุพนั ธ์

Gold Futures หวั ข้อ ลักษณะสญั ญา 10 Baht Gold Futures 50 Baht Gold Futures สนิ คา้ อ้างอิง ทองค�ำแท่งทมี่ ีความบรสิ ทุ ธ์ิ 96.5% ชื่อยอ่ สญั ญา GF 10 GF ขนาดของสญั ญา 1 สัญญามขี นาดเท่ากับ 1 สัญญามขี นาดเท่ากบั ทองค�ำน้ำ� หนัก 10 บาท ทองค�ำน้�ำหนัก 50 บาท (152.44 กรัม) (762.20 กรัม) เดือนทสี่ ญั ญา เดือนคู่ (กุมภาพนั ธ์ เมษายน มิถุนายน สิงหาคม ตลุ าคม ส้นิ สดุ อาย ุ และธนั วาคม) ใกล้ที่สุด 3 ล�ำดบั ราคาเสนอซอ้ื ขาย เสนอซอ้ื ขายเป็นเงินบาทตอ่ ทองค�ำนำ�้ หนัก 1 บาท ชว่ งราคาซื้อขายข้นั ตำ่� 10 บาท 10 บาท (คิดเปน็ 100 บาทต่อสัญญา) (คดิ เป็น 500 บาทต่อสัญญา) ชว่ งการเปลีย่ นแปลง ±10% ของราคาทใี่ ช้ช�ำระราคาล่าสุด กรณีมีการซือ้ ขายท่ี ของราคาสงู สุดแตล่ ะวัน Ceiling และ Floor จะหยดุ การซอื้ ขายช่วั คราว กอ่ นเปดิ ให้ ซื้อขายอีกครั้ง พร้อมขยายช่วงการเปล่ียนแปลงราคาเป็น ±20% ของราคาท่ีใช้ช�ำระราคาล่าสุด การจ�ำกดั ฐานะ TFEX อาจประกาศก�ำหนดจ�ำนวนการถือครองสญั ญา ซื้อขายลว่ งหน้าสงู สดุ ไดต้ ามทเี่ ห็นสมควร วนั ซื้อขายวันสดุ ท้าย วนั ท�ำการกอ่ นวันท�ำการสุดทา้ ยของเดอื นที่สัญญาส้นิ สุด อายุ โดยสญั ญาทีค่ รบอายุจะซอื้ ขายไดถ้ ึงเวลา 16.30 น. ราคาทีใ่ ช้ช�ำระราคา ใช้ราคา London Gold AM Fixing เปน็ ราคาอ้างอิงในการ ในวันซอ้ื ขายสดุ ท้าย ค�ำนวณราคา Final Settlement Price โดยการค�ำนวณจะ ปรบั อตั ราแลกเปลยี่ น นำ้� หนกั และความบรสิ ทุ ธขิ์ องทองค�ำ ตามสตู รการค�ำนวณ ดังนี้ ราคาต่อนำ้� หนักทองค�ำ 1 บาท = London Gold AM Fixing x (15.244/31.1035) x (0.965/0.995) x (THB/USD) 25Investor’s Practice Guide ค่มู อื ผู้ลงทุน ฉบบั ลงทนุ ในอนุพนั ธ์

TFEX Gold Online Futures หัวข้อ ลกั ษณะสญั ญา สนิ ค้าอา้ งอิง ทองค�ำแทง่ ที่มีความบริสุทธ์ ิ 99.5% ชอ่ื ย่อสญั ญา (International Trading Standard) ขนาดของสัญญา GO เดือนท่ีสัญญาสิ้นสุดอายุ 300 เท่าของราคาสินค้าอ้างอิง (Multiplier) ราคาเสนอซอื้ ขาย โดยไม่น�ำอัตราแลกเปลย่ี นมาใช้ในการค�ำนวณ ชว่ งราคาซ้ือขายขนั้ ต่ำ� มีนาคม มิถุนายน กนั ยายน และ ธันวาคม ช่วงการเปลีย่ นแปลง โดยนบั ไปไมเ่ กนิ 1 ไตรมาสทใี่ กล้ทสี่ ุด ของราคาสูงสดุ แต่ละวัน เสนอซ้อื ขายเป็นราคาทองค�ำในตลาดโลก ตอ่ นำ�้ หนักทองค�ำ 1 ทรอยออนซ์ วนั ซื้อขายวันสุดท้าย 0.1 บาทต่อหน่วย (คดิ เป็น 30 บาทตอ่ สญั ญา) +10% ของราคาทใ่ี ช้ในการช�ำระราคาล่าสุด ราคาท่ีใชช้ �ำระราคา กรณีมีการซือ้ ขายที่ Ceiling & Floor จะหยุด ในวันซ้อื ขายสดุ ทา้ ย การซ้อื ขายชวั่ คราว กอ่ นเปดิ ใหซ้ ้ือขายอกี ครง้ั พรอ้ มขยายชว่ งการเปลี่ยนแปลงราคาเปน็ ±20% ของราคาทีใ่ ชช้ �ำระราคาลา่ สุด วันท�ำการก่อนวันท�ำการสุดทา้ ยของเดอื น ทีส่ ญั ญาส้ินอายุ โดยสัญญาท่คี รบอายุ จะซอื้ ขายได้ถึงเวลา 16.30 น. ใชร้ าคา LBMA Gold AM Fixing ของวนั สุดท้าย ของการซอ้ื ขาย เปน็ ราคา Final Settlement Price โดยไม่น�ำอัตราแลกเปลย่ี นมาใช้ในการค�ำนวณ 26 Investor’s Practice Guide คู่มือผ้ลู งทุน ฉบบั ลงทนุ ในอนพุ นั ธ์

TFEX Gold-D หวั ขอ้ ลกั ษณะสัญญา สนิ ค้าอ้างองิ ทองค�ำแทง่ ทมี่ ีความบริสุทธ ิ์ 99.99% ช่ือยอ่ สญั ญา GD ขนาดของสัญญา ทองค�ำหนกั 100 กรมั (3.2148 ทรอยออนซ์) เดอื นทส่ี ัญญาส้นิ สุดอายุ เดอื นมีนาคม มิถุนายน กนั ยายน และธนั วาคม โดยนบั ไปไมเ่ กิน 1 ไตรมาสทใ่ี กลท้ ี่สดุ ราคาเสนอซื้อขาย เสนอซอื้ ขายเป็นเงินดอลลารส์ หรัฐอเมริกา ตอ่ นำ�้ หนกั ทองค�ำ 1 ทรอยออนซ์ ช่วงราคาซอื้ ขายขนั้ ต�ำ่ 0.10 ดอลลารส์ หรฐั อเมรกิ า ชว่ งการเปลี่ยนแปลง +20% ของราคาท่ใี ชช้ �ำระราคาล่าสดุ ของราคาสูงสุดแตล่ ะวัน การจ�ำกัดฐานะ ห้ามมฐี านะสุทธิในสัญญาท่ีหมดอายุในเดอื นใด เดอื นหนึ่งหรือทุกเดอื นรวมกนั เกิน 5,000 สญั ญา วันซอ้ื ขายวนั สดุ ทา้ ย วนั ท�ำการก่อนวนั ท�ำการสุดท้ายของเดือน ท่สี ญั ญาส้ินอายุ โดยสญั ญาท่คี รบอายุจะซือ้ ขายได้ วิธกี ารส่งมอบหรือ ถงึ เวลา 16.30 น. ช�ำระราคา ส่งมอบสินค้า (Physical Delivery) ตามหลักเกณฑ์ และวิธกี ารทสี่ �ำนกั หกั บญั ชี (TCH) ก�ำหนด 27Investor’s Practice Guide คู่มอื ผลู้ งทนุ ฉบบั ลงทนุ ในอนุพันธ์

RSS3D Futures TFEX หวั ขอ้ ลักษณะสญั ญา สนิ คา้ อา้ งอิง ยางแผ่นรมควันชนั้ 3 ตามมาตรฐาน Green Book ชื่อย่อสัญญา RSS3D ขนาดของสญั ญา 5,000 กิโลกรัม (5 ตัน) ขนาดการรับมอบ/ส่งมอบ 20,000 กโิ ลกรมั (20 ตัน) หรือเทยี บเทา่ 4 สญั ญา เดอื นทีส่ ัญญาส้นิ สดุ อายุ ทกุ เดือนปฏิทนิ ทีต่ อ่ เนื่องเรียงล�ำดบั กัน 7 เดือนทีใ่ กลท้ ่ีสุด ราคาเสนอซือ้ ขาย เสนอซ้อื ขายเปน็ เงินบาทต่อยางแผ่นรมควัน 1 กโิ ลกรมั ชว่ งราคาซ้ือขายขั้นต่�ำ 0.05 บาท (คดิ เปน็ 250 บาทต่อสัญญา) ช่วงการเปลีย่ นแปลง +10% ของราคาทีใ่ ช้ช�ำระราคาล่าสดุ ของราคาสงู สดุ แตล่ ะวัน การจ�ำกัดฐานะ 1. สัญญาท่ีหมดอายุในเดือนที่ส่งมอบหรือช�ำระ ราคาใกลท้ สี่ ุดไม่เกิน 1,000 สญั ญา วันซอื้ ขายวันสดุ ทา้ ย 2. สัญญาท่ีหมดอายุในเดือนใดเดือนหน่ึงหรือ ทุกเดือนรวมกันไมเ่ กนิ 10,000 สัญญา วิธีการส่งมอบหรอื วนั ท�ำการกอ่ นวนั ท�ำการสดุ ทา้ ยของเดอื นทส่ี ง่ มอบ ช�ำระราคา หรือช�ำระราคาของสัญญาท่หี มดอายุ ให้ช�ำระราคาด้วยการส่งมอบสินค้า (Physical Delivery) ตามหลักเกณฑ์และวิธีการท่ีส�ำนักหัก บญั ชี (TCH) ก�ำหนด ท้ังน้ี ราคาส�ำหรับการส่งมอบ สินค้าใหเ้ ปน็ ไปตามที่ TFEX ก�ำหนด 28 Investor’s Practice Guide คมู่ อื ผลู้ งทุน ฉบับลงทนุ ในอนุพนั ธ์

SET50 Index Options หวั ขอ้ ลักษณะสญั ญา สินคา้ อา้ งอิง ดัชนี SET50 ทค่ี ำ�นวณและเผยแพร่ ชื่อย่อสัญญา โดยตลาดหลักทรพั ย์แห่งประเทศไทย ขนาดของสัญญา S50C: Call Options เดอื นทส่ี ญั ญาสิ้นสดุ อายุ S50P: Put Options ราคาเสนอซ้ือขาย 200 บาท ตอ่ 1 จุดของดัชนี ช่วงราคาซือ้ ขายขนั้ ตำ่� เดือนใกล้ 3 เดอื นตดิ ตอ่ กนั และเดอื นสุดท้าย ช่วงการเปลีย่ นแปลง ของไตรมาสถดั ไป ของราคาสงู สุดแต่ละวนั 0.1 จดุ (คิดเป็น 20 บาทตอ่ สญั ญา) ±30%ของราคาปิดของดัชนี SET50 ลา่ สดุ การจ�ำกดั ฐานะ • ใหช้ ่วงห่างของราคาใชส้ ทิ ธเิ ท่ากับ 25 จดุ • ในช่วงเรม่ิ ต้นของทุกวันทำ�การ กำ�หนดใหม้ ี วนั ซ้อื ขายวนั สุดท้าย ออปชนั Series ต่อไปน้ี - At-the-Money จ�ำ นวน 1 Series ราคาทีใ่ ชช้ �ำ ระราคา - In-the-Money และ Out-of-the-Money ในวนั ซ้ือขายสดุ ทา้ ย จำ�นวนอยา่ งละไม่นอ้ ยกวา่ 2 Series ห้ามมีฐานะสุทธิรวมใน SET50 Futures และ SET50 Options เมื่อคำ�นวณฐานะเทียบเท่ากับ ฐานะใน SET50 Futures ในเดอื นใด เดือนหนึง่ หรือ ทกุ เดือนรวมกนั เกนิ 100,000 สัญญา วนั ท�ำ การกอ่ นวนั ท�ำ การสดุ ทา้ ยของเดอื นทส่ี ญั ญา ส้ินสุดอายุ โดยสัญญาที่ครบอายุจะซ้ือขายได้ถึง เวลา 16.30 น. ค่าเฉลี่ยของดัชนี SET50 ในวันซ้ือขายวันสุดท้าย โดยคำ�นวณจากค่าดัชนี SET50 ในช่วง 15 นาที สุดท้าย และค่าดัชนีราคาปิดของวันนั้น โดยตัด ค่าที่มากที่สุด 3 ค่า และค่าที่น้อยท่ีสุด 3 ค่าออก 29Investor’s Practice Guide คูม่ อื ผลู้ งทนุ ฉบบั ลงทุนในอนุพนั ธ์

Lesson 3 เช็คความพร้อม กอ่ นลงทนุ ในอนพุ นั ธ์ ก่อนจะเร่ิมลงทนุ ในอนุพันธ์ ลองมาส�ำ รวจความพรอ้ ม ของตวั คุณเองกนั กอ่ นดีกว่า 30 Investor’s Practice Guide ค่มู อื ผูล้ งทุน ฉบบั ลงทุนในอนุพันธ์

Checklist กอ่ นลงทนุ ในอนุพนั ธ์ OK 1. มเี ปา้ หมายการลงทนุ ในอนุพนั ธอ์ ยา่ งชัดเจน (เพ่อื เก็งก�ำไร หรอื เพื่อบริหารความเสยี่ ง) 2. ยอมรับความเสี่ยงจากการลงทนุ ไดม้ าก – มากทส่ี ดุ 3. มเี งินเยน็ ท่จี ดั สรรไวเ้ พื่อลงทนุ ในอนพุ นั ธ์ และเผ่อื ไว้ส�ำหรบั ถกู เรียกหลักประกันเพ่มิ แล้ว 4. เขา้ ใจลักษณะพ้ืนฐานของอนุพนั ธ์และ สนิ คา้ อ้างอิงทจี่ ะเลือกลงทนุ เปน็ อย่างด ี 5. รูว้ ิธวี เิ คราะหข์ อ้ มลู ท่ีเก่ียวขอ้ ง เพ่ือคาดการณ์ ทศิ ทางราคาสินคา้ อ้างอิง และสามารถ เลอื กกลยุทธก์ ารลงทนุ ทีเ่ หมาะสม 6. ร้วู ิธีและข้ันตอนการซอ้ื ขายอนพุ ันธผ์ า่ น TFEX 7. รูว้ า่ จะเลอื กลงทนุ กับโบรกเกอรอ์ นพุ ันธ์ใด และรู้คา่ ใช้จ่ายทโี่ บรกเกอร์เรยี กเก็บ 8. มวี นิ ยั ในการจัดการเงินลงทุนของตนเอง และมีความพรอ้ มที่จะติดตามดแู ลสถานะ การซ้ือขายของตนเองอยา่ งใกล้ชดิ 9. รู้แหลง่ ท่จี ะศกึ ษาขอ้ มูลเพิม่ เติม เพอ่ื ตัดสนิ ใจลงทนุ 10.มีเวลาตดิ ตามความเคลื่อนไหวของราคา และข้อมูลขา่ วสารอย่างสม่ำ� เสมอ คณุ ละ่ ... ตรวจเชค็ ความพรอ้ มกอ่ นลงทนุ ในอนพุ นั ธแ์ ลว้ หรอื ยงั ? 31Investor’s Practice Guide คู่มอื ผู้ลงทนุ ฉบบั ลงทุนในอนุพนั ธ์

Lesson 4 ข้ันตอนการลงทุน ในอนุพนั ธ์ หลงั จากเขา้ ใจลกั ษณะพนื้ ฐานของอนพุ นั ธแ์ ตล่ ะประเภท ผลตอบแทนและความ เสยี่ งจากการลงทนุ ในอนพุ นั ธ์ รวมถงึ ตรวจเชค็ ความพรอ้ มของตวั เองเรยี บรอ้ ยแลว้ ผู้ลงทุนก็ต้องศึกษาและทำ�ความเข้าใจขั้นตอนต่างๆ ของการลงทุนในอนุพันธ์ ซึ่งมี 6 ขั้นตอน ดงั น้ี กำ�หนดเปา้ หมาย ตดั สนิ ใจซอ้ื ขาย 01 และระยะเวลาลงทนุ 04 คาดการณ์ทิศทาง หมัน่ เชค็ สถานะ 02 ราคาสินค้าอา้ งอิง 05 และปดิ สถานะการลงทุน เลือกกลยุทธ์ ประเมนิ ผลการลงทนุ 03 ลงทนุ ทเี่ หมาะสม 06 และปรบั พอร์ตลงทนุ 32 Investor’s Practice Guide คู่มอื ผูล้ งทุน ฉบบั ลงทนุ ในอนุพันธ์

1 ก�ำ หนดเปา้ หมาย และระยะเวลาลงทนุ   ขนั้ ตอนแรกสดุ และส�ำ คญั ทสี่ ดุ ของการลงทนุ ในอนพุ นั ธ์ คอื “การก�ำ หนด เปา้ หมายและระยะเวลาลงทนุ ” ใหช้ ดั เจน โดยตอบตวั เองให้ไดว้ า่ ... ในการลงทนุ นั้น มีเป้าหมายเพื่ออะไร “เพ่ือเก็งกำ�ไรระยะส้ัน” หรือ “เพ่ือบริหารความเส่ียง พอร์ตลงทุนของตน” เน่ืองจากเป้าหมายและระยะเวลาลงทุนท่ีต่างกัน จะนำ�ไป สู่วิธกี ารลงทนุ และกลยุทธ์การลงทนุ ทีแ่ ตกต่างกัน ภาวะตลาดขา ้ขึน ต้องการ ผลู้ งทุน ก. คาดวา่ ตลาด เกง็ กำ�ไร จะปรบั ตวั เพมิ่ ขน้ึ ในอนาคต จงึ เก็งก�ำ ไร โดยการ... “ซอ้ื SET50 Futures” ตัวอย่างเชน่ ผ้ลู งทนุ ก. มเี ปา้ หมายในการลงทุน เพื่อเก็งกำ�ไรในระยะส้ัน แสดงว่าผู้ลงทุน ก. คาดหวัง ผลตอบแทนในรูปส่วนต่างของราคาซื้อขายในอัตรา ทส่ี งู และสามารถยอมรบั ความเสยี่ งจากความผนั ผวน ของอัตราผลตอบแทนได้ หากผลู้ งทนุ ก. คาดวา่ “ภาวะตลาดจะเปน็ ขาขน้ึ ” ดชั นี SET50 กน็ า่ จะปรบั ตวั สงู ขนึ้ ผลู้ งทนุ ก. กจ็ ะเขา้ ไป “ซอื้ (Long) SET50 Futures” เอาไวก้ อ่ น และหากดชั นี SET50 สงู ขึน้ ตามท่ีคาด ผูล้ งทุน ก. ก็จะเข้าไป “ขาย (Short) SET50 Futures” ที่เคยซื้อไว้เพ่ือปิดสถานะ และทำ�ก�ำ ไรสว่ นตา่ งได้ทันที 33Investor’s Practice Guide คมู่ อื ผลู้ งทนุ ฉบบั ลงทุนในอนุพนั ธ์

ในขณะที่ ผู้ลงทุน ข. มีเป้าหมายในการลงทุนเพื่อบริหาร ความเส่ียงพอร์ตหุ้นของตน ซ่ึงมีหุ้นอยู่ในกลุ่มดัชนี SET50 แสดงว่า ผู้ลงทุน ข. คาดหวังว่าผลตอบแทนจากการลงทุนในอนุพันธ์จะช่วย ให้อัตราผลตอบแทนรวมของพอร์ตไม่ผันผวนไปตามภาวะตลาด โดยไม่ต้องการขายหนุ้ ออกจากพอรต์ หากผู้ลงทนุ ข. คาดว่า “ภาวะตลาดจะเปน็ ขาลง” ดชั นี SET50 ก็ นา่ จะปรบั ตวั ลดลง ผลู้ งทนุ ข. กจ็ ะเขา้ ไป “ขาย (Short) SET50 Futures” เอาไว้กอ่ น และหากดัชนี SET50 ลดลงตามทคี่ าด ผ้ลู งทุน ข. กจ็ ะเข้าไป “ซอ้ื (Long) SET50 Futures” ทเี่ คยขายไวเ้ พอื่ ปดิ สถานะ โดยมลู คา่ หนุ้ ทอี่ ยใู่ นพอรต์ ลงทนุ ของผลู้ งทนุ ข. อาจลดลงจนขาดทนุ แตผ่ ลู้ งทนุ ข. ก็ สามารถน�ำ ก�ำ ไรท่ีไดจ้ ากการขาย SET50 Futures ลว่ งหนา้ มาชดเชย ผลขาดทุนของพอรต์ ห้นุ ได้ ผู้ลงทุน ข. กลวั ว่าตลาด ตอ้ งการบริหาร ภาวะตลาดขาลง จะปรบั ตัวลดลง จึงปอ้ งกัน ความเสียงโดยการ... ความเสีย่ ง “ขาย SET50 Futures” และ “ถือพอรต์ หนุ้ ” คงไว้ ในความเป็นจริง ย่อมมีท้งั ผู้ที่คาดการณถ์ กู และผทู้ ี่คาดการณ์ผดิ ซ่ึงหากคาด การณ์ไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง กจ็ ะได้ก�ำ ไร แตห่ ากคาดการณ์ผิด กอ็ าจขาดทนุ ได้ กล่าวโดยสรุป ก็คือ การลงทุนในอนุพันธ์จะเป็นประโยชน์อย่างยิ่งต่อผู้ลงทุน ทเ่ี ขา้ ใจหลักการตดั สินใจลงทุนและความเส่ยี งทีจ่ ะเกดิ ขึ้นอยา่ งแทจ้ รงิ ดงั น้นั ผู้ลงทนุ จึงควรจะศึกษาและทำ�ความเข้าใจอนุพันธ์แต่ละประเภทให้ดีก่อนเริ่มลงทุน รวมทั้ง ควรพิจารณาสายป่านทางการเงินของตนเองว่ามั่นคงเพียงพอสำ�หรับรองรับ ความเสี่ยงท่ีจะเกิดขึ้นได้มากน้อยเพียงใด และอนุพันธ์จะช่วยให้บรรลุเป้าหมาย การลงทนุ ได้ตามระยะเวลาท่กี ำ�หนดไว้ไดห้ รือไม่ 34 Investor’s Practice Guide ค่มู อื ผู้ลงทนุ ฉบับลงทนุ ในอนพุ ันธ์

2 คาดการณท์ ิศทาง ราคาสนิ ค้าอา้ งอิง  เนื่องจากราคาสินค้าอ้างอิงเป็นตัวกำ�หนดราคาอนุพันธ์แต่ละประเภท ดังน้ัน ผู้ลงทุนจึงจำ�เป็นต้องเข้าใจและสามารถวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับเศรษฐกิจการลงทุน ต่างๆ ที่อาจส่งผลกระทบต่อราคาสินค้าอ้างอิง เพ่ือให้สามารถคาดการณ์ทิศทาง ราคาสินค้าอ้างองิ ได้ นอกจากน้ีควรวเิ คราะหด์ ว้ ยวา่ ทศิ ทางดงั กลา่ วจะมคี วามผนั ผวนมากนอ้ ยแคไ่ หน? และจะเกดิ ขนึ้ ในระยะเวลาใด? เพอ่ื ทจ่ี ะเลอื กใชก้ ลยทุ ธล์ งทนุ ใหเ้ หมาะกบั การคาดการณ์ ของผลู้ งทุน ราคา แขพายง ราคา อนุพนั ธ์ คาดว่าราคา สนิ ค้าอา้ งองิ ซ้ือถกู จะ \"ขน้ึ \" ให้ \"ซื้อ\" (Long) ฟวิ เจอร์ส ราคาสินคา้ อ้างอิง เวลา ราคา คาดว่าราคา สนิ คา้ อา้ งอิง แขพายง ราคา จะ \"ลง\" ให้ อนุพันธ์ \"ขาย\"(Short) ฟิวเจอร์ส ราคาสนิ คา้ อ้างองิ ซื้อถกู เวลา 35 Investor’s Practice Guide คู่มือผู้ลงทนุ ฉบับลงทนุ ในอนุพนั ธ์

ตวั อยา่ งเชน่ ถา้ ผลู้ งทนุ คาดวา่ ... ในระยะสนั้ ราคาหนุ้ ทอ่ี ยใู่ นบางอตุ สาหกรรม มแี นวโน้มสดใส กส็ ามารถ “ซื้อก่อนขาย” (Long) Stock Futures ของหนุ้ ดงั กล่าว ไว้ก่อนที่ราคาถูก เพื่อเพ่ิมนำ้�หนักของหุ้นอุตสาหกรรมน้ันในพอร์ตลงทุน และขาย (Short) เพื่อปิดสถานะที่ราคาสูงในภายหลัง ซึ่งผู้ลงทุนจะสามารถทำ�กำ�ไรจาก Stock Futures ไดแ้ ทนการซอ้ื หุ้นจริงๆ ในทางตรงข้าม หากคาดว่าราคาหุ้นในบางอุตสาหกรรมจะลดลง ก็สามารถ จัดการความเสี่ยงโดย “ขายก่อนซื้อ” (Short) Stock Futures ไปก่อนท่ีราคาสูง และซื้อ (Long) เพื่อปิดสถานะที่ราคาถูกในภายหลัง โดยยังคงเก็บหุ้นไว้ในพอร์ต เพ่ือโอกาสรับเงนิ ปันผล 3 เลือกกลยุทธล์ งทุนทเ่ี หมาะสม  หลังจากวิเคราะห์ข้อมูลทางเศรษฐกิจต่างๆ จนสามารถคาดการณ์ทิศทาง ราคาสินค้าอ้างอิงได้แล้ว ขั้นตอนต่อมาก็คือ “การเลือกกลยุทธ์ลงทุนท่ีเหมาะกับ การคาดการณ”์ ซึง่ จะช่วยให้ผู้ลงทุนทำ�ก�ำ ไรหรอื ป้องกันความเสี่ยงของพอร์ตการ ลงทนุ ได้ โดย“กลยทุ ธก์ ารท�ำ ก�ำ ไรจากทศิ ทางของราคา”(DirectionTradingStrategy) เหมาะสำ�หรับเวลาที่ผู้ลงทุนมีมุมมองที่ชัดเจนว่า... ราคาสินค้าอ้างอิงจะปรับตัว เพิม่ ขึ้นหรอื ลดลง ซึ่งผ้ลู งทุนอาจ “ซือ้ ก่อนขาย” หรอื “ขายก่อนซ้ือ” อนพุ ันธ์ เพือ่ ท�ำ กำ�ไรแทนการซื้อขายสินค้าอา้ งอิงนัน้ จรงิ ๆ ส่วน “กลยุทธ์การป้องกันความเส่ียง” (Hedging Strategy) เหมาะสำ�หรับ ใช้บริหารความเส่ียงเพ่ือให้พอร์ตลงทุนได้รับผลกระทบน้อยท่ีสุด โดยรักษาอัตรา ผลตอบแทนรวมของพอรต์ ไมใ่ หผ้ นั ผวนไปตามภาวะตลาด และไมต่ อ้ งขายหลกั ทรพั ย์ ที่ถือครองไว้ออกจากพอรต์ กลยุทธ์ตลาดขาขึ้น Long Futures Long Call Options Short Put Options กลยุทธต์ ลาดขาลง Short Futures Short Call Options Long Put Options 36 Investor’s Practice Guide ค่มู ือผ้ลู งทนุ ฉบบั ลงทนุ ในอนพุ ันธ์

กลยุทธต์ ลาดขาขึ้น เป็นภาวะท่ีผู้ลงทุนคาดการณ์ว่าตลาดอยู่ในภาวะขาข้ึนและสินค้าอ้างอิงจะมี ราคาเพิ่มขน้ึ ซึง่ ผูล้ งทุนสามารถ... ซื้อฟิวเจอร์ส (Long Futures) แทนการซ้ือสินค้าอ้างอิงเพ่ือทำ�กำ�ไร หรือสามารถซ้ือฟิวเจอร์สเพื่อป้องกันความเสี่ยงที่ราคาของสินค้าอ้างอิง จะเพ่ิมข้ึนได้ โดยไม่ต้องซื้อสินค้าอ้างอิงมาถือครองจริงๆ (ราคาสินค้าอ้างอิง ทีเ่ พม่ิ ข้นึ จะถกู ชดเชยด้วยกำ�ไรจากการซ้ือฟวิ เจอรส์ ) ซ้ือคอลออปชัน (Long Call Options) เมื่อคาดว่าราคาสินค้าอ้างอิงจะข้ึน และมีความผันผวนมากๆ เนื่องจากการซ้ือคอลออปชันจะทำ�ให้ผู้ลงทุนได้ กำ�ไรไม่จำ�กัด แต่หากตลาดไม่เป็นไปตามท่ีคาด ผู้ลงทุนจะสามารถ จำ�กัดผลขาดทุนให้หยุดแค่ค่าพรีเม่ียมที่จ่ายไป หรืออาจน้อยกว่าน้ันได้ หากปิดสถานะกอ่ นออปชนั หมดอายุ ขายพุทออปชัน (Short Put Options) เมื่อคาดว่าราคาสินค้าอ้างอิงจะข้ึน เพียงเล็กน้อยหรือทรงตัวเพ่ือทำ�กำ�ไรจากค่าพรีเมี่ยม เน่ืองจากในภาวะ ตลาดขาขนึ้ ผซู้ อื้ พทุ ออปชนั จะ “ไมใ่ ชส้ ทิ ธ”ิ แตม่ ขี อ้ ควรระวงั คอื หากภาวะตลาด ไม่เปน็ ไปตามท่คี าด ผลู้ งทุนอาจขาดทุนเปน็ จำ�นวนมาก จนต้องยอมตัดขาดทุน (Cut Loss) โดยการซ้ือพทุ ออปชัน Series เดิมเพอ่ื ปิดสถานะ คาดการณ์ว่า ซอ้ื ฟิวเจอรส์ ซอ้ื คอลออปชัน ขายพทุ ออปชัน ราคาสินค้าอา้ งองิ จะข้นึ (Long Futures) (Long Call Options) (Short Put Options) ราคาสินคา้ อ้างองิ ขึน้ ก�ำ ไร กำ�ไร ก�ำ ไรจ�ำ กดั (คาดการณถ์ ูก) ไมจ่ �ำ กดั ไม่จำ�กดั แค่คา่ พรีเม่ยี มท่ีไดร้ ับ ราคาสินคา้ อ้างอิงลง ขาดทุน ขาดทนุ จ�ำ กัด ขาดทนุ (คาดการณผ์ ิด) ไมจ่ �ำ กดั แคค่ า่ พรีเมีย่ มทจ่ี า่ ยไป ไม่จำ�กดั หลักประกัน ต้องวาง ไมต่ ้องวาง ตอ้ งวาง หลักประกัน หลกั ประกนั หลกั ประกัน Investor’s Practice Guide คมู่ อื ผ้ลู งทนุ ฉบับลงทุนในอนุพันธ์ 37

กลยุทธ์ตลาดขาลง เป็นภาวะท่ีผู้ลงทุนคาดการณ์ว่าตลาดอยู่ในภาวะขาลงและสินค้าอ้างอิงจะมี ราคาลดลง ซ่งึ ผู้ลงทุนสามารถ... ขายฟิวเจอร์ส (Short Futures) เพ่ือป้องกันความเสี่ยงท่ีราคาของสินค้า อ้างอิงจะลดลงได้ โดยผู้ลงทุนที่ถือครองสินค้าอ้างอิงอยู่ เช่น หุ้นสามัญ กองทุนรวมหุ้น หรือทองคำ�แท่ง ไม่ต้องขายสินค้าอ้างอิงออกไปจริงๆ (ราคาสนิ คา้ อา้ งอิงท่ลี ดลงจะถกู ชดเชยด้วยกำ�ไรจากการขายฟวิ เจอร์ส) ซื้อพุทออปชัน (Long Put Options) เมื่อคาดว่าราคาสินค้าอ้างอิงจะลง และมีความผันผวนมากๆ เน่ืองจากผู้ลงทุนจะได้กำ�ไรไม่จำ�กัด แต่หากตลาด ไม่เป็นไปตามท่ีคาด ผู้ลงทุนจะสามารถจำ�กัดผลขาดทุนให้หยุดแค่ค่าพรีเม่ียม ที่จา่ ยไป หรืออาจนอ้ ยกวา่ นั้นได้ หากปดิ สถานะก่อนออปชันหมดอายุ ขายคอลออปชัน (Short Call Options) เมื่อคาดว่าราคาสินค้าอ้างอิง จะลงเพยี งเลก็ นอ้ ยหรือทรงตวั เพอ่ื ท�ำ กำ�ไรจากค่าพรีเมี่ยม เน่ืองจากในภาวะ ตลาดขาลง ผู้ซ้ือคอลออปชันจะ “ไม่ใช้สิทธิ” แต่หากภาวะตลาดไม่เป็นไปตาม ที่คาด ผู้ลงทุนอาจขาดทุนเป็นจำ�นวนมาก ซึ่งอาจต้องยอมตัดขาดทุน (Cut Loss) โดยการซื้อคอลออปชัน Series เดิมเพ่ือปดิ สถานะ คาดการณ์วา่ ขายฟิวเจอรส์ ซื้อพุทออปชนั ขายคอลออปชนั ราคาสินคา้ อ้างองิ จะลง (Short Futures) (Long Put Options) (Short Call Options) ราคาสนิ คา้ อา้ งองิ ลง ก�ำ ไร กำ�ไร กำ�ไรจ�ำ กัด (คาดการณถ์ กู ) ไม่จ�ำ กัด ไม่จำ�กัด แคค่ า่ พรีเม่ียมท่ีไดร้ ับ ราคาสนิ คา้ อา้ งองิ ขน้ึ ขาดทนุ ขาดทุนจ�ำ กดั ขาดทุน (คาดการณผ์ ดิ ) ไม่จ�ำ กัด แค่คา่ พรีเมย่ี มทจี่ า่ ยไป ไม่จำ�กดั หลกั ประกัน ตอ้ งวาง ไม่ต้องวาง ตอ้ งวาง หลกั ประกัน หลกั ประกัน หลกั ประกนั 38 หมายเหตุ : ในการใช้อนุพันธ์เพ่ือป้องกันความเส่ียงของพอร์ต การลงทุนนั้น ผู้ลงทุนต้องศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับวิธีการ Investor’s Practice Guide คมู่ ือผู้ลงทุน ฉบบั ลงทุนในอนพุ ันธ์ หาจ�ำ นวนสัญญาทเ่ี หมาะสมที่ตอ้ งใช้เพอื่ ปอ้ งกันความเส่ยี งด้วย

คณุ ทราบหรอื ไมว่ า่ ... ออปชนั สามารถแบง่ ตาม มูลคา่ ทแี่ ทจ้ ริงได้เป็น 3 สถานะ คือ 1.In-the-Money (ITM) : สถานะท่ีไดป้ ระโยชน์ กล่าวคือ เป็นออปชันท่ีผู้ลงทุนใช้สิทธิแล้วได้ 2 .Aเงtนิ -เtขh้าeก-รMะเปoา๋ney (ATM) : สถานะท่ีไม่ได้และ ไม่เสียประโยชน์ กล่าวคือ เป็นออปชันที่ใช้ 3 .Oสิทuธt-ิแoลf้ว-เtสhมeอ-ตMัวoไnมe่กyำ�ไ(รOไมT่ขMา)ด:ทนุสถานะท่ีเสีย ประโยชน์ กล่าวคือ เป็นออปชันท่ีใช้สิทธิแล้ว เงินออกจากกระเป๋า การตัดสนิ ใจใช้สทิ ธขิ องออปชนั ออปชันที่ซื้อขายใน TFEX เป็นลักษณะ European Style คอื ผถู้ อื สามารถใชส้ ทิ ธไิ ดค้ รง้ั เดยี ว ณวนั หมดอายุหากตอ้ งการรบั รกู้ �ำ ไรกอ่ นครบก�ำ หนด จะต้องใช้วิธีปิดหรือล้างสถานะ (Offset Position) ด้วยการ “ซ้ือ” หรือ “ขาย” ออปชัน Series เดิม (ประเภทเดียวกัน เดือนหมดอายุเดียวกัน และราคาใช้ สทิ ธิเดยี วกนั ) ในทิศทางตรงกนั ขา้ ม ในการตดั สนิ ใจวา่ จะใชส้ ทิ ธหิ รอื ไมน่ นั้ จะมเี กณฑ์ ในการตดั สินใจ ดังนี้ 39Investor’s Practice Guide คูม่ ือผู้ลงทนุ ฉบบั ลงทุนในอนุพนั ธ์

สถานะ คอลออปชนั พุทออปชนั (Call Options) (Put Options) ราคาสินค้าอา้ งอิง In-the-Money Out-of-the-Money สูงกวา่ ใชส้ ิทธิ ไม่ใช้สิทธิ ราคาใช้สทิ ธิ เพราะซ้ือได้ถูกกว่า เพราะขายในตลาดเอง ของจริงในตลาด ได้ราคาดกี วา่ ราคาสนิ คา้ อา้ งอิง At-the-Money At-the-Money เทา่ กบั ไมใ่ ช้สทิ ธิ ไมใ่ ช้สิทธิ ราคาใช้สิทธิ ราคาสนิ คา้ อ้างอิง Out-of-the-Money In-the-Money ต�ำ่ กวา่ ไมใ่ ช้สทิ ธิ ใช้สทิ ธิ ราคาใชส้ ิทธิ เพราะของจรงิ ในตลาดถูกกวา่ เพราะขายไดร้ าคาดี กว่าของจริงในตลาด ดงั นน้ั โดยทวั่ ไปผลู้ งทนุ จะใชส้ ทิ ธิ กต็ อ่ เมอ่ื ออปชนั นั้นเป็น “ITM” เทา่ นน้ั ซงึ่ ในทางปฏบิ ัติ ระบบจะใชส้ ทิ ธิ ให้โดยอัตโนมัติ (Auto-Exercise) หากผู้ลงทุนใช้สิทธิ แล้วไดป้ ระโยชน์ 40 Investor’s Practice Guide คมู่ อื ผู้ลงทนุ ฉบบั ลงทุนในอนุพันธ์

4 ตัดสินใจซอื้ ขาย ข้ันตอนต่อมา คือ “การตดั สินใจซ้ือขาย” โดยผ้ลู งทุนตอ้ ง “เปิดบัญชี” เพ่อื สง่ คำ�สั่งซื้อขายผา่ นโบรกเกอร์อนุพนั ธ์ จากนน้ั จึงเร่มิ ซ้ือขายตามขนั้ ตอนต่อไปน้ี ขน้ั ตอนการซ้อื ขายฟวิ เจอรส์ และออปชนั ฟิวเจอรส์ ออปชัน ผู้ซ้อื และผูข้ าย 1. เปดิ บญั ชีซอื้ ขาย ผู้ซอ้ื ผขู้ าย อนุพันธ์ 1. เปดิ บญั ชซี ื้อขาย 1. เปิดบญั ชซี ือ้ ขาย อนพุ นั ธ ์ อนุพนั ธ์ 2. วางเงินประกัน 2. ส่งคำ�สั่งซ้ือ 2. วางเงนิ ประกนั 3. สง่ คำ�ส่งั ซอ้ื ขาย 3. จ่ายคา่ 3. ส่งคำ�สั่งขาย พรเี มีย่ ม 4. สรุปก�ำ ไรขาดทนุ 4. ปิดสถานะ 4. สรุปก�ำ ไร ทกุ วนั ขาดทนุ ทุกวัน 5. ปิดสถานะ 5. ปดิ สถานะ 41Investor’s Practice Guide คมู่ อื ผู้ลงทุน ฉบบั ลงทุนในอนุพนั ธ์

เปดิ บญั ชซี ้ือขายอนุพนั ธ์ ผลู้ งทนุ สามารถตดิ ตอ่ ขอเปดิ บญั ชซี อ้ื ขายอนพุ นั ธ์ไดก้ บั โบรกเกอรอ์ นพุ นั ธท์ ่ีได้ รบั อนญุ าต โดยสามารถตรวจสอบรายชอ่ื ของโบรกเกอร์ไดท้ างwww.tfex.co.th แต่ หากผลู้ งทนุ ทา่ นใดมีบัญชีซื้อขายอนพุ นั ธ์อย่แู ล้ว ก็สามารถใช้บัญชดี งั กล่าวในการ ซือ้ ขายอนพุ นั ธ์ไดท้ กุ ประเภท ขน้ึ อยูก่ บั การให้บริการของแต่ละโบรกเกอร์ 1 เปิดบัญชฟี รี 2 ติดต่อกับโบรกเกอร์อนุพันธ์ กรอกใบคำ�ขอเปิดบัญชี พร้อม เพ่ือขอเปิดบัญชีซ้ือขายอนุพันธ์ หลักฐานท่ีใช้ในการเปิดบัญชี ผ่านผู้แนะน�ำการลงทุนหรือผ่าน สง่ ให้โบรกเกอร์อนพุ ันธ์ และรอ อินเทอร์เน็ต (บนเว็บไซต์ของ ผลการพจิ ารณาประมาณ 1-2 โบรกเกอร)์ สัปดาห์ 24 hour 3 4 เมื่อได้รับอนุมัติเปิดบัญชีแล้ว คุณจะได้รับเลขท่ีบัญชี และ/หรือ เพยี งเทา่ น้ี คุณก็สามารถส่งค�ำ สง่ั รหัสซ้ือขาย (Pin Number) จาก ซ้ือขายอนุพันธ์ผ่านผู้ แ น ะ นำ � โบรกเกอร์อนุพันธ์ ซึ่งต้องเก็บไว้ การลงทนุ หรอื ผา่ นทางอนิ เทอรเ์ นต็ เป็นความลบั ไมว่ ่าคุณจะอยู่ที่ไหนก็ตาม 42 Investor’s Practice Guide คมู่ อื ผลู้ งทุน ฉบบั ลงทนุ ในอนพุ ันธ์

เอกสารประกอบการเปิดบญั ชี ส�ำ เนาบตั รประชาชน / บตั รข้าราชการ / หนังสอื เดนิ ทาง สำ�เนาทะเบียนบ้าน ส�ำ เนาบตั รประจ�ำ ตวั ประชาชนของผรู้ บั มอบอ�ำ นาจ (กรณมี อบอ�ำ นาจ) และของบุคคลท่เี กี่ยวขอ้ ง ส�ำ เนาสมดุ คฝู่ ากบญั ชอี อมทรพั ยย์ อ้ นหลงั 6 เดอื น หนังสือยนิ ยอมให้หกั บญั ชเี งนิ ฝากธนาคาร (ATS) พรอ้ มแนบส�ำ เนาหนา้ แรกของสมุดค่ฝู าก ส�ำ เนาใบรบั รองผา่ นการอบรมความรดู้ า้ นอนพุ นั ธ์ (ถ้าม)ี คา่ อากรแสตมป์ 30 บาท วางเงนิ ประกัน กอ่ นทจ่ี ะซอ้ื ขายอนพุ ันธ์ ผู้ลงทนุ ควรร้จู กั “หลกั ประกัน” 2 ประเภทหลักๆ ไดแ้ ก่ หลักประกันข้ันตน้ (Initial Margin: IM) คือ หลักประกันที่ผู้ลงทุนต้องวางไว้ กับโบรกเกอร์ก่อน ถึงจะมีสิทธิซ้ือขาย อนุพันธ์ได้ หลกั ประกนั รกั ษาสภาพ (Maintenance Margin: MM) คือ ระดบั หลกั ประกันขัน้ ตำ�่ ในบัญชี ซง่ึ ผู้ลงทุนจะต้องรักษาระดับ ยอดเงินคงเหลือเอาไว้ หากยอดเงินคง เหลือในบัญชีหลักประกันลดลงตำ่�กว่า ระดบั นี้ โบรกเกอรจ์ ะเรยี กใหผ้ ลู้ งทนุ “วาง หลักประกันเพิ่ม” (Margin Call) 43Investor’s Practice Guide คูม่ อื ผู้ลงทุน ฉบบั ลงทนุ ในอนุพนั ธ์

กรณซี ้อื /ขายฟวิ เจอรส์ : ในการซ้ือหรือขายฟิวเจอร์ส ผู้ลงทุนไม่ต้องจ่ายเงินเต็มจำ�นวนต้ังแต่แรก แตจ่ ะตอ้ งวาง “หลกั ประกนั ขน้ั ตน้ ” ตามระดบั ทโี่ บรกเกอรก์ �ำ หนด ซงึ่ โดยทวั่ ไปแลว้ จะ มีมลู คา่ ไมเ่ กิน 10 – 15% ของมูลคา่ สัญญา กรณีซอ้ื ออปชัน : ผซู้ อื้ ไมจ่ �ำ เปน็ ตอ้ งวางหลกั ประกนั ขนั้ ตน้ กอ่ น เพราะสามารถจ�ำ กดั ผลขาดทนุ ได้จากการจ่าย “ค่าพรีเม่ียม” (Premium) เป็นค่าซ้ือออปชันตั้งแต่ตอนแรก จึงไม่มคี วามเสี่ยงวา่ จะบิดพลิว้ สญั ญา กรณีขายออปชนั : ผูข้ ายจะต้องวาง “หลกั ประกันขัน้ ต้น” กอ่ น เพราะหากผ้ซู ้ือออปชนั ขอใชส้ ทิ ธิ ผู้ขายจะต้องปฏิบัติตามสัญญาโดยยอมให้ผู้ซ้ือใช้สิทธิ ซึ่งปกติแล้วผู้ขายจะขาดทุน จึงมแี นวโนม้ ทจ่ี ะบดิ พลว้ิ สญั ญามากกวา่ ผ้ซู ื้อ ท้ังนี้ โบรกเกอร์อนุพันธ์จะคำ�นวณ “หลักประกันขั้นต้น” และ “หลักประกัน รกั ษาสภาพ” ใหมท่ กุ วนั ตามความเสย่ี งของผลู้ งทนุ ทเ่ี ปลย่ี นแปลงไปจากระดบั ราคา ออปชนั และราคาสนิ ค้าอา้ งอิงทีเ่ ปลย่ี นแปลง สง่ ค�ำ ส่งั ซ้อื ขาย ก่อนส่งคำ�ส่ังซื้อหรือขายทุกคร้ัง ผู้ลงทุนต้องทราบความต้องการของ ตนเอง เชน่ ... ตอ้ งการ “ซอื้ ” หรอื “ขาย” อนุพนั ธ์ “ประเภทใด” B ตอ้ งการซอ้ื หรอื ขายสัญญาที่สนิ้ สดุ อายุ “เดอื นไหน” ต้องการซอ้ื หรอื ขายท่ี “ราคา” เท่าใด ต้องการซอื้ หรือขาย “จำ�นวน” ก่ีสญั ญา 44 Investor’s Practice Guide คมู่ ือผูล้ งทนุ ฉบับลงทุนในอนพุ นั ธ์

ตัวอย่างหนา้ จอการคำ�สง่ั ซ้ือขายอนุพนั ธ์ คำ�สั่งซื้อ ค�ำ ส่งั ขาย เมื่อส่งคำ�ส่งั ซือ้ ขายผา่ นระบบซื้อขายของ TFEX แลว้ ระบบจะท�ำ การจบั คู่ค�ำ สงั่ ซอื้ ขายและจะยนื ยนั รายการซอ้ื ขายใหโ้ บรกเกอรท์ ราบ เพอ่ื ใหโ้ บรกเกอรแ์ จง้ แกล่ กู คา้ ของตน สรปุ กำ�ไรขาดทนุ ทกุ วัน หลังจากที่ซื้อหรือขายไปแล้ว โบรกเกอร์จะคำ�นวณเงินกำ�ไรขาดทุนทุกส้ินวัน ทำ�การ (Mark to Market) จนกวา่ ผ้ลู งทุนจะปิดสถานะลง โดยค�ำ นวณจาก “ราคาที่ ใชช้ �ำ ระราคาประจำ�วนั ” (Daily Settlement Price) หากในวนั นน้ั ๆ ผลู้ งทนุ ไดก้ �ำ ไร โบรกเกอรก์ จ็ ะโอนเงนิ สว่ นของก�ำ ไรเขา้ ไปรวมกบั เงนิ หลกั ประกนั ทผ่ี ลู้ งทนุ วางไว้ แตห่ ากขาดทนุ โบรกเกอรก์ จ็ ะโอนเงนิ ออกจากบญั ชเี งนิ หลกั ประกันของผลู้ งทนุ 45Investor’s Practice Guide คมู่ ือผลู้ งทุน ฉบบั ลงทุนในอนุพันธ์

BROKER BROKER ได้ก�ำ ไร ขาดทุน โบรกเกอรจ์ ะโอนเงนิ โบรกเกอรจ์ ะหกั เงิน เข้าบญั ชีให้ ออกจากบญั ชีให้ การคิดก�ำไรขาดทุนทุกสิ้นวันท�ำการจะท�ำให้เงิน หลักประกันที่ผู้ลงทุนวางไว้เพิ่มข้ึนหรือลดลงทุกวัน และหากเงินหลักประกันนี้ ลดลงจนต่�ำกว่าระดับ “หลักประกันรักษาสภาพ” โบรกเกอร์ก็จะ “เรียกเก็บ เงินประกนั เพมิ่ ขนึ้ ” (Margin Call) ใหเ้ ทา่ กับเงินประกนั ข้ันต้นอีกคร้ังหน่ึง หากผู้ลงทุนไม่สามารถวางเงิน หลักประกันได้ทันตามเวลาท่ีโบรกเกอร์ก�ำหนด โบรกเกอรจ์ ะปดิ สถานะของสญั ญาของผูล้ งทุนลง Margin Call ขาดทุน หลกั ประกันข้ันตน้ (Initial Margin: IM) หลักประกันรกั ษาสภาพ (Maintenance Margin: MM) โบรกเกอร์ ผ้ลู งทนุ 46 Investor’s Practice Guide คมู่ ือผูล้ งทนุ ฉบบั ลงทุนในอนพุ นั ธ์

ตัวอย่างการค�ำ นวณก�ำ ไรขาดทุน และการวางหลักประกนั เพิ่มของ SET50 Futures สมมตใิ ห้ SET50 Futures มี IM = 20,000 บาท และ MM = 14,000 บาท รายการทเ่ี กดิ ขึ้น ราคาที่ใช ้ กำ�ไร / ขาดทนุ วางเงินเพ่ิม ยอดเงนิ ช�ำ ระราคา ในบัญชี ซ้อื ฟวิ เจอร์สที่ 920 จุด 20,000 ปรบั ปรงุ ก�ำ ไรขาดทนุ 922.00 (922 – 920) x 200 20,400 = +400 ปรับปรงุ ก�ำ ไรขาดทนุ 909.00 (909 – 922) x 200 17,800 = -2,600 ปรบั ปรงุ กำ�ไรขาดทุน 889.00 (889 – 909) x 200 13,800 = -4,000 วางเงนิ ประกนั เพิ่ม 6,200 20,000 หมายเหตุ : SET50 Futures 1 จดุ = 200 บาท ในทางปฏบิ ตั โิ บรกเกอรอ์ นพุ นั ธจ์ ะแนะน�ำ ใหผ้ ลู้ งทนุ เตมิ เงนิ กอ่ นทเ่ี งนิ หลกั ประกนั จะลดลงไปจนถงึ ระดบั “หลกั ประกนั รกั ษาสภาพ”เพอื่ เปน็ การลดความเสย่ี งทผ่ี ลู้ งทนุ จะถูกบังคบั ปดิ สถานะ (Force Close) หากไม่สามารถวางเงินหลักประกนั ไดท้ ัน ปิดสถานะ เมื่อซื้อขายไปแล้ว ผู้ลงทุนสามารถปิดสถานะของสัญญาก่อน โดยไม่ต้องรอ จนสัญญาหมดอายุ เพื่อรับรู้กำ�ไรหรือขาดทุนท่ีเกิดขึ้นทันที หรืออาจจะถือสัญญา ดงั กล่าวไปจนกระท่งั สัญญาหมดอายุลงก็ได้ ปิดสถานะ 47Investor’s Practice Guide ค่มู ือผู้ลงทนุ ฉบับลงทนุ ในอนพุ นั ธ์

5 หม่นั เชค็ สถานะ ปิดสถานะของสัญญา ถือสญั ญาไปจนครบ และปดิ สถานะการลงทนุ ก่อนสญั ญา กำ�หนดอายุ ครบกำ�หนดอายุ เนื่องจากฟิวเจอรส์ และออปชันเปน็ สญั ญาท่ีมอี ายุจ�ำ กัด ผลู้ งทนุ จงึ ควรตรวจ สอบสถานะของตนอยู่ตลอดเวลาว่า... มีกำ�ไรหรือขาดทุนจากการลงทุนเท่าไรบ้าง เพื่อตัดสินใจว่าจะถือสัญญาน้ีต่อไปหรือไม่ เช่น อาจตรวจสอบดูว่าตอนนี้ได้กำ�ไร พอแลว้ หรือยัง หรอื ถ้าถือต่อไปจะขาดทนุ มากข้ึนหรือไม่ โดยผลู้ งทนุ มที างเลอื กทจ่ี ะปดิ สถานะของตนเองได้ 2 ทาง คือ “ปดิ สถานะของ สญั ญาก่อนสญั ญาครบก�ำ หนดอายุ” หรอื “ถือสญั ญาไปจนครบก�ำ หนดอายุ” กรณีปดิ สถานะของสญั ญาก่อนสญั ญาครบก�ำ หนดอายุ หากได้กำ�ไรตามท่ีพอใจแล้ว หรือมีผลขาดทุนจนไม่สามารถยอมรับได้และไม่ สามารถวางเงนิ ประกนั เพ่มิ เติมได้แล้ว ผู้ลงทุนสามารถเลอื กทจ่ี ะปดิ สถานะหรือล้าง สถานะ (Offset Position) ของตนเองไดก้ อ่ นทสี่ ญั ญาหมดอายุ ดว้ ยการซอ้ื หรอื ขาย สญั ญาเดิมในทิศทางตรงกนั ขา้ ม ซื้อสัญญา ขายสัญญา ผู้ลงทนุ ซื้อสญั ญา ปิดสถานะโดยขายสัญญา ขายสัญญา ซอ้ื สญั ญา ผลู้ งทุนขายสญั ญา ปดิ สถานะโดยซอื้ สญั ญา 48 Investor’s Practice Guide ค่มู ือผู้ลงทุน ฉบับลงทนุ ในอนุพนั ธ์

โดยในกรณีของ “ฟิวเจอร์ส” การปิดสถานะจะต้องเป็นสัญญาเดียวกัน คือ ครบก�ำ หนดสง่ มอบเดอื นเดยี วกนั สว่ นกรณขี อง“ออปชนั ”จะตอ้ งเปน็ ประเภทเดยี วกนั เดอื นเดยี วกัน และมีราคาใชส้ ทิ ธริ าคาเดยี วกัน กรณถี อื สัญญาไปจนครบก�ำ หนดอายุ ราคาทใ่ี ชค้ �ำ นวณก�ำ ไรขาดทนุ คอื “ราคาทใี่ ชช้ �ำ ระราคาในวนั ซอ้ื ขายวนั สดุ ทา้ ย” (Final Settlement Price) ซึ่งจะแตกต่างกันออกไปตามประเภทของสินค้าอ้างอิง (ดูรายละเอียดในตาราง Contract Specification) โดยโบรกเกอร์จะจ่ายเงินคืนให้ ผู้ลงทุนตามยอดเงนิ หลกั ประกันท่คี งเหลือในบัญชีแกผ่ ูล้ งทุน สญั ญาครบ SEP กำ�หนดอายุ 29 โบรกเกอร์ ผูล้ งทนุ มีการคำ�นวณก�ำ ไรขาดทนุ ทกุ วัน จนถงึ วนั สุดทา้ ยของสัญญา 50,000 35,000 25,000 สัญญาครบ จ่ายเงินคืน กำ�หนดอายุ 50,000 ผูล้ งทนุ โบรกเกอร์ 49Investor’s Practice Guide คมู่ อื ผ้ลู งทนุ ฉบบั ลงทุนในอนุพนั ธ์

6 ประเมนิ ผลการลงทนุ และปรับสถานะพอรต์ ลงทุน การหมั่นติดตามวัดผลการลงทุนของตนเองก็เปรียบเสมือน การส่องกระจกที่จะสะท้อนรูปแบบการลงทุนที่ผ่านมา โดยหาก พบว่า... ผลการลงทุนแตกต่างไปจากเป้าหมายท่ีได้กำ�หนดไว้ใน ขั้นแรก ไม่ว่าจะได้กำ�ไรหรือขาดทุน ก็ถือเป็นประสบการณ์ท่ีจะใช้ ก�ำ หนดเปา้ หมายในการลงทนุ ครงั้ ตอ่ ๆ ไป รวมทงั้ เปน็ ปจั จยั ในการ พิจารณาเปลี่ยนกลยุทธ์การลงทุน หรือ ปรับสถานะพอร์ตลงทุน ให้สอดคล้องกับสถานการณ์ไดด้ ีย่งิ ขึน้ อนุพนั ธ์ เงินฝาก ตราสารหนี้ ห้นุ 50 Investor’s Practice Guide ค่มู ือผลู้ งทุน ฉบบั ลงทนุ ในอนุพันธ์


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook