Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงาน ความฉลาดทางดิจิตอล DQ

รายงาน ความฉลาดทางดิจิตอล DQ

Published by LW Channels, 2021-08-24 04:54:12

Description: ความฉลาดทางดิจิตอล-นางสาวชลธฺิชา-บุญมีช่วย-634102009-สาขาภาษาอังกฤษ-หมู่1

Search

Read the Text Version

รายงาน เรื่อง ความฉลาดทางดิจิตอล จดั ทาโดย นางสาวชลธชิ า บุญมชี ว่ ย สาขาภาษาอังกฤษ หมู่1 รหัสนกั ศึกษา 634102009 เสนอ อาจารย์สุธดิ า ปรีชานนท์ วชิ านวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพอื่ การสอ่ื สาร การศกึ ษา

ความฉลาดทางดิจติ อล DQ : Digital Intelligence Quotient

คำนำ รำยงำนฉบับนเี้ ปน็ ส่วนหนง่ึ ของวชิ ำนวัตกรรมและเทคโนโลยสี ำรสนเทศเพ่ือกำรสือ่ สำร กำรศึกษำ โดยมจี ุดประสงค์ เพอื่ ศึกษำหำควำมร้ใู นเรื่อง DO Digital Citizenship ซึ่งรำยงำนนี้มี เน้อื หำเกีย่ วกบั ทกั ษะในกำรรักษำอัตลักษณ์ท่ีดีของตนเอง ทักษะกำรคิดวเิ ครำะห์วจิ ำรณญำณที่ดี ทักษะในกำรรักษำควำมปลอดภยั ของตนเองในโลกไซเบอร์ ทักษะในกำรรักษำขอ้ มลู ส่วนตัว ทกั ษะใน กำรจัดสรรเวลำหนำ้ จอ ทกั ษะในกำรบรหิ ำรจัดกำรข้อมูลท่ผี ้ใู ช้งำนมีกำรท้ิงไว้บนโลกออนไลน ทักษะ ในกำรรบั มอื กบั กำรกล่ันแกลง้ บนโลกไซเบอร์ และทกั ษะกำรใช้เทคโนโลยีอยำ่ งมจี รยิ ธรรม ผ้จู ดั ทำจะต้องขอขอบคณุ อำจำรย์สธุ ิดำ ปรชี ำนนท์ ในควำมรู้ และแนวทำงกำรศึกษำ ผูจ้ ัดทำ หวงั วำ่ รำยงำนฉบับนจี้ ะใบควำมรู้ และเป็นประโยชนแ์ กผ่ ูอ้ ่ำนหรือนกั ศึกษำทกี่ ำลงั หำขอ้ มูล เรือ่ งนอ้ี ยู่ มำกมำยแนะนำหรอื ขอผิดพลำดประกำรใด จัดทำขอนอมรบั ไว้และขออภยั มำ ณ ทีน่ ด้ี ้วย

สารบัญ • ทักษะดิจทิ ัล ก้ำวสู่ พลเมอื งในศตวรรษท่ี 21 1.ทักษะในกำรรกั ษำอัตลักษณ์ท่ดี ีของตนเอง (Digital Citizen Identity) 2.ทกั ษะในกำรรักษำขอ้ มูลส่วนตัว (Privacy Management) 3.ทักษะในกำรคิดวิเครำะหม์ วี จิ ำรณญำณทดี่ ี (Critical Thinking) 4.ทักษะในกำรจัดสรรเวลำหน้ำจอ (Screen Time Management) 5.ทกั ษะในกำรรบั มือกบั กำรคุกคำมทำงโลกออนไลน์ (Cyberbullying Management) 6.ทกั ษะในกำรบริหำรจดั กำรข้อมลู ทผี่ ใู้ ช้งำนท้ิงไว้บนโลกออนไลน์ (Digital Footprints) 7.ทกั ษะในกำรรกั ษำควำมปลอดภยั ของตนเองในโลกออนไลน์ (Cybersecurity Management) 8.ทักษะในกำรใชเ้ ทคโนโลยอี ยำ่ งมจี ริยธรรม (Digital Empathy) • กล่ำวโดยสรปุ • บรรณำนกุ รม

ทักษะดจิ ิทลั ก้าวสู่ พลเมืองในศตวรรษท่ี 21 ก่อนจะทรำบถึงทกั ษะด้ำนดจิ ิทลั ขอให้คำนิยำมควำมหมำยของประโยคทวี่ ่ำ \"ควำมเป็นพลเมอื งดจิ ทิ ลั \" ท่ที กุ ประเทศท่วั โลกคำดหวงั ให้เกิดข้นึ ในประชำกรของ ตน คอื \"พลเมอื งผใู้ ชง้ ำนส่อื ดิจิทัลและสอ่ื สังคมออนไลนอ์ ยำ่ งเข้ำใจบรรทดั ฐำน ของ กำรปฏบิ ตั ิตวั ใหเ้ หมำะสม และมคี วำมรับผิดชอบในกำรใชเ้ ทคโนโลยี โดยเฉพำะอยำ่ ง ย่ิงกำรสอ่ื สำรในยคุ ดจิ ิทัลเป็นกำรส่ือสำรท่ีไรพ้ รมแดนจำเปน็ ตอ้ งมคี วำมฉลำดทำง ดิจิทัล (DQ: Digital Intelligence)

ทักษะดิจิทัล ก้าวสู่ พลเมืองในศตวรรษที่ 21 \" ควำมฉลำดทำงดจิ ทิ ัล (Digital Intelligence Quotient : DQ) คอื กลุ่มของควำมสำมำรถทำงสังคม อำรมณ์ และกำรรับรู้ ท่ีจะทำใหค้ นคนหน่งึ สำมำรถเผชิญกบั ควำมทำ้ ทำยบนเสน้ ทำงของชวี ติ ในยุคดิจทิ ลั และสำมำรถปรบั ตัว ให้เขำ้ กบั ชีวติ ดิจทิ ลั ได้ ควำมฉลำดทำงดจิ ิทัลครอบคลุมท้ังควำมรู้ ทักษะ ทศั นคติและค่ำนยิ มท่จี ำเปน็ ตอ่ กำรใช้ชวี ิต ในฐำนะสมำชกิ ของโลกออนไลน์ กล่ำวอกี นัยหนง่ึ คอื ทักษะกำรใชส้ ือ่ และกำรเข้ำสังคมในโลกออนไลน์ดังนน้ั พลเมือง ดิจทิ ลั จงึ หมำยถึง สมำชิกบนโลกออนไลน์ ทใ่ี ช้เครือข่ำยอนิ เทอร์เน็ต ซ่งึ มีควำมหลำกหลำยทำงเช้อื ชำติ อำยุ ภำษำ และวัฒนธรรม ดงั นนั้ พลเมืองดิจทิ ัลทุกคนจงึ ตอ้ งมี ‘ควำมเปน็ พลเมืองดจิ ิทัล’ ทมี่ ีควำมฉลำดทำงดิจทิ ลั บนพ้ืนฐำน ของควำมรับผิดชอบ กำรมจี รยิ ธรรม กำรมสี ่วนรว่ ม ควำมเห็นอกเหน็ ใจและเคำรพผู้อ่ืน โดยมงุ่ เน้นควำมเปน็ ธรรมใน สังคม ปฏิบัตแิ ละรักษำไวซ้ ่ึงกฎเกณฑ์ เพ่ือสร้ำงควำมสมดุลของกำรอยรู่ ่วมกนั อยำ่ งมคี วำมสขุ กำรเป็นพลเมืองดิจิทลั นน้ั มที ักษะสำคัญ 8 ประกำร ท่คี วรบ่มเพำะใหเ้ กิดขึ้นกับพลเมืองดจิ ิทลั ทกุ คนในศตวรรษ ท่ี 21 ดังรูปภำพหนำ้ ตอ่ ไป



ทั ก ษ ะ ใ น ก า ร รั ก ษ า อั ต ลั ก ษ ณ์ ท่ี ดี ข อ ง ต น เ อ ง (Digital Citizen Identity) ตอ้ งมีควำมสำมำรถในกำรสรำ้ งสมดุล บริหำรจดั กำร รกั ษำอัตลักษณท์ ด่ี ขี องตนเองไว้ให้ ได้ ทั้งในส่วนของโลกออนไลน์และโลกควำมจรงิ โดยตอนน้ีประเดน็ เร่อื งกำรสรำ้ งอตั ลักษณ์ ออนไลนถ์ อื เป็นปรำกฏกำรณใ์ หม่ ทที่ ำใหบ้ คุ คลสำมำรถแสดงออกถงึ ควำมเป็นตวั ตนต่อสังคม ภำยนอก โดยอำศัยช่องทำงกำรสอ่ื สำรผำ่ นเว็บไซต์เครือขำ่ ยสงั คมในกำรอธบิ ำยรปู แบบใหมข่ อง กำรสื่อสำรแบบมปี ฏสิ มั พนั ธ์ทำงอินเทอร์เน็ต ซง่ึ เป็นกำรแสดงออกเกย่ี วกับตวั ตนผำ่ นเวบ็ ไซต์ เครือขำ่ ยสังคมต่ำงๆ

ทกั ษะในการรักษาขอ้ มูลส่วนตวั (Privacy Management) ดุลพนิ จิ ในกำรบริหำรจดั กำรขอ้ มูลสว่ นตัว โดยเฉพำะกำรแชร์ข้อมูล ออนไลนเ์ พอื่ ป้องกันควำมเป็นส่วนตัวท้งั ของตนเองและผูอ้ ่นื เปน็ ส่ิงสำคญั ท่ตี ้อง ประกอบอยู่ในพลเมืองดิจทิ ลั ทกุ คน และพวกเขำจะต้องมีควำมตระหนกั ในควำม เท่ำเทยี มกันทำงดิจทิ ัล เคำรพในสทิ ธขิ องคนทกุ คน รวมถงึ ตอ้ งมีวจิ ำรณญำณใน กำรรักษำควำมปลอดภยั ของขอ้ มลู ตนเองในสงั คมดิจิทลั รูว้ ่ำขอ้ มลู ใดควรเผยแพร่ ขอ้ มูลใดไม่ควรเผยแพร่ และตอ้ งจดั กำรควำมเสย่ี งของขอ้ มูลของตนในสอ่ื สงั คม ดิจทิ ัลไดด้ ว้ ย

ทักษะในการคิดวเิ คราะห์มวี ิจารณญาณทีด่ ี (Critical Thinking) ควำมสำมำรถในกำรวิเครำะห์แยกแยะระหวำ่ งข้อมูลทถี่ ูกตอ้ งและขอ้ มูลทผี่ ดิ ขอ้ มลู ทม่ี เี น้อื หำดี และขอ้ มลู ทเี่ ข้ำขำ่ ยอนั ตรำย ร้วู ำ่ ขอ้ มูลลักษณะใดทถ่ี กู สง่ ผำ่ นมำทำงออนไลน์แลว้ ควรตั้งข้อสงสัย หำ คำตอบให้ชัดเจนกอ่ นเชอื่ และนำไปแชร์ ด้วยเหตนุ ี้ พลเมอื งดิจทิ ลั จึงตอ้ งมีควำมรู้ควำมสำมำรถในกำร เข้ำถงึ ใช้ สรำ้ งสรรค์ ประเมนิ สงั เครำะห์ และสื่อสำรขอ้ มลู ข่ำวสำรผำ่ นเครื่องมือดิจิทัล ซ่ึงจำเปน็ ต้องมี ควำมรดู้ ้ำนเทคนิคเพอ่ื ใชเ้ ครอื่ งมือดิจิทัล เชน่ คอมพิวเตอร์ สมำรต์ โฟน แท็บเลต็ ได้อย่ำงเช่ียวชำญ รวมถงึ มที กั ษะในกำรร้คู ิดขน้ั สูง เชน่ ทกั ษะกำรคดิ อย่ำงมวี จิ ำรณญำณ ท่ีจำเป็นต่อกำรเลอื ก จัดประเภท วิเครำะห์ ตีควำม และเขำ้ ใจข้อมลู ข่ำวสำร มคี วำมรูแ้ ละทักษะในสภำพแวดลอ้ มดิจิทลั กำรรู้ดิจทิ ลั โดยมุ่ง ใหเ้ ปน็ ผ้ใู ช้ทดี่ ี เป็นผูเ้ ข้ำใจบรบิ ททด่ี ี และเปน็ ผสู้ รำ้ งเนือ้ หำทำงดจิ ิทลั ทด่ี ี ในสภำพแวดล้อมสังคมดิจิทัล

ทั ก ษ ะ ใ น ก า ร จั ด ส ร ร เ ว ล า ห น้ า จ อ (Screen Time Management) ทักษะในกำรบรหิ ำรเวลำกบั กำรใชอ้ ปุ กรณย์ คุ ดิจทิ ลั รวมไปถึงกำรควบคมุ เพ่อื ใหเ้ กดิ สมดุลระหวำ่ งโลกออนไลน์และโลกภำยนอก นับเป็นอกี หนึ่งควำมสำมำรถท่ี บง่ บอกถงึ ควำมเปน็ พลเมืองดิจิทลั ไดเ้ ป็นอย่ำงดี เพรำะเป็นทร่ี กู้ ันอยู่แล้ววำ่ กำรใช้ เทคโนโลยีสำรสนเทศทีข่ ำดควำมเหมำะสมยอ่ มสง่ ผลเสยี ตอ่ สุขภำพโดยรวม ท้งั ควำมเครยี ดตอ่ สุขภำพจิตและเป็นสำเหตกุ อ่ ใหเ้ กดิ ควำมเจ็บป่วยทำงกำย ซึ่งนำไปสูก่ ำร สญู เสียทรพั ย์สินเพือ่ ใชร้ กั ษำ และเสยี สขุ ภำพในระยะยำวโดยรูเ้ ทำ่ ไมถ่ งึ กำรณ์

ทักษะในการรับมือกับการคุกคามทางโลกออนไลน์ (Cyberbullying Management) จำกขอ้ มูลทำงสถิติลำ่ สดุ สถำนกำรณ์ในเร่อื ง Cyber bullying ในไทย มคี ่ำเฉลี่ย กำรกลั่นแกลง้ บนโลกออนไลนใ์ นรูปแบบต่ำงๆ ทส่ี ูงกวำ่ คำ่ เฉลย่ี โลกอย่ทู ี่ 47% และเกิดใน รปู แบบท่ีหลำกหลำย อำทิ กำรด่ำทอกนั ดว้ ยข้อควำมหยำบคำย กำรตัดต่อภำพ สร้ำง ข้อมูลเทจ็ รวมไปถึงกำรตง้ั กล่มุ ออนไลนก์ ดี กันเพอ่ื นออกจำกกลุ่ม ฯลฯ ดังนน้ั วำ่ ท่พี ลเมือง ดิจทิ ลั ทุกคน จงึ ควรมีควำมสำมำรถในกำรรบั รู้และรบั มอื กำรคกุ คำมขม่ ขบู่ นโลกออนไลนไ์ ด้ อยำ่ งชำญฉลำด เพ่อื ป้องกนั ตนเองและคนรอบข้ำงจำกกำรคกุ คำมทำงโลกออนไลน์ใหไ้ ด้

ทักษะในการบรหิ ารจัดการข้อมูลทผี่ ใู้ ชง้ านทงิ้ ไว้บนโลกออนไลน์ (Digital Footprints) มรี ำยงำนกำรศึกษำวิจยั ยนื ยันว่ำ คนร่นุ Baby Boomer คือ กลุม่ Aging ทเ่ี กิดต้ังแตป่ ี พ.ศ. 2487 – 2505 มักจะใชง้ ำนอปุ กรณ์คอมพวิ เตอร์หรอื โทรศพั ท์เคลอ่ื นทขี่ องผอู้ ืน่ และเปิดใชง้ ำน WiFi สำธำรณะ เสร็จแล้วมกั จะละเลย ไมล่ บรหสั ผ่ำนหรอื ประวตั กิ ำรใช้งำนถงึ 47% ซงึ่ เสยี่ งมำกทจี่ ะถูก ผู้อ่นื สวมสทิ ธิ ขโมยตัวตนบนโลกออนไลน์ และเข้ำถงึ ขอ้ มูลสว่ นบคุ คลได้อย่ำงง่ำยดำย ดังนนั้ ควำม เปน็ พลเมืองดิจิทัล จึงต้องมีทกั ษะควำมสำมำรถทจี่ ะเขำ้ ใจธรรมชำติของกำรใช้ชวี ติ ในโลกดจิ ิทัล ว่ำ จะหลงเหลอื ร่องรอยข้อมูลทงิ้ ไว้เสมอ รวมไปถงึ ตอ้ งเขำ้ ใจผลลพั ธ์ทีอ่ ำจเกิดขน้ึ เพอื่ กำรดูแลสงิ่ เหลำ่ นี้ อยำ่ งมีควำมรบั ผิดชอบ

ทักษะในการรักษาความปลอดภัยของตนเองในโลก ออนไลน์ (Cybersecurity Management) ควำมสำมำรถในกำรปอ้ งกันขอ้ มูลดว้ ยกำรสร้ำงระบบควำมปลอดภัยทเี่ ขม้ แขง็ และ ป้องกันกำรโจรกรรมข้อมลู ไมใ่ ห้เกดิ ขึน้ ได้ ถำ้ ตอ้ งทำธุรกรรมกับธนำคำรหรอื ซอ้ื สนิ คำ้ ออนไลน์ เช่น ซือ้ เสือ้ ผำ้ ชดุ เดรส เป็นตน้ ควรเปลีย่ นรหัสบ่อยๆ และควรหลีกเลย่ี งกำรใช้คอมพวิ เตอร์ สำธำรณะ และหำกสงสยั วำ่ ขอ้ มลู ถกู นำไปใชห้ รอื สูญหำย ควรรีบแจง้ ควำมและแจง้ หนว่ ยงำน ทเ่ี กีย่ วข้องทนั ที

ทักษะในการใชเ้ ทคโนโลยอี ย่างมี จรยิ ธรรม (Digital Empathy) ควำมสำมำรถในกำรเหน็ อกเหน็ ใจและสร้ำงควำมสัมพนั ธท์ ีด่ กี ับผู้อืน่ บนโลกออนไลน์ พลเมอื งดิจิทัลท่ดี ีจะต้องรถู้ ึงคณุ ค่ำและจรยิ ธรรมจำกกำรใชเ้ ทคโนโลยี ตอ้ งตระหนกั ถึงผล พวงทำงสังคม กำรเมอื ง เศรษฐกจิ และวัฒนธรรม ที่เกดิ จำกกำรใชอ้ ินเทอร์เนต็ กำรกดไลก์ กดแชร์ ขอ้ มลู ข่ำวสำร ออนไลน์ รวมถึงรจู้ ักสิทธแิ ละควำมรบั ผิดชอบออนไลน์ อำทิ เสรีภำพ ในกำรพูด กำรเคำรพทรพั ยส์ นิ ทำงปญั ญำของผอู้ นื่ และกำรปกปอ้ งตนเองและชมุ ชนจำก ควำมเสี่ยงออนไลน์ เชน่ กำรกล่นั แกล้งออนไลน์ ภำพลำมกอนำจำรเด็ก สแปม เป็นต้น

กล่าวโดยสรุป การจะเป็นพลเมืองดจิ ิทลั ท่ีดีนัน้ ต้องมคี วามฉลาดทางดิจทิ ัล ซง่ึ ประกอบข้นึ ด้วยชุดทกั ษะ และความรทู้ ั้งในเชงิ เทคโนโลยแี ละการคดิ ข้นั สูง หรือที่เรยี กวา่ “ความรดู้ ิจิทลั ” (Digital Literacy) เพอ่ื ให้สามารถใช้ประโยชนจ์ ากขอ้ มลู ขา่ วสารในโลกไซเบอร์ ร้วู ิธีป้องกันตนเองจากความเส่ยี งต่างๆ ในโลกออนไลน์ เขา้ ใจถึงสิทธิ ความรบั ผิดชอบ และจรยิ ธรรมทสี่ าคญั ในยุคดิจทิ ลั และใช้ประโยชน์ จากอินเทอรเ์ น็ตในการมีส่วนร่วมทางการเมือง เศรษฐกิจ สงั คม และวัฒนธรรม ท่เี กีย่ วกับตนเอง ชุมชน ประเทศ และพลเมืองบนโลก ไดอ้ ย่างสร้างสรรค์

บรรณานุกรม บ ท ค ว า ม เ ร่ื อ ง “ พ ล เ มื อ ง ดิ จิ ทั ล ( D i g i t a l C i t i z e n s h i p ) ” โ ด ย P h i c h i t r a P h e t p a r e e | เ ผ ย แ พ ร่ บ น เ ว็ บ ไ ซ ต์ ส ส ส . ( วั น ท่ี 2 7 มี น า ค ม 2 5 6 2 ) เ อ ก ส า ร วิ ช า ก า ร อ อ น ไ ล น์ เ รื่ อ ง “ คู่ มื อ พ ล เ มื อ ง ดิ จิ ทั ล ” โ ด ย ว ร พ จ น์ ว ง ศ์ กิ จ รุ่ ง เ รื อ ง เ ผ ย แ พ ร่ ค ร้ั ง แ ร ก : มิ ถุ น า ย น 2 5 6 1

THANK YOU THANK YOU THANK YOU


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook