Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือการใช้งาน ระบบจัดการเรียนรู้ออนไลน์ padlet

คู่มือการใช้งาน ระบบจัดการเรียนรู้ออนไลน์ padlet

Description: คู่มือการใช้งาน ระบบจัดการเรียนรู้ออนไลน์ padlet

Search

Read the Text Version

APRIL 2020 PADLET เครอื งมอื จดั การเรยี นรอู้ อนไลน์ PREPARED BY: ดร.แกง TARGET GROUPS: ครู ผู้สอน กระบวนกร ผู้บริหาร และผู้สนใจทัวไปที อยากจะเรียนรู้ตลอดชีวิต

TO MY PARENTS หนังสือเล่มนีอุทิศแด่คุณพ่ออํานวย ประสงค์จีน ผู้ล่วงลับไปแล้ว และคุณแม่เรืองรอง ประสงค์จีน ผู้เปดโอกาสให้ลูกชายได้เรียนรู้ตังแต่เด็ก หวังว่าจะเปนประโยชน์กับทุกคนนะครับ ดร.แกง ดร.แกง NIAID-COVID-Electron Microscope PAGE 02

การลงทะเบยี นใชง้ าน https://th.padlet.com

ก ร ะ ด า น จั ด ก า ร ร ว ม ความสาํ คั ญ เมือเข้าใช้งานเปนครังแรก ระบบจะเสนอให้คุณสร้างกระดานออนไลน์ขึนมาใหม่ กดปุมทีชมพู ทีเขียนว่า make a padlet และหากคุณสร้างกระดานแล้ว ผลงานทีคุณสร้าง ทังหมดจะมาอยู่รวมกันทีนี แถบด้านซ้ายมือจะรวบรวมกิจกรรมทีเกิดขึนกับกระดานของคุณ ทังหมด อย่างไรก็ตามการใช้งานฟรีจะจาํ กัดจาํ นวนกระดานทีคุณสามารถสร้างได้ และเครืองมือในการ ใช้งานของบัญชีแบบพรีเมียมก็จะมีมากกว่า ดร.แกง PAGE 04

ส ร้ า ง ก ร ะ ด า น ใ ห ม่ ความสาํ คั ญ เมือต้องการสร้างกระดานใหม่ ระบบจะให้คุณเลือกรูปแบบกระดานทีต้องการสร้าง ส่วนนีสาํ คัญพอสมควรเพราะ จะเกิดความง่ายในการเพิมข้อมูล ง่ายในการสรุปข้อมูลและนําข้อมูลไปใช้ในอนาคต wall เปนรูปแบบทีง่ายทีสุด เหมือนวางกระดาษบนฝาผนังห้อง จะวางตําแหน่งใดก็ได้ ระบบจะจัดเรียงตัวเอง เหมือนอิฐ canvas เปนการจัดวางทีเน้นการสร้างกลุ่มชุดข้อมูล เห็นความเชือมโยงกัน stream ข้อมูลจะเรียงจากบนลงล่าง เพียงแถวเดียว grid กระดานจะแบ่งเปนแถว เปนกล่องข้อความทีเรียงตามแนวระนาบ shelf กระดานจะแบ่งเปนคอลัมน์ เหมือนชันวางหนังสือ backchannel เปนกล่องข้อความคล้ายบทสนทนา เหมาะกับการสือสารระหว่างสองคน map เปนการเพิมข้อมูลในแผนทีโลก ใช้แผนทีจากระบบ Google map สามารถปกหมุดเพิมกระดานข้อมูล timeline เปนการเพิมข้อมูลทีต้องการแสดงลําดับก่อน-หลัง สามารถปรับเลือนตําแหน่ง แก้ไขได้ภายหลัง ดร.แกง PAGE 05

การแนบข้อมู ลประกอบ ความสาํ คั ญ ในการโพสลงกระดาน จะมีส่วนของชือผู้ โพส และเนือหาทีพิมพ์ใหม่ หากต้องการแนบข้อมูลประกอบ สามารถเลอกชนิดไฟล์ได้หลากหลาย เช่น ไฟล์เอกสารทีบันทึกไว้แล้ว เช่น เอกสารงานขียน ภาพ คลิป ลิงค์ URL สือจาก Google เช่น ภาพ ยูทูป การถ่ายภาพโดยตรงในขนะนันๆ จาก อุปกรณ์ เช่น โทรศัพท์มือถือ รวมถึง บันทึกคลิปวิดิโอ คลิปเสียง ก็ สามารถทําได้ และฟงก์ชันอืนๆ ดร.แกง PAGE 06

การกําหนดรู ปแบบ ความสาํ คั ญ ผู้ใช้กระดานควรกําหนดรูปแบบก่อนจะใช้งาน โดยกําหนดชือเรือง คําอธิบาย ในส่วนของ URL address นันสามารถเปลียนให้สันและ จดจาํ ได้ง่าย ในส่วนขอ appearance สามารถเลือกภาพพืนหลัง (wallpaper) สามารถเลือกจากระบบ หรือจะอับโหลดภาพที คุณชืนชอบมาใช้งานก็ได้เช่นกัน การเลือกสีและฟอนท์ก็สามารถกหนดรูปแบบได้ ในหัวข้อ posting กําหนด attribution หากต้องการจะใส่ชือผู้โพสด้วย โพสทีมาทีหลัง โพสใหม่กว่า จะอยู่บน (first) อนุญาตให้คอมเมนท์ใต้โพส ส่วนนีสาํ คัญหากคุฯต้องการให้ นักเรียนอภิปราย วิจารย์ หรือให้ความเห็นกับโพสของนักเรียน คนอืนๆ หากต้องการตรวจสอบการโพสก่อน แล้วจึงอนุมัติให้เผยแพร่ ก็เลือก require approval ดร.แกง PAGE 07

การแบ่งปนและนาํ ไปใช้ ป ร ะ โ ย ช น์ ความสาํ คั ญ ผู้ใช้กระดานควรกําหนดการเข้าถึงว่าต้องการใช้งาน เพียงคนเดียวหรือมีสมาชิกในทีม กดที invite member ความเปนส่วนตัว (Privay) หากต้องการให้คนอืน เห็นเพือร่วมโพส แต่ไม่ต้องการให้คนค้นหาเจอในที สาธารณะ หมายถึงไม่ไปโผล่ในกูเกิล ก็เลือก secret สาํ หรับการแชร์ (share) แบ่งปนกระดานนันสามารถ ทําได้หลากหลายรูปแบบ เช่น คัดลอกลิงค์ สร้าง QR code นําไปใส่ในเว็บไซต์ อีเมล์ หรือแชร์ในโซเชียลมี เดียว และระบบจัดการเรียนรู้ Google Classroom ในหัวข้อ export หมายถึงการส่งออกข้อมูลในรูป แบบต่างๆ เช่น ภาพ เอ็กเซล พีดีเอฟ ส่วนนีมี ประโยชน์ในการวิเคราะห์ สรุปผล หรือจัดทํารายงาน รวมทังสามารถสังปรินท์ได้โดยตรงจากหน้ากระดาน ดร.แกง PAGE 08

การจัดข้อมู ลแบบอิ สระ ความสาํ คั ญ การใช้งานกระดานในรูปแบบนี เหมาะกับการระดมสมองสาํ หรับชันเรียน ทุกคนสามารถโพสได้ อย่างอิสระ ไม่มีการจัดกลุ่ม ข้อมูลจะจัดตัวเรียงคล้ายกับผนังอิฐ ผู้สอนควรตังคําถาม กําหนดประเด็นในการพู ดคุย ระดมสมอง ให้สอดคล้องกับกิจกรรมการเรียนรู้ แล้วจึง ส่งลิงค์ให้นักเรียนร่วมโพสข้อมูลบนกระดาน และควรกําหนดเวลาจบกิจกรรมเพือนาํ ข้อมูลไปใช้ในการเรียน รู้ในขันตอนต่อไป หรือใช้กระดานเปนพืนทีส่งงาน ส่งคําตอบในกิจกรรมการสอบย่อยก็ย่อมได้ กระดานแบบอิสระยังสามารถใช้งานคนเดียวก็ได้เช่นกัน ใช้ในการวางแผน รวบรวมข้อมูล ร่างแนวคิดหรือ โครงการ เปรียบเสมือนกระดานหรือฝาผนังบ้านทีสามารถบรรจุไอเดียได้ไม่จาํ กัด ดร.แกง PAGE 09

การจัดข้อมู ลเปนคอลั มน์ ความสาํ คั ญ การใช้กระดานรูปแบบนีเหมาะกับการระดมสมอง เพิมข้อมูล ทีเจ้าของกระดาน เช่น ครูผู้สอน มีการกําหนดหัวข้อหลัก หรือกําหนดชุดข้อมูล หรือสามารถแบ่งกลุ่มนักเรียนให้ทํากิจกรรม บนกระดานเดียวกัน แต่ทํากิจกรรมแยกกลุ่มคอลัมน์ ภาพด้านล่าง ผู้เขียนกําหนดให้นิสิตทุกคนระดมเพิมข้อมูลในคอมลัมน์แรกก่อน หลังจากนัน ค่อยๆ อธิบายแนวคิด และให้นิสิตระดมสมอง ทีละขันตอน ตามลําดับ จนครบทังสีคอลัมน์ 1 23 4 ดร.แกง PAGE 10

การใช้ระหว่างการประชุ ม อบรม บรรยาย ความสาํ คั ญ การใช้กระดาน padlet สามารถใช้งานได้หลากหลายกิจกรรม ขึนกับการออกแบบของผู้ใช้ หากเปน วิทยากรบรรยายก็สามารถระดมสมองตังแต่ตอนต้น อาจจะให้แนะนาํ ตัว ถามความต้องการและความ คาดหวัง หรือตังคําถามทีเกียวข้องกับการอบรมบรรยาย ระหว่างการอบรมก็สามารถใช้กระดานเปนระยะๆ เรียกว่าผสมผสานกันระว่างการบรรยายสดกับการใช้ เครืองมือออนไลน์ผ่านโทรศัพท์มือถือ อย่างไรก็ตาม ผู้สอนควรประเมินความพร้อมของผู้เรียนว่ามี เครืองมือหรือไม่ รวมทังความพร้อมของสัญญาณอินเตอร์เน็ต ในภาพเปนการสอบถามนักเรียนชันมัธยมศึกษาตอนต้นในเขตภาคอีสานทีเข้าร่วมอบรมที จ.มุกดาหาร ดร.แกง PAGE 11

การใช้สะท้ อนการเรียนรู้ ความรู้สึก และข้อเสนอแนะ ความสาํ คั ญ เมือจบการเรียนการสอน การอบรมบรรยาย การใช้กระดาน padlet จะมีประโยชน์ในการรวบรวมคอมเมนท์ ความรู้ ทักษะ และทัศนคติทีผู้เรียนได้รับ ในลักษณะทีไม่เปนทางการ การใช้กระดานออนไลน์เสมือนเปนสมุดบันทึก เปนไดอะรีเก็บความทรงจาํ บันทึกประสบการณ์ในการร่วม กิจกรรม ดังนันไม่มีกฏตายตัวในการใช้งาน ขึนกับความชอบ การออกแบบ และประสบการณ์ในการใช้งาน ยิงใช้งานบ่อย ก็จะค้นพบรูปแบบการใช้งานใหม่ๆ ปกติแล้วสาํ หรับการสอน ผู้เขียนจะใช้การประเมินออนไลนnในรูปแบบ Google forms ร่วมด้วย เพือ รวบรวมข้อมูลและประเมินผล ระบบจะช่วยวิเคราะห์ข้อมูล และครูสามารถนําข้อมูลไปใช้ต่อได้ง่าย ดร.แกง PAGE 12

ก า ร เ ผ ย แ พ ร่ ผ ล ง า น แ ล ะ ก า ร วิ จ า ร ณ์ ผ ล ง า น ความสาํ คั ญ เมือนาํ เรียนนาํ ส่งผลงานแล้ว อาจจัดแสดงผลงาน จัดนิทรรศการออนไลน์ (online exhibition) หรือใช้ทํากิจกรรมในชันเรียนต่อ เช่น การวิจารณ์ การให้คะแนน การประกวด การร่วมประเมิน (peer assessment) เพือ ตัดสินคะแนน เปนต้น ดร.แกง PAGE 13

ข้อมู ลตามลําดั บเวลา TIMELINE ความสาํ คั ญ ข้อมูลบางประเภทเหมาะกับการจัดเรียงในรูปแบบ Timeline เช่น การเรียน การสอนในวิชาประวัติศาสตร์ ระบบบริหารจัดการ ขันตอนการทํางาน การ เปลียนแปลงกฏิกิยาเคมี ประวัติส่วนตัว พร้อมกับแนบไฟล์สือได้ทุกรูปแบบ (ภาพตัวอย่างนีไม่ได้ทํา) สามารถแสดงข้อมูลลําดับการเปลียนแปลงในแนวดิง และแนวราบ ดร.แกง PAGE 14

การจัดกลุ่มข้อมู ล ความสาํ คั ญ หากต้องการระดมสมอง หรือรวบรวมข้อมูลเปนกลุ่ม สร้างความสัมพันธ์และความ เชือมโยงภายในกลุ่ม และสามารถเชือมโยงระว่างกลุ่ม สร้างแผนผังความคิดได้ ใน ลักษณะคล้ายๆ กับ mind map แต่มีลูกเล่นในการแนบไฟล์สือได้ทุกประเภท ตัวอย่างภาพในทีนีเปนการจัดกลุ่มสือคลิปวิดีโอทีมีเนือหาอยู่ในกลุ่มเดียวกัน ปกติ สามารถจัดเรียนในเอกสาร word document อยู่แล้ว แต่เมือนาํ มาโพสบนกระ ดานออนไลน์ ก็จะมองเห็นภาพ เห็นคลิป เห็นความสัมพันธ์เชือมโยง และสามารถ กดรับชมได้บนกระดาน โดยไม่ต้องออกจากหน้าต่างอินเตอร์เน็ตทีกําลังเปดอยู่ ดร.แกง PAGE 15

วิธีการจัดกลุ่มข้อมู ล กําหนดรู ปแบบ คลิกขวา แล้วเลือกฟอนท์ สี เส้น และรูปแบบทีเหมาะสม จั ด ก ลุ่ ม แ ล ะ ยกเลิ กกลุ่ม กดเลือก connect a post ที โพสทีต้องการจะเชือมโยงกับโพ สอืน มักจะเปนโพสหลัก หรือโพ สหัวข้อทีมีข้อมูลย่อยในกลุ่ม เดียวกัน กดเลือกในแถบสีชมพู หากต้องการจะยกเลิก ให้กด disconnect เครืองหมาย กากบาทบนเส้นทีเชือมไว้ ดร.แกง PAGE 16

ภู มิ สั ง ค ม ศ า ส ต ร์ ความสาํ คั ญ หากต้องการจัดการเรียนการสอนทีจาํ เปนต้องใช้แผนทีโลก ทีแสดงให้เห็นถึง ภูมิประเทศ ภาพถ่ายดาวเทียมทีให้บริการโดย Google map จะสามารถช่วยให้การ ระดมสมอง และการจัดการในชันเรียนมีความคล่องตัว ข้อมูลเปนชุดเดียวกันกับแผนที ออนไลน์ ไม่ต้องออกจากแอพพลิเคชัน สามารถใช้งาน ซูมเข้า-ออก เปลียนมุมมอง เรียนรู้จุดใดๆ ในแผนทีโลก ทะเล มหาสมุทร ภูเขา ทุ่งนา หรือพืนทีใดๆ ในโลก ผู้เรียน สามารถโพสเพิมข้อมูล แนบไฟล์สือ เหมือนดังการใช้งานกระดานปกติ ดร.แกง PAGE 17

ก า ร ใ ช้ แ ผ น ที ความสาํ คั ญ กระดานออนไลน์ padlet ทําให้การเรียนรู้ชุมชนผ่านแผนทีเกิดขึนได้หลากหลายรูปแบบ สร้าง กิจกรรมได้มากมาย เช่น การศึกษาสภาพภูมิศาสตร์ของชุมชน การสาํ รวจประเด็นเฉพาะ เช่น บ้านเรือน ธุรกิจ คลอง พืนทีการเกษตร การทําแผนทีชุมชน ร่วมกับแผนทีเดินดิน การกําหนดตําแหน่ง หรือพืนทีเปาหมายในการทําโครงการ และกิจกรรมเรียนรู้อืนๆ ที สามารถใช้แผนทีทางภูมิศาสตร์สนับสนุนการเรียนรู้ได้ การมอบหมายให้นักเรียนรายบุคคลหรือทําเปนกลุ่ม ช่วยกันเพิมข้อมูลบนแผนทีพร้อมกับแนบ ผลการสาํ รวจ แนบสือทีค้นหา หรือสือทีผลิตเอง นับว่าเปนกิจกรรมทีเรียนรู้ร่วมกัน (collaborative learning) อย่างเห็นได้ชัด สามารถแลกเปลียน วิจารณ์ และสะท้อน ผลผลิตและผลลัพธ์การเรียนรู้ (learning output & outcome) ได้อย่างเปนรูปธรรม ดร.แกง PAGE 18

THANK YOU \" โอกาสทางการศึกษา เปนเสมือนประตูทีนําไปสู่ โอกาสด้านอืนๆ ของชีวิต แต่ประตูโอกาสจะเปดได้ เราคงต้องออกแรงเปดด้วยตัวเองก่อนนะครับ \" ดร.แกง PAGE 19

APRIL 2020 PADLET เครอื งมอื จดั การเรยี นรอู้ อนไลน์ PREPARED BY: ดร.แกง TARGET GROUPS: ครู ผู้สอน กระบวนกร ผู้บริหาร และผู้สนใจทัวไปที อยากจะเรียนรู้ตลอดชีวิต