Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore unit 1

unit 1

Published by paphawit386, 2017-09-21 05:42:44

Description: unit 1

Search

Read the Text Version

รายวิชา พนื้ ฐานงานปูน รหสั วชิ า 2106-1002 หลักสตู รประกาศนียบัตรวชิ าชพี พทุ ธศกั ราช 2556แผนการจดั การเรียนรู้ นายปภาวิชญ์ สงิ ห์ใหญ่ สาขาวชิ าชา่ งกอ่ สร้าง-โยธา วทิ ยาลัยเทคนคิ คูเมอื ง สานกั งานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธกิ าร MAKDS

28 แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 1 หน่วยที่ 1 ชื่อวิชา พ้ืนฐานงานปนู (2106 – 1002) เวลาเรียนรวม 108 คาบ ชือ่ หน่วย เครื่องมือ อปุ กรณ์ และวสั ดใุ น งานปนู สอนคร้งั ที่ 1/18 ชือ่ เรอ่ื ง เครอื่ งมือ อปุ กรณ์ และวัสดุใน งานปนู จานวน 2 คาบหวั ขอ้ เร่ือง ปฏิบัติ ทฤษฎี - 1.1 เครอื่ งมืองานปูนและวิธีการใชเ้ คร่อื งมอื 1.2 การระวงั รักษาเคร่ืองมอื 1.3 การซอ่ มแซมเครอ่ื งมือ 1.4 องคป์ ระกอบของมอร์ต้าร์ 1.5 ชนิดของปนู กอ่ และอตั ราสว่ นผสม 1.6 วสั ดุงานปนู และการจดั กองวัสดุสมรรถนะย่อย 1. แสดงความรูเ้ ก่ยี วกบั การใช้เครือ่ งมืองานปูน การก่ออฐิ ฉาบปูน 2. เตรียมความพร้อมของรา่ งกาย เคร่อื งมือ วัสดอุ ปุ กรณ์จุดประสงคเ์ ชิงพฤตกิ รรม ด้านความรู้ 1. บอกถงึ เครื่องมือ อปุ กรณ์ และวัสดทุ ่ใี ช้ในการก่ออิฐและฉาบปนู ได้อย่างถูกต้อง 2. อธบิ ายวิธีการรักษาเคร่ืองมอื และการซ่อมแซมเครือ่ งมือได้ 3. บอกองคป์ ระกอบของคอนกรตี ชนิดของปนู ก่อ และอตั ราสว่ นผสมได้ 4. บอกวัสดุงานปนู และการจัดกองวสั ดุได้ ด้านคณุ ธรรม จรยิ ธรรม/บรู ณาการค่านิยมหลักของคนไทย 12 ประการ แสดงออกถงึ เปน็ ผู้มีคุณธรรม จริยธรรม ประเมนิ ผลงานของตนเองรว่ มกบั ผสู้ อน สามารถนาหลกั การไปประยุกต์ใช้กบั งานจรงิ และมีทักษะของความปลอดภยั และรกั ษาส่งิ แวดล้อม

29แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 1 วชิ าพืน้ ฐานงานปนู (2106 – 1002)เนือ้ หาสาระ 1. เคร่ืองมือและอุปกรณ์เป็นเคร่ืองมือช่วยในการปฏิบัติงานปูน จาเป็นต้องรู้ลักษณะ ขนาด และหน้าท่ีในการใช้งานให้เหมาะสมกับการใช้งานที่ปฏิบัติ เคร่ืองมืองานปูน แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ เครื่องมือส่วนตัวและเครื่องมือส่วนกลาง ซ่ึงเคร่ืองมือส่วนตัว หมายถึง เครื่องมือที่ใช้สาหรับประจาตัวช่าง ส่วนเครื่องมือส่วนกลาง หมายถงึ เคร่อื งมอื ทีใ่ ชส้ าหรบั ส่วนรวม 2. วัสดุแต่ละประเภทจะมีคุณสมบัติในการใช้งานท่ีแตกต่างกัน การนามาใช้งานจะต้องให้เหมาะสมกับประเภทของงานนนั้กิจกรรมการเรยี นรู้ (สัปดาหท์ ่ี 1/18, คาบท่ี 1–2/108) 1. ครูชี้แจงรายละเอียดเก่ียวกับจุดประสงค์ สมรรถนะและคาอธิบายรายวิชา การวั ดผลและประเมินผลการเรยี น คุณลักษณะนสิ ยั ทตี่ ้องการใหเ้ กดิ ขึ้น และข้อตกลงในการเรยี น 2. ครใู ห้หนงั สอื เรียน 3. ครูนาเขา้ สูบ่ ทเรียน และครูแจง้ จดุ ประสงคก์ ารเรียน 4. ครูสอนเน้ือหาสาระขอ้ 1.1 – 1.6 5. นกั เรียนทาแผนผงั ความคิดเร่อื ง เคร่ืองมอื อุปกรณ์ และวัสดุในงานปนู และแบบฝึกหัดท้ายบท 6. ครแู ละนกั เรียนร่วมกันเฉลยแบบฝึกหัด และรว่ มอภปิ รายสรปุ บทเรียน 7. นักเรยี นทาแบบทดสอบหลงั เรยี นหนว่ ยท่ี 1ส่อื และแหลง่ การเรยี นรู้ 1. หนังสือเรียนพื้นฐานงานปูน ของสานักพมิ พศ์ นู ย์หนังสอื เมืองไทย 2. แบบทดสอบหลังเรียน 3. อนิ เตอรเ์ นต็การวดั และการประเมนิ ผล การวัดผล การประเมินผล (ใชเ้ ครอ่ื งมอื ) (นาผลเทียบกบั เกณฑแ์ ละแปลความหมาย)1. แบบสงั เกตการทางานกลุม่ และนาเสนอผลงานกลุม่2. แบบทดสอบหลงั เรียน (Post–test) หนว่ ยท่ี 1 เกณฑ์ผ่าน 60%3. แบบประเมนิ คุณธรรม จริยธรรม ตามสภาพจริง เกณฑผ์ ่าน 50% เกณฑผ์ ่าน 60%งานทมี่ อบหมาย

30งานทมี่ อบหมายนอกเหนือเวลาเรียน ให้ศกึ ษาข้อมูลเทคโนโลยีเกี่ยวกบั เคร่ืองมือ อุปกรณ์ และวสั ดุในงานปนู ท่ที ันสมยั บนั ทกึ สาระสาคัญ ไม่เกนิ 2 หน้ากระดาษ สง่ ผสู้ อนในการเรยี นครั้งต่อไปแผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 1 วชิ าพ้นื ฐานงานปนู (2106–1002)ผลงาน/ชนิ้ งาน/ความสาเรจ็ ของผูเ้ รยี น 1. คะแนนการทาแบบฝึกหัด 2. คะแนนแบบทดสอบหลงั เรียน (Post–test) หน่วยที่ 1 3. คะแนนจากการเขยี นแผนผังความคดิ เรื่อง เคร่ืองมอื อปุ กรณ์ และวัสดใุ นงานปนูเอกสารอ้างองิจรี ะศักดิ์ สิทธิผล (2557). พื้นฐานงานปนู (2106–1002). นนทบรุ ี : ศูนย์หนงั สอื เมืองไทย.บนั ทึกหลงั การสอน1. ผลการใช้แผนการจดั การเรยี นรู้ (จุดประสงค์การเรียนรู้/กิจกรรม/การประเมินผล).................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................. ................................................................................................... ..2. ผลการเรยี นของนกั เรียน/ผลการสอนของคร/ู ปญั หาที่พบ............................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................................ ..................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................3. แนวทางการแก้ปญั หา........................................................................................................................................................................................................................................................................................................... .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................ลงชื่อ............................................... ลงชื่อ..................................... ..........(...............................................) (.............................................)

31ตัวแทนนกั เรยี น ครผู สู้ อน แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 2 หนว่ ยที่ 2 ช่อื วิชา พน้ื ฐานงานปูน (2106 – 1002) เวลาเรียนรวม 108 คาบ ช่อื หน่วย การก่ออิฐมอญครึง่ แผน่ สอนครง้ั ที่ 1/18 จานวน 4 คาบช่ือเร่อื ง การก่ออิฐมอญครึง่ แผน่หัวขอ้ เรือ่ ง ปฏบิ ตั ิ ใบงานท่ี 1 การก่ออฐิ มอญคร่งึ แผน่ ทฤษฎี 2.1 ความหมายและประเภทของการก่ออิฐ 2.2 หลักการกอ่ อิฐ 2.3 ลาดบั ขน้ั ตอนการปฏบิ ตั ิงาน 2.4 ข้อควรระวงั ในการก่อ อิฐ ขอ้ ควรระวังในการก่ออิฐสมรรถนะยอ่ ย 1. แสดงความร้เู กี่ยวกบั การก่ออฐิ มอญคร่งึ แผ่น 2. กอ่ อิฐมอญครึง่ แผน่ ตามขัน้ ตอนจดุ ประสงคเ์ ชงิ พฤตกิ รรม ดา้ นความรู้ 1. อธบิ ายหลักการกอ่ อิฐมอญคร่ึงแผ่นได้ 2. กอ่ อฐิ มอญครง่ึ แผน่ ไดอ้ ยา่ งถูกต้อง ประณตี สวยงาม มีความแขง็ แรง 3. ลาดับข้ันตอนการปฏบิ ตั ิงานได้ 4. ปฏิบัตติ นเป็นผูม้ คี ณุ ธรรม จรยิ ธรรมได้ 5. ประเมนิ ผลงานตนเองร่วมกบั ผสู้ อนได้ 6. นาหลกั การไปประยกุ ตใ์ ช้กบั งานจรงิ ได้ 7. มที ักษะของความปลอดภัยและรักษาส่งิ แวดล้อม ด้านทกั ษะ 1. กอ่ อิฐมอญคร่งึ แผ่นได้อยา่ งถูกต้อง ประณีต สวยงาม มคี วามแข็งแรง 2. ปฏบิ ัตงิ านตามลาดับข้ันตอนในใบงานได้ ดา้ นคณุ ธรรม จรยิ ธรรม/บูรณาการค่านิยมหลกั ของคนไทย 12 ประการ แสดงออกถึงกิจนิสัยท่ีดีในการทางาน ตรงต่อเวลา ความสนใจใฝ่รู้ ไม่หยดน่ิงที่จะแก้ปัญหา ความซ่ือสตั ย์ ความรว่ มมือ

32 แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 2 วชิ า พืน้ ฐานงานปนู (2106 – 1002)เน้ือหาสาระความหมายของการกอ่ อฐิการก่ออฐิ คือ การจดั อิฐให้ถกู ตอ้ งตามหลักวิชาการ แนวปนู ก่อส่วนต้งั และแนวนอนบนหลังแผน่ อิฐชั้นที่หนึ่งจะต้องใช้เกรียงตักปูนใส่ให้พอดีแล้วใช้ปลายเกรยี งเกลี่ยไปมา โดยทาพ้ืนหนา้ ปูนก่อให้ขรุขระพอประมาณมีความหนาบางเท่า ๆ กัน (การเกลี่ยปูนเรียบเกินไปเมื่อวางอิฐทับลงปูนก่อเมื่อแข็งตัวแลว้ แผ่นอิฐกับปูนจะจับกันไม่สนิท) เม่ือเห็นว่าปูนมีความหนาบางพอดีแล้วจึงวางแผ่นอิฐทับ ใช้ด้ามเกรียงเคาะจนเข้าที่ (ไม่ควรเคาะแรงอิฐจะแตก) แนวปูนก่อหรอื มอรต์ า้ หนาประมาณ 1.5–2 ซม.ประเภทของการกอ่ อฐิ แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คอื1. กอ่ อิฐโชวแ์ นว (ไม่ต้องฉาบทับ) เพือ่ อวดผวิ ปนู หรือแนวของอฐิ ต้องอาศัยความชานาญการตกแต่งมหี ลายประเภท ดังน้ี (1) การเซาะร่องสเ่ี หล่ยี ม (2) การเซาะร่องสามเหลีย่ ม (3) การเซาะร่องโคง้การตกแต่งเซาะร่องแต่ละแบบ ควรระวังรักษาความสะอาดหน้าผนังถือปูนแต่ละผนัง ทั้งด้านหน้าและดา้ นหลังผนังตอ้ งใช้ผา้ สะอาดชบุ น้าคอยเช็ดอยูเ่ สมออยา่ ทิ้งไวจ้ นจับแข็ง2. กอ่ อิฐแลว้ ฉาบทบั ได้แก่ งานกอ่ สร้างที่ก่อด้วยอิฐมอญหรือท่เี ปน็ ชนดิ เดยี วกนั ซงึ่ มผี วิไม่เรยี บ เมือ่ ทาการถอื ปูน ปูนทถี่ อื จะจบั และยึดเกาะไดด้ ีสาระทเ่ี กย่ี วขอ้ ง1. การเตรียมพน้ื ท่ีปฏิบัติงานก่ออิฐเป็นข้ันตอนแรกทผ่ี ู้ปฏบิ ตั ิควรทราบหลกั การต่าง ๆ เพอ่ื การทางานท่ีให้ความสะดวกและปลอดภยั2. เคร่ืองมือและอุปกรณ์งานปูนมีหลายประเภท และหลายชนิด ดังนั้นช่างปูนควรรู้จักการเตรียมการและการใช้งานให้เหมาะสมกบั งานทป่ี ฏิบัติกิจกรรมการเรียนรู้ (สัปดาห์ท่ี 1/18, คาบท่ี 3–6/108) 1. ครูตรวจสอบความพรอ้ มและชี้แจงข้อมลู เก่ยี วกบั แนวทางกับการเรียนภาคปฏบิ ตั ิของงานปูน 2. ครูนาเขา้ สู่บทเรยี น และครแู จ้งจดุ ประสงคก์ ารเรยี น 3. ครสู อนเนอ้ื หาสาระขอ้ 2.1 – 2.2 4. นกั เรียนทาแบบฝกึ หัดท่ี 2 5. ครูและนกั เรยี นรว่ มกนั เฉลยแบบฝึกหัด และร่วมอภิปรายสรุปบทเรียน

336. ให้นักเรียนทาตามใบงานที่ 1 ขณะนักเรียนทาใบงาน ครจู ะสงั เกตการทางานกลุม่ และตรวจผลงานภาคปฏบิ ตั ิ7. ใหน้ ักเรียนทาความสะอาดเครอ่ื งมือ อปุ กรณ์ และบริเวณพนื้ ที่ปฏิบัติงานให้เรียบรอ้ ย8. ครใู ห้นักเรียนรว่ มกนั สรปุ ผล ประเมนิ ผลงานรว่ มกัน และทาแบบทดสอบหลังเรยี น แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 วชิ า พื้นฐานงานปนู (2106 – 1002)ส่ือและแหล่งการเรยี นรู้ 1. หนังสอื เรียนพนื้ ฐานงานปูน ของสานกั พมิ พศ์ นู ยห์ นงั สอื เมอื งไทย 2. แบบทดสอบหลงั เรยี น 3. อุปกรณพ์ ื้นฐานงานปูน เคร่อื งมอื และวัสดุฝึกการวดั และการประเมนิ ผล การวดั ผล การประเมนิ ผล (ใช้เครอื่ งมือ) (นาผลเทยี บกับเกณฑ์และแปลความหมาย)1. แบบสงั เกตการทางานกลุม่ และนาเสนอผลงานกลุม่2. ผลงานตามใบงานที่ 1 และแบบประเมนิ เกณฑผ์ ่าน 60%3. แบบทดสอบหลงั เรยี น (Post–test) หนว่ ยที่ 2 เกณฑ์ผ่าน 60%4. แบบประเมนิ คุณธรรม จรยิ ธรรม ตามสภาพจริง เกณฑ์ผ่าน 50% เกณฑผ์ ่าน 60%งานท่มี อบหมาย งานทมี่ อบหมายนอกเหนือเวลาเรียน ทาแบบฝึกหดั ให้ถกู ต้อง สมบูรณ์ และศึกษาเร่ืองการกอ่ อฐิ มอญครง่ึ แผ่นเข้ามุมฉากหนึง่ มุมผลงาน/ชิ้นงาน/ความสาเร็จของผู้เรยี น 1. ผลการทากิจกรรมตามใบงานท่ี 1 2. คะแนนแบบทดสอบหลังเรียน (Post–test) หนว่ ยท่ี 2เอกสารอา้ งองิ จีระศกั ดิ์ สทิ ธิผล (2557). พนื้ ฐานงานปูน (2106 – 1002). นนทบรุ ี : ศนู ยห์ นงั สอื เมอื งไทย.

34แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 2 วชิ า พ้นื ฐานงานปูน (2106 – 1002)บนั ทึกหลงั การสอน 1. ผลการใช้แผนการจัดการเรียนรู้ (จุดประสงค์การเรียนรู้/กจิ กรรม/การประเมินผล)........................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ................................................. 2. ผลการเรยี นของนักเรียน/ผลการสอนของครู/ปัญหาที่พบ............................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................................ ..................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................................... ................................................. 3. แนวทางการแก้ปัญหา............................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................ .............................................................................................................................................................................. .................................................................................................. ................................................................................................. ........................................................................................................................................... ...............................................................ลงช่ือ............................................... ลงชอื่ ............................................... (...............................................) (.............................................) ตัวแทนนักเรียน ครผู ูส้ อน

35 แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 3 หน่วยท่ี 3 ชื่อวิชา พ้ืนฐานงานปูน (2106–1002) เวลาเรียนรวม 108 คาบ ชอ่ื หน่วย การกอ่ อฐิ มอญคร่งึ แผน่ เข้ามุมฉากหน่งึ มมุ สอนคร้ังที่ 2/18 จานวน 6 คาบชื่อเร่ือง การก่ออิฐมอญครง่ึ แผน่ เข้ามมุ ฉากหนึ่งมุม ปฏิบตั ิหวั ขอ้ เรอื่ ง ทฤษฎี 3.1 การก่ออฐิ ใบงานที่ 2 การก่ออิฐมอญครึ่งแผน่ เข้ามุมฉากหน่ึง 3.2 ลาดับข้ันตอนการ มุมปฏบิ ตั งิ าน ขอ้ ควรระวังในการก่ออิฐสมรรถนะยอ่ ย 1. แสดงความรู้เกี่ยวกบั การกอ่ อิฐมอญคร่งึ แผน่ เข้ามุมฉากหนึ่งมุมได้ 2. กอ่ อิฐมอญครึง่ แผ่นเข้ามมุ ฉากหนง่ึ มุมตามข้ันตอนจดุ ประสงคเ์ ชงิ พฤติกรรม ดา้ นความรู้ 1. อธิบายหลกั การก่ออิฐมอญคร่ึงแผน่ เข้ามุมฉากหนึ่งมุมได้ 2. สามารถกอ่ อิฐครง่ึ แผน่ เข้ามุมได้อยา่ งถูกต้อง ประณีต สวยงาม มีความแขง็ แรง 3. อธิบายขัน้ ตอนการก่ออิฐครง่ึ แผ่นเข้ามมุ ฉากหนึ่งมุมได้ 4. ปฏบิ ตั ติ นเป็นผู้มีคุณธรรม จริยธรรมได้ 5. ประเมินผลงานตนเองร่วมกับผสู้ อนได้ 6. นาหลกั การไปประยุกต์ใชก้ บั งานจรงิ ได้ ดา้ นทกั ษะ 1. กอ่ อฐิ มอญคร่งึ แผน่ เข้ามมุ ฉากหนง่ึ มุมได้อยา่ งถูกต้อง ประณีต สวยงาม มีความแข็งแรง 2. ปฏิบตั ิงานตามลาดบั ขนั้ ตอนในใบงานได้ ด้านคุณธรรม จริยธรรม/บรู ณาการค่านิยมหลกั ของคนไทย 12 ประการ แสดงออกด้านความสนใจใฝ่รู้ การตรงต่อเวลา ความซื่อสัตย์สุจริต มีระเบียบวินัย เคารพกฎกติกาความร่วมมอื /ยอมรับความคดิ เหน็ สว่ นใหญ่

36เน้ือหาสาระการก่ออฐิ ในแต่ละข้ันตอนควรมกี ารปฏบิ ตั ิดังน้ี1. การกอ่ อฐิ ในแตล่ ะชั้น ต้องกอ่ อฐิ สลบั แนวเพอ่ื ไมใ่ หร้ อยต่อของอฐิ ตรงกนั ในชัน้ ท่ตี ิดกัน การกอ่ สลับน้ีจะทาให้กาแพงหรือเสาทกี่ ่อมกี ารยดึ กันแนน่ หนาขน้ึ ท้ังยังชว่ ยถา่ ยหรือเฉลี่ยแรงที่มากับผนงั ในแนวตั้ง ซงึ่เมื่อก่อเสร็จแล้วผนังจะดูเรียบรอ้ ย สวยงาม และจะไม่กอ่ ปัญหากับการฉาบปูนในภายหลัง แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 3 วิชา พน้ื ฐานงานปนู (2106 – 1002) 2. การกอ่ อิฐ ตอ้ งทาจากมุมก่อน เพราะต้องการให้อฐิ ท่ีกอ่ เป็นมมุ เปน็ หลกั สาหรับแนวระดับนา้ การก่อ ที่มมุ นไ้ี ม่ควรเกิน 3 ช้นั แล้วตรวจสอบระดับ แตถ่ ้าต้องการใหง้ านดีควรก่ออฐิ ท่มี ุมก่อน 1–2 ชั้น แล้วใช้เชือกขึงจากมุมทไี่ ด้ดง่ิ ท้ังสองด้านเพ่ือใหเ้ ปน็ เสน้ ตรงไดแ้ นวระดบั สาหรบั อิฐท่ีจะก่อตรงกลางท้ังแนวระดับและแนวด่ิง ใหก้ ่ออฐิ ตามแนวท่เี ชอื กขึงเพื่อให้อิฐเป็นแนวตรงและได้ระนาบเดียวกนั 3. อฐิ ท่ใี ช้กอ่ ผนงั ควรชบุ นา้ ให้ชมุ่ กอ่ น (กรณขี องปูนขาวไม่ต้องชุบน้าจนช่มุ แต่พอให้อฐิ มีความสะอาดหน้าผวิ ไมม่ ีส่ิงสกปรกกถ็ ือวา่ ใช้ได้) เพอื่ ป้องกันไมใ่ หอ้ ฐิ ดดู น้าจากสว่ นผสมของปูนกอ่ มากเกินไปถ้าอิฐดูดน้าจากสว่ นผสมของปูนมากเกินไปปูนก่ออาจแตกร้าวได้ โดยทวั่ ไปความหนาของปูนก่อ (Mortar) ควรอยทู่ ี่ประมาณ 1.5–2 เซนตเิ มตร ในขณะทอ่ี ฐิ บล็อกไมต่ ้องแชน่ ้าสามารถนามาก่อไดเ้ ลย 4. การก่ออฐิ ถา้ ผนังที่มีความยาวหรือความสงู มากกวา่ 2 เมตร ตอ้ งมีเสาเอ็นหรือคานทับหลงัคอนกรีตเสรมิ เหลก็ ต้องเวน้ ช่องไว้ประมาณ 10 เซนติเมตร และตอ้ งทงิ้ ไว้เป็นเวลาอยา่ งนอ้ ย 3 วนั เพือ่ ให้ปนูแข็งตวั และเข้าท่เี สียก่อนจงึ ทาการก่ออิฐใหช้ นท้องคานหรือพน้ื ได้ 5. ขณะทาการก่ออฐิ ให้ทาการเกบ็ เศษปูนท่ีตกใหห้ มดรวมถงึ บรเิ วณที่ใกลเ้ คยี ง เน่ืองจากความสะอาดของบรเิ วณงานทาให้เอื้ออานวยตอ่ การทางาน การประหยัดปรมิ าณปูนท่ีใช้ ใช้ปูนอย่างคมุ้ คา่ และหากถา้ปลอ่ ยเศษปูนทิง้ ไวป้ ูนจะแหง้ ตดิ 6. เมือ่ ก่อเสร็จแลว้ ควรมกี ารบ่มน้าและทงิ้ ไว้อย่างน้อย 3–7 วัน เพอื่ ใหป้ นู ก่อแขง็ ตัวแล้วจงึ ทาการฉาบปูน (กรณีใชป้ ูนซเี มนต์ แต่ปูนที่ใช้ทาการฝึกก่อในทีน่ ี้ใช้เป็นปนู ขาวจงึ ไม่จาเป็นต้องบม่ เพราะต้องรอื้ เก็บทาความสะอาดทุกครง้ั )

37 รปู การก่ออิฐมอญครงึ่ แผน่ เข้ามุมฉากหนึ่งมุมแผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 3 วชิ า พื้นฐานงานปนู (2106 – 1002)กิจกรรมการเรียนรู้ (สัปดาห์ที่ 2/18, คาบที่ 7–12/108) 1. ครูตรวจสอบความพรอ้ มนักเรยี นทง้ั กาลงั กายและกาลงั ใจ ด้วยการขานช่ือและออกาลังกายร่วมกนั 2. ครนู าเข้าสู่บทเรยี น และครูแจง้ จุดประสงคก์ ารเรยี น 3. ครูสอนเน้อื หาสาระข้อ 3.1 – 2.2 4. นกั เรียนทาแบบฝกึ หดั ที่ 3 5. ครูและนักเรียนรว่ มกนั เฉลยแบบฝึกหดั และร่วมอภิปรายสรปุ บทเรียน 6. ให้นักเรียนทาตามใบงานที่ 2 ขณะนักเรียนทาใบงาน ครจู ะสงั เกตการทางานกลุ่ม และตรวจผลงานภาคปฏิบตั ิ 8. ให้นักเรยี นทาความสะอาดเครอื่ งมือ อปุ กรณ์ และบรเิ วณพืน้ ที่ปฏบิ ัตงิ านให้เรียบรอ้ ย 9. ครใู ห้นกั เรยี นรว่ มกันสรปุ ผล ประเมนิ ผลงานรว่ มกัน และทาแบบทดสอบหลังเรยี นสื่อและแหล่งการเรยี นรู้ 1. หนังสอื เรยี นพน้ื ฐานงานปนู ของสานกั พิมพ์ศนู ยห์ นงั สือเมอื งไทย 2. แบบทดสอบหลงั เรียน 3. อุปกรณพ์ น้ื ฐานงานปนู เครอื่ งมือ และวัสดุฝกึการวดั และการประเมนิ ผล

38 การวัดผล การประเมนิ ผล (ใช้เครอื่ งมือ) (นาผลเทียบกับเกณฑแ์ ละแปลความหมาย)1. แบบสงั เกตการทางานกลุ่มและนาเสนอผลงานกลุ่ม2. ผลงานตามใบงานท่ี 2 และแบบประเมนิ เกณฑผ์ า่ น 60%3. แบบทดสอบหลงั เรยี น (Post–test) หนว่ ยท่ี 3 เกณฑผ์ ่าน 60%4. แบบประเมนิ คุณธรรม จรยิ ธรรม ตามสภาพจรงิ เกณฑ์ผ่าน 50% เกณฑผ์ า่ น 60%งานทมี่ อบหมาย งานท่ีมอบหมายนอกเหนือเวลาเรยี น ทาแบบฝึกหัดให้ถูกต้อง สมบรู ณ์ และศึกษาเรื่องการกอ่ อฐิ มอญครงึ่ แผ่นเขา้ มุมฉากสองมุมผลงาน/ชิ้นงาน/ความสาเร็จของผเู้ รียน ผลการทากิจกรรมตามใบงานท่ี 2 และคะแนนแบบทดสอบหลังเรยี น (Post–test) หน่วยท่ี 3เอกสารอา้ งอิงจีระศักดิ์ สทิ ธิผล (2557). พนื้ ฐานงานปูน (2106 – 1002). นนทบรุ ี : ศูนยห์ นงั สอื เมืองไทยแผนการจดั การเรียนรู้ที่ 3 วชิ า พื้นฐานงานปนู (2106 – 1002)บนั ทกึ หลงั การสอน 1. ผลการใชแ้ ผนการจัดการเรยี นรู้ (จดุ ประสงค์การเรียนรู้/กจิ กรรม/การประเมินผล).................................................................................................................................. ................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... ..................................................................................... .................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................ ................................................. 2. ผลการเรยี นของนักเรียน/ผลการสอนของครู/ปญั หาที่พบ............................................................................................................................. ........................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................... ..................................................... ....................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................. ......................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... .................................................

39 3. แนวทางการแก้ปัญหา............................................................................................................................. .................................................................................................... ................................................................................... ..................................................................................................................................................................... .............................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................... ...............................................................ลงชื่อ............................................... ลงชอื่ ............................................... (...............................................) (.............................................) ตวั แทนนกั เรียน ครผู ู้สอน แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 4 หนว่ ยท่ี 4 ชื่อวิชา พ้ืนฐานงานปูน (2106 – 1002) เวลาเรยี นรวม 108 คาบ ชื่อหน่วย การกอ่ อฐิ มอญคร่ึงแผน่ เขา้ มุมฉากสองมุม สอนครงั้ ท่ี 3/18 จานวน 6 คาบช่อื เรื่อง การก่ออฐิ มอญครึ่งแผ่นเข้ามุมฉากสองมุม ปฏิบัติหัวขอ้ เร่อื ง ทฤษฎี 4.1 การก่ออิฐ ใบงานที่ 3 ก่ออิฐมอญครึ่งแผ่นเข้ามมุ ฉากสองมมุ 4.2 ลาดับขนั้ ตอนการปฏิบัติงาน 4.3 ขน้ั ตอนการก่ออิฐมอญครึ่งแผน่ เข้ามมุ ฉากสองมมุสมรรถนะยอ่ ย 1. แสดงความรูเ้ ก่ียวกับกอ่ อฐิ มอญคร่งึ แผน่ เขา้ มุมฉากสองมุม 2. กอ่ อฐิ มอญครง่ึ แผ่นเขา้ มมุ ฉากสองมุมตามข้นั ตอนจุดประสงคเ์ ชิงพฤตกิ รรม ดา้ นความรู้

40 1. อธิบายหลักการกอ่ อฐิ คร่งึ แผ่นเข้ามุมฉากสองมุมได้ 2. สามารถกอ่ อฐิ คร่ึงแผ่นเข้ามุมไดอ้ ยา่ งถกู ต้อง ประณตี สวยงาม มคี วามแขง็ แรง 3. อธบิ ายขนั้ ตอนการก่ออิฐคร่งึ แผ่นเข้ามมุ ฉากสองมุมได้ 4. ปฏิบตั ติ นเป็นผู้มีคณุ ธรรม จรยิ ธรรมได้ 5. ประเมินผลงานตนเองรว่ มกับผู้สอนได้ 6. นาหลกั การไปประยุกต์ใชก้ บั งานจริงได้ 7. มที กั ษะของความปลอดภัยและรกั ษาส่ิงแวดล้อม ด้านทกั ษะ 1. กอ่ อฐิ มอญครึ่งแผ่นเขา้ มุมฉากสองมุมได้อย่างถูกต้อง ประณตี สวยงาม มคี วามแขง็ แรง 2. ปฏิบัติงานตามลาดบั ข้ันตอนในใบงานได้ ด้านคุณธรรม จรยิ ธรรม/บรู ณาการค่านยิ มหลกั ของคนไทย 12 ประการ แสดงออกถึงกิจนิสัยที่ดีในการทางาน ตรงต่อเวลา ความสนใจใฝ่รู้ ไม่หยดน่ิงที่จะแก้ปัญหา ซื่อสัตย์เสยี สละ อดทน ความรว่ มมือแผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 4 วิชา พ้นื ฐานงานปนู (2106 – 1002)เน้อื หาสาระ การก่ออฐิ ในแต่ละขั้นตอนควรมกี ารปฏบิ ตั ิดังนี้ 1. การก่ออฐิ ในแตล่ ะชน้ั ต้องกอ่ อฐิ สลบั แนวเพอ่ื ไม่ให้รอยต่อของอิฐตรงกันในช้ันทีต่ ิดกนั การก่อสลบัน้จี ะทาให้กาแพงหรือเสาท่ีก่อมีการยดึ กันแนน่ หนาข้ึน ทั้งยังชว่ ยถา่ ยหรือเฉล่ียแรงท่ีมากับผนงั ในแนวต้ัง ซึ่งเมือ่ ก่อเสร็จแล้วผนังจะดูเรยี บร้อย สวยงาม และจะไม่ก่อปัญหากบั การฉาบปูนในภายหลัง 2. การกอ่ อฐิ ตอ้ งทาจากมมุ ก่อน เพราะต้องการใหอ้ ฐิ ที่กอ่ เป็นมุมเป็นหลกั สาหรับแนวระดบั นา้ การกอ่ ท่ีมมุ นไี้ ม่ควรเกนิ 3 ชน้ั แลว้ ตรวจสอบระดบั แตถ่ ้าต้องการให้งานดีควรก่ออฐิ ท่ีมุมก่อน 1–2 ชนั้ แลว้ ใช้เชอื กขึงจากมุมทไ่ี ดด้ ิง่ ทั้งสองด้านเพื่อให้เปน็ เส้นตรงได้แนวระดับ สาหรบั อฐิ ทจ่ี ะก่อตรงกลางทง้ั แนวระดบั และแนวดิ่ง ใหก้ อ่ อฐิ ตามแนวท่เี ชอื กขึงเพื่อให้อฐิ เป็นแนวตรงและไดร้ ะนาบเดยี วกัน 3. อฐิ ทีใ่ ชก้ อ่ ผนงั ควรชุบน้าให้ช่มุ กอ่ น (กรณีของปนู ขาวไม่ตอ้ งชบุ น้าจนชุ่ม แต่พอให้อิฐมีความสะอาดหน้าผวิ ไม่มีส่ิงสกปรกก็ถอื วา่ ใช้ได้) เพ่ือป้องกันไม่ใหอ้ ฐิ ดดู นา้ จากสว่ นผสมของปูนก่อมากเกนิ ไปถ้าอิฐดดู นา้ จากส่วนผสมของปนู มากเกนิ ไปปนู ก่ออาจแตกรา้ วได้ โดยทั่วไปความหนาของปูนก่อ (Mortar) ควรอยทู่ ่ีประมาณ 1.5–2 เซนตเิ มตร ในขณะทอี่ ฐิ บล็อกไม่ต้องแช่น้าสามารถนามาก่อไดเ้ ลย 4. การก่ออิฐ ถ้าผนังที่มคี วามยาวหรือความสงู มากกว่า 2 เมตร ตอ้ งมีเสาเอน็ หรือคานทับหลงัคอนกรีตเสรมิ เหลก็ ต้องเวน้ ช่องไว้ประมาณ 10 เซนติเมตร และต้องทิ้งไว้เปน็ เวลาอย่างน้อย 3 วัน เพื่อให้ปนูแขง็ ตวั และเขา้ ทีเ่ สียก่อนจึงทาการก่ออิฐใหช้ นท้องคานหรือพืน้ ได้

41 5. ขณะทาการกอ่ อิฐ ใหท้ าการเกบ็ เศษปูนท่ีตกใหห้ มดรวมถงึ บรเิ วณทใี่ กลเ้ คยี ง เนื่องจากความสะอาดของบริเวณงานทาให้เอื้ออานวยต่อการทางาน การประหยัดปริมาณปูนที่ใช้ ใช้ปนู อยา่ งคุ้มค่า และหากถา้ปลอ่ ยเศษปูนทงิ้ ไว้ปนู จะแหง้ ตดิ 6. เม่ือก่อเสร็จแลว้ ควรมีการบม่ นา้ และทิ้งไว้อยา่ งน้อย 3–7 วนั เพอ่ื ใหป้ ูนกอ่ แข็งตัวแล้วจงึ ทาการฉาบปนู (กรณีใช้ปนู ซเี มนต์ แตป่ ูนที่ใชท้ าการฝึกก่อในท่ีน้ีใช้เปน็ ปูนขาวจึงไม่จาเปน็ ต้องบม่ เพราะต้องร้อื เกบ็ ทาความสะอาดทุกครั้ง)รปู การกอ่ อิฐมอญครงึ่ แผน่ เข้ามมุ ฉากสองมุมแผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 4 วิชา พื้นฐานงานปนู (2106 – 1002)กจิ กรรมการเรียนรู้ (สปั ดาห์ที่ 3/18, คาบท่ี 13–18/108) 1. ครูตรวจสอบความพร้อมนักเรียนทั้งกาลังกายและกาลังใจ ด้วยการขานชื่อและออกกาลังกายร่วมกนั 2. ครนู าเข้าส่บู ทเรยี น และครูแจง้ จุดประสงคก์ ารเรยี น 3. ครสู อนเนื้อหาสาระข้อ 4.1 – 4.3 4. นกั เรียนทาแบบฝึกหดั ท่ี 4 5. ครแู ละนักเรียนร่วมกันเฉลยแบบฝกึ หัด และร่วมอภปิ รายสรปุ บทเรยี น 6. ใหน้ กั เรยี นทาตามใบงานที่ 3 ขณะนักเรยี นทาใบงาน ครูจะสงั เกตการทางานกลุ่ม และตรวจผลงานภาคปฏิบัติ 8. ให้นกั เรยี นทาความสะอาดเครอื่ งมือ อปุ กรณ์ และบรเิ วณพนื้ ทปี่ ฏบิ ัตงิ านใหเ้ รียบรอ้ ย 9. ครใู ห้นกั เรียนรว่ มกนั สรุปผล ประเมินผลงานร่วมกนั และทาแบบทดสอบหลงั เรยี นสอ่ื และแหล่งการเรียนรู้ 1. หนังสอื เรยี นพ้ืนฐานงานปนู ของสานกั พมิ พศ์ ูนยห์ นงั สือเมอื งไทย 2. แบบทดสอบหลังเรียน 3. อุปกรณพ์ นื้ ฐานงานปนู เคร่อื งมือ และวสั ดฝุ ึก

การวัดและการประเมนิ ผล 42 การวดั ผล การประเมินผล (ใชเ้ คร่อื งมอื ) (นาผลเทียบกบั เกณฑแ์ ละแปลความหมาย) 1. แบบสงั เกตการทางานกลุม่ และนาเสนอผลงานกล่มุ 2. ผลงานตามใบงานที่ 3 และแบบประเมิน เกณฑ์ผา่ น 60% 3. แบบทดสอบหลงั เรยี น (Post–test) หนว่ ยที่ 4 เกณฑผ์ า่ น 60% 4. แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม ตามสภาพจรงิ เกณฑ์ผา่ น 50% เกณฑผ์ า่ น 60%งานทม่ี อบหมาย งานที่มอบหมายนอกเหนือเวลาเรียน ทาแบบฝึกหดั ให้ถูกต้อง สมบูรณ์ และศึกษาเรื่องการก่ออฐิ มอญคร่งึ แผ่นรูปวงกลม (บ่อน้า)ผลงาน/ชนิ้ งาน/ความสาเรจ็ ของผ้เู รยี น1. ผลการทากจิ กรรมตามใบงานท่ี 32. คะแนนแบบทดสอบหลังเรียน (Post–test) หน่วยที่ 4แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 4 วิชา พื้นฐานงานปูน (2106 – 1002)เอกสารอ้างอิง จีระศักดิ์ สิทธผิ ล (2557). พ้นื ฐานงานปูน (2106 – 1002). นนทบรุ ี : ศูนย์หนงั สือเมอื งไทย.บนั ทึกหลงั การสอน 1. ผลการใชแ้ ผนการจดั การเรียนรู้ (จดุ ประสงค์การเรียนรู้/กจิ กรรม/การประเมินผล)............................................................................................................................. ........................................................................................... ............................................................................................. ........................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................. ............................................................ 2. ผลการเรียนของนักเรียน/ผลการสอนของคร/ู ปัญหาท่ีพบ............................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................................ ..................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... .................................................

43................................................................................................................................................... ................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................................... ................................................. 3. แนวทางการแก้ปญั หา............................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................ .............................................................................................................................................................................. .................................................................................................. ................................................................................................. ........................................................................................................................................... ...............................................................ลงช่ือ............................................... ลงชอ่ื ............................................... (...............................................) (.............................................) ตวั แทนนกั เรียน ครผู สู้ อน แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ 5 หน่วยท่ี 5 ช่ือวิชา พ้ืนฐานงานปนู (2106–1002) เวลาเรยี นรวม 108 คาบ ช่อื หน่วย การกอ่ อฐิ มอญครึ่งแผ่นรูปวงกลม (บ่อน้า) สอนคร้ังท่ี 4/18 จานวน 6 คาบชอ่ื เร่ือง การก่ออิฐมอญคร่ึงแผ่นรูปวงกลม (บ่อน้า) ปฏบิ ัติหัวข้อเร่อื ง ทฤษฎี5.1 การผสมปูนกอ่ และปนู ฉาบ ใบงานที่ 4 ก่ออิฐมอญครึง่ แผ่นรูปวงกลม5.2 อัตราส่วนผสมของปูนกอ่ และปูนฉาบ (บอ่ น้า)5.3 สตู รวงกลม5.4 ขั้นตอนการกอ่ อิฐมอญคร่งึ แผน่ รูปวงกลมสมรรถนะย่อย 1. แสดงความรเู้ กย่ี วกับการก่ออฐิ มอญครึ่งแผ่นรปู วงกลม 2. กอ่ อฐิ มอญครึง่ แผน่ รูปวงกลมตามขัน้ ตอนจุดประสงคเ์ ชงิ พฤตกิ รรม ด้านความรู้

44 1. อธบิ ายหลกั การก่ออฐิ มอญครึง่ แผ่นรปู วงกลมได้ 2. กอ่ อฐิ มอญครง่ึ แผ่นรูปวงกลมได้อยา่ งถูกตอ้ ง ประณตี สวยงาม มีความแขง็ แรง 3. ปฏิบัติตนเป็นผมู้ ีคุณธรรม จรยิ ธรรมได้ 4. ประเมนิ ผลงานตนเองร่วมกบั ผูส้ อนได้ 5. นาหลกั การไปประยุกตใ์ ช้กับงานจรงิ ได้ ดา้ นทกั ษะ 1. ก่ออิฐมอญครึ่งแผน่ รปู วงกลม (บ่อน้า) ไดอ้ ย่างถกู ตอ้ ง ประณตี สวยงาม มคี วามแขง็ แรง 2. ปฏิบัตงิ านตามลาดบั ข้ันตอนในใบงานได้ ดา้ นคณุ ธรรม จรยิ ธรรม/บูรณาการค่านิยมหลักของคนไทย 12 ประการ แสดงถึงกิจนิสัยที่ดีในการทางาน มีความรอบคอบ เรียบร้อยและตระหนักถึงความปลอดภัยในการปฏบิ ัติงาน การตรงตอ่ เวลา ความรว่ มมอื /ยอมรบั ความคดิ เห็นส่วนใหญ่ แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 5 วชิ า พื้นฐานงานปูน (2106 – 1002)เนือ้ หาสาระ การผสมปูนกอ่ และปนู ฉาบ มดี งั นี้ 1. การผสมโดยน้าหนัก คือ การช่ังน้าหนักของส่วนผสมตามกาหนด จะได้ส่วนผสมของปูนก่อและปูนฉาบทแ่ี น่นอนและสม่าเสมอทุกครงั้ 2. การผสมโดยปริมาตร คือ การตวงส่วนผสมตามกาหนด จะได้ส่วนผสมของปูนก่อและปูนฉาบทีแ่ น่นอนพอควร เหมาะกับงานก่อสร้างทวั่ ไปอัตราส่วนผสมของปูนก่อและปูนฉาบข้ึนอยู่กับชนิดของการใช้งานว่าเป็นก่อหรืองานฉาบ และเป็นงานภายนอกถูกกับดินฟ้าอากาศโดยตรงหรือไม่ ต้องการฝีมือละเอียดเพียงใด และการกาหนดความหนาของปูนฉาบ เป็นต้นตารางแสดงอตั ราส่วนผสมของปูนกอ่ สดั ส่วนของการผสมปนู ก่อ ปูนก่อ 1 : 3–4 ปูนซเี มนต์ : ทราย 3–4ตารางท่ี 5.2 อตั ราสว่ นผสมของปูนฉาบ สัดส่วนของการผสมปูนฉาบ

ฉาบครัง้ ที่ 1 1 : 0.5 : 2 45 ฉาบครัง้ ที่ 2 1:1:3 ฉาบคร้งั ที่ 3 1 : 1 : 5–6 ปูนซีเมนต์ : ปูนขาว : ทราย ปนู ซีเมนต์ : ปูนขาว : ทราย ปูนซีเมนต์ : ปนู ขาว : ทรายสูตรวงกลม มดี ังนี้พื้นทวี่ งกลม = r2 ; r= รัศมี 2r ; r= รัศมีเสน้ รอบวง =กจิ กรรมการเรยี นรู้ (สปั ดาหท์ ี่ 4/18, คาบที่ 19–24/108) 1. ครูตรวจสอบความพร้อมนักเรียนทั้งกาลังกายและกาลังใจ ด้วยการขานช่ือและออกกาลังกายร่วมกัน 2. ครูนาเข้าสู่บทเรยี น และครูแจง้ จดุ ประสงคก์ ารเรียน 3. ครูสอนเนอ้ื หาสาระขอ้ 5.1 – 5.4 4. นักเรยี นทาแบบฝึกหดั ท่ี 5 5. ครแู ละนักเรยี นรว่ มกันเฉลยแบบฝึกหัด และร่วมอภปิ รายสรปุ บทเรียน แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 5 วิชา พนื้ ฐานงานปนู (2106 – 1002) 6. ให้นกั เรยี นทาตามใบงานที่ 4 ขณะนักเรยี นทาใบงาน ครูจะสังเกตการทางานกลุ่ม และตรวจผลงานภาคปฏิบตั ิ 8. ใหน้ ักเรียนทาความสะอาดเครอื่ งมอื อุปกรณ์ และบรเิ วณพื้นทปี่ ฏบิ ตั ิงานใหเ้ รียบรอ้ ย 9. ครใู ห้นักเรยี นร่วมกันสรุปผล ประเมนิ ผลงานรว่ มกัน และทาแบบทดสอบหลงั เรียนสอื่ และแหลง่ การเรียนรู้ 1. หนังสอื เรียนพนื้ ฐานงานปูน ของสานกั พมิ พศ์ นู ย์หนังสือเมอื งไทย 2. แบบทดสอบหลังเรยี น 3. อปุ กรณพ์ ้นื ฐานงานปนู เครื่องมอื และวัสดุฝึกการวัดและการประเมนิ ผล การวดั ผล การประเมินผล (ใช้เครอ่ื งมอื ) (นาผลเทียบกบั เกณฑ์และแปลความหมาย)1. แบบสงั เกตการทางานกลมุ่ และนาเสนอผลงานกลมุ่2. ผลงานตามใบงานที่ 4 และแบบประเมนิ เกณฑผ์ า่ น 60%3. แบบทดสอบหลังเรยี น (Post–test) หนว่ ยที่ 5 เกณฑผ์ ่าน 60%4. แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม ตามสภาพจรงิ เกณฑ์ผา่ น 50% เกณฑผ์ ่าน 60%

46งานทมี่ อบหมาย งานทม่ี อบหมายนอกเหนือเวลาเรยี น ทาแบบฝึกหดั ให้ถกู ต้อง สมบูรณ์ และศึกษาเร่ืองการก่ออิฐมอญเตม็ แผ่นผลงาน/ช้ินงาน/ความสาเรจ็ ของผู้เรยี น 1. ผลการทากิจกรรมตามใบงานที่ 4 2. คะแนนแบบทดสอบหลงั เรียน (Post–test) หน่วยท่ี 5เอกสารอา้ งอิง จรี ะศกั ดิ์ สทิ ธิผล (2557). พืน้ ฐานงานปูน (2106 – 1002). นนทบรุ ี : ศูนยห์ นังสือเมอื งไทย.แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 5 วิชา พ้ืนฐานงานปนู (2106 – 1002)บันทกึ หลงั การสอน 1. ผลการใช้แผนการจัดการเรียนรู้ (จุดประสงค์การเรียนรู้/กจิ กรรม/การประเมนิ ผล)............................................................................................................................. ........................................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... .............................................................................. 2. ผลการเรียนของนักเรยี น/ผลการสอนของครู/ปญั หาท่ีพบ............................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................................ ..................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................................... ................................................. 3. แนวทางการแกป้ ญั หา

47............................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................ .............................................................................................................................................................................. .................................................................................................. ................................................................................................. ........................................................................................................................................... ...............................................................ลงชื่อ............................................... ลงชื่อ..................................... .......... (...............................................) (.............................................) ตวั แทนนักเรียน ครผู ู้สอน แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6 หนว่ ยท่ี 6 ชอ่ื วิชา พนื้ ฐานงานปนู (2106 – 1002) เวลาเรยี นรวม 108 คาบ ชอ่ื หน่วย การก่ออิฐมอญเต็มแผน่ สอนคร้ังท่ี 5/18 จานวน 6 คาบช่ือเรื่อง การก่ออิฐมอญเตม็ แผ่น ปฏิบตั ิหัวข้อเรอื่ ง ทฤษฎี6.1 ความหมายของการกอ่ อฐิ มอญเตม็ แผน่ ใบงานท่ี 5 ก่ออฐิ มอญเต็มแผ่น6.2 ลาดบั ขน้ั ตอนการก่ออฐิ มอญเต็มแผ่นสมรรถนะย่อย 1. แสดงความรูเ้ กยี่ วกับการกอ่ อิฐมอญเต็มแผ่น 2. กอ่ อฐิ มอญเตม็ แผ่นตามขนั้ ตอนจดุ ประสงคเ์ ชงิ พฤตกิ รรม ดา้ นความรู้ 1. อธิบายหลักการกอ่ อฐิ มอญเตม็ แผน่ ได้ 2. กอ่ อฐิ มอญเต็มแผน่ ได้อยา่ งถกู ต้อง ประณีต สวยงาม มีความแข็งแรง

48 3. ปฏิบตั ิตนเป็นผมู้ คี ุณธรรม จรยิ ธรรมได้ 4. ประเมินผลงานตนเองร่วมกบั ผู้สอนได้ 5. นาหลักการไปประยกุ ต์ใช้กบั งานจริงได้ 6. มที กั ษะของความปลอดภัยและรักษาสงิ่ แวดล้อม ดา้ นทกั ษะ 1. สามารถกอ่ อิฐมอญเตม็ แผ่นไดอ้ ย่างถกู ต้อง ประณตี สวยงาม มีความแขง็ แรง 2. ปฏิบตั งิ านตามลาดับขั้นตอนในใบงานได้ ด้านคุณธรรม จริยธรรม/บรู ณาการคา่ นยิ มหลักของคนไทย 12 ประการ แสดงออกถึงกิจนิสัยท่ีดีในการทางาน ตรงต่อเวลา ความสนใจใฝ่รู้ ไม่หยดน่ิงท่ีจะแก้ปัญหา ความซื่อสตั ย์ ความรว่ มมอื ตระหนกั ถงึ ความปลอดภยั ในการทางานเน้อื หาสาระ การก่ออิฐมอญเต็มแผ่น หมายถึง การก่ออิฐมอญท่ีมีการวางแผ่นอิฐตามขวางของผนัง ซึ่งเมื่อฉาบปูนแล้วจะทาให้ผนังนนั้ มคี วามหนาประมาณ 15–20 เซนตเิ มตรลาดบั ขั้นตอนการกอ่ อฐิ มอญเตม็ แผ่นแผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 6 วิชา พืน้ ฐานงานปนู (2106 – 1002) 1. ศกึ ษาแบบการกอ่ อฐิ มอญเตม็ แผน่ ใหด้ ีก่อน 2. จดั บรเิ วณฝกึ ให้เรยี บร้อย แบ่งสถานที่สาหรับแตล่ ะกลุม่ เร่มิ ทาแนวขึ้นรูป 3. เตรียมเบิกเคร่ืองมือสาหรบั การฝึกให้ครบ และทกุ ช้นิ อยใู่ นสภาพใช้งานได้ วางอยู่ใกล้ ๆ กบั บรเิ วณที่มอบหมายให้ทาการฝกึ ก่อ 4. แบง่ กลุ่มผสมปนู ในบ่อปูนขาวให้ท่ัวกนั 5. ใช้ตลับเมตรวัดความยาวตามทก่ี าหนด 6. จัดการขนอฐิ และปูนก่อไลมม์ อร์ต้าตกั ใส่ถงั ปนู แล้วยกมาวางให้สะดวกไม่กดี ขวาง 7. เริ่มต้นก่อจากด้านปลายสุดของท้ังสองด้านก่อน ก่อเรียงซ้อนสลับให้ตรงปลายสูง 1–3 ช้ันโดยใหม้ คี วามลาดลดหลน่ั กันไป 8. ให้แนวปูนก่อมีความหนาเมื่อกดลงไปแล้วประมาณ 1.5–2 ซม. เมื่อปูนทะลักออกมาให้ใช้เกรียงปาดข้ึนแล้วตักใส่กระป๋องทันที หรือจะใส่บนแผ่นหลังอิฐท่ีก่อแล้ว หรือรอยต่อที่ยังไม่เต็มก็ได้ การปาดปูนให้ปนู ตกพ้นื ใหน้ อ้ ยทีส่ ดุ หรือไม่ตกเลย 9. ระหว่างทาการก่อให้ใช้สายตาเล็งให้ได้มุมและดิ่ง และหลังอิฐจะต้องเกือบได้ระดับ เม่ือครบ3 ชน้ั ก็ใช้ระดับน้า หรือจบั ดง่ิ ให้ไดม้ มุ ทง้ั ซา้ ยและขวา 10. ใช้เชือกผูกตะปูเสียบเข้าไปในรอยปูนก่อหลังอิฐช้ันแรกประมาณ 3/4 ของความยาวปูนและให้ห่างจากหัวมุมประมาณ 2–3 ซม. เพราะจะได้ยึดติดไม่หลุด ขึงเชือกสองด้านให้ตึงและได้ระดับน้าแนวเชอื กควรอย่หู า่ งประมาณ 2 มม. เพื่อจะไมต่ ดิ แนวปนู และหัวมมุ

49 11. ก่ออฐิ ผนงั ชว่ งกลางในชนั้ ที่ 1 ตลอดขนานกับเชือก ทดลองดดี เส้นเชือกอยู่เสมอว่าเชือกตงึ และไม่มีบางส่วนของผนงั ไปหนนุ ได้ 12. ให้ทาการขึงเชอื กระดบั ทุก ๆ 2 ชั้น การฝกึ ใหช้ านาญอาจจะเป็น 3–5 ชั้นต่อคร้งั ก็ได้ 13. เม่อื ใกลจ้ ะถึงชั้นบน ให้ทดลองเรียงอิฐดูกอ่ น กะระยะแนวปนู กอ่ ให้พอดีกบั ความสงู ท่ตี ้องการ 14. ทาการก่อด้วยความประณีต โดยการยึดหลักการก่ออิฐทั้งให้ความชานาญและรวดเร็วขึ้นอีกในเมอื่ ได้ฝกึ กอ่ ครัง้ ตอ่ ๆ ไป 15. เม่ือเสร็จงานตามแบบกาหนดขึ้น ให้ทาความสะอาดบริเวณก่ออิฐ ขนอิฐที่เหลือเก็บเข้าท่ีให้ผสู้ อนทาการตรวจใหค้ ะแนน จึงคอ่ ยเกบ็ งานใหเ้ รยี บร้อยอกี ครง้ัรปู ความกวา้ งของแผน่ กอ่ อฐิ มอญเต็มแผน่ (1 แผ่นอิฐมอญ)แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 6 วชิ า พน้ื ฐานงานปูน (2106 – 1002)กิจกรรมการเรยี นรู้ (สปั ดาห์ที่ 5/18, คาบท่ี 25–30/108) 1. ครูตรวจสอบความพร้อมนักเรียนทั้งกาลังกายและกาลังใจ ด้วยการขานช่ือและออกกาลังกายร่วมกัน 2. ครูนาเข้าสูบ่ ทเรยี น และครแู จง้ จุดประสงค์การเรียน 3. ครูสอนเนือ้ หาสาระข้อ 6.1 – 6.2 4. นกั เรยี นทาแบบฝกึ หดั ท่ี 6 5. ครแู ละนักเรียนร่วมกนั เฉลยแบบฝกึ หดั และรว่ มอภิปรายสรปุ บทเรยี น 6. ให้นกั เรียนทาตามใบงานท่ี 5 ขณะนักเรยี นทาใบงาน ครจู ะสังเกตการทางานกลุม่ และตรวจผลงานภาคปฏบิ ตั ิ 8. ใหน้ กั เรยี นทาความสะอาดเครอื่ งมือ อปุ กรณ์ และบริเวณพื้นที่ปฏิบตั ิงานใหเ้ รยี บร้อย 9. ครใู ห้นกั เรยี นร่วมกนั สรปุ ผล ประเมนิ ผลงานร่วมกัน และทาแบบทดสอบหลังเรยี นสอื่ และแหลง่ การเรยี นรู้ 1. หนังสอื เรียนพนื้ ฐานงานปูน ของสานักพิมพ์ศนู ย์หนังสอื เมืองไทย 2. แบบทดสอบหลงั เรยี น 3. อปุ กรณพ์ น้ื ฐานงานปนู เครอ่ื งมือ และวัสดุฝกึการวัดและการประเมนิ ผล

50 การวดั ผล การประเมินผล (ใชเ้ ครื่องมอื ) (นาผลเทยี บกับเกณฑแ์ ละแปลความหมาย)1. แบบสังเกตการทางานกลมุ่ และนาเสนอผลงานกลุม่2. ผลงานตามใบงานที่ 5 และแบบประเมิน เกณฑ์ผ่าน 60%3. แบบทดสอบหลงั เรียน (Post–test) หนว่ ยท่ี 6 เกณฑ์ผา่ น 60%4. แบบประเมินคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ตามสภาพจริง เกณฑ์ผา่ น 50% เกณฑผ์ ่าน 60%งานทมี่ อบหมาย งานทม่ี อบหมายนอกเหนือเวลาเรยี น ทาแบบฝึกหดั ให้ถูกต้อง สมบูรณ์ และศึกษาเร่ืองการกอ่ อิฐเสาสี่เหลยี่ มผลงาน/ชนิ้ งาน/ความสาเร็จของผเู้ รียน 1. ผลการทากิจกรรมตามใบงานท่ี 5 2. คะแนนแบบทดสอบหลงั เรียน (Post–test) หน่วยที่ 6แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 6 วชิ า พ้ืนฐานงานปนู (2106 – 1002)เอกสารอ้างองิ จรี ะศกั ด์ิ สิทธผิ ล (2557). พน้ื ฐานงานปูน (2106 – 1002). นนทบุรี : ศนู ยห์ นงั สอื เมืองไทย.บนั ทกึ หลงั การสอน 1. ผลการใชแ้ ผนการจดั การเรียนรู้ (จุดประสงค์การเรยี นรู้/กิจกรรม/การประเมนิ ผล)........................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ................................................. 2. ผลการเรยี นของนกั เรียน/ผลการสอนของคร/ู ปญั หาที่พบ............................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................................ ..................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................................... ...........................

51........................................................................................................ ................................................................................................................................................................................................... ................................................. 3. แนวทางการแก้ปัญหา............................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................ .............................................................................................................................................................................. .................................................................................................. ................................................................................................. ........................................................................................................................................... ...............................................................ลงชื่อ............................................... ลงช่อื ............................................... (...............................................) (.............................................) ตัวแทนนกั เรียน ครผู ู้สอน แผนการจดั การเรียนร้ทู ี่ 7 หน่วยที่ 7 ชือ่ วิชา พน้ื ฐานงานปนู (2106 – 1002) เวลาเรยี นรวม 108 คาบ ช่อื หน่วย การก่ออฐิ เสาสเ่ี หล่ยี ม สอนครั้งที่ 6/18 จานวน 6 คาบช่ือเรื่อง การก่ออฐิ เสาสี่เหล่ียม ปฏิบตั ิหวั ข้อเรอ่ื ง ทฤษฎี7.1 การก่ออฐิ ใบงานท่ี 6 ก่ออิฐเสาสเี่ หลี่ยม7.2 ขั้นตอนการก่ออิฐเสาสี่เหลยี่ มสมรรถนะยอ่ ย 1. แสดงความรเู้ กยี่ วกับการก่ออิฐเสาสี่เหล่ยี ม 2. ก่ออฐิ เสาสเ่ี หล่ียมตามขั้นตอนจุดประสงคเ์ ชงิ พฤตกิ รรม ดา้ นความรู้ 1. อธิบายหลกั การก่ออิฐเสาสเี่ หล่ียมได้ 2. กอ่ อฐิ เสาสีเ่ หล่ียมไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง ประณตี สวยงาม มีความแขง็ แรง 3. ปฏบิ ัติตนเปน็ ผูม้ ีคณุ ธรรม จริยธรรมได้

52 4. ประเมินผลงานตนเองร่วมกบั ผสู้ อนได้ 5. นาหลักการไปประยกุ ต์ใชก้ ับงานจรงิ ได้ 6. มที กั ษะของความปลอดภยั และรกั ษาสิ่งแวดลอ้ ม ดา้ นทักษะ 1. สามารถกอ่ อฐิ เสาสเี่ หล่ียมไดอ้ ย่างถกู ตอ้ ง ประณตี สวยงาม มคี วามแขง็ แรง 2. ปฏิบัติงานตามลาดบั ขน้ั ตอนในใบงานได้ ดา้ นคุณธรรม จริยธรรม/บรู ณาการค่านยิ มหลักของคนไทย 12 ประการ แสดงออกถึงการตรงต่อเวลา ความสนใจใฝ่รู้ ไม่หยดน่ิงท่ีจะแก้ปัญหา ความซ่ือสัตย์ ความร่วมมือช่วยเหลอื เก้อื กลูเนอื้ หาสาระ การก่ออิฐ คือ การจัดอิฐหรือวธิ ีเรียงอิฐให้สลบั กันในแบบตา่ ง ๆ หนักไปทางงานศิลป์ ความมุ่งหมายก็เพ่ือให้เป็นรูปร่างขึ้นตามความประสงค์ และสามารถที่จะรับน้าหนัก และทรงตัวเองได้ เม่ือถูกกระทบกระแทกหรือถกู นา้ หนกั กด จะไมแ่ ตกรา้ วหรอื พงั ลงมาได้แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 7 วชิ า พื้นฐานงานปนู (2106 – 1002)ข้นั ตอนการกอ่ อฐิ เสาสี่เหล่ียม 1. จดั บรเิ วณฝกึ ให้เรยี บร้อย แบง่ สถานท่ีสาหรับแตล่ ะกลมุ่ เร่มิ ทาแนวขึน้ รปู 2. เตรยี มเบิกเครือ่ งมือสาหรับการฝึกให้ครบ และทกุ ชิ้นอยใู่ นสภาพใช้งานได้ วางอยู่ใกล้ ๆ กับบริเวณท่มี อบหมายให้ทาการฝึกกอ่ 3. แบ่งกลุ่มผสมปูนในบอ่ ปูนขาวใหท้ ั่วกนัขนั้ ตอนการกอ่ อิฐเสาส่เี หลีย่ ม (ต่อ) 4. จัดการขีดแนวเสาลงบนพื้นตามตาแหน่งท่ีกาหนด ให้หน้าเสาเสมอกัน และควรห่างกันอยา่ งน้อยตน้ ละอย่างนอ้ ย 1.50 เมตร โดยรอบเสา 5. การเร่ิมก่อความหนา 1 น้วิ ครง่ึ แผ่นอฐิ ให้รอยตอ่ ทัง้ ตง้ั หนาเขา้ ไว้ เผอ่ื แผ่นอฐิ บางก้อนยาว 6. การนาปูนก่อใส่บนแผ่นอิฐก้อนล่าง นาอิฐวางซ้อนต้องเกล่ียให้เสมอแลว้ นาอิฐสอดกดลง ระยะห่างของรอยตอ่ เท่ากบั ของกาแพงคอื 1.5–2 ซม. 7. แผ่นอฐิ แต่ละแผน่ จะต้องวางใหไ้ ด้ระดบั เสมอกันทงั้ 4 แผน่ ใน 1 ชั้น 8. ยิ่งสูงขึ้นไปการกระทุ้งแผ่นบนต้องให้กาลังกระทุ้งพอแผ่นใหม่จม ไม่ใช่ให้อิฐแผ่นล่างที่ก่อทรุดเพราะจะทาให้แกย้ าก 9. การก่อทุก ๆ 3 ช้ัน ควรสารวจด่ิงและความกว้างของเสา โดยวัดไม้กวาดหรือไม้เหลยี่ มขนาดเล็กไว้เพอ่ื ใหไ้ ดข้ นาดทุกช้ันตลอดเสา หรอื ใชเ้ ทปวัดระยะตรวจ

53 10. การก่อสูง 1.5 เมตร ให้แผ่นที่ก่อขั้นสุดท้ายตามระยะ สามารถทาได้โดยไม่ต้องทานั่งร้าน ข้ันต่อหรอื ยืนบนเกา้ อี้เมอื่ กอ่ ไมถ่ งึ หรือไม่ถนดั 11. ไมค่ วรกระทุ้งก้อนอฐิ ทีอ่ ยดู่ ้านลา่ งท่ีอิฐแห้งแล้ว จะทาให้เกดิ ความเสยี หายต่อเสา 12. ทาการก่อด้วยความประณีต โดยการยึดหลักการก่ออิฐทั้งให้ความชานาญและรวดเร็วขึ้นอีกในเมอื่ ไดฝ้ ึกกอ่ ครงั้ ต่อ ๆ ไป 13. เม่ือเสร็จงานตามแบบกาหนดข้ึน ให้ทาความสะอาดบริเวณก่ออิฐ ขนอิฐเหลือเก็บเข้าที่ให้ผูส้ อนทาการตรวจใหค้ ะแนน จงึ ค่อยเกบ็ งานให้เรียบร้อยอีกคร้งักิจกรรมการเรียนรู้ (สัปดาห์ท่ี 6/18, คาบท่ี 31–36/108) 1. ครูตรวจสอบความพร้อมนักเรียนท้ังกาลังกายและกาลังใจ ด้วยการขานช่ือและออกกาลังกายร่วมกนั 2. ครูนาเข้าสูบ่ ทเรียน และครูแจง้ จุดประสงค์การเรียน 3. ครสู อนเนอื้ หาสาระข้อ 7.1 – 7.2 4. นกั เรยี นทาแบบฝึกหดั ท่ี 7 5. ครแู ละนักเรยี นร่วมกนั เฉลยแบบฝกึ หัด และร่วมอภิปรายสรปุ บทเรียนแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7 วชิ า พน้ื ฐานงานปนู (2106 – 1002) 6. ใหน้ ักเรียนทาตามใบงานที่ 6 ขณะนักเรียนทาใบงาน ครจู ะสงั เกตการทางานกลมุ่ และตรวจผลงานภาคปฏบิ ัติ 8. ใหน้ กั เรียนทาความสะอาดเคร่อื งมือ อุปกรณ์ และบรเิ วณพน้ื ทีป่ ฏิบัติงานให้เรียบร้อย 9. ครใู ห้นกั เรยี นร่วมกนั สรปุ ผล ประเมินผลงานรว่ มกนั และทาแบบทดสอบหลงั เรยี นสอื่ และแหล่งการเรียนรู้ 1. หนังสือเรียนพนื้ ฐานงานปนู ของสานักพมิ พศ์ นู ยห์ นงั สอื เมืองไทย 2. แบบทดสอบหลงั เรียน 3. อุปกรณพ์ น้ื ฐานงานปนู เครอ่ื งมือ และวัสดฝุ ึกการวดั และการประเมนิ ผล การวัดผล การประเมนิ ผล (ใช้เครือ่ งมือ) (นาผลเทยี บกับเกณฑแ์ ละแปลความหมาย)1. แบบสงั เกตการทางานกลุม่ และนาเสนอผลงานกลุ่ม2. ผลงานตามใบงานที่ 6 และแบบประเมนิ เกณฑผ์ ่าน 60%3. แบบทดสอบหลงั เรียน (Post–test) หนว่ ยที่ 7 เกณฑ์ผา่ น 60% เกณฑ์ผ่าน 50%

544. แบบประเมินคณุ ธรรม จริยธรรม ตามสภาพจรงิ เกณฑ์ผ่าน 60%งานที่มอบหมาย งานท่ีมอบหมายนอกเหนือเวลาเรยี น ทาแบบฝึกหดั ให้ถกู ต้อง สมบรู ณ์ และศึกษาเร่ืองการกอ่ อฐิ เสาหกเหลี่ยมผลงาน/ชิ้นงาน/ความสาเร็จของผเู้ รยี น 1. ผลการทากิจกรรมตามใบงานที่ 6 2. คะแนนแบบทดสอบหลังเรียน (Post–test) หนว่ ยท่ี 7เอกสารอ้างอิง จีระศักด์ิ สิทธผิ ล (2557). พน้ื ฐานงานปูน (2106 – 1002). นนทบุรี : ศนู ยห์ นังสือเมืองไทย.แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 7 วิชา พืน้ ฐานงานปนู (2106 – 1002)บนั ทกึ หลงั การสอน 1. ผลการใช้แผนการจัดการเรียนรู้ (จุดประสงค์การเรยี นรู้/กจิ กรรม/การประเมนิ ผล)........................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................................................................................................................... .............................................................................................................................................................................................................................................................................................................. ................................................. 2. ผลการเรยี นของนกั เรยี น/ผลการสอนของคร/ู ปัญหาที่พบ............................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................................ ..................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................................... ...........................

55........................................................................................................ ................................................................................................................................................................................................... ................................................. 3. แนวทางการแก้ปัญหา............................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................ .............................................................................................................................................................................. .................................................................................................. ................................................................................................. ........................................................................................................................................... ...............................................................ลงช่ือ............................................... ลงชื่อ..................................... .......... (...............................................) (.............................................) ตวั แทนนักเรียน ครผู ู้สอน แผนการจัดการเรียนร้ทู ี่ 8 หน่วยที่ 8 ช่ือวิชา พนื้ ฐานงานปนู (2106 – 1002) เวลาเรยี นรวม 108 คาบ ชอ่ื หน่วย การกอ่ อฐิ เสาหกเหล่ียม สอนคร้ังท่ี 7/18 จานวน 6 คาบชอ่ื เร่ือง การกอ่ อฐิ เสาหกเหล่ียม ปฏิบัติหวั ข้อเรอ่ื ง ทฤษฎี8.1 ขน้ั ตอนการก่ออิฐเสาหกเหลย่ี ม ใบงานท่ี 7 การก่ออิฐเสาหกเหลย่ี มสมรรถนะยอ่ ย 1. แสดงความรู้เกี่ยวกับการกอ่ อฐิ เสาหกเหล่ียม 2. กอ่ อฐิ เสาหกเหลีย่ มตามขั้นตอนจดุ ประสงคเ์ ชงิ พฤติกรรม ด้านความรู้ 1. อธบิ ายหลักการก่ออฐิ เสาหกเหลีย่ มได้

56 2. ก่ออิฐเสาหกเหลี่ยมได้อยา่ งถูกตอ้ ง ประณีต สวยงาม มคี วามแข็งแรง 3. ปฏิบัตติ นเปน็ ผู้มีคุณธรรม จริยธรรมได้ 4. ประเมินผลงานตนเองร่วมกบั ผูส้ อนได้ 5. นาหลักการไปประยกุ ตใ์ ช้กับงานจริงได้ 6. มีทักษะของความปลอดภัยและรักษาสิ่งแวดลอ้ มด้านทักษะ 1. สามารถกอ่ อฐิ เสาหกเหลีย่ มได้อย่างถกู ต้อง ประณีต สวยงาม มีความแข็งแรง 2. ปฏิบตั ิงานตามลาดบั ข้นั ตอนในใบงานได้ด้านคณุ ธรรม จรยิ ธรรม/บูรณาการคา่ นยิ มหลักของคนไทย 12 ประการ แสดงออกดา้ นการตรงต่อเวลา ความสนใจใฝ่รู้ ไม่หยดน่ิงท่ีจะแกป้ ญั หา ความซ่อื สัตย์ ความรว่ มมอืเน้อื หาสาระ การก่ออิฐ คือ การจัดอิฐหรือวธิ ีเรียงอิฐให้สลบั กันในแบบต่าง ๆ หนักไปทางงานศิลป์ ความมุ่งหมายก็เพื่อให้เป็นรูปรา่ งข้ึนตามความประสงค์ และสามารถท่ีจะรับน้าหนกั และทรงตัวเองได้ เม่ือถูกกระทบกระแทกหรือถกู น้าหนกั กด จะไม่แตกรา้ วหรือพงั ลงมาได้แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 8 วชิ า พ้ืนฐานงานปูน (2106 – 1002)ขน้ั ตอนกอ่ อฐิ เสาหกเหล่ียม 1. จดั บรเิ วณฝึกให้เรยี บร้อย แบ่งสถานที่สาหรบั แต่ละกลมุ่ เรม่ิ ทาแนวขึน้ รปู 2. เตรียมเบกิ เครอ่ื งมือสาหรับการฝึกให้ครบ และทกุ ช้นิ อย่ใู นสภาพใช้งานได้ วางอยู่ใกล้ ๆ กบั บริเวณที่มอบหมายใหท้ าการฝกึ กอ่ 3. แบ่งกลุ่มผสมปนู ในบ่อปนู ขาวให้ท่วั กนั 4. จัดการขีดแนวเสาลงบนพื้น ตามตาแหน่งท่ีกาหนด ให้หน้าเสาเสมอกัน และควรห่างกันอย่างน้อยต้นละอยา่ งนอ้ ย 1.50 เมตร โดยรอบเสา 5. การนาปูนก่อใส่บนแผ่นอิฐก้อนล่าง นาอิฐวางซ้อนต้องเกล่ียให้เสมอแลว้ นาอิฐสอดกดลง ระยะห่างของรอยตอ่ เท่ากบั ของกาแพง คือ 1.5–2 ซม. 6. แผ่นอฐิ แต่ละแผน่ จะต้องวางให้ได้ระดบั เสมอกนั ท้ัง 8 แผน่ ใน 1 ชั้น 7. ยิ่งสูงขึ้นไปการกระทุ้งแผ่นบนต้องให้กาลังกระทุ้งพอแผ่นใหม่จม ไม่ใช่ให้อิฐแผ่นล่างท่ีก่อทรุดเพราะจะทาใหแ้ ก้ยาก 8. การก่อทุก ๆ 3 ช้ัน ควรสารวจดิ่งและความกว้างของเสา โดยวัดไม้กวาดหรือไม้เหลย่ี มขนาดเล็กไว้เพ่ือใหไ้ ดข้ นาดเทา่ กันทกุ ชั้นตลอดเสา หรือใช้เทปวดั ระยะตรวจ

57 9. การก่อสูง 1.5 เมตร ให้แผ่นท่ีก่อข้ันสุดท้ายตามระยะ สามารถทาได้โดยไม่ต้องทาน่ังร้านขั้นต่อหรือยนื บนเก้าอ้ีเมอื่ กอ่ ไมถ่ ึงหรือไม่ถนดั 10. ไมค่ วรกระทุ้งกอ้ นอฐิ ที่อยู่ดา้ นลา่ งที่อฐิ แห้งแลว้ จะทาใหเ้ กดิ ความเสยี หายตอ่ เสา 11. ทาการก่อด้วยความประณีต โดยการยึดหลักการก่ออิฐทั้งให้ความชานาญและรวดเร็วขึ้นอีกในเมอ่ื ได้ฝึกกอ่ ครัง้ ต่อ ๆ ไป 12. เม่ือเสร็จงานตามแบบกาหนดข้ึน ให้ทาความสะอาดบริเวณก่ออิฐ ขนย้ายอิฐท่ีเหลือเก็บเข้าที่ให้ผูส้ อนทาการตรวจใหค้ ะแนน จึงคอ่ ยเกบ็ งานใหเ้ รยี บรอ้ ยอกี ครง้ักิจกรรมการเรียนรู้ (สัปดาห์ที่ 7/18, คาบท่ี 37–42/108) 1. ครูตรวจสอบความพร้อมนักเรียนทั้งกาลังกายและกาลังใจ ด้วยการขานช่ือและออกกาลังกายรว่ มกัน 2. ครนู าเข้าสบู่ ทเรียน และครูแจง้ จุดประสงค์การเรยี น 3. ครูสอนเนอ้ื หาสาระขอ้ 8.1 4. นกั เรียนทาแบบฝกึ หัดท่ี 8 5. ครแู ละนักเรยี นร่วมกนั เฉลยแบบฝึกหดั และร่วมอภิปรายสรปุ บทเรยี น 6. ให้นกั เรยี นทาตามใบงานที่ 7 ขณะนักเรียนทาใบงาน ครูจะสงั เกตการทางานกลมุ่ และตรวจผลงานภาคปฏิบตั ิ 8. ใหน้ กั เรียนทาความสะอาดเครอ่ื งมือ อปุ กรณ์ และบรเิ วณพนื้ ท่ปี ฏบิ ัติงานใหเ้ รยี บรอ้ ย แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 8 วิชา พ้นื ฐานงานปนู (2106 – 1002) 9. ครใู ห้นกั เรยี นรว่ มกนั สรปุ ผล ประเมนิ ผลงานรว่ มกัน และทาแบบทดสอบหลังเรียนสื่อและแหล่งการเรียนรู้ 1. หนงั สอื เรียนพนื้ ฐานงานปูน ของสานักพมิ พศ์ ูนย์หนังสอื เมืองไทย 2. แบบทดสอบหลงั เรยี น 3. อุปกรณพ์ ืน้ ฐานงานปูน เคร่อื งมอื และวัสดฝุ ึกการวดั และการประเมนิ ผล การวดั ผล การประเมินผล (ใช้เครอื่ งมือ) (นาผลเทยี บกับเกณฑแ์ ละแปลความหมาย)1. แบบสังเกตการทางานกลุ่มและนาเสนอผลงานกลุ่ม2. ผลงานตามใบงานท่ี 7 และแบบประเมิน เกณฑ์ผา่ น 60%3. แบบทดสอบหลงั เรยี น (Post–test) หนว่ ยที่ 8 เกณฑผ์ า่ น 60%4. แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม ตามสภาพจรงิ เกณฑผ์ า่ น 50% เกณฑ์ผ่าน 60%

58งานทีม่ อบหมาย งานท่ีมอบหมายนอกเหนือเวลาเรยี น ทาแบบฝกึ หัดให้ถกู ต้อง สมบรู ณ์และศึกษาเรื่องการกอ่ อิฐเสาแปดเหล่ยี มผลงาน/ชนิ้ งาน/ความสาเร็จของผู้เรียน 1. ผลการทากิจกรรมตามใบงานท่ี 7 2. คะแนนแบบทดสอบหลังเรียน (Post–test) หน่วยท่ี 8เอกสารอา้ งองิ จีระศกั ด์ิ สิทธิผล (2557). พ้ืนฐานงานปูน (2106 – 1002). นนทบรุ ี : ศูนย์หนงั สอื เมอื งไทย.แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 8 วิชา พน้ื ฐานงานปูน (2106 – 1002)บันทกึ หลงั การสอน 1. ผลการใช้แผนการจัดการเรียนรู้ (จดุ ประสงค์การเรียนรู้/กจิ กรรม/การประเมนิ ผล)............................................................................................................................. ........................................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... .............................................................. 2. ผลการเรียนของนักเรียน/ผลการสอนของคร/ู ปัญหาท่ีพบ............................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................................ ..................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................................... ...........................

59........................................................................................................ ................................................................................................................................................................................................... ................................................. 3. แนวทางการแก้ปญั หา............................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................ .............................................................................................................................................................................. .................................................................................................. ................................................................................................. ........................................................................................................................................... ...............................................................ลงชื่อ............................................... ลงชอ่ื ............................................... (...............................................) (.............................................) ตัวแทนนักเรียน ครผู ้สู อน แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 9 หนว่ ยท่ี 9 ชื่อวิชา พื้นฐานงานปูน (2106 – 1002) เวลาเรยี นรวม 108 คาบ ชอื่ หน่วย การกอ่ อฐิ เสาแปดเหลย่ี ม สอนครงั้ ที่ 8/18 จานวน 6 คาบชื่อเร่อื ง การก่ออฐิ เสาแปดเหล่ียม ปฏบิ ัติหวั ขอ้ เรอ่ื ง ทฤษฎี9.1 ข้ันตอนการก่ออฐิ เสาแปดเหลย่ี ม ใบงานที่ 8 การก่ออิฐเสาแปดเหลย่ี มสมรรถนะย่อย 1. แสดงความรเู้ ก่ยี วกับการก่ออิฐเสาแปดเหล่ยี ม 2. ก่ออิฐเสาแปดเหลยี่ มตามข้นั ตอนจุดประสงคเ์ ชงิ พฤตกิ รรม ดา้ นความรู้

60 1. อธบิ ายหลักการก่ออิฐเสาแปดเหลี่ยมได้ 2. กอ่ อฐิ เสาแปดเหล่ยี มไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง ประณตี สวยงาม มคี วามแข็งแรง 3. ปฏบิ ตั ติ นเป็นผูม้ คี ณุ ธรรม จรยิ ธรรมได้ 4. ประเมินผลงานตนเองรว่ มกบั ผสู้ อนได้ 5. นาหลกั การไปประยกุ ตใ์ ช้กบั งานจริงได้ 6. มีทักษะของความปลอดภัยและรักษาสง่ิ แวดลอ้ ม ด้านทักษะ 1. สามารถกอ่ อิฐเสาแปดเหลย่ี มได้อยา่ งถกู ต้อง ประณีต สวยงาม มคี วามแขง็ แรง 2. ปฏบิ ัติงานตามลาดับขั้นตอนในใบงานได้ ด้านคณุ ธรรม จรยิ ธรรม/บูรณาการคา่ นิยมหลกั ของคนไทย 12 ประการ แสดงออกถึงกิจนิสัยท่ีดีในการทางาน ตรงต่อเวลา ความสนใจใฝ่รู้ ไม่หยุดน่ิงที่จะแก้ปัญหาความซื่อสัตย์ ความรว่ มมอื รว่ มมือเนื้อหาสาระการก่ออิฐ คือ การจัดอิฐหรือวธิ ีเรียงอิฐให้สลบั กันในแบบต่าง ๆ หนักไปทางงานศิลป์ ความมุ่งหมายก็เพื่อให้เป็นรูปร่างข้ึนตามความประสงค์ และสามารถที่จะรับน้าหนกั และทรงตัวเองได้ เม่ือถูกกระทบกระแทกหรอื ถูกนา้ หนกั กด จะไมแ่ ตกรา้ วหรอื พังลงมาได้แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 9 วิชา พน้ื ฐานงานปนู (2106 – 1002)ขั้นตอนการกอ่ อฐิ เสาแปดเหลย่ี ม 1. จดั บริเวณฝกึ ใหเ้ รยี บร้อย แบ่งสถานทีส่ าหรับแต่ละกลมุ่ เริ่มทาแนวข้นึ รูป 2. เตรียมเบิกเครื่องมือสาหรับการฝึกให้ครบ และทุกชิ้นอยู่ในสภาพใช้งานได้ วางอยู่ใกล้ ๆกับบรเิ วณทมี่ อบหมายให้ทาการฝึกกอ่ 3. แบง่ กล่มุ ผสมปนู ในบ่อปนู ขาวใหท้ วั่ กนั 4. จัดการขีดแนวเสาลงบนพ้ืนตามตาแหน่งท่ีกาหนด ให้หน้าเสาเสมอกัน และควรห่างกันต้นละอย่างน้อย 1.50 เมตร โดยรอบเสา 5. การนาปูนก่อใส่บนแผ่นอิฐก้อนลา่ ง นาอิฐวางซ้อนต้องเกลยี่ ให้เสมอแลว้ นาอิฐสอดกดลง ระยะห่างของรอยต่อเทา่ กับของกาแพง คือ 1.5–2 ซม. 6. แผ่นอิฐแต่ละแผ่นจะตอ้ งวางให้ได้ระดับเสมอกนั ทง้ั 4 แผ่นใน 1 ช้ัน 7. ยิ่งสูงขึ้นไปการกระทุ้งแผ่นบนต้องให้กาลังกระทุ้งพอแผ่นใหม่จม ไม่ใช่ให้อิฐแผ่นล่างท่ีก่อทรุดเพราะจะทาใหแ้ กย้ าก 8. การก่อทุก 3 ชั้น ควรสารวจด่ิงและความกว้างของเสา โดยวัดไม้กวาดหรือไม้เหลี่ยมขนาดเล็กไว้เพื่อใหค้ วามได้ขนาดดันทกุ ช้ันตลอดเสา หรือใช้เทปวัดระยะตรวจ

61 9. การก่อสูง 1.5 เมตร ให้แผ่นที่ก่อข้ันสุดท้ายตามระยะ สามารถทาได้โดยไม่ต้องทานั่งร้านขั้นต่อหรือยนื บนเก้าอ้เี ม่อื กอ่ ไม่ถึงหรือไมถ่ นัด 10. ไมค่ วรกระทุ้งก้อนอฐิ ท่อี ยูด่ า้ นลา่ งท่ีอิฐแหง้ แลว้ จะทาใหเ้ กดิ ความเสยี หายต่อเสา 11. ทาการก่อด้วยความประณีต โดยการยึดหลักการก่ออิฐทั้งให้ความชานาญและรวดเร็วข้ึนอีกในเมอื่ ได้ฝึกก่อครั้งต่อ ๆ ไป 12. เมื่อเสร็จงานตามแบบกาหนดข้ึน ให้ทาความสะอาดบริเวณก่ออิฐ ขนอิฐเหลือเก็บเข้าที่ใหผ้ ู้สอนทาการตรวจใหค้ ะแนน จึงคอ่ ยเกบ็ งานใหเ้ รยี บรอ้ ยอกี ครัง้แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 9 วิชา พน้ื ฐานงานปูน (2106 – 1002)กจิ กรรมการเรียนรู้ (สัปดาหท์ ่ี 8/18, คาบท่ี 43–48/108) 1. ครูตรวจสอบความพร้อมนักเรียนทั้งกาลังกายและกาลังใจ ด้วยการขานช่ือและออกกาลังกายร่วมกัน 2. ครนู าเข้าสู่บทเรียน และครแู จ้งจดุ ประสงค์การเรยี น 3. ครสู อนเนื้อหาสาระข้อ 9.1 4. นักเรียนทาแบบฝกึ หัดที่ 9 5. ครแู ละนกั เรยี นรว่ มกนั เฉลยแบบฝึกหดั และร่วมอภิปรายสรปุ บทเรยี น 6. ให้นกั เรยี นทาตามใบงานที่ 8 ขณะนักเรยี นทาใบงาน ครจู ะสงั เกตการทางานกลมุ่ และตรวจผลงานภาคปฏิบตั ิ 8. ให้นักเรียนทาความสะอาดเคร่อื งมอื อปุ กรณ์ และบรเิ วณพน้ื ท่ีปฏบิ ตั ิงานให้เรยี บร้อย 9. ครใู ห้นักเรียนรว่ มกนั สรปุ ผล ประเมินผลงานร่วมกัน และทาแบบทดสอบหลังเรียนส่อื และแหลง่ การเรียนรู้ 1. หนงั สอื เรียนพน้ื ฐานงานปนู ของสานกั พิมพ์ศนู ย์หนังสือเมอื งไทย

622. แบบทดสอบหลังเรยี น3. อปุ กรณพ์ น้ื ฐานงานปูน เครอ่ื งมอื และวัสดุฝกึการวัดและการประเมินผล การวดั ผล การประเมินผล (ใชเ้ ครอื่ งมือ) (นาผลเทยี บกับเกณฑแ์ ละแปลความหมาย)1. แบบสงั เกตการทางานกลมุ่ และนาเสนอผลงานกลมุ่2. ผลงานตามใบงานที่ 8 และแบบประเมนิ เกณฑ์ผ่าน 60%3. แบบทดสอบหลังเรียน (Post–test) หนว่ ยท่ี 9 เกณฑ์ผา่ น 60%4. แบบประเมนิ คณุ ธรรม จรยิ ธรรม ตามสภาพจรงิ เกณฑผ์ ่าน 50% เกณฑผ์ ่าน 60%งานทมี่ อบหมาย งานทมี่ อบหมายนอกเหนือเวลาเรียน ทาแบบฝึกหัดให้ถูกต้อง สมบูรณ์ และศึกษาเรื่องการก่อคอนกรตีบลอ็ กผลงาน/ช้นิ งาน/ความสาเรจ็ ของผู้เรยี น 1. ผลการทากจิ กรรมตามใบงานที่ 8 2. คะแนนแบบทดสอบหลงั เรียน (Post–test) หน่วยท่ี 9แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 วชิ า พน้ื ฐานงานปูน (2106 – 1002)เอกสารอ้างองิ จรี ะศักดิ์ สิทธิผล (2557). พน้ื ฐานงานปูน (2106 – 1002). นนทบุรี : ศูนยห์ นงั สอื เมืองไทย.บันทกึ หลงั การสอน 1. ผลการใชแ้ ผนการจดั การเรียนรู้ (จดุ ประสงค์การเรียนร/ู้ กจิ กรรม/การประเมินผล)............................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................. 2. ผลการเรียนของนกั เรยี น/ผลการสอนของครู/ปญั หาท่ีพบ

63............................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................................ ..................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................................... ................................................. 3. แนวทางการแก้ปัญหา............................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................ .............................................................................................................................................................................. .................................................................................................. ................................................................................................. ........................................................................................................................................... ...............................................................ลงช่ือ............................................... ลงชอื่ ............................................... (...............................................) (.............................................) ตัวแทนนักเรยี น ครผู ู้สอน แผนการจัดการเรียนร้ทู ี่ 10 หน่วยที่ 10 ช่อื วิชา พน้ื ฐานงานปูน (2106 – 1002) เวลาเรยี นรวม 108 คาบ ชอ่ื หน่วย การก่อคอนกรตี บล็อก สอนครั้งที่ 9-10/18 จานวน 12 คาบชือ่ เร่ือง การก่อคอนกรีตบลอ็ ก ปฏิบัติหัวข้อเร่อื ง ทฤษฎี 10.1 หลกั การก่อคอนกรีตบล็อก ใบงานท่ี 9 การก่อคอนกรตี บล็อก 10.2 ขัน้ ตอนการก่อคอนกรีตบล็อกสมรรถนะยอ่ ย 1. แสดงความรู้เก่ยี วกบั การก่อคอนกรีตบลอ็ ก 2. กอ่ คอนกรีตบล็อกตามขน้ั ตอน

64จดุ ประสงคเ์ ชิงพฤตกิ รรม ดา้ นความรู้ 1. อธิบายหลกั การก่ออฐิ บลอ็ กได้ 2. กอ่ อิฐบลอ็ กไดอ้ ยา่ งถูกต้อง ประณตี สวยงาม มีความแขง็ แรง 3. ปฏบิ ัติตนเป็นผมู้ ีคุณธรรม จรยิ ธรรมได้ 4. ประเมินผลงานตนเองร่วมกับผู้สอนได้ 5. นาหลกั การไปประยกุ ต์ใช้กับงานจรงิ ได้ 6. มที ักษะของความปลอดภัยและรกั ษาส่ิงแวดล้อม ด้านทกั ษะ 1. สามารถก่อคอนกรตี บล็อกได้อย่างถูกตอ้ ง ประณีต สวยงาม มีความแขง็ แรง 2. ปฏบิ ตั งิ านตามลาดับขน้ั ตอนในใบงานได้ ดา้ นคณุ ธรรม จริยธรรม/บรู ณาการค่านิยมหลักของคนไทย 12 ประการ แสดงออกดา้ นการตรงตอ่ เวลา ความสนใจใฝร่ ู้ ไม่หยดน่งิ ทีจ่ ะแกป้ ญั หา ความซ่ือสัตย์ ความร่วมมือเนอื้ หาสาระหลกั การก่ออิฐบลอ็ ก1. ผิวคอนกรีตท่ีเป็นเสา พ้ืน คาน ก่อนก่อควรราดน้าให้ทั่ว หรือสกัดให้ผิวหยาบเพ่ือให้ปูนก่อยึดจับหรือจะโผล่เหล็กออกมา เพอื่ ยึดจับกบั ผนงั คอนกรตี บล็อกไดแ้ นน่ หนา2. ห้ามชุบนา้ หรอื สาดนา้ ในระหว่างกอ่ หรือฉาบ เพอื่ ป้องกันการยดื หดของก้อนแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10 วิชา พืน้ ฐานงานปูน (2106 – 1002)เนอ้ื หาสาระ (ตอ่ ) 3. ปนู กอ่ ควรหนา 83 น้วิ หรอื 1 ซม. เปน็ อย่างนอ้ ย เฉพาะรอบปูนกอ่ ตอ้ งเท่ากัน เพื่อก่อผนงั ได้ลงตัวกับระยะท่ีกาหนดไวพ้ อดี 4. การกอ่ ควรจับระดับน้าทกุ ๆ แถว ท้ังแนวต้งั และแนวนอนโดยเฉพาะก้อนที่ก่อตอนมมุ หรือรมิ ผนัง 5. การยกและวางซ้อนต้องทาให้ละเอยี ดเพราะอิฐมนี า้ หนักมากกวา่ อิฐธรรมดาหลายเทา่ 6. แถวบนสุดท่ีก่อถึงท้องคานแล้ว ต้องทิ้งผนังให้ทรุดตัว 1–2 วัน แล้วจึงอุดด้วยปูนก่อหรือก่ออิฐแทรกให้เตม็ 7. การเคาะคอนกรีตบลอ็ ก อาจใชค้ ้อนยางเคาะช่วยเพื่อเพม่ิ นา้ หนกั 8. การขงึ เชอื กแนวระดับ ควรใหต้ ึง ระวงั เส้นเชือกอาจมีติดกับตัวบล็อกได้ 9. การตักปูนก่อใส่ควรให้มีจานานมากพอ เมื่อวางบล็อกและกระทุ้งแล้วจะได้ปูนก่อท่ีแน่นและพอดีเน่ืองจากคอนกรตี บล็อกมีนา้ หนักมาก ปนู ก่อจงึ ตอ้ งผสมใหข้ น้ เพือ่ ไม่ให้แนวปนู ทรดุ ตัว

65ขน้ั ตอนการก่ออิฐบลอ็ ก 1. ศกึ ษารูปแบบของงานตามใบงาน 2. เตรียมวสั ดุ เครอ่ื งมอื และอปุ กรณ์ 3. กะระยะหาแนวอฐิ บลอ็ ก แถวท่ี 1 4. เรมิ่ แถวท่ี 1 ก่ออิฐบลอ็ กก้อนริมทั้งสองข้างแล้วขึงเชือกระดับ ก่ออิฐบลอ็ กใหเ้ ต็มช่องว่างตลอดแถวที่ 1 5. เร่ิมแถวท่ี 2 ก่ออฐิ บลอ็ กกอ้ นรมิ ทง้ั สองข้าง แล้วขงึ เชือกระดับโดยให้หวั ต่อของอฐิ บล็อกอยู่ก่งึ กลางแผ่นอิฐบล็อกในแถวแรก 6. กอ่ อฐิ บลอ็ กใหเ้ ตม็ ชอ่ งว่างตลอดแถวท่ี 2 7. ก่ออิฐบล็อกแถวท่ี 3 จนถึงแถวสุดท้ายใหป้ ฏิบัติเหมือนกับการก่ออิฐแถวที่ 1 และ 2 สลับกันจนได้ความสูงทตี่ ามกาหนด 8. เมื่อเสร็จงานตามแบบกาหนดข้ึน ให้ทาความสะอาดบริเวณก่ออิฐ ขนอิฐเหลือเก็บเข้าที่ให้ผู้สอนทาการตรวจใหค้ ะแนน จึงคอ่ ยเกบ็ งานใหเ้ รยี บร้อยอกี คร้งักิจกรรมการเรียนรู้ (สัปดาห์ที่ 9/18, คาบที่ 49–54/108) 1. ครูตรวจสอบความพร้อมนักเรียนท้ังกาลังกายและกาลังใจ ด้วยการขานชื่อและออกกาลังกายรว่ มกัน 2. ครูนาเขา้ สบู่ ทเรยี น และครแู จ้งจุดประสงค์การเรียน 3. ครูสอนเนอ้ื หาสาระข้อ 10.1 - 10.2 4. นักเรียนทาแบบฝกึ หดั ที่ 10แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 10 วชิ า พ้ืนฐานงานปนู (2106 – 1002) 5. ครูและนักเรียนร่วมกนั เฉลยแบบฝึกหัด และร่วมอภปิ รายสรปุ บทเรียน 6. ให้นกั เรยี นทาตามใบงานที่ 9 ขณะนักเรียนทาใบงาน ครจู ะสังเกตการทางานกลมุ่ และตรวจผลงานภาคปฏบิ ัติ 8. ใหน้ กั เรียนทาความสะอาดเครอ่ื งมือ อุปกรณ์ และบริเวณพน้ื ทีป่ ฏิบัตงิ านใหเ้ รียบรอ้ ยกิจกรรมการเรยี นรู้ (สปั ดาหท์ ี่ 10/18, คาบท่ี 55–60/108) 1. ครูตรวจสอบความพร้อมนักเรียนท้ังกาลังกายและกาลังใจ ด้วยการขานชื่อและออกกาลังกายร่วมกัน 2. ใหน้ กั เรยี นทางานตามใบงานท่ี 9 (ตอ่ ) ขณะนักเรียนทาใบงาน ครูจะสงั เกตการทางานกลุ่ม และตรวจผลงานภาคปฏบิ ัติตอ่ เน่ืองจากการเรยี นในสัปดาห์ทีผ่ ่านมา 3. ให้นักเรยี นทาความสะอาดเครอ่ื งมอื อุปกรณ์ และบรเิ วณพน้ื ท่ีปฏบิ ตั งิ านใหเ้ รียบร้อย

66 4. ครใู ห้นักเรยี นรว่ มกนั สรุปผล ประเมินผลงานรว่ มกัน และทาแบบทดสอบหลังเรยี นส่อื และแหล่งการเรียนรู้ 1. หนงั สอื เรียนพ้นื ฐานงานปูน ของสานกั พมิ พศ์ ูนย์หนงั สือเมืองไทย 2. แบบทดสอบหลังเรียน 3. อปุ กรณพ์ ืน้ ฐานงานปนู เคร่ืองมือ และวสั ดุฝกึการวัดและการประเมนิ ผล การวัดผล การประเมนิ ผล (ใชเ้ คร่อื งมอื ) (นาผลเทยี บกับเกณฑแ์ ละแปลความหมาย)1. แบบสังเกตการทางานกลุ่มและนาเสนอผลงานกลมุ่2. ผลงานตามใบงานที่ 9 และแบบประเมิน เกณฑ์ผ่าน 60%3. แบบทดสอบหลังเรยี น (Post–test) หนว่ ยท่ี 10 เกณฑ์ผ่าน 60%4. แบบประเมินคุณธรรม จรยิ ธรรม ตามสภาพจริง เกณฑผ์ ่าน 50% เกณฑ์ผ่าน 60%งานที่มอบหมาย งานท่มี อบหมายนอกเหนือเวลาเรียน ทาแบบฝกึ หัดให้ถกู ต้อง สมบูรณ์ และศึกษาเรื่องการก่ออิฐประดบั การกอ่ อฐิ โชวแ์ นว และการเซาะร่องเหลี่ยมแผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 10 วิชา พืน้ ฐานงานปูน (2106 – 1002)ผลงาน/ชิ้นงาน/ความสาเร็จของผูเ้ รียน 1. ผลการทากจิ กรรมตามใบงานที่ 9 2. คะแนนแบบทดสอบหลงั เรียน (Post–test) หนว่ ยที่ 10เอกสารอา้ งอิง จีระศักด์ิ สิทธิผล (2557). พื้นฐานงานปูน (2106 – 1002). นนทบุรี : ศูนยห์ นังสือเมืองไทย.บนั ทกึ หลงั การสอน 1. ผลการใช้แผนการจัดการเรียนรู้ (จุดประสงค์การเรยี นร/ู้ กิจกรรม/การประเมนิ ผล)............................................................................................................................. ...............................................................................................................................................................................................................................

67.................................................................................... ......................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ............. 2. ผลการเรยี นของนักเรียน/ผลการสอนของคร/ู ปญั หาที่พบ........................................................................................................................................................................................................................................................................................................... .............................................................................................................................................................................. ....................................................................................................... ......................................................................................... ............................... 3. แนวทางการแกป้ ญั หา................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................... ..................................................................... ...ลงช่ือ............................................... ลงช่ือ..................................... .......... (...............................................) (.............................................) ตวั แทนนกั เรยี น ครผู สู้ อน แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี 11 หนว่ ยที่ 11 ชอื่ วิชา พนื้ ฐานงานปนู (2106 – 1002) เวลาเรียนรวม 108 คาบ ชื่อหน่วย การกอ่ อฐิ ประดับ การกอ่ อิฐโชวแ์ นว และการเซาะ รอ่ งเหลยี่ ม สอนครัง้ ท่ี 11/18ชือ่ เรอื่ ง การก่ออิฐประดับ การกอ่ อิฐโชวแ์ นว และการเซาะรอ่ งเหลยี่ ม จานวน 6 คาบหวั ขอ้ เรื่อง ทฤษฎี ปฏบิ ัติ 11.1 การก่ออฐิ ประดบั การก่ออิฐโชว์แนว ใบงานที่ 10 การก่ออฐิ ประดับ การก่ออิฐโชว์แนวและการเซาะร่องเหลยี่ ม และการเซาะร่องเหลีย่ ม 11.2 ขั้นตอนการแต่งแนวก่อและการเซาะร่องเหลยี่ ม

68สมรรถนะย่อย 1. แสดงความรูเ้ ก่ียวกบั การก่ออฐิ ประดบั การก่ออฐิ โชวแ์ นว และการเซาะรอ่ งเหล่ียม 2. กอ่ อฐิ ประดบั การกอ่ อฐิ โชวแ์ นว และการเซาะร่องเหลีย่ มตามขน้ั ตอนจุดประสงคเ์ ชิงพฤตกิ รรม ดา้ นความรู้ 1. อธิบายหลักการ การแตง่ แนวก่อท้งั แนวระดับและแนวดง่ิ ได้ 2. แต่งแนวกอ่ ทัง้ แนวระดบั และแนวดง่ิ ได้อย่างถูกต้อง ประณตี สวยงาม 3. ปฏบิ ัตติ นเปน็ ผูม้ คี ุณธรรม จริยธรรมได้ 4. ประเมนิ ผลงานตนเองร่วมกบั ผูส้ อนได้ 5. นาหลกั การไปประยุกตใ์ ช้กบั งานจริงได้ 6. มที ักษะของความปลอดภยั และรักษาสงิ่ แวดล้อม ด้านทกั ษะ 1. สามารถกอ่ อิฐประดบั การก่ออิฐโชว์แนว และการเซาะร่องเหล่ยี มได้อยา่ งถูกต้อง ประณตี สวยงามมีความแขง็ แรง 2. ปฏิบัติงานตามลาดบั ข้ันตอนในใบงานได้ ด้านคุณธรรม จรยิ ธรรม/บูรณาการค่านิยมหลักของคนไทย 12 ประการ แสดงออกด้านความสนใจใฝ่รู้ การตรงต่อเวลา ความซ่ือสัตย์ สุจริต ความมีน้าใจและแบ่งบัน ความรว่ มมอื /ยอมรับความคดิ เห็นส่วนใหญ่แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 11 วิชา พนื้ ฐานงานปนู (2106 – 1002)เน้ือหาสาระการก่ออิฐประดบั การกอ่ อฐิ โชวแ์ นว และการเซาะรอ่ งเหลย่ี ม เมอื่ กอ่ กาแพงหรือเสาเสร็จเรียบร้อยแลว้ งานต่อไปท่ีต้องทาคือการตกแตง่ ผิวของผนัง น่นั คอื การฉาบปิดผนังหรือเสา แต่ในบางคร้ังไม่จาเป็นต้องฉาบปิดเลย แต่จะใช้ประโยชน์ของแนวปูนก่อของอิฐหรือบล็อกหรือการใช้ผิวของอิฐและบล็อกท่ีใส่ลวดลายลงไป ดังนั้นการเซาะร่องจึงเป็นอีกวิธีท่ีนิยมกันอย่างกว้างขวางการเซาะรอ่ งสามารถทาไดห้ ลายวิธี เช่น การเซาะรอ่ งส่ีเหล่ยี ม เปน็ ต้นขน้ั ตอนการแต่งแนวกอ่ และการเซาะรอ่ งเหลยี่ ม 1. เตรยี มวสั ดุ เครือ่ งมือ และอปุ กรณ์ 2. ศกึ ษารูปแบบของงานตามใบงาน 3. กะระยะวางแนวก่ออฐิ 4. เริ่มกอ่ ชนั้ ท่ี 1 โดยก่ออฐิ ประดับทกี่ อ้ นริมทัง้ สองใหไ้ ด้แนวและไดร้ ะดับแล้วขงึ เชอื ก 5. กอ่ อฐิ ประดับใหเ้ ต็มช่องวา่ ง ในแนวท่ี 1 ใหไ้ ดแ้ นวเส้นเชือก

69 6. เร่ิมก่ออิฐแถวท่ี 2 จนถึงแถวสุดท้ายให้ปฏิบัติเหมือนแถวท่ี 1 ให้ขึงเชือกทุกชั้นจนได้ความสูงตามกาหนด 7. แต่งแนวปูนก่อตามแบบ โดยใช้อุปกรณ์เกรียงเซาะร่อง ให้เซาะร่องตามแนวของรอยปูนก่อในขณะทป่ี นู ก่อยงั ไม่แหง้ หรอื ใช้ความคดิ สร้างสรรค์และแสดงความคดิ เหน็ เพื่อหาวธิ ีในการเซาะร่องรูปแบบตา่ ง ๆ 8. ตรวจสอบความเรียบร้อย ทาความสะอาดเครือ่ งมือและอปุ กรณ์บรเิ วณฝึกงาน แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 11 วิชา พื้นฐานงานปนู (2106 – 1002)เนอ้ื หาสาระ (ต่อ) แผน่ อิฐก่อโชว์แนว ไมฉ่ าบปนู เซาะร่องทีป่ นู กอ่แสดงขยายการเซาะร่อง

70 รูปการขยายการเซาะร่องเหล่ยี มกิจกรรมการเรยี นรู้ (สัปดาหท์ ี่ 11/18, คาบท่ี 61–66/108) 1. ครูตรวจสอบความพร้อมนักเรียนทั้งกาลังกายและกาลังใจ ด้วยการขานช่ือและออกกาลังกายรว่ มกัน 2. ครูนาเข้าสู่บทเรยี น และครแู จง้ จุดประสงคก์ ารเรียน 3. ครูสอนเน้อื หาสาระข้อ 11.1 - 11.2 4. นักเรียนทาแบบฝึกหดั ที่ 11 5. ครูและนักเรียนร่วมกันเฉลยแบบฝึกหดั และร่วมอภิปรายสรุปบทเรยี น 6. ใหน้ กั เรียนทาตามใบงานท่ี 10 ขณะนกั เรยี นทาใบงาน ครจู ะสังเกตการทางานกลมุ่ และตรวจผลงานภาคปฏบิ ัติ 8. ใหน้ กั เรียนทาความสะอาดเครอื่ งมือ อุปกรณ์ และบรเิ วณพืน้ ทป่ี ฏบิ ัตงิ านใหเ้ รียบรอ้ ย 9. ครใู ห้นกั เรยี นรว่ มกนั สรุปผล ประเมินผลงานร่วมกัน และทาแบบทดสอบหลงั เรยี นสือ่ และแหลง่ การเรียนรู้ 1. หนงั สือเรยี นพน้ื ฐานงานปนู ของสานกั พมิ พศ์ นู ยห์ นังสือเมืองไทย 2. แบบทดสอบหลงั เรียน 3. อปุ กรณพ์ น้ื ฐานงานปนู เคร่อื งมอื และวัสดฝุ ึกแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11 วชิ า พน้ื ฐานงานปนู (2106 – 1002)การวัดและการประเมินผล การวัดผล การประเมนิ ผล (ใช้เครอื่ งมอื ) (นาผลเทียบกบั เกณฑแ์ ละแปลความหมาย)1. แบบสงั เกตการทางานกลุ่มและนาเสนอผลงานกลุ่ม2. ผลงานตามใบงานที่ 10 และแบบประเมนิ เกณฑผ์ า่ น 60%3. แบบทดสอบหลังเรยี น (Post–test) หนว่ ยที่ 11 เกณฑผ์ ่าน 60%4. แบบประเมินคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ตามสภาพจริง เกณฑผ์ ่าน 50% เกณฑผ์ ่าน 60%งานท่มี อบหมาย งานที่มอบหมายนอกเหนือเวลาเรียน ทาแบบฝึกหดั ให้ถูกต้อง สมบรู ณ์ และศึกษาเร่ือง การก่ออิฐประดบั การกอ่ อฐิ โชวแ์ นว และการเซาะรอ่ งโคง้

71ผลงาน/ช้ินงาน/ความสาเร็จของผูเ้ รียน 1. ผลการทากจิ กรรมตามใบงานที่ 10 2. คะแนนแบบทดสอบหลังเรียน (Post–test) หน่วยท่ี 11เอกสารอา้ งอิง จรี ะศกั ด์ิ สิทธผิ ล (2557). พนื้ ฐานงานปนู (2106 – 1002). นนทบุรี : ศูนยห์ นังสอื เมืองไทย.แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 11 วชิ า พ้ืนฐานงานปูน (2106 – 1002)บนั ทึกหลงั การสอน 1. ผลการใชแ้ ผนการจดั การเรยี นรู้ (จดุ ประสงค์การเรียนรู้/กิจกรรม/การประเมินผล)............................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .......................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ................................................. 2. ผลการเรียนของนักเรียน/ผลการสอนของครู/ปัญหาที่พบ............................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................ .................................................

72............................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................ ................................................. 3. แนวทางการแกป้ ญั หา............................................................................................................................. ....................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................... .................................................................... ...ลงช่ือ............................................... ลงช่ือ..................................... .......... (...............................................) (.............................................) ตวั แทนนักเรียน ครผู สู้ อนช่ือเรอ่ื ง แผนการจดั การเรียนร้ทู ี่ 12 หนว่ ยท่ี 12 ช่อื วิชา พ้นื ฐานงานปนู (2106 – 1002) เวลาเรียนรวม 108 คาบ ช่อื หน่วย การก่ออิฐประดับ การกอ่ อิฐโชวแ์ นว และการ เซาะร่องโคง้ สอนครงั้ ที่ 12/18 การก่ออฐิ ประดับ การก่ออฐิ โชว์แนว และการเซาะรอ่ งโคง้ จานวน 6 คาบหวั ขอ้ เร่อื ง ทฤษฎี ปฏิบัติ 12.1 การก่ออิฐประดบั การกอ่ อฐิ โชวแ์ นว และ ใบงานท่ี 11 การก่ออฐิ ประดับ การกอ่ อิฐโชวแ์ นวการเซาะร่องโค้ง และการเซาะร่องโค้ง 12.2 ขัน้ ตอนการแต่งแนวกอ่ และเซาะร่องโคง้สมรรถนะย่อย 1. แสดงความรู้เกยี่ วกบั การกอ่ อิฐประดบั การก่ออฐิ โชวแ์ นว และการเซาะรอ่ งโคง้

73 2. กอ่ อฐิ ประดบั การก่ออฐิ โชว์แนว และการเซาะร่องโคง้ ตามขัน้ ตอนจดุ ประสงคเ์ ชงิ พฤตกิ รรม ดา้ นความรู้ 1. อธิบายหลกั การ การแตง่ แนวกอ่ ท้ังแนวระดบั และแนวด่ิงได้ 2. แต่งแนวก่อท้ังแนวระดบั และแนวดง่ิ ได้อย่างถูกต้อง ประณตี สวยงาม 3. ปฏิบัติตนเป็นผมู้ คี ณุ ธรรม จรยิ ธรรมได้ 4. ประเมนิ ผลงานตนเองรว่ มกบั ผสู้ อนได้ 5. นาหลกั การไปประยุกต์ใชก้ บั งานจรงิ ได้ 6. มีทกั ษะของความปลอดภยั และรักษาสงิ่ แวดล้อม ด้านทักษะ 1. สามารถก่ออิฐประดับ การก่ออิฐโชว์แนว และการเซาะร่องโค้งได้อย่างถูกต้อง ประณีต สวยงาม มีความแข็งแรง 2. ปฏบิ ตั งิ านตามลาดับขั้นตอนในใบงานได้ ดา้ นคณุ ธรรม จริยธรรม/บรู ณาการคา่ นยิ มหลักของคนไทย 12 ประการ แสดงออกด้านความสนใจใฝ่รู้ การตรงต่อเวลา ความซ่ือสัตย์ สุจริต ความมีน้าใจและแบ่งบันความรว่ มมือ/ยอมรบั ความคดิ เห็นสว่ นใหญ่แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 12 วชิ า พ้นื ฐานงานปูน (2106 – 1002)เนือ้ หาสาระ เมื่อก่อกาแพงหรือเสาเสร็จเรยี บร้อยแลว้ งานต่อไปที่ต้องทาคือการตกแต่งผวิ ของผนัง นน่ั คือการฉาบปิดผนังหรือเสา แต่ในบางคร้ังไม่จาเป็นต้องฉาบปิดเลย แต่จะใช้ประโยชน์ของแนวปูนก่อของอิฐหรือบ ล็อกหรือการใช้ผิวของอิฐและบล็อกที่ใส่ลวดลายลงไป ดังนั้นการเซาะร่องจึงอีกวิธีท่ีนิยมกันอย่างกว้างขวาง การเซาะรอ่ งสามารถทาไดห้ ลายวธิ ี เชน่ การเซาะรอ่ งโค้ง เป็นต้นขน้ั ตอนการแต่งแนวก่อนและการเซาะรอ่ งโคง้ 1. เตรียมวัสดุ เคร่อื งมอื และอปุ กรณ์ 2. ศกึ ษารปู แบบของงานตามใบงาน 3. กะระยะวางแนวก่ออฐิ 4. เริม่ ก่อช้นั ที่ 1 โดยก่ออิฐประดบั ที่ก้อนรมิ ท้ังสองให้ได้แนวและไดร้ ะดบั แล้วขงึ เชือก 5. กอ่ อฐิ ประดบั ให้เต็มช่องวา่ ง ในแนวท่ี 1 ให้ไดแ้ นวเส้นเชือก 6. เรม่ิ กอ่ อิฐแถวท่ี 2 จนถงึ แถวสดุ ทา้ ยใหป้ ฏบิ ตั ิเหมือนแถวที่ 1 การขงึ เชือกทกุ ระดับไปจนได้ความสูงตามกาหนด

74 7. แต่งแนวปูนก่อตามแบบ โดยใช้อุปกรณ์เกรียงเซาะร่องท่ีเตรียมมาให้เซาะร่องตามแนวของรอยปูนก่อในขณะที่ปูนก่อยังไม่แห้งหรือให้ผู้เรียนใช้ความคิดสร้างสรรค์ ลองออกความคิดเห็นและหาวิธีในการเซาะร่องทม่ี อี ยูห่ ลากหลายรูปแบบตา่ งกันออกไป 8. ตรวจสอบความเรียบรอ้ ย ทาความสะอาดเครื่องและอปุ กรณบ์ ริเวณฝึกงานแผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 12 รปู การก่ออฐิ โชวแ์ นว วชิ า พ้ืนฐานงานปนู (2106 – 1002)เน้ือหาสาระ (ตอ่ )ขั้นตอนการแต่งแนวกอ่ นและการเซาะรอ่ งโคง้ รปู การขยายการเซาะรอ่ งโค้งกิจกรรมการเรยี นรู้ (สัปดาห์ที่ 12/18, คาบท่ี 67–72/108)

75 1. ครูตรวจสอบความพร้อมนักเรียนทั้งกาลังกายและกาลังใจ ด้วยการขานช่ือและออกกาลังกายรว่ มกนั 2. ครูนาเขา้ ส่บู ทเรียน และครูแจ้งจุดประสงค์การเรยี น 3. ครสู อนเน้ือหาสาระขอ้ 12.1 - 12.2 4. นกั เรยี นทาแบบฝึกหัดที่ 12 5. ครแู ละนักเรยี นรว่ มกันเฉลยแบบฝกึ หัด และร่วมอภิปรายสรปุ บทเรียน 6. ใหน้ ักเรยี นทาตามใบงานท่ี 11 ขณะนักเรียนทาใบงาน ครูจะสังเกตการทางานกลมุ่ และตรวจผลงานภาคปฏิบตั ิ 8. ใหน้ ักเรยี นทาความสะอาดเครือ่ งมือ อปุ กรณ์ และบริเวณพ้นื ทป่ี ฏิบัติงานใหเ้ รียบรอ้ ย 9. ครใู ห้นักเรยี นรว่ มกนั สรปุ ผล ประเมนิ ผลงานรว่ มกนั และทาแบบทดสอบหลงั เรียนสื่อและแหลง่ การเรยี นรู้ 1. หนงั สอื เรียนพืน้ ฐานงานปูน ของสานักพมิ พศ์ ูนย์หนังสอื เมอื งไทย 2. แบบทดสอบหลังเรียน 3. อปุ กรณพ์ ้นื ฐานงานปนู เคร่อื งมอื และวสั ดฝุ ึกแผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 12 วชิ า พ้นื ฐานงานปูน (2106 – 1002)การวดั และการประเมินผล การวัดผล การประเมนิ ผล (ใชเ้ ครือ่ งมอื ) (นาผลเทยี บกบั เกณฑแ์ ละแปลความหมาย)1. แบบสงั เกตการทางานกลมุ่ และนาเสนอผลงานกลุม่2. ผลงานตามใบงานที่ 11 และแบบประเมิน เกณฑ์ผ่าน 60%3. แบบทดสอบหลังเรียน (Post–test) หน่วยที่ 12 เกณฑ์ผา่ น 60%4. แบบประเมนิ คุณธรรม จรยิ ธรรม ตามสภาพจรงิ เกณฑ์ผ่าน 50% เกณฑผ์ ่าน 60%งานทมี่ อบหมาย งานที่มอบหมายนอกเหนือเวลาเรียน ทาแบบฝึกหัดให้ถูกต้อง สมบูรณ์ และศึกษาเรื่อง การก่ออิฐมวลเบา

76ผลงาน/ช้นิ งาน/ความสาเร็จของผเู้ รียน 1. ผลการทากิจกรรมตามใบงานที่ 11 2. คะแนนแบบทดสอบหลังเรียน (Post–test) หนว่ ยที่ 12เอกสารอ้างองิ จีระศักดิ์ สทิ ธผิ ล (2557). พื้นฐานงานปนู (2106 – 1002). นนทบรุ ี : ศนู ยห์ นังสอื เมืองไทย.แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 12 วิชา พ้นื ฐานงานปูน (2106 – 1002)บันทกึ หลงั การสอน 1. ผลการใชแ้ ผนการจดั การเรยี นรู้ (จดุ ประสงค์การเรยี นรู้/กจิ กรรม/การประเมินผล)............................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .......................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ................................................. 2. ผลการเรยี นของนกั เรียน/ผลการสอนของคร/ู ปญั หาที่พบ............................................................................................................................. ...............................................................................................................................................................................................................................


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook