Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หลักการใช้สื่อการสอนคณิตศาสตร์

หลักการใช้สื่อการสอนคณิตศาสตร์

Published by Apisak Chayathes, 2021-01-19 08:50:13

Description: หลักการใช้สื่อการสอนคณิตศาสตร์

Search

Read the Text Version

นายอภิศักดิ์ ไชยเทศ ปี3 หมู่ 1 รหสั 614143009 หลักการใชส้ ่ือการสอนคณิตศาสตร์ ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแต่ละครั้ง ไม่ว่าจะใช้เวลาในการสอนมากน้อยเพียงใด จะต้องมี ความเกีย่ วขอ้ งกับหลายสงิ่ หลายอย่าง เช่น ตวั ครู นกั เรยี น สอ่ื การสอน และสิ่งอำนวยความสะดวกตา่ งๆ ซ่ึงสิง่ เหลา่ นจี้ ะเปน็ องค์ประกอบสำคัญที่จะชว่ ยในการดำเนินกจิ การนน้ั บรรลุตามจุดมงุ่ หมายหรือไม่ - การเรยี นการสอน - ขบวนการวดั และประเมินผล - ประสบการณก์ ารเรียนรู้ 1. วตั ถปุ ระสงคก์ ารเรยี น วัตถุประสงค์เป็นองค์ประกอบที่ที่สำคัญที่สดุ จะมีส่วนในการกำหนดประเภทและขอบเขตของเนื้อหา สื่อการสอนที่สร้างขึ้นตามวัตถุประสงค์จะเกิดประโยชน์ต่อผู้เรียนสูงสุด ถ้าครูรู้จักนำสื่อการมาประกอบให้ ถูกต้องแล้วเชื่อได้แน่นอนว่าแนวคิดที่จะได้มีความผิดพลาดน้อยที่สุดการใช้สื่อการสอนสำหรับการฝึกปฏิบัติ เปน็ ส่งิ จำเป็นทส่ี ุดจะขาดเสยี มไิ ด้ ผเู้ รยี นจะบรรลวุ ตั ถปุ ระสงค์มากน้อยเพียงใด ขึน้ อยูก่ ับส่อื การสอนน้ัน ๆ จะ เปน็ เครอื่ งมือนำผู้เรยี นให้บรรลุผลตามความม่งุ หมาย 2. ประสบการณก์ ารเรยี นรู้ การจัดกิจกรรมการเรยี นการสอน เพอ่ื เสรมิ ประสบการณ์การเรียนรู้ให้กบั นักเรยี นนัน้ สามารถใช้สื่อ ประกอบการสอนได้ 3 ข้ันตอนไดแ้ ก่ 2.1 การใช้ส่ือข้นั นำเขา้ สูบ่ ทเรยี น การนำเขา้ สู่บทเรยี นในวิชาคณติ ศาสตร์ สว่ นมากจะเปน็ การทบทวนเนื้อหา เดิมใหส้ ัมพนั ธ์กับเนื้อหาใหม่ จึงเป็นข้นั ท่ีจะต้องพยายามกระตนุ้ ให้ผู้เรียนเกิดความสนใจในบทเรยี นท่ีกำลงั จะ เรยี น การใช้สอื่ ในขน้ั นี้จึงมิได้เนน้ เนอ้ื หาท่ีเจาะลกึ ลงมากนัก แตจ่ ะเปน็ สื่อแสดงถึงเน้อื หา 2.2 การใชส้ อื่ ขั้นกิจกรรมการเรียนการสอน ขนั้ นี้จะดำเนินหลังจากทีค่ รไู ดน้ ำเขา้ ส่บู ทเรียนแลว้ นบั เป็นขั้นท่ีมี ความสำคญั ตอ่ การเรยี น ผู้สอนสว่ นใหญ่จะใชส้ อ่ื สอนมโนมติคณติ ศาสตร์ ในขน้ั กจิ กรรมการเรยี นการสอน โดย ผ้สู อนควรจะต้องมีขบวนการตามลำดับขน้ั ดงั นีค้ ือ 2.3 การใช้สื่อข้ันสรุปบทเรียน ก่อนที่การเรียนการสอนจะยุตลิ ง การสรุปบทเรียนนบั เป็นส่ิงจำเป็นอยา่ งหนงึ่ ทจี่ ะต้องจดั ให้มีขนึ้ ท้งั นี้เพอื่ เป็นการย้ำบทเรยี นให้เด่นชัดและเพ่ือปรบั ใหผ้ เู้ รยี นทุกคนมีความเข้าใจตรงกนั และตรงตามวัตถปุ ระสงคข์ องผ้สู อนด้วย การสรุปบทเรยี นคณิตศาสตรห์ มายถงึ การสรปุ ความคดิ รวบยอดของ เนื้อหาทเ่ี รยี นไปแล้ว ฉะนั้น ในขน้ั นจี้ ะใชเ้ วลาไม่มากเช่นเดียวกับขั้นนำเขา้ สู่บทเรยี น ดงั นนั้ สื่อที่จะนำไปใชใ้ น

ขน้ั นี้จะต้องจดั ทำสรปุ ใหค้ รอบคลุมเนอื้ หาทั้งหมดและใชเ้ วลาน้อย ส่อื ที่ควรนำไปใช้ ได้แก่ แผนภูมิ แผ่นปา้ ย ผา้ สำลแี ถบประโยคแผน่ โปรง่ ใส ปา้ ยนเิ ทศหรือสไลด์ เปน็ ต้น ประโยชนแ์ ละคุณค่าของส่ือการเรยี นการสอน สื่อการเรียนการสอนสามารถใช้ประโยชน์ได้ทง้ั กับผ้เู รียนและผู้สอนดังต่อไปน้ี ประโยชน์และคณุ คา่ ตอ่ ครูผสู้ อน สือ่ การเรยี นการสอนสามารถช่วยการเรียนการสอนของครูไดด้ มี ากซ่ึงเราจะเห็นวา่ ครูนนั้ สามารถจัด ประสบการณ์การเรียนรูใ้ ห้กบั นักเรียนได้มากทเี ดียวแถมยังชว่ ยให้ครูมคี วามรู้มากข้นึ ในการจดั หาแหล่ง วทิ ยาการท่เี ปน็ เน้ือหาเหมาะสมแกก่ ารเรียนรู้ตามจุดมุ่งหมายในการสอนชว่ ยครใู นด้านการคมุ พฤตกิ รรมการ เรยี นรู้และสามารถสนับสนุนการเรยี นรูข้ องนกั เรียนไดม้ ากทเี ดยี วส่อื การสอนจะช่วยส่งเสรมิ ใหน้ กั เรียนได้ทำ กจิ กรรมหลายๆรูปแบบ เช่น การใชศ้ ูนยก์ ารเรียน การใชค้ อมพวิ เตอร์ช่วยสอน การสาธิต การแสดงนาฏการ เปน็ ตน้ ช่วยให้ครผู ้สู อนไดส้ อนตรงตามจดุ ม่งุ หมายการเรยี นการสอนและยังชว่ ยในการขยายเนอ้ื หาท่ีเรยี นทำ ให้การสอนง่ายขน้ึ และยงั จะช่วยประหยัดเวลาในการสอนนักเรียนจะไดม้ ีเวลาในการทำกิจกรรมการเรียนมาก ขึ้น จากข้อมลู เราจะไดเ้ หน็ ถงึ ประโยชนข์ องสื่อการเรยี นการสอนซงึ่ ทำใหเ้ รามองเหน็ ถงึ ความสำคญั ของสอื่ สาร มปี ระโยชน์และมีความจำเป็นสามารถชว่ ยพัฒนาการเรียนการสอนได้อยา่ งมีประสิทธภิ าพ และยงั มี ขอ้ เสนอแนะอกี มากมายอย่างเช่น 1. เป็นการชว่ ยใหบ้ รรยากาศในการสอนนา่ สนใจมากยง่ิ ขนึ้ ทำให้ผ้สู อนมคี วามสนกุ สนานในการสอนมากกว่า วธิ กี ารที่เคยใชก้ ารบรรยายแตเ่ พยี งอยา่ งเดียว 2. สอ่ื จะชว่ ยแบ่งเบาภาระของผสู้ อนในการเตรยี มเนือ้ หา เพราะบางคร้งั อาจให้ผู้เรยี นศึกษาจากเน้ือหาจากส่ือ ได้บา้ ง 3. เปน็ การกระตุ้นให้ผสู้ อนตืน่ ตวั อยเู่ สมอในการเตรียมและผลิตวัสดุใหมๆ่ เพื่อใชเ้ ป็นสื่อการสอน ตลอดจน คิดคน้ เทคนคิ วิธีการต่างๆ เพอ่ื ใหก้ ารเรยี นรู้น่าสนใจยงิ่ ข้ึน ประโยชนแ์ ละคณุ ค่าต่อตัวผู้เรยี น 1. เปน็ สง่ิ ท่ีชว่ ยให้เกดิ การเรียนรอู้ ย่างมีประสิทธิภาพ เพราะทำใหผ้ ู้เรียนเกิดความเข้าใจเนือ้ หา บทเรยี นท่ียงุ่ ยากซบั ซอ้ นได้งา่ ยขน้ึ ในระยะเวลาอันส้ัน 2. สือ่ จะช่วยกระตุ้นและสรา้ งความสนใจใหก้ บั ผู้เรียน ทำใหเ้ กดิ ความสนกุ และไมร่ ้สู ึกเบอ่ื หน่าย 3. การใช้สื่อจะทำให้ผู้เรียนมีความเขา้ ใจตรงกนั และเกดิ ประสบการณ์รว่ มกนั ในวชิ าท่ีเรยี น

4. ช่วยให้ผเู้ รียนมีสว่ นรว่ มในกจิ กรรมการเรียนการสอนมากยง่ิ ขน้ึ ทำให้เกิดมนษุ ยสมั พันธ์ 5. ทำให้เด็กไดร้ บั ประสบการณต์ รงครูผ้สู อนท่ีนำสือ่ มาใช้ในการสอนและจากส่งิ แวดลอ้ มรวมไปถงึ ทางสังคมและวฒั นธรรม 6. เทคโนโลยสี ารสนเทศของสือ่ การเรียนการสอนทำให้เดก็ สามารคิดแยกแยะได้และมคี วามคิด รวบยอดเปน็ อย่างเดียวกนั 7. สื่อการเรียนการสอนสมยั ใหมส่ ามารถเอาชนะข้อจำกัดเรอื่ งความแตกตา่ งกนั ของประสบการณ์ ด้งั เดมิ ของผู้เรยี นคอื เม่ือใชส้ ่ือการเรยี นการสอนแล้วจะชว่ ยใหเ้ ด็กซง่ึ มปี ระสบการณ์เดมิ ต่างกัน เขา้ ใจไดใ้ กลเ้ คียงกนั หรือสามารถเปล่ยี นมุมมองทศั นคตไิ ปจากเดิมได้ 8. ทำให้เด็กมีความสนใจและตอ้ งการเรียนในเร่ืองตา่ ง ๆ มากข้นึ เช่นการอ่าน ความคดิ ริเรม่ิ สร้างสรรคท์ ศั นคติ การแก้ปัญหา ฯลฯ 9. เปน็ การสรา้ งแรงจูงใจ เรา้ ความสนใจให้เด็กสนใจในการเรียนอกี คร้ัง เปน็ การนำส่ิงท่อี ยไู่ กลมา ศกึ ษาได้ 10. ช่วยใหผ้ ู้เรยี นได้มปี ระสบการณ์จากรปู ธรรมส่นู ามธรรม 11. ช่วยให้ผู้เรยี นเกิดการเรียนรอู้ ย่างมีประสิทธิภาพ อยา่ งเช่น เรยี นรู้ไดด้ ขี น้ึ จากประสบการณท์ ี่ มคี วามหมายในรปู แบบตา่ งๆ เรยี นรู้ได้อย่างถูกต้อง เรียนร้ไู ดง้ า่ ยและเข้าใจได้ชัดเจน เรียนรู้ ได้มากขึ้นและเรียนรไู้ ดใ้ นเวลาท่จี ำกัด 12. เปน็ การนำสง่ิ ทเ่ี กดิ ขึ้นในอดีตมาศกึ ษาได้และชว่ ยกระตนุ้ ความสนใจของผ้เู รยี นด้วย 13. ช่วยใหจ้ ดจำได้นาน เกิดความประทบั ใจและม่ันใจในการเรยี นและการสอนของครผู ้สู อน 14. ช่วยใหผ้ ู้เรยี นไดค้ ิดและแกป้ ญั หาเปน็ และตัดสนิ ใจได้ ลกั ษณะของสือ่ ทีด่ ี ดูตามลักษณะเฉพาะตามประเภทของสือ่ ง สื่อแต่ละประเภทมลี ักษณะและคุณสมบัติเฉพาะ ดังนั้นส่ือการเรียนการสอนบางประเภทจะทำหนา้ ท่ี เพียงให้สาระข้อมูลแค่บางส่วน บางประเภทจะให้ทั้งสาระและกำหนดให้ผู้เรียนตอบสนองด้วย ซึ่งอาจจะ

นำเสนอถึงความเป็นรูปธรรมมากน้อยแตกต่างกันไป โดยส่อื ทเี่ ป็นรูปธรรมมากจนสามารถสัมผสั และมสี ว่ นรวม กับสื่อได้มากตัวอย่างเช่น ของตัวอย่าง แบบจำลองต่างๆ ซึ่งสื่อเหล่านี้หากจะให้เป็นสื่อที่ดีก็คือเรื่องของ รายละเอียดต่างๆที่แบบจำลอง แบบตัวอย่างเหล่านั้นสามารถแสดงออกมาได้ว่าสมจริงหรือไม่ ส่วนสื่อที่เป็น ภาพกราฟิก ไม่ว่าจะเป็น ภาพ 2 มิติ ภาพ 3 มิติ ภาพนิ่งหรือภาพเคลื่อนไหว เราจะดูว่าเป็นสื่อการสอนที่ดี หรือไม่นั้นจะอิงจากองค์ประกอบต่างๆของสื่อโดยรวมวา่ สามารถทำงานได้ดีเต็มศักยภาพของสื่อเหล่านั้นและ สอดคล้องตามวัตถุประสงค์ในการเรียนการสอนได้หรือไม่ รวมถึงการสร้างสรรค์ปรับปรุงให้สื่อการสอน เหล่านั้นทันยุคสมัยเสมอ เนื่องจากสื่อการสอนบางประเภทก็อาจจะล้าหลังเกินไปแล้วที่จะนำมาใช้ จน ไม่ สามารถสร้างบรรยากาศร่วมให้ผู้เรียนรู้สึกสนุกสนานไปกับการเรียนได้ ซึ่งในกรณีหลังนี้สื่อเหล่านั้นก็จะ กลายเปน็ สือ่ การสอนท่ีไมด่ ไี ป มาตรฐานการออกแบบต้องดีและสวยงาม (Design Standards) การออกแบบสอ่ื การเรียนการสอนเป็นการสรา้ งสรรค์ส่งิ ใหมด่ ว้ ยการนำสว่ นประกอบต่างๆ ตามประเภทของ ส่ือและองคป์ ระกอบตามวัตถุประสงค์การเรยี นการสอนทเ่ี ก่ียวขอ้ งมาผสมรวมกันแลว้ ออกแบบให้ดแี ละ สวยงาม เพ่อื ประโยชน์ของการสื่อขอ้ มูลสาระต่างๆตามวัตถุประสงค์ โดยการออกแบบสื่อทีด่ ีจะต้องชว่ ยทำให้ การสอื่ สาระชัดเจนและเป็นที่เขา้ ใจง่ายสำหรับผูเ้ รียน โดยตอ้ งไมเ่ ป็นการออกแบบที่ทำให้การส่ือสารคลุมเครอื และสับสนจนเปน็ อปุ สรรคต่อการสื่อความเขา้ ใจ รวมถึงส่ือการสอนต้องกระชบั และไดใ้ จความครบถ้วน มี ความเหมาะสมกบั การจดั การเรียนการสอนหรือการฝกึ อบรมและต้องสามารถตรงึ ความสนใจของผู้เรียนให้ได้ ตลอดเวลา เพอื่ นำไปสู่การอยากเรียนรเู้ พิ่มเติมอกี ในอนาคต แต่ถา้ ส่ือนน้ั เป็นวสั ดุแบบจำลองตา่ งๆกจ็ ะตอ้ ง เป็นการออกแบบทลี่ งตวั มีความสมดุลและรายละเอียดท่คี รบถว้ นในตัวของมนั เอง นอกจากนใ้ี นบางคร้ังอาจใช้การออกแบบแก้ข้อจำกัดหรือข้อเสียเปรียบของลกั ษณะเฉพาะบาง ประการของเน้ือหาการเรยี นการสอนบางประเภทอยา่ งเช่นเรอ่ื งนามธรรมตา่ งๆ ใหด้ ชู ัดเจน เข้าใจงา่ ยและ เข้าใจได้รวดเร็วมากขนึ้ มาตรฐานทางเทคนิควธิ ีการนำเสนอส่อื (Technical standards) เทคนคิ วิธกี ารนำเสนอส่อื เป็นปัจจัยสำคญั อีกปัจจัยหน่ึงที่ช่วยให้ส่ือการสอนมีความนา่ สนใจและ สามารถส่อื สารไดอ้ ย่างมีประสทิ ธิภาพ โดยเทคนิควิธที ่ใี ช้ในการนำเสนอส่ือการเรียนการสอน ตอ้ งเปน็ เทคนคิ วิธกี ารทางการศึกษา โดยเปน็ เทคนคิ วธิ กี ารท่ีช่วยใหก้ ารเสนอสาระข้อมลู ความรเู้ ปน็ ไปอย่างชดั เจน ไม่ คลุมเครือหรือไมซ่ ่อนเรน้ เนื้อหา การนำเสนอต้องนา่ สนใจ ต่นื ตาต่ืนใจ ในกรณีทมี่ ีการเปรยี บเทยี บต้อง

สามารถช้ีใหเ้ ห็นถงึ ความแตกต่างและความเหมือนได้อย่างชัดเจน กอ่ ใหเ้ กิดความเขา้ ใจง่าย มีความกระชบั และสามารถสรุปเน้ือหาสาระรวบยอดได้อยา่ งครบถว้ น ถูกต้องสมบูรณ์ตามทวี่ ตั ถุประสงค์การเรียนการสอน กำหนดเอาไว้ อีกทัง้ ควรนำเสนอใหผ้ เู้ รยี นเกดิ ความรู้สกึ รว่ มกบั การเรียนการสอนอยา่ งเปน็ จรงิ เป็นจงั ให้ได้ด้วย ส่วนในดา้ นการใช้ส่อื ควรเปน็ เทคนคิ วธิ ีทีช่ ว่ ยเพ่มิ ความคล่องตวั ในการใชส้ อน ใช้ง่าย มีความปลอดภัย และ นำไปใชไ้ ด้อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพซึ่งสรปุ โดยรวมนัน้ สือ่ การสอนทีด่ คี ือสื่อการสอนท่ีสามารถบอกเลา่ เน้อื หาตาม วัตถปุ ระสงค์ได้อยา่ งครบถว้ นและสือ่ สารออกไปได้อย่างมปี ระสิทธภิ าพ รวดเรว็ เขา้ ใจง่ายและตรึงผเู้ รียนให้อยู่ ร่วมกบั การเรียนได้ดี ซ่ึงลักษณะเหล่าน้กี ็คอื สงิ่ ที่ผู้รบั ทำสื่อการสอนควรทำออกมาเพื่อให้เกิดประโยชน์สงู สดุ ตอ่ ผู้เรยี นผู้สอนท่นี ำสื่อการสอนเหลา่ น้นั ไปใช้ด้วย หลักการใช้สี การใชส้ กี บั งานออกมาน้ัน อยู่ทนี่ ักออกแบบมีจดุ มงุ่ หมายใด ทจ่ี ะสร้างความสนใจ ความเรา้ ใจตอ่ ผู้ดูเพ่อื ให้ เขา้ ถึงจุดหมายทตี่ นต้องการ หลักของการใช้มดี ังนี้ การใช้สีวรรณะเดยี ว ความหมายของสีวรรณะเดียว ( tone) คือกลุม่ สที ีแ่ บ่งออกเปน็ วงลอ้ ของสเี ป็น 2 วรรณะ คอื วรรณะรอ้ น ( warm tone) ซ่ึงประกอบดว้ ย สีเหลือง สีส้ม สีแดง สีม่วง สเี หล่าน้ใี ห้อทิ ธพิ ล ต่อ ความรู้สึก ตืน่ เตน้ เร้าใจ กระฉบั กระเฉง ถือว่าเปน็ วรรณะรอ้ น วรรณะเยน็ ( cool tone) ประกอบด้วย สเี หลือง สีเขียว สนี ้ำเงิน สีมว่ ง สเี หลา่ นี้ดู เยน็ ตา ให้ ความรสู้ กึ สงบ สดชนื่ (สีเหลอื งกับสมี ว่ งอยไู่ ด้ทั้งสองวรรณะ) การใชส้ แี ตล่ ะครงั้ ควรใชส้ ีวรรณะเดยี วในภาพ ท้ังหมด เพราะจะทำให้ภาพความเปน็ อนั หนงึ่ อนั เดียวกัน (เอกภาพ) กลมกลนื มีแรงจูงใจให้คลอ้ ยตามได้มาก การใช้สีต่างวรรณะ หลักการทว่ั ไป ใช้อตั ราส่วน 80% ต่อ 20% ของวรรณะสี คือ ถา้ ใช้สวี รรณะร้อน 80% สีวรรณะเยน็ ก็ 20% เปน็ ต้น ซ่งึ การใช้แบบนสี้ ร้างจดุ สนใจของผูด้ ู ไมค่ วรใชอ้ ตั ราสว่ นทเ่ี ท่ากันเพราะจะทำให้ไมม่ สี ใี ด เดน่ ไมน่ า่ สนใจ วรรณะของสี คอื สีที่ให้ความรู้สกึ ร้อน-เย็น ในวงจรสีจะมีสีร้อน 7 สี และสีเย็น 7 สี ซ่ึงแบ่งท่ี สมี ่วงกบั สเี หลอื งซง่ึ เปน็ ไดท้ งั้ สองวรรณะ การใชส้ ีตรงกนั ขา้ ม สตี รงขา้ มจะทำให้ความรสู้ ึกท่ีตัดกนั รนุ แรง สรา้ งความเด่น และเรา้ ใจได้มากแต่หากใชไ้ ม่ถูกหลกั หรือไม่เหมาะสมหรอื ใชจ้ ำนวนสมี ากสจี นเกินไป ก็จะทำให้ ความรู้สึกพร่ามัว ลายตา ขัดแยง้ ควรใชส้ ีตรงข้าม ในอตั ราส่วน 80% ต่อ 20% หรอื หากมีพืน้ ที่เทา่ กนั ทีจ่ ำเป็นต้องใช้ ควรนำสีขาว หรือสดี ำ เขา้ มาเสริมเพอ่ื ตัด เส้นให้แยกออก จาก กนั หรืออกี วิธหี นึ่งคือการลดความสดของสีตรงขา้ มใหห้ มน่ ลง สตี รงข้ามมี 6 คู่ได้แก่ สเี หลือง ตรงขา้ มกบั สีมว่ ง

สแี ดง ตรงขา้ มกับ สเี ขียว สีน้ำเงิน ตรงข้ามกบั สสี ม้ สเี ขยี วเหลอื ง ตรงข้ามกบั สมี ่วงแดง สีสม้ เหลอื ง ตรงข้ามกับ สมี ่วงน้ำเงนิ สสี ้มแดง ตรงขา้ มกับ สีเขยี วน้ำเงนิ วงล้อสี สแี ดง เปน็ สขี องไฟและเลือด พลังงาน สงคราม อันตราย ความแข็งแรง พละกำลังความปรารถนา และความรัก สแี ดงอ่อน เป็นความสนุกสนาน ความอ่อนไหว ความยว่ั ยุทางเพศ ความปรารถนา และความรกั สชี มพู สอ่ื ถึงความเปน็ ผหู้ ญงิ ความโรแมนติก ความรกั มิตรภาพ และความละเอยี ดอ่อน สีแดงเขม้ คือ ความโกรธ บา้ คลงั่ ความมงุ่ มนั่ ความกล้าหาญ ผูน้ ำ ความใคร่ ความกระฉบั กระเฉง และความมงุ่ รา้ ย สีน้ำตาล ส่ือถงึ การชวนคดิ ความเสถยี รภาพ แข็งแกรง่ และคณุ ภาพ สีน้ำตาลแดง ความหมายในทางบวกสือ่ ถึงฤดูเกบ็ เกี่ยว การเกดิ ผลสำเร็จ เกา่ แก่ และโบราณ นอกจากนีจ้ ะพบบ่อยในโฆษณาขายบ้าน และสอื่ ถงึ ครอบครวั สีสม้ เกดิ จากสีแดงท่มี ีพลัง และสเี หลืองทสี่ ่ือถงึ ความสุข มาเป็นสีสม้ จึง หมายถึง ความสนกุ ความ สดใสแสงแดดความร้อนแรง ความกระตอื รือร้น ชวนให้หลงรกั ชา่ งคิด ชา่ งฝัน ความตั้งใจ ความสำเร็จ การ ชว่ ยเหลือนยิ มใชใ้ นการโฆษณาผลไม้ ผลไม้เพือ่ สขุ ภาพ และของเลน่ สีส้มเข้ม หมายถึง โกหก หลอกลวง มอี ุบาย ไมน่ า่ ไวใ้ จ และน่าสงสัย สสี ม้ แดง หมายถงึ ความปรารถนา ความยวั่ ยุทางเพศ ความเพลิดเพลนิ ดมู อี ำนาจ ก้าวร้าว และ แสดงถึงความกระหาย สเี หลอื ง เปน็ สีของแสงอาทิตย์ สอ่ื ถงึ ความสนกุ สนาน ความสขุ ความฉลาด ความ สรุป การจัดการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ ในเนอ้ื หาหนง่ึ ๆ ครผู ู้สอนอาจใช้รูปแบบของการเรยี นรหู้ ลายรูปแบบ ผสมผสานกัน และจะต้องคำนงึ ถึงการบูรณาการด้านความรู้ ดา้ นทกั ษะ/กระบวนการและสอดแทรกคณุ ธรรม จรยิ ธรรม และค่านิยม โดยสอดแทรกในการเรยี นรู้ทุกเนื้อหาสาระให้ครบถ้วน เพ่อื ใหบ้ รรลุมาตรฐานการ เรียนรูท้ ก่ี ำหนดไว้ในหลักสูตรการศึกษา สอ่ื การสอนและนวัตกรรมต่างๆทางคณิตศาสตร์จะชว่ ยใหผ้ เู้ รียนเกดิ การเรยี นรู้ มปี ระสบการณม์ ีความคิดทีเ่ ป็นเหตผุ ล กจิ กรรมการเรยี นการสอนที่มีต่อสิง่ ของจะชว่ ยให้ผู้เรียน สัมผสั กับสถานการณ์ต่าง ๆ ท่เี กดิ ขนึ้ กระบวนการความคิดทเี่ ปน็ เหตผุ ลมากยิ่งขึ้น

บรรณานุกรม หลักการผลิตสอื่ การสอนคณิตศาสตร.์ (2540). สืบคน้ จาก : https://netsai021.page.tl/ [13 มกราคม 2564] กิดานันท์ มลทิ อง. (2540). https://www.baanjomyut.com/library_2/extension4/introduction_to_teaching/01.html [ออนไลน]์ เขา้ ถงึ เมื่อวนั ที่ 13 มกราคม 2564ทกั ษะการใช้สื่อการเรยี นรู้. (2540). สืบค้นจาก : https://www.sites.google.com/site/krutubtib/ [13 มกราคม 2564] คุณสมบตั ิของส่ือการสอน. (2559). สบื คน้ จาก : https://sites.google.com/site/bthreiyn1 23/khunsmbati-khxng-sux-kar-sxn [13 มกราคม 2564] นริ มล พุทธสิงขร. (2560). https://www.gotoknow.org/posts/626783 [ออนไลน์] เข้าถึงเมอ่ื วนั ที่ 13 มกราคม 2564 Amnart Chansri. (2553). https://www.gotoknow.org/posts/315074 [ออนไลน์] เขา้ ถึงเมือ่ วนั ท่ี 13 มกราคม 2564


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook