Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานระบบร้านค้าแบงกะเบน (สมบูรณ์)

รายงานระบบร้านค้าแบงกะเบน (สมบูรณ์)

Published by 23methat11com61, 2022-04-04 05:58:31

Description: รายงานระบบร้านค้าแบงกะเบน (สมบูรณ์)

Search

Read the Text Version

ระบบรา้ นขายของแบงกะเบน จัดทาโดย นางสาวจริ ัชญา สังฆเวช เลขท่ี 4 นางสาวนภัสสร เปลง่ ศรี เลขที่ 11 นายเมธสั คงแก้ว เลขที่ 30 เสนอ ครูจิรวรรณ มะลาไสย รายงานเลม่ นีเ้ ป็นสว่ นหนง่ึ ของรายวชิ าการวเิ คราหแ์ ละออกแบบระบบเชิงวัตถุ รหัสวชิ า 3204–2006 สาขาวิชาเทคโนโลยีธรุ กจิ ดิจทิ ลั ระดบั ชั้นประกาศนยี บัตรวชิ าชพี ชนั้ สูง (ปวส.) วิทยาลัยเทคนคิ จนั ทบุรี ประจาภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564

ระบบร้านขายของแบงกะเบน จดั ทาโดย นางสาวจริ ชั ญา สังฆเวช เลขท่ี 4 นางสาวนภัสสร เปลง่ ศรี เลขท่ี 11 นายเมธสั คงแก้ว เลขที่ 30 เสนอ ครจู ิรวรรณ มะลาไสย รายงานเลม่ นีเ้ ปน็ ส่วนหน่งึ ของรายวชิ าการวเิ คราห์และออกแบบระบบเชิงวัตถุ รหัสวชิ า 3204 – 2006 สาขาวชิ าเทคโนโลยีธรุ กจิ ดจิ ทิ ัล ระดบั ชน้ั ประกาศนียบัตรวชิ าชีพชั้นสูง (ปวส.) วทิ ยาลัยเทคนคิ จันทบุรี ประจาภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2564

คานา รายงานเล่มน้ีเป็นส่วนหน่ึงของวิชา การวิเคราะห์และออกแบบระบบ รหัสวิชา 3204-2006 ช้ัน ปวส. 1/1 จัดทาข้ึนเพ่ือประกอบการศึกษาของผู้ศึกษาโดยเนื้อหาในรายงานเล่มนี้จะเกี่ยวกับ ระบบร้านขายของปบงกะเบน และได้ศกึ ษาอย่างเขา้ ใจเพือ่ เป็นประโยชน์กับการเรยี น เปน็ ต้น คณะผู้จัดทาหวังว่า รายงานเล่มนี้จะเป็นประโยชนก์ ับผู้อ่าน หรือ นักเรียน นักศึกษา ท่ีกาลัง หาข้อมูลเร่ืองนี้อยู่และเพ่ือให้ผู้ศึกษาสามารถนาข้อมูลที่ได้จากการศึกษาค้นคว้าน้ีไปใช้ประกอบการ ธุรกิจและการทางานอ่ืนๆ ตอ่ ไป หากมีข้อเสนอแนะนาหรือข้อผิดพลาดประการใด คณะผู้จัดทาขอน้อมรับไว้และขออภัยมา ณ ทน่ี ีด้ ้วย คณะผ้จู ัดทา ก

สารบัญ หนา้ ก คานา ข สารบัญ ง สารบัญตาราง จ สารบญั ภาพ บทท่ี 1 บทนา 1 1 1.1 หลักการและเหตุผล 1 1.2 ประวตั แิ ละความเปน็ มา 1 1.3 ปญั หาของระบบ 1 1.4 แนวทางการแกไ้ ข 1 1.5 จดุ ประสงค์การวเิ คราะห์ 1.6 ประโยชนท์ ี่ไดร้ บั 3 บทที่ 2 เอกสารท่ีเกย่ี วขอ้ ง 2.1 ความหมายของรา้ นแบงกะเบน 4 2.2 วตั ถุประสงค์ของร้านขายของ 4 2.3 หลักความสาคัญของร้านขายของ 7 2.4 ประวตั ิของรา้ นขายของ 7 2.5 ความสามารถในการทากาไร 7 2.6 การศึกษาระบบงานขายสินคา้ 7 2.7 ระบบฐานข้อมูล 8 2.8 ประโยชนข์ องฐานข้อมลู 2.9 การวเิ คราะห์ระบบ 10 2.10 การจดั การขอ้ มูล 10 2.11 การออกแบบระบบ 14 2.12 ประเภทของระบบ 15 บทท่ี 3 วิธีดาเนนิ การวิจัย 3.1 การเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล 3.2 วเิ คราะห์ระบบโดยใช้ DFD 3.3 ออกแบบ ER-Model 3.4 ออกแบบฐานข้อมลู และสร้างความสัมพันธ์โดยใช้ Microsoft Access ข

สารบญั (ต่อ) หนา้ บทท่ี 4 ผลการดาเนินงาน 18 4.1 การออกแบบระบบรา้ นขายของแบงกะเบน 19 4.2 การจดั เก็บ Data base 21 บทที่ 5 สรุปผลการวเิ คราะห์ ออกแบบระบบและข้อเสนอแนะ 21 5.1 วตั ถปุ ระสงค์ของการวิเคราะห์และออกแบบระบบ 21 5.2 การเก็บรวบรวมขอ้ มลู 21 5.3 ขอ้ เสนอแนะ 21 5.4 สรปุ ผลการวิเคราะห์และออกแบบระบบ 24 บรรณานกุ รม ภาคผนวก ก 26 Context Diagram หรอื DFD ระดับ 0 ของ ร้านขายของแบงกะเบน 28 ภาคผนวก ข 30 Context Diagram หรอื DFD ระดับ 1 ของ รา้ นขายของแบงกะเบน 31 ภาคผนวก ค 32 ER-Model แบบ Chen Model and Crow'sFoot Model รา้ นขายของแบงกะเบน ภาคผนวก ง สรุปบทสมั ภาษณ์ คาถาม 15 ขอ้ คาถาม 15 ขอ้ ค

สารบัญตาราง หนา้ ตารางที่ 19 4.2.1 แสดงข้อมูลลูกค้า 19 4.2.2 แสดงขอ้ มลู สินค้า 20 4.2.3 แสดงขอ้ มูลรายการขายสนิ คา้ 20 4.2.4 แสดงขอ้ มูลการส่งั ซื้อสินค้า 20 4.2.5 แสดงขอ้ มูลประเภทสินคา้ 20 4.2.6 แสดงข้อมูลใบเสรจ็ 20 4.2.7 แสดงขอ้ มูลพนกั งาน ง

สารบัญภาพ 1 ภาพที่ 3.1 Context Diagram Level 0 ระบบร้านขายของแบงกะเบน หน้า 3.2 Data flow diagram Level 1 ระบบร้านขายของแบงกะเบน 11 3.3 Chen ER-MODEL ระบบรา้ นขายของแบงกะเบน 12 3.4 Craw's Foot ER-MODEL รา้ นขายของแบงกะเบน 14 3.5 การออกแบบตารางข้อมูลรา้ นขายของแบงกะเบน 15 3.6 การออกแบบตารางข้อมลู Customer 15 3.7 การออกแบบตารางข้อมลู Products 16 3.8 การออกแบบตารางข้อมลู Employee 16 3.9 การออกแบบตารางข้อมลู Orders 16 3.10 การออกแบบตารางขอ้ มูล Order Details 16 3.11 การออกแบบตารางข้อมลู Category 17 3.12 การออกแบบตารางขอ้ มลู Receipt 17 3.14 การสรา้ งความสมั พันธ์หรือ Entity Relationship Diagram 17 4.1 หน้าจอ Login 17 4.2 รายการสินค้า 18 4.3 รายการสงั่ ซื้อ 18 19

2 บทท่ี 1 บทนา 1.1 หลักการและเหตผุ ล ร้านขายของ ได้เปิดมาแล้ว 1 ปี เพ่ือท่ีทาการบริการร้านขายของให้กับบุคคลท่ัวไป โดยจะ ขายสินค้าอาหารสด แห้ง และของใชต้ ่าง ๆ ปัจจุบันร้านขายของ ไม่มีระบบงาน จึงได้พัฒนาและวิเคราะห์ระบบการทางานร้านขายของ ให้มีประสิทธภิ าพในการทางานมากขน้ึ 1.2 ประวัตคิ วามเปน็ มา เดมิ ทกี ารทางานของรา้ นขายของ จะเปน็ การทางานในรปู แบบ ปริน้ ใบสัง่ ซอ้ื มาเพ่ือเช็คสินค้า ว่าครบหรอื ไม่ ซ่งึ มนั ยังไมไ่ ด้ประสทิ ธิภาพในการทางานมากพอถึงจะไดร้ ะบบนี้ข้ึนมาเพื่อพัฒนาระบบ เกา่ ให้ดี มีประสทิ ธิภาพมากข้ึน การทาระบบงานร้านขายของน้ีสร้างข้ึนมาเพื่อให้มีรายละเอียดข้อมูลลูกค้าและข้อมูลต่าง ๆ จะได้มีประสิทธภิ าพมากข้นึ 1.3 ปัญหาของระบบ ระบบท่เี รานามาทาน้เี กิดจากการเกบ็ ขอ้ มูลโปรแกรมทีร่ า้ นขายของ นั้นมีความซบั ซ้อนและยัง ไมล่ ะเอียดพอเกยี่ วกับข้อมลู ลูกคา้ และข้อมูลอ่ืน ๆ เราจึงจะให้ระบบรา้ นนน้ั มีประสิทธิภาพมากขึน้ 1.4 แนวทางการแก้ไข ปัญหาที่เกิดขึ้นนนั้ เราจึงทาระบบร้านขายของ ข้ึนมาเพื่อไม่ให้เกิดการผดิ พลาดในการทางาน ของระบบการตรวจสอบสินคา้ และการคิดเงินภายในร้าน 1.5 จดุ ประสงค์การวิเคราะห์ 1.5.1 เพอ่ื พฒั นาระบบขอ้ มลู ของรา้ นขายของ 1.6 ประโยชนท์ ี่ไดร้ ับ 1.6.1 เพื่อเพิม่ ความม่ันคงของระบบร้านคา้ 1.6.2 เพื่อสร้างความสะดวกสบายใหก้ ับระบบ 1.6.3 เพ่ือเพิ่มความแมน่ ยาของสตอ็ กสนิ คา้ 1.6.4 เพ่อื ลดความผิดพลาดและปญั หาของการเช็คสต็อก

3 บทท่ี 2 เอกสารที่เก่ยี วขอ้ ง การวเิ คราะห์ระบบรา้ นขายของ ทางผพู้ ัฒนาได้ทาการศกึ ษาหลักการทฤษฎีต่าง ๆ เทคโนโลยี ที่เกี่ยวข้อง พร้อมทั้งแหล่งที่มาของข้อมูลที่มีความจาเป็นในการพัฒนาระบบ เพื่อท่ีทาให้ได้มี ระบบงานท่มี ีความถกู ตอ้ งและรวดเรว็ ในการดาเนนิ งาน โดยมรี ายละเอียดดังต่อไปนี้ 2.1 ความหมายของรา้ นแบงกะเบน เป็นรูปแบบร้านค้าปลีกแบบด้ังเดิมท่ีบริหารงานโดยเจ้าของคนเดียว ใชพ้ ้ืนทีน่ อ้ ยขายสินค้าที่ จาเป็นในชีวิตประจาวัน ไม่มีการพัฒนารูปแบบการจัดการจัดหาสินค้ามาโดยการซื้อจากหน่วยรถเงิน สดหรอื จากร้านค้าส่ง ถึงแมค้ วามนยิ มของผู้บรโิ ภคต่อร้านค้าประเภทน้ีจะลดน้อยลง แตก่ ็ยังปรากฏ มีร้านค้ากระจายอย่ตู ามพื้นท่ตี า่ ง ๆ ของประเทศอีกเป็นจานวนมาก 2.2 วัตถปุ ระสงค์ของรา้ นขายของ 2.2.1 เพ่อื หาผลกาไร 2.2.2 การบริการขายของท่ลี ูกค้าต้องการ 2.3 หลักความสาคัญของรา้ นขายของ 2.3.1 เวลาทาการ ใหบ้ รกิ ารสาหรบั ลกู คา้ ตั้งแต่ 06:00 – 21:00 น ไม่มวี ันหยดุ 2.3.2 สถานที่ประกอบการ ให้บริการดีเป็นกันเอง สะอาด ไม่แออัดจนเกิดไปเป็นท่ีโปร่ง มีแสง สว่างเพียงพอ 2.3.3 คุณสมบตั อิ ื่น ๆ ต้องจดทะเบยี นกับทางราชการอยา่ งถกู ต้องตามกฎหมาย เปน็ ต้น 2.4 ประวตั ิของรา้ นขายของ รา้ นขายของชา สะดวกซื้อ สารพดั ส่ิง ทมี่ ักมลี ักษณะอยู่ในตึกแถวหนึ่งหอ้ ง โดยมากเป็นกิจการเล็กๆ กิจการในครวั เรอื น สรา้ งรายรับเลก็ ๆ น้อยๆ ใช้ในชีวติ ประจาวนั ปัจจบุ ัน ลดน้อยลงไปมาก เพราะ ความทีเ่ ป็นกิจการเล็กๆ ในครัวเรอื น จึงอาจจะมีสภาพเกา่ เชย ไม่แตกตา่ งจากร้านสมัยโบราณ และมี ค่แู ข่งทีเ่ ป็นร้าน 2.5 ความสามารถในการทากาไร ศกึ ษาตลาด และศกึ ษาคูแ่ ข่ง รา้ นขายของชาเปน็ อกี หนึ่งธรุ กิจที่มกี ารแขง่ ขันสงู มากเพราะไม่ ว่าจะไปท่ีไหนก็จะเจอร้านขายของอยู่ทุกท่ี แต่ใช่ว่ามีร้านเปิดอยู่แล้วเราจะเปิดอีกไม่ได้ อยากให้ลอง สงั เกตุดูวา่ หากคดิ จะเปดิ รา้ นขายของชาในหมู่บา้ นหรือพื้นที่ไหน ก็ตอ้ งดวู า่ คนในพื้นท่ีนัน้ ยังต้องการ สินคา้ ประเภทใดบ้าง โดยสนิ คา้ ส่วนใหญ่ท่รี า้ นขายของชา มนิ มิ าร์ท และรา้ นสะดวกซื้อทั่วไปมีบริการ

4 ได้แก่ อาหารพรอ้ มทาน อาหารแห้ง เครือ่ งด่มื ของใช้ เป็นต้น ดงั นั้น เราควรดูว่ามีสนิ ค้าประเภทใดที่ ยงั ขาดอยู่ แล้วเลือกสนิ ค้านน้ั มาขายให้ตรงกับความต้องการของลูกคา้ พยายามมีสินค้าใหห้ ลากหลาย ความหลากหลายจะชว่ ยดงึ ดดู ความสนใจใหล้ กู คา้ เข้าร้านมากข้ึน เลือกทาเลให้ดี ขายได้แน่นอน ทาเลถือเป็นอีกหน่ึงปัจจัยท่ีสาคัญอย่างมากสาหรับการเปิด รา้ นขายของ ตกแต่งร้านให้โดนใจลูกค้า การเปิดร้านขายของแบบห้องแถว ห้องเช่า แบบมีหน้าร้านถาวร หรือจะเป็นล็อคขายของในตลาดนัด การตกแต่งร้านก็สาคัญไม่แพ้กัน เพราะสมัยน้ีการตกแต่งที่สวย อาร์ต มีเอกลักษณ์ และเข้ากับสินค้าที่ขายนั้นเป็นตัวช่วยดึงดูดลูกค้าให้เราเป็นอย่างดี ส่วนใครที่คิด แนวทางการตกแต่งไม่ออก เนน้ ความเรยี บงา่ ย โปรง่ โลง่ สบาย และทาให้ลูกค้าสามารถเลือกสนิ ค้าได้ สะดวกทส่ี ดุ หยิบสนิ ค้ามาชาระเงินได้งา่ ยที่สุด ส่งิ เหล่าน้ีคือเทคนคิ สาคัญทเ่ี ราอยากแนะนา ประเมินต้นทุนท้ังหมด งบในการเปิดร้านขายของชานั้นขึ้นอยู่กับขนาดของร้านท่ีต้องการ เปิด มองหาแหล่งสินค้าราคาถูกหรือสนิ ค้าคุณภาพราคาประหยัด เม่ือสารวจตลาดความต้องการ ของลูกค้าจนรู้แล้วว่าจะนาสินค้าประเภทใดมาขายบ้าง ขั้นตอนต่อมา คือ การมองหาแหล่งวัตถุดิบ หรือสินค้าราคาถูกเพ่ือให้เราสามารถประหยัดต้นทุนมากท่ีสุด ซึ่งควรเปรียบเทียบราคาจากหลายๆ แหล่ง รวมไปถึงคุณภาพของสินค้าด้วย ปัจจุบันมีแหล่งค้าส่งอยู่มากมายให้เลือกซื้อ ซึ่งจะมีการจัด โปรโมช่ันลดราคาสนิ ค้า น่ีก็เป็นอีกหน่ึงโอกาสในการเพ่ิมกาไร ดังนั้นควรติดตามข่าวสารจากแหลง่ ค้า สง่ ตา่ งๆ เพอ่ื ไม่พลาดโอกาสในการซอ้ื สนิ ค้าในราคาท่ีถูกกว่าปกติ ต้ังราคาขายให้เหมาะสม การต้ังราคาขายก็เป็นอีกหน่ึงปัจจัยท่ีช่วยในเรื่องของการตัดสินใจ ซ้ือจากลูกค้า หากคุณตั้งราคาสินค้าต่าเกินไป ก็จะส่งผลต่อกาไรร้าน หรือเผลอ ๆ หากต้ังราคาผิดก็ เสีย่ งตอ่ การขาดทนุ ไปเลย แตถ่ า้ ตัง้ ราคาสูงเกนิ ไป ก็จะขายของไมอ่ อก ของแพงลูกค้าไม่อยากซือ้ 2.6 การศกึ ษาระบบงานขายสินคา้ จากการท่ีได้ศึกษาระบบขายสินค้า พบว่า ระบบขายสินค้า มีการสั่งซ้ือสินค้าท่ีซับซ้อนและ วกวน ระบบขายสนิ คา้ มีส่วนผสมทางการตลาดมอี ยดู่ ้วยกัน 6 ประการ ดังต่อไปน้ี  ผลิตภัณฑ์(Product) พิจารณาจากผลิตภัณฑ์บริการและคุณลักษณะรวมถึงปรับปรุง เปล่ียนแปลงผลิตภัณฑ์ตามความต้องการของลูกค้าจากการการวิจัยตลาดและผลิตภัณฑ์ใน อินเทอร์เน็ตมีรูปแบบที่หลากหลายมากกว่าสมัยก่อนจะเห็นได้จากการที่มีผลิตภัณฑ์และ บริการเกิดขน้ึ มาใหม่ในตลาดมากมาย  ราคา (Price) การใช้อินเทอรเ์ น็ตเป็นส่ือกลางในการจาหน่ายผลติ ภัณฑ์และบรกิ ารทาให้ราคา ผลิตภณั ฑล์ ดลงเน่อื งจากต้นทุนในการกระจายผลิตภัณฑ์ผ่านทางร้านคา้ แบบเดมิ มลี ดลง

5  สถานท่ี (Place) อนิ เทอร์เน็ตได้เพ่มิ ช่องทางการจดั จาหน่ายผลิตภัณฑแ์ ละบริการให้กับลูกค้า โดยผ่านทางพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์และการจัดการเว็บไซต์ทาให้สามารถติดต่อสื่อสารกับ ลูกค้าได้สะดวกรวดเร็วมากข้ึนในขณะท่ีสามารถลดค่าใช้จ่ายของการขนส่งสินค้าคงคลังและ การจดั เก็บอกี ดว้ ย  การส่งเสริมการขาย (Promotion) การติดต่อสื่อสารกับลูกค้าผ่านทางอินเทอร์เน็ตสามารถ ประชาสัมพันธ์ให้ลูกค้าทราบถึงประโยชน์ของผลิตภัณฑ์รวมถึงช่วยลูกค้าในการตัดสินใจซ้ือ ผลิตภัณฑ์และการใช้บริการนอกจากนี้อินเทอร์เน็ตยังมีส่วนช่วยในกิจกรรมส่งเสริมการขาย เชน่ การโฆษณาประชาสัมพันธเ์ ป็นตน้  คน (People) อินเทอรเ์ นต็ ทาให้มีการติดต่อกับลูกค้าโดยตรงรวมถึงวิธกี ารขององค์กรโต้ตอบ กบั ลกู ค้าในระหวา่ งการขายการสื่อสารทั้งก่อนและหลังรวมทั้งมีส่วนชว่ ยในการหาผู้ร่วมงานท่ี มีคุณภาพ  การดาเนินการ (Process) เป็นวิธีการข้ันตอนและการดาเนินการของบริษัทโดยประยุกต์ใช้ งานรว่ มกับอนิ เทอรเ์ น็ตเพื่อก่อให้เกดิ ประสทิ ธภิ าพในการบริหารจัดการ 2.7 ระบบฐานขอ้ มูล ขอ้ มลู คือ ข้อเท็จจริงของส่ิงที่เราสนใจ ขอ้ เท็จจรงิ ทเ่ี ปน็ ตวั เลข ข้อความ หรือรายละเอียดซึ่ง อาจอยู่ในรูปแบบต่าง ๆ เช่น ภาพ เสียง วีดิโอไม่ว่าจะเป็นคน สัตว์ สิ่งของ หรือเหตุการณ์ท่ีเกี่ยวข้อง กับส่ิงต่าง ๆ ข้อมูลเป็นเร่ืองเกี่ยวกับเหตุการณ์ท่ีเกิดข้ึนอย่างต่อเน่ือง และต้องถูกต้องแม่นยา ครบถ้วน ข้ึนอยู่กับผู้ดาเนินการท่ีให้ความสาคัญของความรวดเร็วของการเก็บข้อมูล ดังนั้นการเก็บ ขอ้ มลู จึงเป็นการเก็บรวบรวมเก่ียวกบั ข้อเทจ็ จรงิ ของสง่ิ ที่เราสนใจนน่ั เอง ขอ้ มูลจึงหมายถึงตวั แทนของ ข้อเท็จจรงิ หรอื ความเปน็ ไปของสิ่งของที่เราสนใจ Database หรอื ฐานขอ้ มลู คอื กลุ่มของข้อมลู ที่ถูกเก็บรวบรวมไว้ โดยมีความสมั พนั ธ์ซึ่งกัน และกัน โดยไม่ได้บังคับว่าข้อมูลท้ังหมดนี้จะต้องเก็บไว้ในแฟ้มข้อมูลเดียวกันหรือแยกเก็บหลาย ๆ แฟ้มขอ้ มลู ระบบฐานขอ้ มลู (Database System) คือ ระบบทร่ี วบรวมข้อมูลตา่ ง ๆ ทีเ่ กี่ยวขอ้ งกันเข้า ไว้ด้วยกันอย่างมีระบบมีความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลต่าง ๆ ที่ชัดเจน ในระบบฐานข้อมูลจะ ประกอบด้วยแฟ้มข้อมูลหลายแฟ้มท่ีมีข้อมูล เกี่ยวข้องสัมพันธ์กันเข้าไว้ด้วยกันอย่างเป็นระบบและ เปิดโอกาสให้ผู้ใช้สามารถใช้งานและดูแลรักษาป้องกันข้อมูลเหล่าน้ี ได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยมี ซอฟต์แวร์ท่ีเปรียบเสมือนส่ือกลางระหว่างผู้ใช้และโปรแกรมต่าง ๆ ที่เก่ียวข้องกับการใช้ฐานข้อมูล เรียกว่า ระบบจัดการฐานข้อมูล หรือ DBMS (data base management system)มีหน้าที่ช่วยให้

6 ผใู้ ช้เขา้ ถงึ ขอ้ มูลไดง้ า่ ยสะดวกและมีประสิทธิภาพ การเขา้ ถึงขอ้ มูลของผูใ้ ชอ้ าจเปน็ การสรา้ งฐานข้อมูล การแก้ไขฐานข้อมูล หรือการต้ังคาถามเพื่อให้ได้ข้อมูลมา โดยผู้ใช้ไม่จาเป็นต้องรับรู้เก่ียวกับ รายละเอยี ดภายในโครงสรา้ งของฐานข้อมลู ระบบฐานข้อมูล (Database System) คือ ระบบทร่ี วบรวมข้อมลู ตา่ ง ๆ ทเ่ี กย่ี วข้องกันเข้า ไว้ด้วยกันอย่างมีระบบมีความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลต่าง ๆ ท่ีชัดเจน ในระบบฐานข้อมูลจะ ประกอบด้วยแฟ้มข้อมูลหลายแฟ้มที่มีข้อมูล เกี่ยวข้องสัมพันธ์กันเข้าไว้ด้วยกันอย่างเป็นระบบและ เปิดโอกาสให้ผู้ใช้สามารถใช้งานและดูแลรักษาป้องกันข้อมูลเหล่านี้ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยมี ซอฟต์แวร์ท่ีเปรียบเสมือนสื่อกลางระหว่างผู้ใช้และโปรแกรมต่าง ๆ ที่เก่ียวข้องกับการใช้ฐานข้อมูล เรียกว่า ระบบจัดการฐานข้อมูล หรือ DBMS (data base management system)มีหน้าท่ีช่วยให้ ผู้ใชเ้ ข้าถึงข้อมลู ไดง้ า่ ยสะดวกและมปี ระสิทธิภาพ การเขา้ ถงึ ข้อมลู ของผใู้ ชอ้ าจเป็นการสรา้ งฐานข้อมูล การแก้ไขฐานข้อมูล หรือการต้ังคาถามเพ่ือให้ได้ข้อมูลมา โดยผู้ใช้ไม่จาเป็นต้องรับรู้เกี่ยวกับ รายละเอียดภายในโครงสร้างของฐานขอ้ มลู ฐานข้อมูล เป็นการจัดเก็บข้อมูลอย่างเป็นระบบ ทาให้ผู้ใช้สามารถใช้ข้อมูลที่เก่ียวข้องใน ระบบงานต่าง ๆ ร่วมกันได้ โดยที่จะไม่เกิดความซ้าซ้อนของข้อมูล และยังสามารถหลีกเลี่ยงความ ขัดแย้งของข้อมูลด้วย อีกทั้งข้อมูลในระบบก็จะถูกต้องเช่ือถือได้ และเป็นมาตรฐานเดียวกัน โดยจะมี การกาหนดระบบความปลอดภยั ของข้อมูลข้ึน  ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ (Relational Database) เป็นการเก็บข้อมูลในรูปแบบท่ีเป็นตาราง (Table) หรือเรียกว่า รีเลชั่น (Relation) มีลักษณะเป็น 2 มิติ คือเป็นแถว (row) และเป็น คอลัมน์ (column) การเชื่อมโยงข้อมูลระหว่างตาราง จะเชื่อมโยงโดยใช้แอททริบิวต์ (attribute) หรือคอลัมน์ที่เหมือนกันท้ังสองตารางเป็นตัวเช่ือมโยงข้อมูล ฐานข้อมูลเชิง สมั พันธน์ ี้จะเปน็ รปู แบบของฐานข้อมูลที่นยิ มใชใ้ นปจั จุบัน  ฐานข้อมูลแบบเครือข่าย (Network Database)ฐานข้อมูลแบบเครือข่ายจะเป็นการรวม ระเบียนต่าง ๆ และความสัมพันธ์ระหว่างระเบียนแต่จะต่างกับฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ คือ ใน ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์จะแฝงความสัมพันธเ์ อาไว้ โดยระเบียนที่มีความสัมพันธ์กันจะต้องมีค่า ของข้อมูลในแอททริบิวต์ใดแอททริบิวต์หนึ่งเหมือนกัน แต่ฐานข้อมูลแบบเครือข่าย จะแสดง ความสัมพนั ธอ์ ย่างชดั เจน  ฐานขอ้ มลู แบบลาดบั ช้ัน (Hierarchical Database)ฐานข้อมูลแบบลาดับชั้น เปน็ โครงสร้างท่ี จัดเก็บข้อมูลในลักษณะความสัมพันธ์แบบพ่อ-ลูก (Parent-Child Relationship Type : PCR Type) หรือเป็นโครงสร้างรูปแบบต้นไม้ (Tree) ข้อมูลท่ีจัดเก็บในที่น้ี คือ ระเบียน (Record) ซึ่งประกอบด้วยค่าของเขตข้อมูล (Field) ของเอนทิตี้หน่ึง ๆ ฐานข้อมูลแบบลาดับ

7 ช้ันน้ีคล้ายคลึงกับฐานข้อมูลแบบเครือข่าย แต่ต่างกันที่ฐานข้อมูลแบบลาดับช้ัน มีกฎเพ่ิม ขน้ึ มาอีกหนึง่ ประการ คือ ในแต่ละกรอบจะมลี ูกศรวิง่ เขา้ หาไดไ้ ม่เกิน 1 หวั ลกู ศร 2.8 ประโยชนข์ องฐานข้อมูล ลดการเก็บข้อมูลที่ซ้าซ้อน ข้อมูลบางชุดท่ีอยู่ในรูปของแฟ้มข้อมูลอาจมีปรากฏอยู่หลาย ๆ แห่ง เพราะมีผู้ใช้ข้อมูลชุดน้ีหลายคน เมื่อใช้ระบบฐานข้อมูลแล้วจะช่วยให้ความซ้าซ้อนของข้อมูลลด นอ้ ยลง รักษาความถูกต้องของข้อมูล เนื่องจากฐานข้อมูลมีเพียงฐานข้อมูลเดียว ในกรณีท่ีมีข้อมูลชุด เดียวกันปรากฏอยู่หลายแห่งในฐานข้อมูล ข้อมูลเหล่านี้จะต้องตรงกัน ถ้ามีการแก้ไขข้อมูลนี้ทุก ๆ แหง่ ที่ขอ้ มลู ปรากฏอย่จู ะแก้ไขให้ถูกต้องตามกันหมดโดยอตั โนมัติด้วยระบบจัดการฐานข้อมลู การป้องกันและรักษาความปลอดภัยให้กับข้อมูลทาได้อย่างสะดวก การป้องกันและรักษา ความปลอดภัยกับข้อมูลระบบฐานข้อมูลจะให้เฉพาะผู้ท่ีเกี่ยวข้องเท่านั้น ซ่ึงก่อให้เกิดความปลอดภัย (security) ของขอ้ มูลดว้ ย 2.9 การวิเคราะห์ระบบ การศึกษาวิธกี ารดาเนนิ งานของระบบเพือ่ ความเข้าใจและตระหนักถงึ ปัญหาและแนวทางการ แก้ไขปัญหาระบบนั้น ๆ ดังน้ันการวิเคราะห์ระบบ คือ การศึกษาวิถีทางการดาเนินงานเพื่อนาไปใชใ้ น การออกแบบและพัฒนาระบบสารสนเทศ หรืออาจจะหมายถึงการวิเคราะห์ระบบช่วยในการแก้ไข ระบบสารสนเทศเดมิ ที่มีอยแู่ ลว้ ให้ดขี ้นึ 2.10 การจดั การข้อมูล การบริหาร การจัดเก็บข้อมูล การประมวลข้อมูลให้ได้มาซึ่งข้อมูลที่มีประโยชน์ที่พร้อมจะ สามารถนามาใช้ประโยชน์ได้ในทันทีการจัดการข้อมูลจะเกิดประโยชน์สูงสุดหรือประสิทธิภาพสงู สดุ ก็ ต่อเมื่อผู้ใช้ข้อมูลสามารถใช้ข้อมูลที่ต้องการได้อย่างรวดเรว็ ถูกต้อง และเป็นกลางมากที่สุด เพื่อจะได้ นาข้อมูลเหล่า นั้นมาช่วยในการตัดสินใจหรือนาไปใช้ประโยชน์อ่ืน ๆ ต่อไปใน ปัจจุบันน้ีข้อมูลต่างๆ ได้ถูกจัดการไว้อย่างเปน็ ระเบียบ โดยเกบ็ ไว้ในสง่ิ ทีเ่ รยี กวา่ แฟ้ม 2.11 การออกแบบระบบ การกาหนดรูปแบบของระบบการปฏบิ ัติงาน ซึ่งจะหมายรวมถึงการทางานทั้งหมด ตัง้ แตว่ ัสดุ ทใ่ี ช้ โปรแกรม บุคลากร โดยเริ่มจากจุดเร่มิ ต้นว่า จากท่ใี ดสง่ ไปยงั หน่วยงานใด ทาอยา่ งไรบา้ ง จนกวา่ จะเสร็จส้ิน โดยปกตินกั วิเคราะหจ์ ะเปน็ ผกู้ าหนด ดูคาอ่นื ๆ ในหมวดคาศพั ทค์ อมพิวเตอร์

8 2.12 ประเภทของระบบ 2.12.1 ระบบธรรมชาติ และระบบทค่ี นสร้างขน้ึ 2.12.1.1 ระบบธรรมชาติ หมายถงึ ระบบท่ีแคเ่ ปน็ ไปตามธรรมชาติ หรอื ปลอ่ ยให้เป็นไป ตามธรรมชาติ หรือโดยอาศัยธรรมชาตเิ ป็นส่วนใหญ่ 2.12.1.2 ระบบท่ีคนสร้างขึ้น หมายถึง ระบบที่สร้างขึ้นซ่ึงอาจเป็นการสร้างจากระบบ ธรรมชาติ หรืออาจจะไมไ่ ด้ อาศยั ระบบธรรมชาตเิ ดิมก็ได้ 2.12.2 ระบบเปดิ ระบบปิด 2.12.2.1 ระบบปิด หมายถึง ระบบท่ีมีการควบคุมการทางาน และการแก้ไขด้วยตัวของ ระบบเอง โดยระบบไมเ่ ปดิ โอกาสใหบ้ คุ คลภายนอก เขา้ ไปปฏิบัติได้ด้วยตนเอง 2.12.2.2 ระบบเปิด หมายถึง ระบบที่ไม่มีการควบคุมการทางานด้วยตัวระบบเอง จะตอ้ งดแู ลควบคุมดูแลด้วยมนุษย์ ระบบทเ่ี ปิดโอกาสใหบ้ ุคคลภายนอกเข้า ไปปฏิบัตงิ านได้ 2.12.3 ระบบคน 2.12.3.1 ระบบคน หมายถึง ระบบท่ีมีการปฏิบัติงานสว่ นใหญ่จะใช้แรงงานของคน หรือ ระบบท่ีใช้แรงงานของคนในการทางานโดยตรง อาจจะมีระบบงานช่วยในการทางานบ้างก็ได้ แต่ จะตอ้ งเป็นระบบท่อี ย่ภู ายใตก้ ารควบคมุ ดูแลของคนโดยตรง 2.12.4 ระบบหลักและระบบรอง 2.12.4.1 ระบบหลัก หมายถึง ระบบท่ีได้วางไว้เป็นหลัก หรือแนวทางสาหรับ การ กาหนด หรอื สาหรบั การจัดทาระบบรอง เพื่อให้เหมาะสมกบั สถานการณ์บางอย่าง 2.12.4.2 ระบบรอง หมายถึง ระบบท่ีช่วยเสริมระบบหลัก ให้สมบูรณ์หรือมี ประสทิ ธภิ าพยง่ิ ขึ้น 2.12.5 ระบบใหญ่ 2.12.5.1 ระบบใหญ่ หมายถึง ระบบรวม หรือระบบที่รวบระบบย่อย ๆ ต้ังแต่หนึ่ง ระบบขึ้นไป เพื่อปฏิบตั งิ านอย่างใดอยา่ งหนงึ่ โดยมวี ัตถุประสงค์หรอื เปา้ หมายเดยี วกัน 2.12.5.2 ระบบย่อย หมายถึง ระบบย่อยของระบบใหญ่ เพื่อปฏิบัติงานอย่างใดอย่าง หนึง่ ของระบบใหญ่ 2.12.6 ระบบธุรกจิ ระบบสารสนเทศ 2.12.6.1 ระบบธุรกจิ ระบบทางานเพ่ือจุดประสงค์ด้านธุรกิจ โรงงานอตุ สาหกรรม เปน็ ระบบธุรกจิ เพ่ือจุดประสงค์ดา้ นการผลติ ระบบขนสง่ ระบบการพิมพ์ ระบบธนาคาร 2.12.6.2 ระบบสารสนเทศ ระบบท่ีช่วยในการจัดการ ข้อมูลที่ต้องการใช้ในระบบธุรกจิ ช่วยเก็บตวั เลขและขา่ วสาร เพอ่ื ชว่ ยในการดาเนินธุรกจิ และการตดั สนิ ใจ

9 2.12.7 ระบบการประมวลผลข้อมลู (DS) หมายถงึ ระบบขอ้ มลู ของคอมพวิ เตอร์ ที่ถกู พฒั นาข้ึน เพอ่ื ตอบสนองความตอ้ งการ ของธรุ กจิ เพ่อื ใช้ประมวลขอ้ มลู จานวนมากๆ เป็นประจา 2.12.8 ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหาร (MIS) หมายถึง ระบบที่นาข้อมูลมาทาการวิเคราะห์ โดยมจี ดุ ประสงค์เพื่อการสร้าง ขอ้ มูลใหก้ บั นักบริหาร เพอ่ื ประกอบการตัดสนิ ใจ 2.12.9 ระบบช่วยการตัดสินใจ หมายถึง ระบบการทางานท่ีมีลักษณะ โครงสร้างการทางาน คล้ายกับระบบสารสนเทศ เพื่อการบริหาร จะแตกต่างกันตรงท่ี ระบบนี้ไม่ได้มีการนาข้อมูลมาใช้เพื่อ ประกอบการตัดสินใจเท่านั้น แต่ระบบนี้จะนาข้อมูล มาทาการวิเคราะห์พร้อมกับพิจารณา ถึง ทางเลือกทีเ่ ปน็ ไปไดท้ ัง้ หมดของธรุ กจิ

10 บทท่ี 3 วธิ ดี าเนนิ การวิจัย ในการดาเนินงานวิเคราะห์และออกแบบระบบร้านขายของแบงกะเบน คณะผู้จัดทาได้มีการ รวบรวมข้อมูลและนามาวิเคราะห์ระบบและกาหนดกระแสข้อมูลตา่ ง ๆ โดยมีหัวขอ้ ดงั น้ี 3.1 การเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล 3.2 วิเคราะหร์ ะบบโดยใช้ DFD 3.3 ออกแบบ ER-Model 3.4 ออกแบบฐานขอ้ มูลและสรา้ งความสัมพันธโ์ ดยใช้ Microsoft Access 3.1 การเกบ็ รวบรวมข้อมูล คณะผู้จัดทาได้มีการรวบรวมข้อมูลจากผู้ประกอบการหรือเจ้าของร้าน โดยมีการตั้งคาถาม ต่าง ๆ และได้ดาเนนิ การเกบ็ รวบรวมข้อมลู เพอื่ ใชใ้ นการดาเนินงาน ดั้งน้ี 3.1.1 คณะผจู้ ัดทา ทาการเก็บวางแผนและรวบรวมข้อมูลเพอ่ื ดาเนนิ กจิ กรรม 3.1.2 คณะผู้จัดทาได้ทาการสร้างคาถามข้ึนจานวน 15 ข้อ เพ่ือสัมภาษณ์กับเจ้าของร้านที่จะไป ศึกษา 3.1.3 คณะผู้จดั ทาไดท้ าการสัมภาษณ์กับเจ้าของโดยใช้คาถามทีส่ รา้ งขน้ึ จานวน 15 ขอ้ กับเจ้าของ รา้ นผ่านทาง หนา้ ร้านโดยตรง 3.1.4 นาข้อมลู ที่ไดจ้ ากการสมั ภาษณ์กบั เจ้าของร้านมาเรยี บเรยี งและวิเคราะหเ์ พื่อนามาออกแบบ ระบบ 3.2 วเิ คราะห์ระบบโดยใช้ DFD คณะผ้จู ดั ทาได้ทาการวิเคราะหร์ ะบบโดยใช้ DFD โดยมีรูปแบบดงั น้ี

11 3.2.1 Context Diagram Level 0 ระบบร้านขายของแบงกะเบน ภาพท่ี 3.1 Context Diagram Level 0 ระบบร้านขายของแบงกะเบน จากภาพที่ 3.1 Context Diagram Level 0 ระบบร้านขายของแบงกะเบน มขี บวนการทางาน ดังนี้ โดยระบบน้ีมีการติดต่อกับลูกค้าท่ีมาใช้บริการร้านแบงกะเบน รายงานตัวแทนจาหน่ายและ เจา้ ของร้าน โดยประกอบดว้ ยเจ้าของรา้ น เจา้ ของรา้ นรับรายการซื้อจากลูกคา้ แล้วบนั ทึกขอ้ มลู ลูกค้า โดยประกอบด้วย Process : ระบบร้านขายของแบงกะเบน Data Flow in : ส่ังซือ้ สนิ ค้า, รายการส่ังซื้อสินคา้ , ชาระเงินค่าสนิ ค้า, รายงานการขายสินคา้ รายงาน ขอ้ มูลลูกค้า รายงานสินคา้ คงเหลือ Data Flow out : สินคา้ , รายการสนิ ค้า, รายการสัง่ ซื้อสินคา้ , ใบเสรจ็ รบั เงิน, รายงานการส่ังซื้อสนิ คา้

12 3.2.2 Data flow diagram Level 1 ระบบรา้ นขายของแบงกะเบน ภาพที่ 3.2 Data flow diagram Level 1 ระบบรา้ นขายของแบงกะเบน จากภาพท่ี 3.2 Data flow diagram Level 1 ระบบร้านขายของแบงกะเบน มีขบวนการ ทางานสามารถแบ่งขั้นตอนการทางานภายในระบบออกเป็น 4 ระบบ ดังนั้นจึงแยก Process ท่ี เก่ยี วขอ้ งกบั ระบบ ดงั รายละเอยี ดตอ่ ไปน้ี Process 1 ระบบจัดการขอ้ มูล พนักงานสามารถจัดการข้อมูลสินค้า ข้อมูลลูกค้า ข้อมูลตัวแทนจาหน่าย ข้อมูลการส่ังซื้อ และข้อมูลการ ขายได้ สามารถปรับปรุงแก้ไขข้อมูลได้ โดยเก็บข้อมูลไว้ในฐานข้อมูล พนักงานจะส่ง ข้อมูลสินค้า ข้อมูลลูกค้า ข้อมูลตัวแทนจาหน่าย ไปยังระบบจัดการข้อมูล ระบบจัดการข้อมูลก็จะทา การส่งขอ้ มูลแต่ละขอ้ มลู ไปยังแต่ละฐานข้อมูล

13 Process 2 ระบบส่งั ซอ้ื สนิ ค้า ตัวแทนจาหน่ายจะส่งใบสั่งสินค้าและชาระค่าสินค้าไปยังระบบสั่งซ้ือสินค้าและระบบส่ังซ้ือ สนิ ค้าจะทาการส่งข้อมูลใบเสร็จสง่ั ซ้ือสินค้าไปให้ตวั แทนจาหน่าย ระบบสงั่ ซ้อื สินค้าจะสง่ ข้อมลู สินค้า ไปยังฐานขอ้ มลู สนิ ค้า และจะส่งรายละเอยี ดขอ้ มูลสั่งซือ้ สนิ คา้ ไปยงั ฐานขอ้ มูลสั่งซอ้ื สนิ ค้า Process 3 ระบบขายสนิ ค้า ลูกค้าจะสั่งซ้ือสินค้าและชาระค่าสินค้าไปยังระบบการขาย ระบบจะทาการจัดเก็บข้อมูล รายละเอยี ดการขายไปยังฐานข้อมลู การขาย ระบบการขายจะแจง้ รายการใบเสรจ็ รายการสั่งซื้อสินค้า ไปใหล้ ูกคา้ Process 4 พิมพ์รายงาน ผู้จัดการจะส่งความต้องการรายงานข้อมูลการส่ังซ้ือสินค้า ข้อมูลลูกค้า ข้อมูลสินค้า ข้อมูล ตัวแทนจาหน่าย ยอดขายสินค้าไปยังระบบ แล้วระบบจะทาการรายงานข้อมูลมายังผู้จัดการ และ พนักงานส่งความต้องการรายงานข้อมูลสินค้า ข้อมูลตัวแทนจาหน่าย ข้อมูลลูกค้า ตรวจสอบสินค้า คงเหลอื แล้วระบบจะทาการรายงานข้อมูลมายังพนักงาน

14 3.3 ออกแบบ ER-Model เมอ่ื คณะผูจ้ ดั ทาได้ทาการวิเคราะหร์ ะบบในส่วนของ DFD เรยี บร้อยแลว้ หลงั จากนนั้ คณะ ผู้จัดทาได้ทาการออกแบบ ER-Model ขึ้นมาโดยมดี ังนี้ ภาพท่ี 3.3 Chen ER-MODEL ระบบรา้ นขายของแบงกะเบน

15 3.3.2 Craw's Foot ER-MODEL รา้ นขายของแบงกะเบน ภาพที่ 3.4 Craw's Foot ER-MODEL รา้ นขายของแบงกะเบน 3.4 ออกแบบฐานข้อมูลและสร้างความสัมพันธโ์ ดยใช้ Microsoft Access หลังจากท่ีคณะผู้จัดทาได้ทาการศึกษาและวิเคราะห์ระบบ ได้ทาการออกแบบตารางข้อมูล และสรา้ งความสมั พันธห์ รอื Entity Relationship Diagram ของระบบฐานขอ้ มลู การขายสินคา้ 3.4.1 การออกแบบตารางข้อมูล ภาพที่ 3.5 การออกแบบตารางข้อมลู รา้ นขายของแบงกะเบน

16 3.4.1.1 การออกแบบตารางข้อมูล Customer ภาพที่ 3.6 การออกแบบตารางขอ้ มูล Customer 3.4.1.2 การออกแบบตารางข้อมลู Products ภาพท่ี 3.7 การออกแบบตารางขอ้ มลู Products 3.4.1.3 การออกแบบตารางข้อมูล Employee ภาพท่ี 3.8 การออกแบบตารางขอ้ มลู Employee 3.4.1.4 การออกแบบตารางข้อมลู Orders ภาพที่ 3.9 การออกแบบตารางขอ้ มลู Orders

17 3.4.1.5 การออกแบบตารางข้อมูล Order Details ภาพท่ี 3.10 การออกแบบตารางข้อมลู Order Details 3.4.1.6 การออกแบบตารางข้อมูล Category ภาพท่ี 3.11 การออกแบบตารางข้อมูล Category 3.4.1.7 การออกแบบตารางข้อมูล Receipt ภาพท่ี 3.12 การออกแบบตารางข้อมูล Receipt 3.4.2 การสร้างความสมั พันธห์ รอื Entity Relationship Diagram หลังจากท่ีคณะผู้จัดทาได้ทาการออกแบบตารางของข้อมูลเรียบร้อยแล้ว ก็จะมา ดาเนนิ การสร้างความสมั พันธ์หรือ Entity Relationship Diagram ดังภาพที่ 3.13 ภาพท่ี 3.14 การสรา้ งความสมั พนั ธ์หรอื Entity Relationship Diagram

18 บทท่ี 4 ผลการดาเนินงาน 4.1 การออกแบบระบบร้านขายของแบงกะเบน 4.1.1 การออกแบบระบบรา้ นขายของแบงกะเบน ภาพท่ี 4.1 หน้าจอ Login 4.1.2 ออกแบบหน้า Menu ภาพท่ี 4.2 รายการสนิ คา้

19 4.1.3 ออกแบบหน้ารายการสั่งซ้อื ภาพท่ี 4.3 รายการสั่งซ้อื 4.2 การจดั เก็บ Data base ตารางที่ 4.2.1 แสดงข้อมูลลกู คา้ ตารางท่ี 4.2.2 แสดงข้อมูลสนิ ค้า

20 ตารางที่ 4.2.3 แสดงขอ้ มลู รายการขายสนิ คา้ ตารางที่ 4.2.4 แสดงข้อมูลการสัง่ ซือ้ สินคา้ ตารางท่ี 4.2.5 แสดงข้อมลู ประเภทสนิ ค้า ตารางท่ี 4.2.6 แสดงข้อมูลใบเสรจ็ ตารางท่ี 4.2.7 แสดงข้อมูลพนักงาน

21 บทที่ 5 สรุปผลการวิเคราะห์ ออกแบบระบบและข้อเสนอแนะ การวิเคราะห์และออกแบบระบบรา้ นขายของแบงกะเบน ซ่งึ การวเิ คราะห์และออกแบบระบบในครั้ง นมี้ วี ตั ถปุ ระสงคด์ ังนี้ 5.1 วตั ถุประสงค์ของการวเิ คราะห์และออกแบบระบบ 5.1.1 เพ่ือวเิ คราะห์และออกแบบระบบร้านขายของแบงกะเบน 5.1.2 เพื่อศึกษาและสารวจระบบร้านขายของแบงกะเบน 5.1.3 เพื่อเรียนรู้และเก็บประสบการณ์จากการทาธรุ กิจของเจ้าของร้าน 5.2 การเกบ็ รวบรวมข้อมูล 5.2.1 คณะผู้จัดทา ทาการเกบ็ วางแผนและรวบรวมข้อมูลเพอื่ ดาเนนิ กจิ กรรม 5.2.2 คณะผู้จัดทา ได้ทาการสร้างคาถามข้ึนจานวน 15 ข้อ เพ่ือสัมภาษณ์กับเจ้าของร้านท่ีจะไป ศึกษา 5.2.3 คณะผู้จัดทา ได้ทาการสัมภาษณ์กับเจ้าของโดยใช้คาถามที่สร้างข้ึนจานวน 15 ข้อ กับ เจา้ ของร้าน 5.2.4 นาขอ้ มูลทไี่ ดจ้ ากการสมั ภาษณ์กับเจา้ ของร้านมาเรียบเรียงและวิเคราะห์เพื่อนามาออกแบบ ระบบ 5.3 ข้อเสนอแนะ ระบบร้านขายของแบงกะเบนอาจจะมีข้อผิดพลาดอันเนื่องมาจาก ความรู้และประสบการณ์ ในการ วเิ คราะหง์ านยังไม่มากนกั อาจทา ให้ระบบท่อี อกมายังไมส่ มบรู ณเ์ ท่าทค่ี วร 5.3.1 ในการจดั ทาควรทาการศกึ ษาและวิเคราะหข์ อ้ มลู อย่างละเอียดให้ไดข้ ้อมลู ท่ีถกู ต้อง 5.3.2 ควรออกแบบฟอรม์ ใหง้ า่ ยต่อผูใ้ ชใ้ ห้มากที่สดุ และเปน็ ไปไดข้ อให้สมบูรณ์มากที่สดุ 5.3.3 ควรออกแบบระบบให้มีประสิทธิภาพตรงตามที่ต้องการของผู้ใช้ มีระบบฐานข้อมูลท่ีมี ประสิทธภิ าพ 5.4 สรปุ ผลการวเิ คราะหแ์ ละออกแบบระบบ คณะผู้จัดทาได้ทาการศึกษา วิเคราะห์และออกแบบระบบร้านขายของแบงกะเบน โดยได้ใช้ DFD, ER-Model ในการวิเคราะห์ข้อมูล และ Microsoft Access ในการจัดการฐานข้อมูลและ ออกแบบหน้าจอของระบบ ซึง่ ไดท้ าการทดลองระบบแล้วไดผ้ ลสรุปออกมาอย่ใู นระดับดมี าก

22 บรรณานุกรม นายโสฬส เจริญสินชยั , ระบบการบรหิ ารจดั การร้านคา้ ปลีก กรณีศกึ ษา ร้านเซย้ี งพาณิชย์ [ออนไลน์] [ สืบคน้ เม่ือ 1 เมษายน 2565] จาก http://coms.kru.ac.th/tee/Projects/ShowPdf?name=637217927946388927.pdf&chk นายสิทธศิ ักด์ิ ภูเ่ สือ และนายวนิ ิจชัย หลิมสกลุ , ระบบขายเส้อื ผ้าออนไลน์ กรณศี กึ ษารา้ น F&O SHOPMAKE [ออนไลน์] [ สบื คน้ เมือ่ 1 เมษายน 2565] จาก http://www.rpu.ac.th/search/upload./0029_2560.pdf นายอคั คพล วิศิษฎ์ชัยนนท, โครงการพฒั นาระบบซ้อื ขายสินค้าการเกษตรออนไลน์ [ออนไลน์] [ สบื คน้ เมื่อ 1 เมษายน 2565] จาก ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/TU_2015_5702037200_3908_2519.pdf

23 ภาคผนวก ก Context Diagram หรอื DFD ระดบั 0 ของ ร้านแบงกะเบน

24

25 ภาคผนวก ข Context Diagram หรอื DFD ระดบั 1 ของ ร้านแบงกะเบน

26

27 ภาคผนวก ค ER-Model แบบ Chen Model and Crow'sFoot Model ร้านแบงกะเบน

28

29 ภาคผนวก จ เอกสารประกอบการดาเนินงาน

30 รปู การสัมภาษณ์ การสัมภาษณ์ทรี่ ้านแบงกะเบน

31 คาถามจานวน 15 คาถามเกีย่ วกับองค์กร ระบบงาน เอกสารทเ่ี กยี่ วข้อง ขั้นตอนการทางาน 1. ร้านขายของคุณต้งั อยู่บรเิ วณไหน - 17/2 หม่.ู 7 ต.สนามไชย อ.นายายอาม จ.จันทบุรี 22170 2. แนวคิดในการเปิดร้านคา้ - ในชว่ งโควดิ ระบาดทาใหง้ านประจาที่ทาอยู่หยดุ แล้วไมม่ ีงานทาเลยตดั สินใจลาออกจาก งาน หาทุนมาลงกบั รา้ นค้า มีความฝนั วา่ เปิดร้านเลก็ ๆ เป็นเจา้ ของร้านไม่ต้องไปรับจ้าง ใคร 3. กลุ่มเป้าหมายคือใคร - ทุกช่วงวยั 4. การป้องกันโรคตดิ ต่อของรา้ นคา้ ในสถานการณโ์ ควดิ - มแี อลกอฮอล์ให้ล้างมอื - มปี ้ายกรณุ าใสแ่ มสก่อนเข้ารา้ นทุกครง้ั 5. มวี ธิ ีการเพ่ิมยอดขายของร้านอยา่ งไร - ของเลน่ เด็ก (เพราะแถวนนั้ เด็กเยอะและนิยมเล่นของเล่น) - แฟชั่นกระแส 6. กาไรของรา้ นต่อเดือน - 250,000 – 300,000 บาท 7. เปา้ หมายการขายสนิ ค้าในแต่ละวัน - เปา้ หมายจะอยู่ 8,000 – 10,000 บาทต่อวัน 8. ชว่ งไหนท่ยี อดขายดี - ชว่ งเทศกาล เชน่ ปีใหม่ ลอยกระทง เปน็ ต้น - ช่วงผลไม้ 9. การรักษาความปลอดภัยของร้านคา้ - มีกล้องวงจรปดิ รอบรา้ น 10. มีการสต๊อกของใหมเ่ ขา้ เฉลย่ี กีค่ รงั้ ต่อเดือน - อาทิตยล์ ่ะ 1 คร้ัง - 4 ครงั้ ต่อเดือน 11. เปดิ รา้ นมาใหม่ ๆ มปี ัญหาอะไรบา้ ง - กาหนดราคาไม่ค่อยถกู ว่าจะขายเอากาไรหรือเอาลกู ค้า - มีปัญหาในการบริการในช่วงแรก ๆ เพราะยังไม่ถนัดในดา้ นบริการ ทาใหล้ ่าชา้ และให้ ลูกคา้ รอนาน

32 12. ใช้วิธไี หนในการเช็คสต๊อกวา่ สนิ คา้ ชนิ้ ไหนหมด เพอื่ จะสง่ั สินคา้ มาไว้ในสตอ๊ กไม่ให้สินค้าในส ตอ๊ กขาด - ใช้โปรแกรม Excel ในการคานวณวา่ สินคา้ ชน้ิ ไหนใกล้จะหมด จะได้การปรน้ิ จานวน ออกมาและจัดส่งั 13. ช่องทางการรับเงนิ - เงนิ สด โอนผา่ นธนาคาร และอ่ืนๆ 14. มที กั ษะการขายมากน้อยแค่ไหน - ศึกษาการกาหนดราคาให้ดี เพราะถ้าเอากาไรมากจะเสยี ลูกค้า ถา้ กาไรไมเ่ ยอะลกู คา้ จะ เขา้ ร้านค้าของเรา - การเงิน ควรจดบนั ทึกเพ่ือดยู อดในแตล่ ่ะเดือน - เร่อื งภาษีและอน่ื ๆ ควรทาให้ถกู กฎหมาย 15. สภาพแวดล้อม ในปจั จบุ นั เป้นอย่างไร - สภาพแวดล้อมดี เปน็ จุดของหลายหมบู่ า้ นท่อี อกมาซื้อของ และมที ่ีจอดรถพอสมควร

https://online.pubhtml5.com/yoks/jfxe/


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook