Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

1

Published by Pakkanai Chumchana, 2022-05-29 16:21:14

Description: 1

Search

Read the Text Version

44 ส รุ ป

45 การนำหลกั ลตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 สกู่ ารจดั การเรยี นรู้

46 การจัดทำหนว่ ยการเรยี นร้อู ิงมาตรฐานตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน พ.ศ.2551 จัดทำโครงสรา้ งรายวิชาเพ่อื ให้มองเห็นภาพรวมของรายวิชา 1. ศึกษาตวั ชว้ี ดั ท้ังหมดในคำอธิบายรายวิชา 2. จดั กลมุ่ ตัวชว้ี ัดท่ีมเี นอื้ หาใกลเ้ คียงกันแลว้ ตัง้ ชื่อหน่วยใหน้ า่ สนใจ 3. กำหนดสาระสำคญั ของแต่ละหนว่ ย 4. กำหนดจำนวนช่วั โมงและคะแนนสำหรับแต่ละหนว่ ยใหเ้ หมาะสม(รวมตลอดป/ี ภาคเรียนเท่ากบั ที่กำหนดในโครงสรา้ งหลักสูตรสถานศกึ ษา) สาระสำคัญ คือองค์ความรู้สำคัญเป็นความคิดรวบยอด(Concept) ที่เป็นหลักการที่ตอ้ งการ ให้ฝังติดตัวผู้เรียนไปเป็นเวลานาน และสามารถนำมาใช้ได้เมื่อต้องการในสาระสำคัญมี 3 ส่วน ได้แก่ ความรู้ ทักษะ/กระบวนการ และคุณลักษณะของวิชาที่ต้องการให้เป็นองค์ความรู้ท่ีติดตวั ผู้เรียนไปเปน็ เวลานาน เมื่อได้โครงสร้างรายวิชาในภาพรวมแล้ว จึงนำแต่ละหน่วยมาออกแบบการเรียนรู้โดยเทคนิค Backward Design ดังนี้ 1. กำหนดเป้าหมายการเรียนรู้ของหนว่ ยการเรยี นรซู้ ่งึ เปา้ หมายการเรยี นรู้ของหน่วยฯ มดี ังน้ี 1.1 สาระสำคัญ (Concept) เป็นองค์ความรู้โดยรวมที่ต้องการให้ฝังติดตัวผู้เรียนไปเป็น เวลานาน หรือที่เรียกว่า “ความเข้าใจที่คงทน (Enduring Understanding) เป็นองค์ความรู้ที่เป็น หลักการ หรือหลักวิชาของแต่ละเรื่อง) เช่น \"เซลล์ของสิ่งมีชีวิตประกอบด้วยนิวเคลียส ไซโทพลาสซึม และเยื่อหุ้มเซลล์ ภายในเซลล์มีการผ่านของสารโดยการแพร่ หรือออสโมซิส เพื่อดำรงความสมดุลของ เซลลแ์ ละเพ่ือการเจรญิ เติบโตของเซลล\"์ 1.2 ตัวชว้ี ัดชนั้ ปี หรอื ตัวช้ีวัดช่วงช้ันท่นี ำมาจดั กลมุ่ ทำเปน็ หน่วยฯ 1.3 คุณลักษณะ (ของวิชา) 1.4. สมรรถนะสำคญั (จากหลักสูตร) 1.5 คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ (จากหลักสตู ร)

47 2. กำหนดหลักฐานทีเ่ ปน็ ผลท่เี กิดจากการเรียนร้ขู องผูเ้ รียนตามเปา้ หมายทกี่ ำหนด ได้แก่ 2.1 ช้ินงาน/ภาระงานโดยรวมที่เป็นหลักฐานที่แสดงว่าผู้เรียนมีความเข้าใจตามเป้าหมาย ของหนว่ ยฯ แลว้ สำหรับเป้าหมาย สาระสำคัญ 2.2 ชนิ้ งาน/ภาระงานที่เปน็ หลักฐานว่ามคี วามเข้าใจตามเป้าหมายทีเ่ ปน็ ตัวชี้วัด คุณลักษณะ สมรรถนะสำคญั และคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ 3. ออกแบบการจัดการเรียนรู้เพื่อให้ผู้เรียนมีหลักฐานที่เป็นผลการเรียนรู้ตามเป้าหมาย ของหน่วยฯ ที่กำหนด โดยนำหลักฐานแต่ละหลักฐาน มาเป็นตัวกำหนดกิจกรรมการจัดการเรียนรู้ เพื่อให้ผู้เรียนมีหลักฐานการเรียนรู้ตามที่กำหนดไว้ แล้วจึงนำข้อมูลทั้งหมดมาเขียนแผนการจัด การ เรียนรู้ ซึ่งมอี งค์ประกอบ ได้แก่ 3.1 หัวแผนการจัดการเรียนรู้ (หน่วยการเรียนรู้เรื่อง/รหัส และชื่อรายวิชา/กลุ่มสาระ การเรยี นรู้/ชั้น/ภาคเรยี นท่ี/เวลา...ชั่งโมง/มาตรฐานการเรยี นรู้/ตวั ช้ีวัด) 3.2 มาตรฐานการเรียนรู้ 3.3 ตวั ช้ีวดั 3.4 สาระสำคัญ 3.5 สาระการเรยี นรู้ 3.5.1 ความรู้ 3.5.2 ทักษะ/กระบวนการ 3.5.3 คณุ ลกั ษณะ 3.5.4 สมรรถนะสำคญั 3.5.5 คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ 3.6 การจัดการเรียนรู้/การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (นำเข้าสู่บทเรียน สอน สรุปประเมิน ควรเขยี นเป็นรายชวั่ โมงตามตารางสอนที่จดั ให)้ 3.7 สอื่ อปุ กรณ์ และแหลง่ การเรียนรู้ 3.8 การวัดและประเมินผล (วิธีการวัด เครื่องมือวัด เกณฑ์การวัด) เมื่อจัดทำโครงสร้างรายวิชา และจัดทำหน่วยการเรียนรู้เรียบร้อยแล้ว ควรมีการประเมินความ ถกู ต้อง และเหมาะสมของหนว่ ยฯ กอ่ นที่จะนำไปจดั การเรียนรูใ้ ห้กับผู้เรยี น

48 - ตวั อยา่ งหนว่ ยการเรยี นรู้ - หนว่ ยการเรยี นรู้ กลุ่มสาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี วิชา ว21103 เทคโนโลยี (วทิ ยาการคำนวณ) ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 1 (ภาคเรยี นที่ 1) เวลา 20 คาบ หนว่ ย หน่วยการเรียนรู้ เวลา (คาบ) ตวั ชีว้ ดั การเรียนรู้ 2 ว 4.2 ม.1/1 1 แนวคิดเชิงนามธรรม 2 การแก้ปญั หา 2 ว 4.2 ม.1/2 3 การโปรแกรมด้วยภาษาไพทอน 5 ว 4.2 ม.1/2 4 การโปรแกรมดว้ ย Scratch 4 ว 4.2 ม.1/2 5 ขอ้ มลู และการประมวลผล 3 ว 4.2 ม.1/3 6 การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภยั 2 ว 4.2 ม.1/4 สอบกลางภาค 1 สอบปลายภาค 1 20 รวมทั้งหมด (คาบ) 20

49 กจิ กรรม ตรวจสอบหนว่ ยการเรยี นรู้ จงวเิ คราะห์หน่วยการเรียนรู้ตอ่ ไปนพ้ี ร้อมทง้ั ตรวจสอบ - ตัวอยา่ งหนว่ ยการเรียนรู้ - ผงั วิเคราะหห์ นว่ ยการเรยี นรู้ แกป้ ญั หางา่ ย ๆ ด้วย Coding

50 1. หน่วยการเรยี นร้ทู ี่ 1 ช่ือหนว่ ยการเรยี นรู้ แก้ปญั หางา่ ย ๆ ด้วย Coding 2. มาตรฐานการเรยี นร/ู้ ตัวชี้วดั มาตรฐาน ว 4.2 เข้าใจและใช้แนวคิดเชิงคำนวณในการแก้ปัญหาที่พบในชีวิตจริงอย่างเป็น ขั้นนตอนและเป็นระบบใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอ่ื สารในการเรียนรู้ การทำงาน และการแก้ปัญหา ไดอ้ ย่างมีประสิทธิภาพ รเู้ ทา่ ทัน และมีจรยิ ธรรม ว4.2 ป.5/1 ใช้เหตุผลเชิงตรรกะในการแก้ปัญหา การอธิบาย การทำงาน การคาดการณ์ ผลลพั ธจ์ ากปัญหาอยา่ งง่าย 3. สาระสำคัญ การใช้เหตุผลเชิงตรรกะเป็นการนำเอากฎเกณฑ์หรือเงื่อนไขที่ครอบคลุมทุกกรณีมาใช้ในการ พิจารณาปัญหา โดยสามารถอธิบายการทำงานหรือการคาดการณ์ผลลัพธ์ ได้อย่างเป็นขั้นตอน มีเหตผุ ลรองรับในการแกป้ ัญหาและการตัดสนิ ใจ 4. กจิ กรรมการเรยี นรู้ แผนการจัดกจิ กรรมที่ 1 การใชเ้ หตผุ ลเชงิ ตรรกะ แผนการจดั กจิ กรรมที่ 2 การแกป้ ญั หาตามเง่อื นไขทก่ี ำหนด แผนการจดั กิจกรรมท่ี 3 การทำนายผลลพั ธจ์ ากปญั หาอย่างง่าย 5. ภาระชนิ้ งาน 1. ใบงานกำไลหลากสี 2. ใบงานฉนั คอื ใคร 3. ใบงานเกมทำนายตัวเลข 6. การวดั และประเมินผล 1. ประเมินใบงาน 2. ประเมินการนำเสนอ 3. ประเมนิ กระบวนการกลมุ่ 7. เวลาในการจัดกจิ กรรม จำนวน 5 ชว่ั โมง

51 แบบตรวจสอบหนว่ ยการเรยี นรู้ ผลการดำเนินการ แนวทางการพฒั นา/ ขอ้ มาตรฐาน ตวั ชว้ี ดั และคำอธบิ ายรายวชิ า ดำเนินการ ไมด่ ำเนนิ การ ขอ้ เสนอแนะ 1 ชือ่ หนว่ ยการเรียนร้นู า่ สนใจ กะทัดรัด ชัดเจนครอบคลมุ เนื้อหาสาระมาตรฐาน การเรยี นรตู้ วั ชว้ี ัดหรือผลการเรียนรู้ 2 สมรรถนะสำกญั ของผู้เรยี นและคุณลักษณะ อนั พงึ ประสงคม์ คี วามเช่ือมโยงกนั อย่าง เหมาะสม 3 ความสอดคล้องของสาระสำคัญ/ความคดิ รวบยอดกบั มาตรฐานการเรียนร/ู้ ตัวช้ีวัด หรือผลการเรยี นรู้ 4 ความสอดคล้องของสาระสำคญั /ความคิด รวบยอดกบั สาระการเรียนรู้ 5 ความเชือ่ มโยงสมั พันธก์ ันระหว่างช่ือหนว่ ย การเรยี บรู้ มาตรฐานการเรยี นรู้ (ตวั ชี้วัด หรอื ผลการเรยี นรู้ สาระสำคญั ความคิดรวบยอด สาระการเรียนรู้ และกิจกรรมการเรยี นรู้ 6 กจิ กรรมการเรยี บรู้สอดคลอ้ งกับมาตรฐาน การเรยี นรูต้ ัวชีวดั หรอื ผลการเรียบรแู้ ละสาระ การเรยี นรู้ 7 กิจกรรมการเรียนรมู้ ีความครอบคลุม ในการพฒั นาผ้เู รยี นให้มีความรู้ ทักษะ/ กระบวนการ สมรรถนะผู้เรียนและ คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ 8 กจิ กรรมการเรียนรมู้ คี วามเหมาะสม สามารถบำผูเ้ รียนไปสกู่ ารสร้างขน้ึ งาน/ ภาระงาน

52 ผลการดำเนินการ แนวทางการพฒั นา/ ขอ้ มาตรฐาน ตวั ชว้ี ดั และคำอธบิ ายรายวชิ า ดำเนนิ การ ไมด่ ำเนนิ การ ขอ้ เสนอแนะ 9 การประเมินผลตามสภาพจรงิ และสอดคลอ้ ง กับมาตรฐานการเรยี นร้ตู ัวช้วี ดั หรอื ผลการเรียนรู้ กจิ กรรมการเรยี นรู้ 10 ประเด็นและเกณฑก์ ารประมินสามารถ สะท้อนคณุ ภาพผ้เู รียนตามมาตรฐาน การเรียนรู้ตัวชีว้ ดั หรอื ผลการเรียบรู้ 11 ส่ือการเรียบร้ใู นแต่ละกิจกรรมมีความ เหมาะสมและนำไปประยกุ ต์ใชใ้ ด้จริง 12 กำหนดเวลาให้เหมาะสมกบั กจิ กรรมและ สามารถนำไปปฏบิ ตั ิจรงิ

53 จากหนว่ ยการเรยี นร้สู ู่ชน้ั เรยี น : การจดั ทำแผนการจัดการเรยี นรู้

54 จากแผนภาพ หลงั จากจดั ทำหน่วยการเรยี นรแู้ ลว้ เพ่อื ใหก้ ารจัดการเรียนรสู้ อดคล้องกับหน่วย การเรียนรู้ ครูผู้สอนควรวางแผนการจัดแบ่งเนื้อหาสาระ เวลา ให้ครอบคลุมหน่วยการเรียนรู้จากนั้น จึงนำมาจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ให้เหมาะสมกับเวลา และการพัฒนาผู้เรียน ในการจัดทำแผน การจัดการเรียนรู้ ครูผู้สอนจะต้องกำหนดเป้าหมายสำหรับผู้เรียนในการจัดการเรียนรู้ โดยสามารถ กำหนดเป็นจุดประสงค์การเรียนรู้ของแผนการเรียนรู้นั้น ๆ ซึ่งจุดประสงค์การเรียนรู้ในแต่ละแผน การจัดการเรียนรู้ ต้องนำพาผู้เรียนไปสู่มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน และคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงคท์ กี่ ำหนดไวใ้ นหน่วยการเรยี นรู้ จากนั้นกำหนดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อให้ ผู้เรียนบรรลุเป้าหมาย ครูผู้สอนควรใช้เทคนิค/วิธีสอนที่หลากหลาย โดยพิจารณาเลือกกระบวนการ เรียนรู้ที่จะพัฒนาให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ ใช้ในการจัดการเรียนรู้ให้เหมาะสมกับธรรมชาติวิชา เช่น การเรียนรู้แบบบูรณาการ กระบวนการสรา้ งความรู้ กระบวนการคิดกระบวนการทางสงั คม ฯลฯ ในการ จัดการเรียนรูค้ รผู สู้ อนตอ้ งรู้จักเลือกใชส้ ่อื /เหลง่ การเรียนรู้ ภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถ่ินมาใชใ้ นการจัดกิจกรรม สื่อที่นำมาใช้ต้องกระตุ้น ส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิดการเรยี นรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพโดยไม่ยึดสื่อใดสื่อหนึง่ เปน็ หลกั ในการจดั การเรียนรู้ กิจกรรมในแต่ละแผนการจัดการเรียนรู้ต้องสง่ เสริมและพัฒนาใหผ้ ้เู รยี นมีความสามารถทจ่ี ะสร้าง ชน้ิ งาน/ภาระงาน เม่อื ครบทกุ แผนการจัดการเรยี นรขู้ องหนว่ ยการเรียนรูน้ ัน้ ๆ ผเู้ รียนตอ้ งสร้างชิ้นงาน/ ภาระงานรวบยอดได้ นอกจากนี้ในการจัดการเรียนรู้ต้องกำหนดว่าจะใช้เครื่องมือใดวัดและประเมินผล ผู้เรียนให้บรรลุตามเป้าหมายที่กำหนด ดังนั้นในการวัดและประเมินผล ครูผู้สอนต้องประเมินผู้เรียน ตลอดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยเลือกใช้เครื่องมือที่เหมาะสมกับลักษณะกิจกรรมและสิ่งที่ ต้องการวดั นอกเหนอื จากการประเมนิ ชิ้นงานภาระงาน

55 การวางแผนการจัดการเรยี นรู้ การจัดการเรียนรู้ เป็นกระบวนการที่มีการจัดระบบการดำเนินงานเช่นเดียวกับการทำงาน ด้านอื่น ๆ ดังนั้น การจัดการเรียนรู้จึงต้องมีการวางแผน และเตรียมการจัดการเรียนรู้ ไว้ล่วงหน้า โดยอาศัยข้อมูลจากแหล่งความรู้ต่าง ๆ ที่รวบรวมได้มาจากการดำเนินงานตามระบบการจดั การเรียนรู้ รวมทั้งจากประสบการณ์ ของครู การวางแผนการจัดการเรียนรู้เป็นสิ่งจำเป็นมากสำหรับผู้ที่เป็นครู เพราะจะช่วยให้ครเู กิดความมั่นใจในการจดั การเรียนรู้ และจัดการเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพตรงตาม จุดม่งุ หมายของหลกั สูตรทว่ี างไว้ แนวคิดของการวางแผนการจดั การเรยี นรู้ การวางแผนการจัดการเรียนรู้ เป็นส่วนหนึ่งของระบบการจัดการเรียนรู้ ที่เป็นการเตรียมการ ล่วงหน้าก่อน โดยใช้ข้อมูลที่ได้จากการสำรวจปัญหาและทรัพยากร การวิเคราะห์เนื้อหา การวิเคราะห์ ผู้เรียน การกำหนดมโนทัศน์ วัตถุประสงค์ กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อการเรียนรู้ และการประเมินผล แล้วเขียนออกมาเป็นแผนการจัดการเรียนรู้ การวางแผนการจัดการเรียนรู้ อาจจะทำได้ทั้งระยะยาว และระยะส้ัน ขอ้ ปฏิบัตใิ นการวางแผนการจัดการเรยี นรู้ ในการวางแผนการจดั การเรียนรู้ทด่ี ีตอ้ งอาศัยข้อมลู ต่าง ๆ ครจู งึ ต้องเตรยี มตัวศึกษาหาความรู้ ขอ้ มูลน้ัน ๆ เพื่อเปน็ แนวทางในการวางแผนการจัดการเรยี นรู้ ดงั น้ันควรปฏบิ ัตดิ งั นี้ 1. ศึกษาตัวหลักสูตร โดยเริ่มจากหลักการ จุดหมาย โครงสร้างของหลักสูตร และรายละเอียด ของหลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ คำอธิบายรายวิชา โดยศึกษาให้ละเอียด และนำไป ออกแบบในการจัดการเรียนรู้ได้สอดคล้องกับสภาพท้องถิ่น และตามความสามารถของนักเรียน ดังน้นั กอ่ นจดั การเรียนรทู้ กุ คร้งั ครจู ะตอ้ งวิเคราะห์หลักสตู รกอ่ น

56 2. ศึกษาเอกสารหลักสตู รอ่ืน ๆ เชน่ เทคนิค วิธีการ รูปแบบการจดั การเรียนรู้ ตลอดจนส่ือการ เรยี นรอู้ ่นื ๆ ที่จะเป็นแนวทางและใหค้ วามแจ่มชัดเก่ียวกบั เน้อื หา กิจกรรม ส่อื การเรียนรู้ รวมทั้งการวัด และประเมินผลดว้ ย 3. ศึกษาวิธีการวัดและการประเมินผลการเรียน โดยศึกษาวิธีการอย่างละเอียด ซึ่งอาจจะ ศึกษาเอง หรอื สอบถามผรู้ ู้จนแน่ใจวา่ ปฏบิ ัตไิ ด้ถูกตอ้ ง ข้อมลู ทีต่ อ้ งใชใ้ นการวางแผนการจดั การเรยี นรู้ ในการวางแผนการจัดการเรยี นรู้ที่ดี ครูต้องใช้ข้อมูลทีร่ วบรวมมาจากการดำเนินงานตามระบบ การจัดการเรียนรู้ ดังนคี้ ือ 1. การสำรวจสภาพปัญหาและทรัพยากร เป็นข้อมูลที่เกี่ยวกับสภาพปัญหาการจัดการเรียนรู้ เกี่ยวกับเนื้อหาสาระที่นักเรียนมักไม่เข้าใจ วิธีจัดการเรียนรู้หรือกิจกรรมที่ใช้จัดการเรียนรู้แล้วเกิด ปัญหา วัสดุอุปกรณ์การจัดการเรียนรู้ที่ไม่มีสำหรับการสอนเนื้อหาบางเรื่อง รวมทั้งการไม่มี ห้องปฏบิ ตั กิ าร แบบเรยี นและหนังสอื อ่านประกอบไม่เพยี งพอ การสำรวจปัญหาและทรัพยากรทค่ี รตู ้องใช้ในการจัดการเรยี นรู้ ทำใหไ้ ด้ข้อมลู พื้นฐาน เพอ่ื นำไป ประกอบการพิจารณาการจัดการเรยี นรู้ตอ่ ไป 2. การวิเคราะหเ์ น้ือหา เป็นข้อมลู ที่มีความจำเป็นอย่างยิ่ง เพราะจะเป็นส่วนที่กำหนดเร่ืองในการ จัดการเรียนรู้ โดยกำหนดเป็นระดับหน่วยใหญ่ หน่วยย่อยและระดับการเรียนที่เป็นเนื้อหาของการ จัดการเรียนรู้แต่ละครัง้ สำหรับเนื้อหาระดับบทเรียนก็ต้องวเิ คราะหอ์ อกเป็นเนื้อหาหลัก และเนื้อหาย่อย เชน่ เดียวกนั 3. มโนทัศน์หรือความคิดรวบยอด เป็นข้อมูลที่เกี่ยวกับสาระหรือแก่นของเนื้อหาหรือข้อสรปุ ทต่ี ้องการใหน้ ักเรียนไดร้ ับในการเรยี นรู้ ครูตอ้ งกำหนดให้ชัดเจนวา่ ต้องการใหน้ กั เรยี นเกดิ มโนทศั น์ทเ่ี ป็น แกน่ สารของเน้อื หาอะไรบา้ ง 4. จุดประสงค์เปน็ เป้าหมายแห่งความสำเรจ็ ในส่วนของการเปล่ยี นแปลงพฤติกรรมในตวั นักเรียน ที่ครูกำหนดไว้

57 5. กิจกรรมการเรียนรู้และวิธีการจัดการเรียนรู้ เป็นสิ่งที่ครูคาดการณ์ไว้ล่วงหน้า ว่าจะให้ นักเรียนทำกิจกรรมการเรียนอะไรบ้าง โดยคำนึงถึงกิจกรรมกลุ่มและกิจกรรมรายบุคคล การจัด กจิ กรรมการเรยี นรู้ต้องจัดให้สอดคล้องกับจดุ ประสงค์ดว้ ย กิจกรรมในแผนการจดั การเรยี นรู้โดยทั่วไป จะมี 3 ขั้นตอน คอื 1. ข้นั นำไปสบู่ ทเรยี น 2. ข้นั สอน 3. ขัน้ สรุป การวิเคราะห์ตัวช้วี ัดเพ่อื วางแผนจัดการเรยี นรู้และการวดั และประเมินผล

58 * ตวั ชว้ี ดั มีความจำเพาะ เจาะจง ดงั น้นั ไมค่ วร นำตัวชีว้ ัดแตล่ ะตวั ไปแบง่ ย่อยเปน็ ตวั ช้วี ดั ย่อยดา้ นความรู้ ทักษะ และคณุ ลักษณะ ดว้ ยการตดั เพ่ิม คำหรอื วลใี นตัวช้ีวดั เดิม

59 กิจกรรม การวเิ คราะห์มาตรฐานการเรยี นร้แู ละตวั ช้วี ดั จงวเิ คราะห์ตวั ชวี้ ัด เพ่ือระบุคำสำคญั และประเภทของพฤตกิ รรมการเรยี นรู้ตอ่ ไปน้ี รหสั ตวั ชี้วดั สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง คำสำคญั ประเภทของ ตวั ช้วี ดั พฤตกิ รรม การเรยี นรู้ KPA ว 4.2 ใชเ้ ทคโนโลยี - ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอยา่ งปลอดภยั เชน่ ม 1/4 สารสนเทศอย่าง การปกตอ้ งความเปน็ สว่ นตัวและอัตลักษณ์ ว 4.1 ม 1/1 ปลอดภยั ใชส้ ือ่ - การจัดการอตั ลักษณ์ เช่น การตงั้ รหัสผา่ น และแหลง่ ข้อมูล การปกป้องขอ้ มูลสว่ นตัว ตามขอ้ กำหนด - การพจิ ารณาความเหมาะสมของเนื้อหา เชน่ และข้อตกลง ละเมิดความเป็นส่วนตวั ผู้อน่ื อนาจาร วิจารณ์ ผ้อู ืน่ อย่างหยาบคาย - ข้อตกลง ข้อกำหนดในการใชส้ ือ่ หรือแหล่งขอ้ มูล ตา่ งๆ เชน่ Creative commons อธิบายแนวคดิ - เทคโนโลยี เปน็ สง่ิ ทีม่ นุษย์สร้างหรือพัฒนาข้ึน หลังของ ซึง่ อาจเป็นได้ท้งั ชิ้นงานหรอื วิธกี าร เพอ่ื ใช้ เทคโนโลยี แก้ปัญหา สนองความตอ้ งการ หรอื เพิม่ ในชีวติ ประจำวนั ความสามารถในการทำงานของมนษุ ย์ และวเิ คราะห์ - ระบบทางเทคโนโลยี เปน็ กลมุ่ ของสว่ นตา่ งๆต้งั แต่ สาเหตหุ รือปัจจัย สองสว่ นข้ึนไปประกอบเขา้ ดว้ ยกนั และทำงาน ทสี่ ่งผลตอ่ การ รว่ มกนั เพื่อใหบ้ รรลุวัตถปุ ระสงค์ โดยในการทำงาน เปล่ยี นแปลงของ ของเทคโนโลยจี ะประกอบด้วยตัวปอ้ น (input) เทคโนโลยี กระบวนการ (process) และผลผลติ (output) ที่สัมพันธ์กัน นอกจากน้รี ะบบทางเทคโนโลยอี าจมี ขอ้ มูลยอ้ นกลบั (feedback) เพอ่ื ใชป้ รบั ปรุง การทำงานได้ตามต้องการ - เทคโนโลยมี กี ารเปลีย่ นแปลงตลอดเวลาตง้ั แต่ อดีตจนถึงปจั จุบนั ซึ่งมสี าเหตุหรอื ปัจจยั มาจาก หลายดา้ น เชน่ ปัญหา ความต้องการ ความกา้ วหนา้ ของศาสตรต์ า่ งๆ เศรษฐกจิ สงั คม

60 แผนการจดั การเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้ คือ เอกสารที่ครูผู้สอนจัดทำขึ้น เพื่อเป็นแนวทางในการจัดการเรียนรู้ ให้ผู้เรียนเกิดมาตรฐานการเรียนรู้ตามที่หลักสูตรกำหนด ประกอบด้วย ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง จดุ ประสงค์การเรียนรู้ สาระการเรยี นรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ สือ่ การเรยี นรู้ / แหล่งการเรยี นรู้ การวดั และ ประเมินผลการเรียนรู้ สิ่งเหลา่ น้จี ะถกู นำเขา้ สูห่ ้องเรียนกลายเป็นกิจกรรมการเรยี นรูข้ องผู้เรียนตอ่ ไป การเขียนแผนการจัดการเรียนรู้ เป็นการเขียนรายละเอียดที่จะนำไปสอนในแต่ละครั้ง โดยนำ จุดประสงค์การเรียนรู้ที่กำหนดและแบ่งเวลาสอนไว้ในโครงส ร้างสาระมาเขียนรายละเอียดให้เหมาะสม กับเวลา รูปแบบการจัดการเรียนรู้จะใช้แบบตารางหรือแบบบรรยายก็ได้ แต่ก็ต้องมีส่วนประกอบที่มี หวั ข้อสำคญั ดงั ต่อไปนี้ 1. สาระสำคญั 2. จดุ ประสงค์การเรียนรู้ / ผลการเรียนรู้ท่คี าดหวงั 3. เนอ้ื หาสาระ 4. กิจกรรมการเรยี นรู้ 5. สอื่ การเรยี นรู้ 6. การวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู้ 7. กจิ กรรมเสนอแนะ (ถ้าม)ี นอกจากนั้น เพื่อให้มีข้อมูลในการจะปรับปรุงการจัดการเรียนรู้ จึงมีส่วนบันทึกหลังการใช้ แผนการจัดการเรียนรู้ไว้ดว้ ย ดังน้ี บนั ทกึ ผลหลงั การสอน 1. ผลการสอน 2. ปญั หา / อุปสรรค 3. ข้อเสนอแนะ / แนวทางแก้ไข

61 แนวทางการเขยี นแผนการจัดการเรียนรู้ 1. สาระสำคญั คือ ประเด็นสำคัญ / แนวคิด / แก่นของเรื่อง / หัวใจของเรื่อง ความคิดรวบยอดของเรื่องท่ี ตอ้ งการใหผ้ เู้ รียนเกดิ การเรียนรู้ แนวทางการเขียนสาระสำคัญ 1. ศึกษาวเิ คราะห์หัวข้อ / เรอื่ ง ทีจ่ ะสอนสรปุ ความหมาย ความสำคญั การนำไปใช้ พฤติกรรม ทต่ี ้องการให้เกิดแกผ่ เู้ รยี น 2. เรียบเรียงถอ้ ยคำ สาระสำคัญไว้ในใจ 3. เขยี นสาระสำคญั เปน็ ประโยคบอกเลา่ ด้วยภาษาง่าย ๆ เข้าใจง่าย กะทดั รัด 4. ตรวจสอบความสมบรู ณ์ของสาระสำคัญ การสื่อความหมายด้านเนื้อหา ความคิดรวบยอด และความครอบคลมุ ทจ่ี ะใหเ้ กดิ ตามจดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ สาระสำคัญที่กำหนดในการเขียนแผนการจัดการเรียนรู้ เป็นการบอกความคิด รวบยอด ของเนื้อหา หลักการ วิธีการและความเป็นเหตเุ ป็นผลต่อกัน หรือการสรุปประเด็นความรู้ แก่นของเรือ่ ง หรือคือขอ้ ความท่ีบ่งบอกให้รูว้ า่ หลังจากจัดการเรยี นรูแ้ ต่ละเร่ืองต้องการให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้อะไร ลักษณะใดที่ต้องการให้ติดฝังไปกับนักเรียน การเขียนสาระสำคัญต้องเขียนให้กะทัดรัด ได้ใจความ สมบูรณ์ชดั เจน อาจเขยี นเปน็ เรียงหรอื แบ่งเป็นขอ้ ยอ่ ย ๆ กไ็ ด้ 2. จุดประสงค์การเรียนรู้ / ผลการเรยี นร้ทู ่คี าดหวัง จุดประสงค์การเรียนรู้ เป็นเสมือนเข็มทิศที่จะชี้บอกว่าครูสอนอะไร นักเรียนเกิดการเรียนรู้ อย่างไร ระดับใด จุดประสงค์การเรียนรู้จึงเป็นหัวใจสำคญั ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ซึ่งจุดประสงค์ การเรยี นรทู้ ่ดี ีต้องมีความเหมาะสมในดา้ นเวลา เนื้อหา วัยของผู้เรียน และทส่ี ำคญั ก็คือตอ้ งสอดคลอ้ งกบั สาระสำคญั โดยท่วั ไปจุดประสงค์การเรยี นรู้ แบง่ เปน็ 2 ระดับ คือ

62 2.1 จุดประสงค์การเรียนรู้ปลายทาง (จุดประสงค์การเรียนรู้ / ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง) คือ จุดประสงค์ที่เป็นเป้าหมายสำคัญที่ต้องการให้เกิดแก่ผู้เรียนในการเรียนแต่ละเรื่อง ซึ่งเป็นพฤติกรรม ของผู้เรยี นท่ีผสู้ อนคาดหวังใหเ้ กดิ ขึน้ ภายหลังทจี่ ัดกิจกรรมการเรยี นรู้ไปแลว้ มลี ักษณะเป็นจุดประสงค์ เชิงพฤติกรรม ระบุพฤติกรรมที่สังเกตไว้ วัดได้และตรวจสอบได้ เพื่อง่ายต่อการวัดและประเมินผล ทั้งนี้ จดุ ประสงคป์ ลายทางกำหนดจากเรื่อง และสาระสำคัญของเนอื้ หาที่จะจัดการเรยี นรู้ ซึง่ ไดจ้ ากการวิเคราะห์ หลักสตู รและคำอธิบายรายวิชา จุดประสงคป์ ลายทาง อาจนำมาจากการวเิ คราะห์ผลการเรยี นรู้ที่คาดหวัง มาตรฐานการเรียนรู้ ของหลกั สูตรสถานศกึ ษา จุดประสงค์ที่ครผู ู้สอนเขียนขึ้น เพอ่ื ใหเ้ ป็นจดุ ประสงคห์ ลักของแผนการจัดการ เรยี นรู้ 2.2 จุดประสงค์นำทาง (จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม) คือ จุดประสงค์ที่วิเคราะห์แตกต่างจาก จุดประสงค์ปลายทาง เป็นจุดประสงค์ย่อยที่ครูผู้สอนกำหนดขึ้น เพื่อให้ผู้เรียนเกิดพฤติกรรมตาม จุดประสงค์ปลายทาง พฤติกรรมที่เกิดจากจุดประสงค์ย่อยหลาย ๆ จุดประสงค์เมื่อหลอมรวมกันแล้ว จะเป็นจุดประสงค์นำที่จะทำให้ผู้เรียนเกิดพฤติกรรมตามจุดประสงค์ปลายทาง จุดประสงค์นำทาง เรยี กอกี อยา่ งหน่งึ วา่ จดุ ประสงคเ์ ชิงพฤตกิ รรม มีส่วนประกอบที่สำคัญ 3 องค์ประกอบ คอื 1. พฤตกิ รรมที่คาดหวัง 2. เงอื่ นไข หรือสถานการณ์ 3. เกณฑ์ หรอื มาตรฐานของพฤติกรรม องค์ประกอบของจุดประสงค์เชงิ พฤตกิ รรม องค์ประกอบของจดุ ประสงคเ์ ชิงพฤตกิ รรม ประกอบดว้ ย 1. พฤติกรรมทีค่ าดหวัง หมายถึง พฤตกิ รรมท่ีครูผูส้ อนต้องการใหเ้ กดิ กบั ผู้เรียน เช่น การกระทำ การแสดงออกท่แี สดงให้เหน็ ได้ สังเกตได้ ดผู ลกระทำได้ พฤตกิ รรมที่คาดหวังมี 3 ดา้ น คอื - ดา้ นพุทธิพสิ ัย - ดา้ นทักษะพิสัย - ด้านจิตพิสยั

63 2. เงื่อนไขหรือสถานการณ์ หมายถึง ข้อตกลงที่ผู้สอนกำหนดให้นักเรียนกระทำสิ่งใด เวลาใด อยา่ งไร เชน่ หลังจากนกั เรยี นอ่านขอ้ ความนี้แลว้ สามารถบอกข้ันตอนการถนอมอาหารได้ เมื่อนักเรยี นสังเกตการณท์ ดลองแลว้ สามารถตอบคำถามได้ นกั เรียนสามารถบอกประโยชน์ของนำ้ ได้ ด้วยตนเอง (ขอ้ ความทข่ี ีดเสน้ ใต้ คอื เงื่อนไขหรือสถานการณ)์ 3. เกณฑ์หรือมาตรฐานของพฤติกรรม หมายถึง ระดับความสามารถที่จะแสดง พฤติกรรมว่าผู้เรยี นเกิดการเรียนรู้จริงมี 2 ลักษณะ คือ เกณฑเ์ กย่ี วกบั เวลา คอื ความเร็ว และเกณฑ์ ที่เก่ยี วกบั จำนวน หรือปรมิ าณ เช่น (ขดี เส้นใต้คือเกณฑ์) นักเรียนสามารถอ่านออกเสยี งคำ ร ล ว ควบกลำ้ ไดถ้ กู ตอ้ งทุกคำ นกั เรยี นสามารถสนทนา ทกั ทายภาษาองั กฤษ อา่ นไดอ้ ย่างนอ้ ยคนละ 5 ประโยค ตัวอยา่ งจุดประสงค์เชงิ พฤตกิ รรม 1. บอกความหมายของคำตอ่ ไปน้ไี ด้อย่างน้อย 8 คำ 2. อภิปรายแสดงความคิดเหน็ เกยี่ วกบั โทษของยาเสพติดไดค้ รอบคลุมทกุ ด้าน 3. ทำความสะอาดห้องเรยี นใหน้ า่ อยู่ไดท้ ุกวัน 4. จดั ทำหนังสือนทิ านพื้นบา้ นไดอ้ ยา่ งนอ้ ยกลมุ่ ละ 1 เล่ม 5. รายงานผลงานที่เกดิ จากการศึกษาคน้ ควา้ ในหอ้ งสมดุ ไดภ้ ายในเวลาทกี่ ำหนด 6. ตอบคำถามเก่ยี วกบั โจทยป์ ัญหาไดอ้ ย่างนอ้ ย 5 ข้อ

64 3. เนื้อหาสาระ คอื สาระทตี่ ้องการใหผ้ ู้เรียนเกดิ การเรียนรู้ ซึง่ เนอื้ หาทกี่ ำหนดขนึ้ ต้องสอดคลอ้ งกบั จดุ ประสงค์ การเรียนรู้ ที่จะใช้ในแผนการจัดการเรียนรู้แต่ละครั้ง ตลอดจนสอดคล้องกับสภาพท้องถิ่น หลักสูตร ในแตล่ ะระดับชัน้ เรียน การเขียนเนื้อหาสาระที่ต้องการให้นกั เรียนเรียนรู้เฉพาะในการสอนตามแผน การจัดการเรียนรู้ แต่ละแผน อาจเขียนเนอ้ื หาโดยสรุปหรือแบง่ เป็นข้อยอ่ ยกไ็ ด้ 4. กิจกรรมการเรยี นรู้ เป็นกิจกรรมหรือกระบวนการขั้นตอน เทคนิควิธีการที่ครูผู้สอนคิด หรือพิจารณาจัดสรร จากการได้เรียนรู้จากประสบการณ์ จากการศึกษาที่เห็นว่าเหมาะสมกับเนื้อหาสาระ สอดคล้อง กบั จดุ ประสงค์ลักษณะวิชาปัจจัยแวดล้อม ในการจัดการเรียนรู้โดยเน้นผู้เรยี นเปน็ สำคัญ การเขียนรายละเอียดในหัวข้อนี้ เป็นการแสดงกลวิธีในการจัดการเรียนรู้ และจะเปน็ ส่วนที่แสดง ถึงความสามารถ ความเชี่ยวชาญ ความชำนาญการของผู้สอน เป็นส่วนที่แสดงคุณค่าของแผนการ จดั การเรียนรจู้ งึ ต้องเขยี นให้ละเอียด บรรยายให้ผู้อ่านเห็นภาพพจน์ ผูส้ อนแทนสามารถนำไปใช้สอนได้ มีลำดบั ขั้นตอนหรอื เน้นกระบวนการ ผสู้ อนศกึ ษาและนำ “กระบวนการ” ต่าง ๆ ตามทฤษฎีมาผสมผสาน ปรับใช้ให้เหมาะสม จัดสถานการณ์ กิจกรรม อุปกรณ์และสื่อต่าง ๆ กระตุ้นให้นักเรียนเกิดก ารเรียนรู้ ไปสู่การบรรลุจุดประสงคไ์ ด้งา่ ยและรวดเร็ว ใช้กิจกรรมท่ีชวนให้น่าตดิ ตาม นำกิจกรรมใหม่ ๆ ที่ทา้ ทาย มาสอดแทรก แสดงความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ การเขียน ควรเขียนเรียงลำดับกิจกรรมให้สอดคล้องกับ จุดประสงค์นำทาง ตั้งแต่เริ่มสอน (นำเข้าสู่บทเรียน) จนสิ้นสุดกระบวนการจัดการเรียนรู้ คือ บรรลุ จุดประสงค์ปลายทาง เน้นกิจกรรมทีต่ อ้ งให้นักเรียนเป็นผู้กระทำ คือ ยึดนักเรียนเป็นสำคัญ ครูควรใช้ หลายกระบวนการมาผสมผสานกัน จัดสภาพ การเรียนรู้ให้นักเรียนบรรลุจุดประสงค์การเรียนรู้ ที่กำหนดไว้ โดยไม่จำเป็นต้องระบชุ ่อื กระบวนการ หรอื ขั้นตอนของกระบวนการ

65 5. สื่อการเรียนรู้ บอกชื่อสือ่ -อุปกรณท์ ีจ่ ะต้องประกอบการเรียนรู้ตามท่ีระบไุ วใ้ นขั้นของกิจกรรมการเรียนการรู้ ถ้าได้ทำใบความรู้ ใบงานหรือเอกสารประกอบเพิ่มเติม อาจแนบต่อท้ายแผนเป็นเอกสารประกอบแผน หรืออาจรวมไว้ในภาคผนวก หรือถ้ามีจำนวนมากกร็ วมเลม่ ไว้ต่างหาก เพ่ือสะดวกในการใช้ ท้งั น้ี ในการ เตรียมสื่อและอปุ กรณ์การเรียนรู้จะต้องสอดคล้องกับกิจกรรมการเรียนรู้ หากสื่อที่มีผู้จัดทำเผยแพร่ แล้วไม่ตรงกับที่ต้องการใช้ ผู้สอนควรจะทำขึ้นใหม่ เพื่อให้ได้สื่อที่เหมาะสมกับกิจกรรมที่กำหนดไว้ ในการจัดทำสื่อขึ้นใช้ต้องคำนึงถึงคุณสมบัติของสื่อที่ดี คือ น่าสนใจ ประหยัด ช่วยให้เกิดการเรียนรู้ ได้เรว็ และถกู ต้อง 6. การวดั ผลและประเมินผลการเรียนรู้ คือ การตีค่า สรุปผล จากการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนว่าผู้เรียนเกิดการเรียนรู้หรือไม่ ในระดับใด การวัดและประเมินผลควรกระทำไปพร้อม ๆ กัน การจัดการเรียนรู้อาจมีการประเมินผล ก่อนเรียน ระหว่างเรียน หลังเรียน โดยเน้นกระบวนการประเมินผลตามสภาพจริง ควรระบุวิธีการ เครื่องมือวัดและประเมินผลให้ชัดเจนในแต่ละแผนการสอน เช่น วิธีการวัดโดยการสังเกต ให้ปฏิบัติจรงิ สัมภาษณ์ความคิดเห็น ตรวจผลงาน เครื่องมือ ได้แก่ แบบสัมภาษณ์ แบบสังเกต แบบสำรวจรายการ แฟม้ พฒั นางาน ฯลฯ 7. กิจกรรมเสนอแนะ เป็นสว่ นท่ไี มส่ ามารถปฏิบัตไิ ดใ้ นเวลาปกติ เชน่ การมอบหมายงานเพิม่ เติมเป็นการระบุกิจกรรม หรืองานที่จะเสรมิ ให้นกั เรียนเก่ง และกิจกรรมหรืองานที่จะช่วยเป็นพิเศษสำหรับนักเรียนท่ีเรียนช้า และ ควรจะระบุกจิ กรรมเสนอให้นกั เรียนท่มี ีความสนใจในเรือ่ งใดเร่อื งหน่ึงเป็นพเิ ศษ

66 บันทกึ ผลหลังการจัดการเรียนรู้ 1. ผลการจัดการเรียนรู้ ควรบันทึกพฤติกรรมที่นักเรียนแสดงออก และบันทึกความ เหมาะสมของเนื้อหาวิชา กิจกรรม เวลาที่มีอยู่ในแผนการจัดการเรียนรู้ และผลของการสอนเป็นไปตาม ความคาดหวงั หรอื ไม่ อย่างไร 2. ปัญหาอปุ สรรค ใหบ้ นั ทกึ ข้อบกพรอ่ ง สิง่ ท่คี วรแกไ้ ขทพี่ บระหวา่ งจัดการเรียนรู้ เพื่อ เป็นข้อมลู นำไปปรับปรุงในคร้งั ตอ่ ไป 3. ขอ้ เสนอแนะ / แนวทางแกไ้ ข ใหบ้ นั ทึกแนวทางแก้ไข ขอ้ บกพรอ่ ง หรอื ปญั หาอุปสรรค ลงชอื่ ครูผู้สอนและวันเดอื นปที ใี่ ช้แผนการจัดการเรยี นรกู้ ำกบั ไว้ บันทึกผลหลังการจัดการเรียน เป็นการลงบันทึกความเห็นเพิ่มเติมหลังจาก การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ครูผู้สอนต้องการให้เป็นข้อมูลในการปรับปรุง พัฒนาแผนการจัดการ เรยี นรใู้ หม้ คี ุณภาพ และประสทิ ธิภาพมากย่ิงขึน้ เชน่ กิจกรรม ก ไมเ่ หมาะสมนำมาใช้เด็กเกิดการสับสน เด็กไม่สนใจเท่าที่ควร เด็กเรียนรู้ได้ดี ปานกลาง อ่อนกี่คน ปัญหา อุปสรรค อะไรบ้าง ครั้งต่อไปควร ปรบั ปรงุ อะไร ข้อเสนอแนะ ในการเขียนรายละเอยี ดในแต่ละหัวขอ้ ที่ได้นำเสนอนี้ ไม่ใช่เป็นแนวทางที่ดที ่ีสุด และ เหมาะสมทสี่ ดุ สำหรบั ทกุ คน แตล่ ะคนจะตอ้ งปรับปรงุ พัฒนาเทคนิควธิ ีการต่าง ๆ ให้สอดคล้องกับสภาพ ความเป็นจรงิ และยึดผเู้ รยี นเป็นสำคัญ คมู่ ือคร/ู ส่อื การเรยี นการสอนวทิ ยาการคำนวณ สสวท.

67 กิจกรรม 1. ก่อนจดั ทำแผนการจัดการเรียนรู้ ท่านไดว้ ิเคราะห์อะไรมากอ่ นแล้วบา้ ง ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 2. องคป์ ระกอบสำคญั ของแผนการจดั การเรียนรู้ ประกอบดว้ ยอะไรบ้าง ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 3. ทผ่ี า่ นมา ในการเขยี นแผนการจดั การเรียนรทู้ า่ นคำนงึ ถงึ อะไรบา้ ง ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 4. การเขียนแผนการจดั การเรยี นรทู้ ีเ่ นน้ ผเู้ รยี นเปน็ สำคญั มวี ิธีการอย่างไร ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

68 ลักษณะของแผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ดี ลักษณะของแผนการจัดการเรยี นรู้ที่ดี ควรมีลักษณะดังนี้ 1. มสี ว่ นประกอบสำคัญจำเป็น ครบถว้ น ชัดเจน เช่น มีการกำหนดจุดประสงค์ เนื้อหา กิจกรรม การวัด และประเมินผลที่ชัดเจน และสอดคล้องกับแนวทางการปฏิรูปกระบวนการเรียน รู้ ตามพระราชบัญญตั กิ ารศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 2. มีความสอดคล้องกับหลักสูตรสถานศึกษา และหลักสูตรแกนกลาง และพื้นฐานความสนใจ ของผู้เรียนตลอดจนสภาพท้องถน่ิ 3. ส่วนประกอบต่าง ๆ ของแผนการจัดการเรียนรู้ มีความสอดคลอ้ งกัน เช่น เนื้อหาสอดคล้อง กับสาระสำคญั จุดประสงค์ และกจิ กรรมสอดคล้องกบั จดุ ประสงค์ เหมาะสมกับเนือ้ หา การวัดประเมนิ ผล ตลอดจนสื่อสอดคล้องกจิ กรรมและผู้เรียน 4. กจิ กรรมการจัดการเรียนร้มู ีกระบวนการชัดเจน และเน้นผูเ้ รยี นเปน็ สำคัญ 5. สง่ เสริมให้ผเู้ รียนเกดิ การเรยี นรู้ และมคี ุณสมบตั ติ า่ ง ๆ ตามทห่ี ลกั สูตรต้องการ 6. สามารถนำไปสอนจรงิ ได้ ข้อควรคำนึงในการเขยี นแผนการจัดการเรยี นรู้ที่ดี 1. ควรให้ผู้เรยี นมีสว่ นร่วมในการวางแผน 2. แผนการจดั การเรียนรู้ทดี่ ีควรมีลักษณะบรู ณาการเชือ่ มโยง สอดคล้องกบั ชีวิตจรงิ 3. แผนการสอนทด่ี ี ยดื หยนุ่ ได้ 4. ควรมีการบันทึกผลหลงั ใชแ้ ผนการการจัดการเรยี นรู้ เพอ่ื เป็นขอ้ มูลในการปรบั ปรงุ พัฒนา 5. การเขยี นแผนการจดั การเรยี นรูใ้ นแตล่ ะครงั้ ตอ้ งสามารถตอบคำถามได้วา่ สอนอะไร......(เน้อื หา,สาระ) เพื่ออะไร.......(จดุ ประสงค)์ สอนอยา่ งไร......(กิจกรรมสอนกระบวนการเรียนรู้สื่อ,แหลง่ เรยี นรู้) ทราบผลการสอนด้วยวิธีได.้ ......(การวดั และประเมินผล) ผลทเี่ กิดกับผู้เรียนเป็นอยา่ งไร.........(รอ่ งรอย หลกั ฐาน พฤตกิ รรม)

69 ตวั อย่าง แบบประเมินแผนการจดั การเรยี นรู้ ช่ือผู้จัดทำแผนการเรยี นรู้.........................................กลุ่มสาระการเรียนร้.ู .................................... โรงเรียน...................................................ช่วงชน้ั ที่....................ระดับชนั้ ..................................... ตอนที่ 1 โปรดทำเครอื่ งหมาย ✓ ลงในช่องทตี่ รงกบั ระดบั การปฏิบตั ิ คำช้แี จง ระดบั คุณภาพการปฏิบัติและการแปลความหมาย ระดับคณุ ภาพการปฏิบัติ 4 หมายถงึ การปฏบิ ตั ิอยู่ในระดบั ดีมาก ระดับคุณภาพการปฏบิ ตั ิ 3 หมายถงึ การปฏิบัติอยู่ในระดับดี ระดบั คณุ ภาพการปฏบิ ัติ 2 หมายถงึ การปฏบิ ตั ิอยใู่ นระดบั พอใช้ ระดบั คุณภาพการปฏบิ ัติ 1 หมายถึง การปฏบิ ัตอิ ยู่ในระดับควรปรับปรงุ ระดับคุณภาพการปฏบิ ัติ 0 หมายถงึ ไมป่ รากฏการปฏิบตั ิ ระดบั คณุ ภาพ ที่ รายการ การปฏบิ ัติ 432 10 1 มีการวเิ คราะหห์ ลกั สูตร 2 มกี ารจัดทำกำหนดการสอนของเนือ้ หาสาระตามกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ 3 มีองคป์ ระกอบของแผนครบถ้วน 4 จุดประสงคก์ ารเรยี นรสู้ อดคล้องกับผลการเรยี นรู้ทคี่ าดหวัง 5 ผลการเรยี นรทู้ ่คี าดหวงั สอดคล้องกบั มาตรฐานการเรยี นรูช้ ว่ งชน้ั 6 ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังครอบคลมุ ท้ังดา้ นความรู้ ทกั ษะ กระบวนการ คณุ ธรรม จรยิ ธรรมและค่านยิ มท่ีพงึ ประสงค์ 7 จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรคู้ รอบคลุมทงั้ ดา้ นความรู้ ทักษะ กระบวนการ คุณธรรม จรยิ ธรรมและค่านยิ มที่พงึ ประสงค์ 8 เน้ือหาสาระการเรียนรสู้ อดคลอ้ งกบั จดุ ประสงค์การเรียนรู้ และผลการเรยี นรู้ ทคี่ าดหวัง 9 กิจกรรมการเรียนรู้สอดคลอ้ งกบั จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ 10 ระยะเวลาในการจัดกิจกรรมการเรียนรเู้ หมาะสม 11 กิจกรรมการเรยี นรสู้ ่งเสรมิ ให้ผเู้ รยี นไดค้ ิดคน้ พบและสรา้ งองคค์ วามรู้ด้วยตนเอง 12 กจิ กรรมการเรียนรู้ส่งเสรมิ ให้ผเู้ รยี นเรยี นร้อู ย่างมขี นั้ ตอน หรือเปน็ กระบวนการ

70 ระดบั คณุ ภาพ ท่ี รายการ การปฏบิ ตั ิ 432 10 13 กิจกรรมการเรยี นรสู้ ง่ เสรมิ ใหผ้ เู้ รียนลงมอื ปฏิบัติจรงิ และสรุปความร้ดู ้วยตนเอง 14 กจิ กรรมการเรยี นร้สู ่งเสรมิ ให้ผเู้ รียนไดท้ ำงาน โดยเน้นกระบวนการกลมุ่ 15 กิจกรรมการเรียนรู้สามารถนำไปประยกุ ต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้ 16 กจิ กรรมการเรยี นรสู้ อดแทรกคุณธรรม จรยิ ธรรม และค่านยิ มทพ่ี ึงระสงค์ 17 สอ่ื การเรียนรสู้ อดคล้องกับจดุ ประสงค์ และเนือ้ หาสาระการเรียนรู้ 18 สื่อการเรียนรสู้ อดแทรกคุณธรรม จริยธรรม และค่านยิ มทีพ่ งึ ประสงค์ 19 สื่อการเรียนรู้ช่วยใหผ้ ูเ้ รยี นสรุปความคิดรวบยอดได้ง่ายและรวดเร็ว 20 สื่อการเรียนรูใ้ ชภ้ มู ิปัญญาทอ้ งถนิ่ หรือแหลง่ เรียนรใู้ นชุมชน 21 สื่อการเรยี นรู้มีหลากหลาย 22 การวดั และประเมนิ ผลสอดคลอ้ งกบั จุดประสงค์การเรียนรู้ 23 การวัดและประเมนิ ผลตามสภาพจรงิ ด้วยวิธกี ารทห่ี ลากหลาย 24 การวดั และประเมินผลครอบคลุมท้ังด้านความรู้ (K) ทกั ษะกระบวนการ (P) คุณธรรม จรยิ ธรรม และค่านิยมทพี่ ึงประสงค์ (A) 25 ผู้เรียนได้มีโอกาสไดป้ ระเมนิ ตนเอง 26 ผเู้ รียนได้มีโอกาสรว่ มประเมนิ เพอ่ื น 27 ผู้ปกครองไดม้ ีโอกาสรว่ มประเมนิ ผูเ้ รียน 28 มกี ารบนั ทกึ หลงั สอนอยา่ งสม่ำเสมอ ตอนที่ 2 ขอ้ เสนอแนะและข้อสงั เกตอืน่ ๆ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงช่อื .............................ผ้ปู ระเมิน ตำแหนง่ ................................................

71 กจิ กรรม 1. ลักษณะของแผนการจัดการเรยี นรู้ที่ดี ควรมลี ักษณะอย่างไร ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 2. ขอใหท้ ่านเขียนระบบการจดั การเรยี นรู้เนอ้ื หาทางวทิ ยาการคำนวณ จำนวน 1 เรอ่ื ง โดยใชเ้ วลา 1 ชัว่ โมง ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ตัวอย่างคลปิ การสอนวทิ ยาการคำนวณ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………… …………………………………………………………… ……………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

72 การเรยี นรใู้ นศตวรรษท่ี 21 การเรียนรู้เพื่อการดำรงชีวิตในศตวรรษที่ 21 (21st century skills) การจัดการเรียนการสอน นั้นยึดหลักว่าผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ และถือว่าผู้เรยี นมีความสำคญั ที่สุดต้องได้รบั ส่งเสริมให้ผู้เรยี นสามารถพฒั นาตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ มีความรู้และทักษะ ด้านวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี และการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างสมดุล ยั่งยืน จัดเนื้อหาสาระและกิจกรรมให้สอดคล้องกับความสนใจ และความถนัดของผู้เรียนโดยคำนึงถึง ความแตกต่างระหว่างบุคคล ฝึกทักษะกระบวนการคิด การเผชิญสถานการณ์และการประยุกต์ความรู้ มาใช้เพื่อป้องกันและแก้ปัญหา จัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากประสบการณ์จริงฝึกการปฏิบัติ ให้ทำได้ คิดเป็น ทำเป็น มีการพัฒนากระบวนการเรียนการสอนที่มีประสิทธิภาพและดำเนินการวิจัย เพื่อพัฒนาการเรียนรู้ท่ีเหมาะสมกับผู้เรียนแต่ละระดับการศึกษา ใช้เทคโนโลยีเพื่อการศึกษาของผ้เู รียน เพื่อให้มีความรู้และทักษะเพียงพอที่จะใช้เทคโนโลยีเพื่อการศึกษาในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง อย่างตอ่ เน่อื งตลอดชีวติ ภาพ กรอบแนวคดิ เพือ่ การเรียนรใู้ นศตวรรษที่ 21 (21st Century Learning Framework) (http://www.qlf.or.th/) กรอบความคิดเพื่อการเรียนรูในศตวรรษที่ 21 มีเป้าหมายไปท่ีผู้เรียน เกิดคุณลักษณะในศตวรรษที่ 21 โดยผู้เรียนจะใชความรูในสาระหลกั ไปบรู ณาการส่งั สมประสบการณกับทักษะ 3 ทักษะเพื่อการดำรงชวี ิตในศตวรรษที่ 21 คือ ทกั ษะด้านการเรยี นรูและนวัตกรรม ทักษะสารสนเทศ สือ่ และเทคโนโลยี และทักษะชวี ติ และอาชีพ ซึ่งการจัดการศึกษา จะใชระบบสงเสริมการเรียนรูในศตวรรษที่ 21 หาระบบ คือ ระบบมาตรฐานการเรียนรู ระบบการประเมินผลทักษะ การ เรยี นรู ระบบหลกั สตู รและวิธกี ารสอน ระบบการพฒั นางานอาชีพ และระบบแหล่งเรียนรูและบรรยากาศการเรียนรู

73 การจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 เป็นการจัดการเรียนรู้บูรณาการควรเปิดโอกาสให้ผู้เรียน ได้เรียนรู้เกี่ยวกับประเด็นปัญหาในโลกที่เป็นจริง และสามารถเชื่อมโยงกับชีวิตประจำวันได้ เน้นทักษะ การคดิ การแกป้ ญั หา การใชเ้ ทคโนโลยีและมลั ตมิ ีเดีย สำหรับการวดั และประเมินผลจะเนน้ การประเมินผล ตามสภาพจริง และผู้เรียนมีส่วนร่วมในการประเมินตนเอง (self-assessment) การเรียนการสอน วิทยาศาสตร์ ในศตวรรษที่ 21 นีม้ ุ่งพฒั นาทั้งความรู้และทกั ษะท่จี ำเปน็ ต่อการดำรงชีวิตได้แก่ 1. ทักษะด้านการเรียนรู้และนวัตกรรม (Learning and Innovation Skills) การเรียนรู้ผ่าน การสืบคน้ ข้อมูลขา่ วสารท่ีมีอย่างมหาศาล สามารถวเิ คราะห์สงั เคราะห์และตัดสินใจ นำข้อมูลที่มีอยู่มาใช้ ใหเ้ กิดประโยชน์ต่อการพัฒนานวตั กรรม ความคดิ สรา้ งสรรคจ์ ึงเปน็ สิ่งท่ีครตู อ้ งสอดแทรกและส่งเสริมเขา้ ไปในกิจกรรมการเรียนการสอน เพื่อกระตุ้นให้ผู้เรียนได้รู้จักวิธีการแสวงหาความรู้และการนำความรู้ ไปประยุกตส์ รา้ งสรรคอ์ อกมาเปน็ นวัตกรรม (ณัฐพงษ์ เจริญทพิ ย์, 2542) 2. ทักษะด้านการสื่อสารสารสนเทศและเทคโนโลยี (Information, Media and Technology Skills) ผู้เรียนควรไดร้ ับการพัฒนาทักษะด้านสารสนเทศ มีการเรยี นรู้ที่ผู้เรียนไดส้ ัมผัส คุ้นเคยข้อมูล และสามารถประยุกตใ์ ชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศได้ (ชนาธิป พรกลุ , 2554) 3. ทักษะชีวิตและอาชีพ (Life and Career Skills) การเห็นคุณค่าของชีวิตตนเองและผู้อ่ืน เป็นเรื่องสำคัญที่ทำให้ผู้เรียนดำรงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างปกติสุข (ระพี สาคริก , 2552) และมีความ รบั ผดิ ชอบต่อหน้าท่ีตนเองและรูจ้ ักรับผิดชอบตอ่ สังคม รกั โลก รักส่ิงแวดล้อม (ประสาท เนืองเฉลมิ , 2558) สรุปได้ว่า การจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 เป็นการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ให้ผู้เรียนเกิดความรู้และสร้างองค์ความรู้ใหม่สามารถประดิษฐ์คิดค้นให ม่โดยการใช้กระบวนการ ทางปัญญากระบวนการทางสังคมและให้ผู้เรียนได้มีส่วนร่วมในการเรียน และสามารถนำเทคโนโลยี มาประยกุ ต์ใชใ้ ห้เกดิ ประโยชน์ และมีทกั ษะทีจ่ ำเปน็ ต่อการดำรงชวี ติ การจัดการเรียนการสอนในศตวรรษท่ี 21

74 กจิ กรรม 1. ทกั ษะท่จี ำเปน็ ในศตวรรษที่ 21 มอี ะไรบ้าง ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 2. ทา่ นมีแนวทางการออกแบบการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21 อย่าไงรบ้าง ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………… ? : การสร้างการเรยี นรู้สศู่ ตวรรษที่21

75 บทบาทของครแู ละผเู้ รยี นในศตวรรษที่ 21 บทบาทของครู ครมู ีบทบาทในการส่งเสรมิ ให้ผ้เู รยี นพัฒนาเต็มตามศกั ยภาพ ดงั น้ี 1. ศึกษาวิเคราะห์ทำความเข้าใจหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ให้กระจ่างชัดเจน เพื่อนำไปใช้ในการพิจารณาประกอบการออกแบบการจัดการเรียนรู้ สื่อการสอน แก่ผเู้ รียน 2. จัดทำหน่วยการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้ โดยเน้น ความรู้ (Knowledge : K) ทักษะ กระบวนการ (Process : P) ที่สอดคล้องตามมาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด สมรรถนะสำคัญ ของผู้เรียน รวมท้งั เจตคติ (Attitude : A) คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ ค่านยิ ม คณุ ธรรมจรยิ ธรรม 3. ศึกษาวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล พร้อมนำข้อมูลไปใช้ในการออกแบบการเรียนรู้ และ จัดการเรียนรู้ที่มุ่งตอบสนองความต้องการของผู้เรียน ตามความแตกต่างของผู้เรียนและพัฒนาการ ทางสมอง เพือ่ พฒั นาศักยภาพของผู้เรยี นใหบ้ รรลุตามวัตถปุ ระสงค์ 4. จัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ด้วยวิธีการที่หลากหลายเพื่อให้บรรลุเป้าหมาย ของหลักสตู ร เชน่ การสอนแบบ Active learning 5. จัดบรรยากาศและสภาพแวดล้อมทงั้ ภายในและภายนอกห้องเรยี นใหเ้ อ้อื ตอ่ การเรียนรู้ 6. จดั เตรยี มและใชส้ ่ือการเรียนรู้ต่าง ๆ ตลอดจนภมู ิปัญญาทอ้ งถ่นิ เทคโนโลยีและแหล่งเรียนรู้ ในชุมชนไดอ้ ยา่ ง เหมาะสมกับการเรียนรู้ของผู้เรียน 7. ประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียนด้วยวิธีการต่างๆ อย่างหลากหลาย ทั้งนี้มุ่งเน้น การประเมินผลตามสภาพจริง เปน็ สำคญั นอกจากน้เี นน้ การมสี ่วนร่วมของผู้เรยี น และผปู้ กครอง 8. นำผลการประเมินผู้เรียนใช้เพื่อสอนซ่อมเสริมและพัฒนาผู้เรียน ตลอดจนปรับปรุง การจดั กจิ กรรมการเรยี นร้ขู องตนเองอยา่ งเป็นระบบ 9. ใช้กระบวนการวิจัยในชั้นเรียนเพื่อพัฒนากระบวนการจัดการเรียนรู้อย่างเป็นระบบ และต่อเนื่อง สรุปได้ว่า การจัดกิจกรรมการสอนวิทยาศาสตร์ให้สอดคล้องกับศตวรรษที่ 21 ครูควร ปรับเปลี่ยนวิธีการสอนแบบเดิม ๆ เช่น การให้ครูเป็นศูนย์กลาง เปลี่ยนเป็นผู้ช่วยเหลือ เป็นต้น ให้ออกแบบการเรียนรู้จัดประสบการณ์ให้มีความเหมาะสมเป็นผู้คอยกระตุ้นการคิด เร้าความสนใจ ในการเรียน ครูเป็นผสู้ ร้างแรงบันดาลใจ แห่งการค้นควา้ หาความรู้

76 บทบาทของผเู้ รยี น ประสาท เนืองเฉลิม (2558) กล่าวถึงบทบาทของผู้เรียนไว้ว่าการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ ในศตวรรษที่ 21 ต้องเน้นผู้เรยี นเป็นสำคัญเพราะความรู้เกดิ ได้จากกระบวนการเรียนรู้ทีเ่ หมาะสม ไม่ว่า จะเป็นกระบวนการการศึกษาการมีสว่ นร่วมในการเรยี นรู้ การจดั ประสบการณท์ ห่ี ลากหลายดังนี้ 1. ผู้เรียนเป็นผูท้ ต่ี ้ังคำถามเกยี่ วกบั สถานการณ์ ปญั หาท่ีได้รบั การกระต้นุ จากบทเรียน 2. ผู้เรียนเป็นผู้ที่วางแผนการเรียนรู้ซึ่งอาจเป็นทั้งการวางแผนร่วมกับครูหรือกลุ่มผู้เรียน ด้วย จะช่วยกระตนุ้ กระบวนการคิด และกระบวนการทำงานกลุ่ม การเรยี นรู้การทำความเขา้ ใจ 3. ผู้เรียนเป็นผู้ที่ร่วมการเรียนรู้ผ่านการสืบเสาะหาความรู้การลงมือกระทำและการแก้ปัญหา รว่ มกัน 4. ผู้เรียนเป็นผู้สรปุ ความร้แู ละแลกเปลยี่ นเรยี นรใู้ นส่งิ ทด่ี ี และลงมอื กระทำ 5. ผู้เรยี นเป็นผทู้ ่สี ะท้อนผิดท่ีมบี ทเรยี นและท่มี ตี อ่ การจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ 6. ผู้เรียนเป็นผูท้ ่มี ีส่วนรว่ มในการกำหนดทิศทางการเรยี นรู้และพัฒนาสังคมโดยอาศัยการศึกษา แบบประชาธปิ ไตยเม่อื ผู้เรยี นเขา้ ใจบทบาทตนเองตามวถิ ีทางการเรยี นรูว้ ิทยาศาสตรใ์ นศตวรรษที่ 21 ก็จะเปน็ องค์ประกอบหนงึ่ ทท่ี ำใหบ้ รรลเุ ป้าหมายและปรัชญาของวทิ ยาศาสตร์ศกึ ษา 7. ผเู้ รยี นเป็นผู้คดิ ตง้ั คำถามวางแผนลงมอื กระทำสรปุ และสะท้อนผลการเรียนรู้ สรุปได้ว่าผู้เรียนควรมีบทบาทเป็นผู้ร่วมกำหนดเป้าหมายการเรียนรู้และร่วมแสดงความเห็น อย่างมเี หตผุ ล หมนั่ ฝึกฝนพัฒนาทักษะในการแสวงความรู้ การพฒั นาทกั ษะในศตวรรษท่ี 21 ทักษะดา้ น ต่าง ๆ เชน่ ทักษะการใช้เทคโนโลยี การคดิ แก้ปัญหา การคิดสร้างสรรคจ์ ากแหล่งการเรยี นรูท้ ี่หลากหลาย เพื่อสร้างความรู้ความเขา้ ใจในการเรียนการรู้ด้วยตนเอง การเข้าถึงแหล่งข้อมูลและการจัดกระทำข้อมลู รวมทงั้ การมีมนษุ ยสัมพันธ์ ปฏิสมั พนั ธก์ บั เพอื่ นๆ สร้างผลงานจากการเรยี นร้ตู ามความถนัดของตนเอง นำเสนอและสะสะทอ้ นผลงานในรูปแบบตา่ ง ๆ ใหก้ ำลงั ใจและชื่นชมตนเองอยเู่ สมอ

77 กจิ กรรม 1. ในศตวรรษท่ี 21 ครคู วรมบี ทบาทอย่างไรบา้ ง ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ครใู นศตวรรษท่ี 21 ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… https://www.youtube.com/watch?v=diSbkzhaNUo 2. ในศตวรรษที่ 21 นักเรียนควรมีบทบาทอย่างไรบ้าง ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………น…กั เ…รยี…น…ใน…ศ…ต…ว…รร…ษ…ท…่ี 2…1……………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… https://www.youtube.com/watch?v=3V5bMrFE-40

78 การจัดการเรยี นรแู้ บบเชงิ รกุ (Active Learning) Active Learning เป็นการจดั การเรียนการรู้ท่ีส่งเสริมใหผู้เรยี น ประยุกต์ใช้ทักษะและเชื่อมโยง องค์ความรู้นำไปปฏิบัติเพื่อแก้ไขปัญหา โดยการนำเอา วิธีการสอน และเทคนิคการสอนที่หลากหลาย มาใช้ออกแบบแผนการสอนและ กิจกรรมกระตุ้นให้ผู้เรียนมีสวนร่วมในชั้นเรียน ส่งเสริมปฏิสัมพันธ์ ระหว่าง ผ้เู รียนกับเพอ่ื นในช้นั เรียน และผู้เรียนกับผู้สอน ความสามารถในการสือ่ สาร การทำงานเป็นทีม ซึ่งสอดคล้องกับการ เปลี่ยนแปลงในยุคปัจจุบัน ดังภาพ พีระมิดการเรียนรู้ถ้าผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติ จะทำใหผ้ ูเ้ รยี นมีความรู้คงทน จนเกิดเปน็ การเรยี นรู้อย่างมี ความหมาย (นรินทร์ วงค์คาํ จนั ทร์, 2558) และหน่วยการเรียนรู้ Active Learning เป็นหน่วยการเรียนรู้ท่ี ออกแบบกิจกรรมโดยผู้เรียนเป็น ศูนย์กลาง ในการพัฒนาศักยภาพทาง สมอง จิตใจ และทักษะกระบวนการ การมีส่วนร่วมปฏิสัมพันธ์ มากกว่าการ แข่งขัน ปลูกฝังความรับผิดชอบร่วมกัน การมีวินัยในการทำงานในการคิดการแก้ปัญหา และการนำความรู้ ไปประยุกต์ใช้ในชวี ติ อยา่ งแทจ้ รงิ กอ่ นเข้าเน้อื หาและกจิ กรรมการเรยี นรู้ช่วงแรก ควรใช้ กิจกรรมประเภท การฟัง การดูสื่อทีวี วีดีโอ ดูการสาธิต หลังจากนั้นเป็นการเรียนรู้เป็นกลุ่ม 3-5 คน ลงมือทำด้วยตนเอง มี การสนทนาแลกเปลย่ี นอภปิ ราย ประเมนิ สรปุ ความรู้ และนำเสนอ ผ้เู รียนไดส้ ร้าง ความรู้ใหม่และจะ กลายเป็นความร้ทู คี่ งทนในที่สุด (ครรชิต มนูญผล, 2559) ภาพ พีระมดิ แหง่ การเรยี นรู้ (The Learning Pyramid) https://www.brandthink.me/content

79 ครรชิต มนุญผล, 2559 กล่าวถึงหลักสำคัญในการออกแบบการเรียนรู้ Active Learning มรี ายละเอยี ด ดงั น้ี หลกั ท่ี 1 การพัฒนาศักยภาพสมอง การพัฒนาศักยภาพสมองมนุษย์ทำให้มนุษย์มีพัฒนาการต่าง ๆ ทำหน้าที่อย่าง รวดเร็ว เช่น การจัดการเรียนรู้ Brain based Learning เป็นการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ให้ความสำคัญ กับ พัฒนาการของสมองผู้เรียนในแต่ละวยั โดยการฝึกสมองใหเ้ รยี นรูก้ ารแก้ปัญหาได้ถกู ต้องเหมาะสม เพอ่ื นำความรไู้ ปประยกุ ต์ใชใ้ นชีวิตจริงในอนาคตได้มรี ายละเอยี ดดังน้ี 1. ทุกส่วนของร่างกายมนุษย์มีผลต่อการเรียนรู้ของสมองทั้งสิ้น ไม่ว่าการเคลื่อนไหวร่างกาย การเดิน การนง่ั การกนิ การฟัง การรอ้ งเพลง เปน็ ตน้ 2. อารมณ์มีผลต่อการเรียนรู้ คำชื่นชม ความสนุกสนาน ความท้าทายเป็นที่พึงพอใจ ย่อมสง่ ผล ใหเ้ กดิ ปฏิกริ ยิ าตอบสนองในการอยากมีส่วนร่วมอยากรับรใู้ หค้ วามรว่ มมือ 3. อารมณม์ ผี ลต่อการพัฒนาการคิด ถา้ สิง่ ท่เี รียนร้นู ั้นสนุก ท้าทาย ตน่ื เต้น มีความสขุ ผูเ้ รียน จะพร้อมเรียนรแู้ ละจดจำข้อมูลเรือ่ งราวเหตกุ ารณ์ตา่ ง ๆ 4. สิ่งแวดล้อมสามารถเปลี่ยนแปลงสมองและพฤติกรรมของมนุษย์ได้ สีของห้องเรียน ความ สวยงาม ความสว่าง ความรอ้ นเยน็ รวมทั้งบุคลิกภาพของครูล้วนมผี ลต่อสมองทัง้ ส้นิ 5. สารอาหารสำคัญที่ช่วยพัฒนาสมอง เช่น ธาตุสังกะสีพบในอาหารประเภทปลา ข้าวซ้อมมอื โอเมก้า 3 พบในปลา และสาหร่ายทะเล สารไฟโตเอสโตรเจนในถัว่ เหลือง สารแอนโทไซยานนิ ในผลไม้ และ ธาตเุ หล็กพบในถ่ัวผักสีเขยี ว เนือ้ สัตว์ ไข่ ปลาและขา้ ว เป็นตน้ 6. การกระตนุ้ ความสนใจเปน็ ส่งิ สำคญั ทีส่ ดุ ผ้เู รยี นมีความสนใจตดิ ตามเรือ่ งราวส้ัน ยาว เป็นไป ตามวัย ครูต้องปรับเปลี่ยนวิธีการนำเสนอหรือวิธีสอน เพื่อดึงความสนใจผู้เรียนให้อยู่กับการเรียนรู้ ให้มากทส่ี ดุ 7. การฝึกผู้เรียนตั้งคำถาม ค้นหาคำตอบด้วยการสำรวจข้อมูลต่าง ๆ ฝึกแสดงความคิดเห็น แลกเปลี่ยนเรียนรู้กับผู้อื่น เรียงลำดับ เปรียบเทียบ จัดกลุ่ม สรุปปัญหาสาเหตุ นอกจากนี้ควรฝึก ให้ผู้เรียนได้สัมผสั ของจริง 8. สมองเรียนรู้ได้ดีด้วยการปฏิบัติจริงด้วยตนเอง Active Learning การได้ลงมือทำ การได้ เคลอื่ นไหวสัมผัส ชิมรส ดมกล่นิ สง่ ผลให้สมองเรียนรู้ได้ดกี ว่าการเรียนรู้แบบ Passive Learning เช่น การฟงั คำบรรยาย การอา่ น การนงั่ ดูทวี หี รือการดกู ารสาธิต 9. สมองเรียนรู้ได้ดีเมื่อมีสิ่งจูงใจ น่าสนใจ มีความมุ่งมั่นตั้งใจ มีแรงบันดาลใจ มีเป้าหมาย ที่ ชดั เจน มีเวลาพอเพยี งท่จี ะช่วยสามารถจดั กระทำขอ้ มลู ได้อย่างมีความหมาย

80 หลกั ท่ี 2 การสรา้ งความคงทนในการเรยี นรู้ กิจกรรมการเรยี นรู้ที่ส่งผลถึงความคงทนในการเรียนรู้ของสมอง มี ความแตกต่างกัน เช่น การ จัดการเรียนรู้แนวพระราชดำรัสของ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว การปลูกจิตสำนึก การระเบิดจาก ข้างใน ส่งผลให้ผู้เรียนเกิดพลังการเรียนรู้ มีความรู้ที่คงทนยั่งยืน สามารถจดจำเรื่องราวต่าง ๆ ได้เป็น ระยะเวลาที่ยาวนาน สามารถพัฒนามนุษย์ทั้ง ด้านสติปัญญา (Head) ด้านจิตใจ (Heart) ด้านทักษะ การปฏิบัติ (Hand) กลายเป็นทักษะชีวิต (Life Skills) ติดตัวในที่สุด ควรให้ผู้เรียนได้ทำกิจกรรม ดงั ตอ่ ไปนท้ี กุ ชั่วโมง เช่น ขยับกาย ขยายสมอง การ เคลอ่ื นไหวประกอบเพลงเข้าจังหวะ ฝกึ ระเบียบวินัย ฝกึ ทักษะการคดิ ทหี่ ลากหลาย รวบรวมจดั กลุม่ เปรยี บเทียบ เรยี งลำดบั สรุปผลลพั ธผ์ ลกระทบ ปัญหา สาเหตุจุดดีจุดด้อย ฝกึ ตั้งคำถาม ฝกึ อ่านเชิง วเิ คราะห์ ฝกึ เขยี นเชิงวเิ คราะห์ ฝึกนำเสนอเชิงวิเคราะห์และ กิจกรรมการเรียนรู้ที่ต้องทำทุกวัน เช่น กิจกรรมท้าทายความสนใจ กิจกรรมฝึกการฟังการสัมผัส การแลกเปลี่ยนความคิด ฝึกทำงานเป็นกลุ่ม การแก้ปัญหาจากสถานการณ์จริงในชีวิตประจำวันด้วย ตนเอง ทำกิจกรรมการทดลองปฏบิ ัตจิ ริง กิจกรรม จิตอาสา เปน็ ตน้ กจิ กรรมการเรียนรู้ท่ีผเู้ รียนตอ้ งปฏบิ ัติ (ครรชติ มนญู ผล, 2559)

81 หลักที่ 3 ธรรมชาตริ ายวิชาวิทยาศาสตร์ การจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) เป็นการจัดการเรียนรู้ที่มีกิจกรรม ให้ผู้เรียน ได้ลงมือปฏิบัติ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ทั้งในเชิงทักษะต่าง ๆ เช่น การทดลอง การสำรวจตรวจสอบ ผู้เรียน ต้องหาความหมายและทำความเข้าใจด้วยตนเองหรือร่วมกัน กับเพื่อน เช่น ร่วมสืบค้นหาคำตอบ ร่วมอภิปราย ร่วมนำเสนอ ประยุกต์ใช้หรือนำไปใช้และสรุปความคิด รวบยอด โดยครูจัดกิจกรรม การเรียนรู้ที่หลากหลาย เพื่อส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้เรียนเกิดความกระตือรือร้น สนใจเรียน เช่น การเรียนรู้แบบใช้โครงงานเป็นฐาน การจัดการเรียนรู้แบบทดลอง การจัดการเรียนรู้แบบ สะเต็มศึกษา การจัดการเรียนรู้ที่ส่งเสริมการคิดวิเคราะห์การจั ดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้เป็นต้น ได้มีนักวิชาการได้เสนอขั้นตอนการเรียนรู้แบบ Active Learning ดังนี้ นรินทร์ วงศ์คำจันทร์ (2558) ได้กลา่ วถงึ ขนั้ ตอนการสอนแบบ Active Learning ประกอบดว้ ย 6 ข้ันตอน ดังนี้ 1. ขั้นนำ หมายถึง ครูนำเขาสู่บทเรียนโดยการใช้สถานการณที่พบชีวิตประจำวัน เพื่อกระตุ้น ให้ กบั ผเู้ รียนสนใจ 2. ขั้นการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ หมายถึง การจัดกิจกรรมที่ทำให้ผู้เรียนร่วมกัน แชร์ ประสบการณ์ และเชื่อมโยงประสบการณ์หรือความรู้เดิมของตนเองกับประสบการณใหม่ที่พบ เพ่อื นำ สรุปและสร้างองค์ความรู้รว่ มกนั เช่น การใช้วิดโี อ สถานการณ์จำลอง ต้งั ประเด็นคำถาม เปน็ ต้น 3. ขั้นการสร้างองค์ความรู้ร่วมกัน หมายถึง การจัดกิจกรรมโดยการตั้งปัญหา หรือคำถาม ที่ทำให้ผู้เรยี นได้คิด เพื่อนำไปสู่การสร้างประสบการณ์ร่วมกัน โดยครูให้ทำกิจกรรมการทดลองสำรวจ ตรวจสอบรว่ มอภปิ รายและระดมความคดิ เป็นต้น 4. ข้ันการนำเสนอความรู้หมายถึง การรวบรวมแนวคดิ ทีไ่ ด้จากการอภิปรายกลุ่มนำมา เช่อื มโยง กับหลักการ ทฤษฎีทางวิทยาศาสตร์จนเป็นที่ยอมรับว่าเป็นข้อเท็จจริง เช่น ปัญหาที่เกิดจากการ เกิดปฏกิ ริ ยิ าเคมีมีผลกระทบตอ่ สงิ่ มชี วี ติ และส่งิ แวดล้อม 5. ขั้นการประยุกต์ใช้หรือลงมอื ปฏิบตั ิ หมายถึง กิจกรรมนำเสนอความรู้นั้นต่อผู้เรียนด้วยกัน ในชั้นเรียนต่อสาธารณะ โดยการทำโปสเตอร์ทำป้าย การเสนอภาพนิ่ง หรือผู้เรียนนำไปใช้ใน ชีวิตประจำวนั ได้ เช่น หลักการเลือกใช้สารเคมีท่ถี ูกต้อง และการป้องกนั อันตรายจากสารเคมี 6. ข้ันประเมินผล หมายถงึ เป็นข้ันทีผ่ ูส้ อนให้ผู้เรียนทำแบบฝึกหดั และประเมนิ ผลจากการสังเกต พฤตกิ รรม ใบกิจกรรม และบันทกึ การเรยี นรู้

82 Baldwin and Williams (1988, p. 187) ได้เสนอขั้นตอนการจัดการสอนแบบ Active Learning ดงั น้ี 1. ข้นั เตรยี มพร้อม เปน็ ขนั้ ทผี่ สู้ อนนำผูเ้ รียนเข้าสเู่ น้อื หา โดยการสร้างแรงจูงให้ผู้เรียนเกิดความ กระตือรือร้นในการอยากท่ีจะเรยี นรู้ต่อไป 2. ขั้นปฏิบัติงานกลุ่ม เป็นขั้นที่ผู้สอนให้ผู้เรียนเข้ากลุ่มย่อย เพื่อทำงานร่วมกัน และสรุป ความ คิดเห็นของกลุ่มอีกทั้งต้องแลกเปลี่ยนเรียนรู้กันระหว่างกลุ่มอื่น ๆ โดยที่ผู้สอนต้องเสริมข้อมูล ใหส้ มบูรณ์ 3. ขัน้ ประยุกต์ใชเ้ ปน็ ขั้นที่ให้ผเู้ รียนทำแบบฝึกหดั หรือทำแบบทดสอบหลงั เรียน 4. ขั้นติดตามผล เป็นข้นั ทใี่ หผู้เรยี นได้ค้นควา้ อสิ ระเพมิ่ เติม โดยจดั ทำเป็นรายงาน หรือให้ผู้เรียน เขียนบันทกึ ประจำวนั รวมถึงให้ผู้เรียนเขียนสรปุ ความรู้ทไ่ี ดร้ ับในคาบเรยี น น้นั ๆ ครรชติ มนญู ผล, 2559 ได้กล่าวถึงข้ันตอนการสอนแบบ Active Learning ดังนี้ 1. ขนั้ รับร้เู พอื่ กระตุ้นใหเ้ กดิ ความสนใจ อยากรู้จกั เร่ืองราวเหตกุ ารณร์ อบตัว - ตั้งคำถามกำหนดประเด็นให้แสดงความคิดเหน็ อยา่ งอิสระ - สรา้ งความสนใจกระตุน้ ใหค้ ดิ ร่วมกัน - รว่ มอภปิ รายตรวจสอบข้อและเตมิ เต็ม 2. ข้ันประยกุ ตใ์ ชเ้ พือ่ นำความรูแ้ ละกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ประยุกตใ์ ช้ - เลอื กหวั ข้อเรอ่ื งทีส่ นใจ - วางแผนศึกษาสำรวจทดลอง - ร่วมอภปิ รายสรุปองคค์ วามรู้ - รวมนำเสนอความรู้ใหม่ 3. ขัน้ เชอ่ื มโยง เพ่อื ฝึกตั้งคำถาม ฝกึ เป็นระบบฝกึ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ - แบง่ กลุ่มฝกึ คิดสำรวจตรวจสอบ คาดคะเน ฝกึ วางแผน คน้ ควา้ ทดลอง - อธบิ ายสิ่งที่ค้นพบแสดงหลกั ฐานและเหตุผล

83 สรุปได้ว่า การจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning เป็นการจัดการเรียนรู้ที่ผู้เรียนได้เป็น ผู้ลงมือปฏิบัติด้วยตนเอง และสร้างองค์ความรู้จากสิ่งที่ได้ลงมือปฏิบัติ เช่น การทดลอง การสำรวจ ตรวจสอบ การค้นหาคำตอบ การร่วมกันอภิปราย และนำเสนอเพื่อหาข้อสรุป และนำความรูท้ ่ีไดไ้ ปปรบั ใช้ในชีวิตประจำวัน โดยครูเป็นผู้ช่วยเหลือ สนับสนุน และคอยกระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดความสนใจ ประกอบด้วยขั้นตอนดังนี้ 1. ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน การสร้างความสนใจให้ผู้เรียนเกิดความอยากรู้ อยากเห็นและต้องการ หาคำตอบ การดภู าพ การดวู ิดีโอ ขา่ ว เหตกุ ารณ์ทเ่ี กย่ี วข้องกบั เนอื้ หา เปน็ ต้น 2. ขั้นปฏิบัติ การสร้างองค์ความรู้ร่วมกัน โดยผู้เรียนร่วมกันลงมือค้นคว้าหาคำตอบโดยการ สืบค้น การทดลอง การเชื่อมโยงความรู้เก่าและใหม่ แลว้ รว่ มกันอภปิ รายเพ่ือหาขอ้ สรุปแนวคิด หลักการ ของเนื้อหาในบทเรียน เพื่อผเู้ รียนจะได้นำความร้ไู ปใช้ในการแกป้ ญั หาในสถานการณใหม่ต่อไป 3. การนำเสนอ โดยตัวแทนกลุ่มนำเสนอผลงานที่สะท้อนความคิดเห็นจากการลงมือปฏิบตั ิจรงิ ในรปู แบบต่าง ๆ 4. ขั้นสรุป เป็นการสรุปผลร่วมกันระหว่างผู้เรียนและครูว่าเป็นไปตามวัตถุประสงค์ที่กำหนด หรอื ไม่ Active Learning l การจัดการเรยี นรู้แบบเนน้ ใหผ้ เู้ รยี นมีสว่ นร่วม https://www.youtube.com/watch?v=3V5bMrFE-40

84 กจิ กรรม 1. การจดั การเรียนรแู้ บบ Active Learning หรือการจดั การเรียนร้แู บบเชงิ รุกมลี กั ษณะอยา่ งไร พร้อมกบั ยกตัวอย่าง ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 2. การจัดการเรยี นรู้ใหผ้ ู้เรียนมีความคงทนในการเรียนรู้และจดจำได้นานขึ้นสามารถจดั ไดอ้ ยา่ งไร ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 2. การจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ทจ่ี ะสง่ ผลตอ่ ผเู้ รียนในการเรียนรู้มอี ะไรบา้ งจงยกตวั อย่าง ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………ต…วั อ…ย…า่ ง…ก…าร…จดั…ก…ิจ…กร…ร…มก…า…รเ…รยี …น…รู้แ…บบ……Ac…t…iv…e …Le…a…rn…in…g………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… https://www.youtube.com/watch?v=cOKXYkhggN0

85 การจดั การเรียนรู้แบบสบื เสาะหาความรหู้ รือวัฏจักรการเรยี นรู้ 5 E 1. ความหมายของ วัฏจักรการเรียนรู้ 5 E วัฏจักรการเรียนรู้ 5 E หรือการเรียนรู้โดยการสืบเสาะหาความรู้ 5 ขั้นตอน (5E’s of Inquiry Approach) เปน็ รูปแบบหนึ่งของการเรยี นรทู้ ีน่ ำมาใชไ้ ด้ผลในวิชาวทิ ยาศาสตร์ (สถาบันส่งเสริม การสอน วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี, 2546; สาโรช โศภรี ักข์, 2546; จันทร์ดา พทิ กั ษส์ าลี สุวิมล เข้ียว แก้ว และ สุรชัย มีชาญ, 2549) ทำให้ผู้เรียนมีทักษะในการคิดวิเคราะห์มีเจตคติที่ดีต่อการเรียน วิทยาศาสตร์คุน้ เคย กับกระบวนการหาความรูท้ างวิทยาศาสตร์ ดงั คำกล่าวท่วี า่ “การเรียนวิทยาศาสตร์ โดยไม่ใช้กระบวนการ สืบเสาะหาความรู้เหมือนกับการล่องเรือไปโดยไม่มีจุดหมาย” ซึ่งการสืบเสาะหา ความรู้เป็นรูปแบบการเรียน การสอนทีใ่ ช้ตามทฤษฎีการสร้างความร(ู้ Constructivism) ทำใหผ้ ู้เรยี นเกดิ ความเขา้ ใจและเกิดการรับรู้ ความร้นู ้ันอยา่ งมีความหมาย จึงจะสามารถสร้างเปน็ องค์ความรขู้ องผู้เรียนเอง และเก็บเป็นข้อมูลไว้ใน สมองได้อย่างยาวนาน (สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, 2550) การสืบเสาะหา ความรู้เป็นยุทธวิธีหนึ่งในการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการสำรวจธรรมชาติและ สิ่งต่าง ๆ ในโลก และนำไปสู่ การตั้งคำถามและทำการสืบค้นเพื่อให้ได้ความรู้ใหม่ โดยใช้กระบวนการ ที่หลากหลาย ได้แก่การตั้งคำถาม การออกแบบ การสำรวจข้อมูล การสำรวจข้อมูล การวิเคราะห์การ สรุปผล การคดิ ค้นประดษิ ฐ์ การแลกเปลยี่ นความคดิ เหน็ และสอ่ื สารคำอธบิ าย (Wu & Hsieh, 2006) สรุปได้ว่า การเรียนแบบวัฏจักรการเรียนรู้ 5 E หรือการเรียนรู้โดยการสืบเสาะหาความรู้ 5 ขั้นตอน (5E’s of Inquiry Approach) เป็นกระบวนการทีผ่ ู้เรียนใช้วิธีการค้นคว้าหาคำตอบอย่างมี ระบบเพือ่ อธบิ ายเหตกุ ารณต์ า่ ง ๆ ท่ีต้องการศึกษา

86 2. กระบวนการวัฏจกั รการเรียนรู้ 5 E กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ 5 ขั้นตอน เป็นรูปแบบ หนึ่งของการสืบเสาะหาความรู้โดยใช้กระบวนการการ สร้างความสนใจ (Engagement) การสำรวจและ ค้นหา (Exploration) การอธิบาย (Explanation) การขยายความรู้ (Elaboration) และการประเมินผล (Evaluation) ซึ่งทั้ง 5 ขั้นตอน เป็นกระบวนการ เรียนรทู้ ี่ครจู ะต้องส่งเสริมให้ผู้เรยี นรู้จกั คิด มีความคิด สร้างสรรค์ให้โอกาสผู้เรียนได้ใช้ความคิดของตนเองได้ มากที่สุด ทั้งนี้กิจกรรมที่จะให้ผู้เรียนสำรวจตรวจสอบจะต้องเชื่อมโยงกับความคิดเดิม และนำไปสู่การ แสวงหาความรู้ใหม่ และได้ใช้กระบวนการและทักษะต่าง ๆ ทางวิทยาศาสตร์และ การสืบเสาะหาความรู้ สถาบันส่งเสริมการสอน วิทยาศาสตร์ (สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี, 2551) ไดก้ ลา่ วถึงแต่ละขน้ั ตอนไว้ ดังน้ี 1. ขั้นสร้างความสนใจ (Engagement) เป็นการนำเข้าสู่บทเรียนหรือเรื่องที่สนใจ ซึ่งอาจเกิดขึ้นเองจากความสงสัย หรืออาจเริ่มจากความสนใจของตัวนักเรียนเองหรือเกิดจาก การอภปิ ราย ในกลุ่ม เร่อื งท่นี ่าสนใจอาจมาจากเหตุการณ์ท่กี ำลงั เกดิ ขึน้ อยู่ในชว่ งเวลานั้น หรือเป็นเรื่อง ที่เชื่อมโยงกับความรู้เดิมที่เพิ่งเรียนรู้มาแล้ว เป็นตัวกระตุ้นให้นักเรียนสร้างคำถามกำหนดประเด็น ที่จะศึกษา ในกรณีที่ยังไม่มีประเด็นใดน่าสนใจครูอาจให้ศึกษาจากสื่อต่าง ๆ หรือเป็นผู้กระตุ้น ด้วยการเสนอประเด็นขึ้นมาก่อนแต่ไม่ควรบังคับให้นักเรียนยอมรับประเด็นหรือคำถามที่ครูกำลังสนใจ เป็นเร่อื งทจี่ ะใช้ศึกษา เม่ือมคี ำถามทีน่ ่าสนใจและนกั เรียนสว่ นใหญ่ยอมรับให้เป็นประเด็นท่ีต้องการศึกษา จึงร่วมกนั กำหนดขอบเขตและแจกแจงรายละเอียดของเรื่องที่จะศกึ ษาใหม้ ีความชัดเจนยิง่ ขึ้น อาจ รวมทั้ง การรวบรวมความรู้ประสบการณ์เดิมหรือความรู้จากแหล่งต่าง ๆ ที่จะช่วยให้นำไปสู่ความเข้าใจเรื่อง หรอื ประเดน็ ท่ีจะศกึ ษามากข้นึ และมีแนวทางทใ่ี ช้ในการสำรวจตรวจสอบอย่างหลากหลาย 2. ขั้นสำรวจและค้นหา (Exploration) เมื่อทำความเขา้ ใจในประเด็นหรือคำถามท่สี นใจ จะศึกษาอย่างถ่องแท้แล้วก็มีการวางแผนกำหนดแนวทางการสำรวจตรวจสอบ ตั้งสมมติฐานกำหนด ทางเลือกที่เป็นไปได้ลงมือปฏิบัติเพื่อเก็บรวบรวมข้อมูลข้อสนเทศหรือปรากฏการณ์ต่าง ๆ วิธีการ ตรวจสอบอาจทำได้หลายวิธีเช่น ทำการทดลองทำกิจกรรมภาคสนาม การใช้คอมพิวเตอร์เพื่อช่วย สรา้ งสถานการณจ์ ำลอง (simulation) การศกึ ษาหาข้อมลู จากเอกสารอ้างอิงหรือจากแหลง่ ขอ้ มลู ต่าง ๆ เพื่อให้ได้ขอ้ มูลอย่างเพยี งพอท่ีจะใช้ในขั้นต่อไป

87 3. ขั้นอธิบายและลงข้อสรุป (Explanation) เมื่อได้ข้อมลู อย่างเพียงพอจากการสำรวจ ตรวจสอบแล้ว จึงนำขอ้ มูล ข้อสนเทศ ที่ได้มาวิเคราะหแ์ ปลผล สรุปผล และนำเสนอผลทีไ่ ด้ในรูป ต่าง ๆ เชน่ บรรยายสรปุ สร้างแบบจำลองทางคณติ ศาสตร์หรอื วาดรูป สร้างตาราง ฯลฯ การคน้ พบ ในขนั้ นอี้ าจ เปน็ ไปได้หลายทาง เช่น สนบั สนุนหรือโตแ้ ยง้ กบั สมมติฐานท่ตี ั้งไวห้ รือไม่เกีย่ วขอ้ งกับ ประเด็นท่ีได้กำหนด ไวแ้ ตผ่ ลทไ่ี ด้จะอยใู่ นรปู ใดกส็ ามารถสร้างความรแู้ ละช่วยให้เกิดการเรยี นรูไ้ ด้ 4. ขั้นขยายความรู้ (Elaboration) เป็นการนำความรู้ที่สร้างขึ้นไปเชื่อมโยงกับ ความรู้เดิม หรือแนวคิดท่ีได้คน้ ควา้ เพ่มิ เติม หรอื นำแบบจำลองหรือขอ้ สรุปที่ได้ไปใช้อธิบายสถานการณ์ หรือ เหตุการณ์อื่น ถ้าใช้อธิบายเรื่องต่างๆ ได้มากก็แสดงว่าข้อจำกัดน้อย ซึ่งก็จะช่วยให้เชื่อมโยง กบั เรือ่ งต่าง ๆ และทำใหเ้ กิดความร้กู ว้างขวางขน้ึ 5. ขั้นประเมิน (Evaluation) เป็นการประเมินการเรียนรู้ด้วยกระบวนการต่าง ๆ ว่านกั เรยี นมีความรอู้ ะไรบ้างอย่างไร และมากนอ้ ยเพยี งใด จากขนั้ น้จี ะนำไปสกู่ ารนำความรู้ไป ประยุกต์ใช้ ในเรื่องอื่น ๆ การนำความรู้หรือแบบจำลองไปใช้อธิบายหรือประยุกต์ใช้กับเหตุการณ์หรือเรื่องอื่น ๆ จะนำไปสู่ข้อโต้แย้งหรือข้อจำกัดซึ่งก่อให้เป็นประเด็นหรือคำถามหรือปัญหาที่จะต้องสำรวจตรวจสอบ ต่อไป ทำให้เกิดเป็นกระบวนการทีต่ ่อเนื่องกนั ไปเร่ือย ๆ จึงเรียกว่า inquiry cycle กระบวนการสบื เสาะ หาความรู้จึงช่วยใหน้ ักเรียนเกิดการเรียนรู้ทั้งเนอ้ื หาหลกั และหลักการ ทฤษฎี ตลอดจนการลงมือปฏิบัติ เพือ่ ให้ได้ความรู้ซึง่ จะเปน็ พน้ื ฐานในการเรียนรู้ตอ่ ไป สรปุ ไดว้ ่า กระบวนการสบื เสาะหาความรู้ 5 ขั้นตอน หรือวฏั จักรการเรียนรู้ 5 E มี ขั้นตอนดังน้ี 1. การสร้างความสนใจ (Engagement) เป็นการสรา้ งความสนใจ ความอยากรอู้ ยากเหน็ 2. การสำรวจและค้นหา (Exploration) เป็นการให้ผู้เรียนทำงานร่วมกันในการสำรวจ ตรวจสอบ รว่ มกันอภิปรายระหวา่ งผ้เู รยี นกับผเู้ รยี น 3. การอธบิ ายและลงขอ้ สรปุ (Explanation) เป็นการใหผ้ เู้ รียนอธบิ ายแนวคดิ แสดงหลักฐาน ให้เหตุผลและอธบิ าย 4. การขยายความรู้ (Elaboration) เป็นการให้ผู้เรียนนำสิง่ ที่ผู้เรยี นไดเ้ รียนรูไ้ ปประยุกต์ใช้ หรือขยายความรู้และทักษะในสถานการณ์ใหม่ อธิบายอย่างมีความหมาย อ้างอิงข้อมูล พร้อมทั้งแสดง หลกั ฐาน 5. การประเมินผล (Evaluation)เป็นการนำแนวคิดและทักษะใหม่ไปประยุกต์ใช้ประเมิน ความรู้ และทักษะผู้เรียนรูปแบบการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้ 5 ขั้น (สถาบัน ส่งเสริมการสอน วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี, 2546: 220)

88 ตวั อยา่ ง แผนการจัดการเรียนรเู้ รื่อง การทำงานแบบวนซ้ำและการทำงานแบบทางเลอื ก 1. มาตรฐานการเรยี นรู้ ว 4.2 เข้าใจและใช้แนวคิดเชิงคำนวณในการแก้ปญั หาที่พบในชีวิตจริงอย่างเปน็ ขั้นตอนและเปน็ ระบบใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการเรียนรู้ การทำงานและการแก้ปัญหาได้อย่างมี ประสิทธภิ าพร้เู ทา่ ทนั และมจี รยิ ธรรม 2. ตวั ชวี้ ดั ม.1/1 ออกแบบอัลกอรทิ มึ ท่ีใช้แนวคิดเชิงนามธรรมเพ่อื แก้ปัญหาหรอื อธิบายการทำงาน ทีพ่ บในชวี ติ จรงิ ม.1/2 ออกแบบและเขยี นโปรแกรมอย่างงา่ ยเพ่อื แกป้ ญั หาทางคณติ ศาสตรห์ รอื วิทยาศาสตร์ 3. สาระสำคญั การเขียนโปรแกรมการทำงานแบบวนซ้ำนั้นในภาษาไพทอน ช่วยให้การเขียนคำสั่งสั้นลง คำสั่ง จะใช้ for การทำงานแบบทางเลอื กใชเ้ ขยี นเพื่อใหค้ ำสัง่ ทำงานตามเง่ือนไขตามทเ่ี รากำหนด 4. จดุ ประสงคร์ ายวชิ า 1. นกั เรยี นมคี วามเข้าใจการใชค้ ำส่ังวนซ้ำ (K) 2. นักเรยี นสามารถเขยี นโปรแกรมดว้ ยคำสั่งการทำงานตามเงื่อนไขได้อยา่ งถกู ตอ้ ง (P) 3. นักเรยี นมจี ิตสาธารณะ (A) 5. สาระการเรยี นรู้ - การทำงานแบบวนซ้ำ - การทำงานแบบทางเลอื ก

89 6. กจิ กรรมการเรยี นรู้ โดยใชว้ ธิ สี อนแบบสบื เสาะหาความรู้ (Inquiry Method : 5E) ขน้ั สรา้ งความสนใจ (engagement : E1) - ครแู จ้งจุดประสงค์การเรยี นรู้ - นักเรยี นทำแบบทดสอบก่อนเรยี นออนไลนจ์ ากเวบ็ ไซต์ www.wuttichaiteacher.online - ครูแสดงตัวอย่างคำสั่งการเขียนโปรแกรมในรูปแบบของการทำซ้ำและแสดงตัวอย่างรูปแบบ คำสัง่ การเขยี นโปรแกรมแบบทางเลือก - นักเรียนเปรียบเทียบความแตกต่างกันระหว่างคำสั่งที่ใช้เขียนในรูปแบบของคำสั่งการทำงาน แบบทำซำ้ และแบบทางเลือก ขนั้ สำรวจและคน้ หา (exploration : E2) - นกั เรียนคน้ ควา้ เกย่ี วกบั การทำงานแบบวนซำ้ และแบบทางเลอื กจากอินเทอรเ์ นต็ - นักเรียนนำตัวอย่างที่ครูได้แสดงในเว็บไซต์ www.wuttichaiteacher.online มารันใน โปรแกรมท่ีใชเ้ ขยี นโปรแกรมภาษาไพทอนแบบออนไลน์ ขน้ั อธบิ ายความรู้ (elaboration : E3) - นักเรยี นนำโค้ดตัวอย่างท่ีครูได้แสดงในเวบ็ ไซต์ มาประยุกตเ์ ขียนคำสง่ั ทำซ้ำและทางเลือกให้เข้า กบั เร่ืองท่ีนักเรียนต้องการทจี่ ะเขียน - นักเรยี นรว่ มกนั แสดงความคดิ เห็นพรอ้ มทง้ั นกั เรียนแต่ละคนแสดงหลกั การจำคำสั่งท่ีใช้ในการ เขียนการทำงานแบบทำซำ้ และการทำงานแบบทางเลือก ขน้ั ขยายความรู้ (elaboration : E4) - ครูสุ่มตัวแทนนักเรียน ตอบคำถาม และสอบถามปัญหาที่พบจากการเรียนในเรื่องน้ี โดยครูและเพื่อนร่วมชั้นเรียนรว่ มกันหาแนวทางในการแก้ปัญหาร่วมกนั - นักเรยี นทำแบบทดสอบหลังเรียนออนไลน์จากเว็บไซต์ www.wuttichaiteacher.online ขนั้ ประเมนิ (evaluation : E5) - ประเมินนกั เรียนจากใบงาน เร่ือง การโปรแกรมการทำงานแบบทำซำ้ และการทำงานแบบทางเลือก - ประเมินนกั เรียนจากการสังเกต - ประเมนิ นกั เรยี นจากแบบทดสอบหลังเรียน 7. สอื่ และแหลง่ การเรยี นรู้ 1. หนังสอื เรยี น เทคโนโลยี (วทิ ยาการคำนวณ) ชั้น มัธยมศึกษาปีท่ี 1 สสวท. 2. เว็บไซต์ www.wuttichaiteacher.online 3. ใบงานเร่อื งการโปรแกรมการทำงานแบบทำซำ้ และการทำงานแบบทางเลือก

90 8. การวดั ผลประเมนิ ผล จดุ ประสงค์ ชนิ้ งาน/ภาระงาน วธิ กี ารประเมนิ เครอื่ งมอื ผู้ประเมนิ เกณฑป์ ระเมนิ การประเมนิ ครู ระดับ 4 ผ่านดมี าก 1. นักเรยี นมคี วามเขา้ ใจการ - ใบงานเรอ่ื งการโปรแกรม ตรวจใบงานเรือ่ ง แบบประเมินใบงาน ระดับ 3 ผา่ นดี ระดับ 2 พอใช้ ใช้คำสงั่ วนซ้ำ (K) การทำงานแบบทำซำ้ และ การโปรแกรม ระดบั 1 ปรับปรงุ การทำงานแบบทางเลอื ก การทำงานแบบทำซำ้ ครู ระดบั 4 ผ่านดมี าก ระดบั 3 ผา่ นดี - แบบทดสอบหลังเรียน และการทำงานแบบ ระดบั 2 พอใช้ ระดับ 1 ปรับปรุง ทางเลือก ครู ระดบั 2 ผ่าน 2. นกั เรยี นสามารถเขยี น การปฏบิ ตั ิงานกบั สงั เกตพฤตกิ รรม แบบสงั เกต ระดบั 1 ปรบั ปรุง โปรแกรมด้วยคำส่งั การ คอมพวิ เตอร์ ตาม และตรวจสอบ พฤตกิ รรม ทำงานตามเง่ือนไขไดอ้ ยา่ ง คำสง่ั /หัวขอ้ ทก่ี ำหนด ชิน้ งานการเขยี น และแบบประเมิน ถูกตอ้ ง (P) โปรแกรม ชิน้ งาน 3. นกั เรียนมีจติ สาธารณะ - สังเกตพฤตกิ รรม แบบสงั เกต (A) พฤตกิ รรม 9. กจิ กรรมเสนอแนะ/งานทมี่ อบหมาย 9.1 กจิ กรรมเสนอแนะ การทำงานแบบวนซ้ำและการทำงานแบบทางเลอื กมโี ครงสรา้ งในการเขียนตา่ งกนั 9.2 งานทมี่ อบหมาย ใบงานเรอ่ื งการโปรแกรมการทำงานแบบทำซ้ำและการทำงานแบบทางเลอื ก 10. เอกสารอา้ งองิ /บรรณานกุ รม www.wuttichaiteacher.online. วทิ ยาการคำนวณ [ระบบออนไลน]์ . สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี. เทคโนโลยี วิทยาการคำนวณ. พมิ พ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ : โรงพมิ พ์แห่งจุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั , 2561. - ท่มี า นายวฒุ ิชยั แมน้ รมั ย์ ครูโรงเรยี นธญั บรุ ี (https://www.wuttichaiteacher.online) –

91 กจิ กรรม 1. ให้ทา่ นออกแบบการจดั การเรยี นรแู้ บบสบื เสาะหาความรู้ (5E) จำนวน 1 แผนการสอน ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 2. ใหท้ า่ นออกแบบกจิ กรรมการเรียนรแู้ บบ Active Learning 1 กิจกรรม ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

92 การจดั การเรยี นรทู้ เ่ี น้นผเู้ รียนเป็นสำคัญ การจัดการเรียนรทู้ ่เี นน้ ผเู้ รียนเปน็ สำคัญ หมายถงึ การจดั กจิ กรรมการเรยี นรทู้ ีใ่ ห้ผู้เรยี นมีส่วน ร่วมทั้งทางร่างกาย สติปัญญา สังคมและอารมณ์ โดยให้ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติกิจกรรมจนเกิดการ เรียนรู้ด้วยตนเอง จากการคิด วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์ และแก้ปัญหาที่เหมาะสมกับความสามารถและ ความสนใจของผเู้ รียน โดยมีครูเป็นผูใ้ ห้คำแนะนำและช่วยเหลอื กระบวนการเรียนรู้ที่ผู้เรียนสำคัญที่สุด หมายถึง การกำหนดจุดหมาย สาระกิจกรรม แหล่งเรียนรู้ สื่อการเรียน และการวัดประเมินผลที่มุ่งพัฒนา “คน” และ “ชีวิต” ให้เกิดประสบการณ์ การเรยี นรูเ้ ตม็ ตามความสามารถสอดคล้องกับความถนดั ความสนใจ และความตอ้ งการของผู้เรยี น ผู้เรยี น >> ได้คดิ เอง ทำเอง ปฏบิ ัตเิ อง และสร้างความรู้ดว้ ยตนเอง ในเร่ืองที่สอดคล้อง กบั การดำรงชวี ติ จากแหล่งเรยี นรู้ทห่ี ลากหลาย >> มีส่วนร่วมในการกำหนดจุดมุ่งหมายกิจกรรมและวิธีการเรียนรู้ สามารถ เรยี นรรู้ ว่ มกับผอู้ ่นื อย่างมีความสุข >> มสี ว่ นรว่ มในการประเมินผลการพฒั นาการเรยี นรู้ ครู >> เป็นผู้วางแผนขั้นต้น ทั้งเนื้อหาและวิธีการแกผ่ ู้เรียน จัดบรรยากาศให้เอ้ือ ต่อการเรยี นรู้ และช่วยชแี้ นะแนวทางการแสวงหาความร้ทู ถ่ี ูกต้องใหแ้ กผ่ ู้เรียนเปน็ รายบคุ คล การจัดการเรยี นรูท้ ่เี น้นผเู้ รียนเป็นสำคญั https://www.youtube.com/watch?v=3Ez-6XKiyVM

93 หลกั การออกแบบการจัดการเรยี นรู้ท่เี น้นผเู้ รียนเปน็ สำคัญ 1. เป็นกิจกรรมที่ช่วยให้ผู้เรียนได้มีส่วนร่วมท้ังทางด้านร่างกาย สติปัญญาสังคมและอารมณ์ ท้ังน้ี เพอื่ ให้ผ้เู รียนมโี อกาสเข้ามารว่ มในกจิ กรรมการเรยี นรอู้ ยา่ งท่วั ถึง และมากทีส่ ุดกวา่ ทีจ่ ะทำได้ การท่ี ผู้เรยี นมบี ทบาทเปน็ ผู้กระทำจะชว่ ยให้ผู้เรียนเกดิ ความพรอ้ มและกระตอื รอื ร้น ทจี่ ะเรียนอย่างมีชีวิตชีวา กิจกรรมทจ่ี ัดจงึ ควรเป็นกิจกรรมทมี่ ลี กั ษณะดังนี้ 1.1 กิจกรรมการเรียนรู้ที่ดี ควรให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมทางด้านร่างกาย (physical participation) คือเป็นกิจกรรมที่ช่วยให้ผู้เรียนมีโอกาสเคลื่อนไหวร่างกายช่วยให้ประสาทการรับรู้ ของผู้เรียนตื่นตัว พร้อมที่จะรับข้อมูลและการเรียนรู้ต่าง ๆ ที่จะเกิดขึ้น การรับรู้เป็นปัจจัยสำคัญ ในการเรียนรู้ หากผูเ้ รียนไม่มีความพร้อมในการรบั รู้ แม้จะมีการให้ความรู้ที่ดี ๆ ผู้เรียนก็ไมส่ ามารถรับได้ ซึ่งจะเห็นได้จากเหตุการณ์ที่พบเสมอ ๆ คือ หากผู้เรียนต้องนั่งนาน ๆ ไม่ช้าผู้เรียนอาจหลับได้ หรือ คิดไปเรื่องอื่น ๆ ได้ การเคลื่อนไหวทางกายมีส่วนทำใหป้ ระสาทการรับรู้ตื่นตวั พร้อมที่จะรับและเรียนรู้ สิ่งต่าง ๆ ได้ดี ดังนั้น กิจกรรมที่จัดให้ผู้เรียน จึงควรเป็นกิจกรรมที่ช่วยให้ผู้เรียนได้เคลื่อนไหว ในลกั ษณะใดลกั ษณะหนง่ึ เป็นระยะ ๆ ตามความเหมาะสมกับวัยและระดับความสนใจของผู้เรยี น 1.2 กิจกรรมการเรียนรู้ที่ดีควรช่วยให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมทางสติปัญญา (intellectual participation) คือ เป็นกิจกรรมที่ช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเคลื่อนไหวทางสติปัญญา หรือพูดง่าย ๆ ว่าเป็นกิจกรรมที่ท้าทายความคิดของผู้เรียนสามารถกระตุ้นสมองของผู้เรียนให้เกิดการเคลื่อ นไหว ชว่ ยให้ผเู้ รยี นเกิดความจดจอ่ ในการคิด สนุกทจ่ี ะคดิ ซ่ึงกิจกรรมที่จะมีลกั ษณะดงั กล่าวได้ จะตอ้ งมีเร่ือง ให้ผู้เรียนคิด โดยเรื่องนั้นจะต้องไม่ยากและไม่ง่ายเกินไปสำหรับผู้เรียน เพราะถ้าง่ายเกินไปผู้เรียน ไม่จำเป็นต้องใชค้ วามคิด แตถ่ ้ายากเกินไปผเู้ รียนกจ็ ะเกิดความทอ้ ถอยทจ่ี ะคิด ดงั น้ันครูจึงตอ้ งหาประเดน็ การคิดที่เหมาะสมกับวัยและความสามารถของผู้เรียน เพื่อกระตุ้นให้ผู้เรียนใช้ความคิดหรือลงมือทำ สิง่ ใดส่ิงหนึ่ง 1.3 กิจกรรมการเรียนรทู้ ีด่ ี ควรช่วยใหผ้ เู้ รยี นมีสว่ นร่วมทางสงั คม (social participation) คือ เปน็ กจิ กรรมท่ชี ่วยให้ผู้เรียนมีปฏิสัมพนั ธท์ างสังคมกับบคุ คลอ่ืน หรือส่งิ แวดลอ้ มรอบตัว เนื่องจาก มนุษย์เป็นสัตว์สังคมที่อาศัยรวมกันเป็นหมู่คณะ มนุษย์โดยทั่วไปจะต้องเรียนรู้ท่ีจะปรับตัวเข้ากับผู้อน่ื และสภาพแวดล้อมต่าง ๆ การเปิดโอกาสให้ผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่น จะช่วยให้เกิดการเรียนรู้ ทางสังคมซึ่งจะสง่ ผลต่อการเรียนรู้ด้านอื่น ๆ ด้วย ดังนั้น กิจกรรมการเรยี นรู้ที่ดี จึงควรเป็นกิจกรรม ทส่ี ่งเสรมิ ให้ผูเ้ รียนได้เรียนรูจ้ ากส่งิ แวดล้อมรอบตวั ด้วย


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook