Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แบบฝึกหัดประกอบการเรียนรายวิชาฟิสิกส์ 1

แบบฝึกหัดประกอบการเรียนรายวิชาฟิสิกส์ 1

Published by vk.sci, 2020-04-24 02:21:14

Description: แบบฝึกหัดประกอบการเรียนรายวิชาฟิสิกส์ 1

Search

Read the Text Version

1 เอกสารประกอบการเรยี น ว30201 รายวชิ า ฟสิ ิกส์ 1

1

2 5 จดุ ตาย! ทที่ าใหเ้ รยี นฟิสกิ ส์ไม่เข้าใจ 1. พ้ืนฐานคณิตศาสตร์ไม่แข็งแรง เพราะ คณิตศาสตร์ คือ ภาษาของวิชาฟิสิกส์ ซ่ึงฟิสิกส์ ต้องใช้ คณติ ศาสตรใ์ นการส่ือสาร 2. มองโจทย์ฟิสิกส์เป็นคณติ ศาสตรม์ ากเกินไป คอื มองโจทย์ฟิสิกส์ให้เป็นภาพ เป็นเหตุการณ์ แล้วคอ่ ยมา วิเคราะหว์ ่าต้องใชส้ ตู ร สมการแบบไหน 3. จาแตส่ ูตรแต่ไม่เขา้ ใจทม่ี าของสูตร และเงอ่ื นไขในการใช้ 4. ทาโจทย์เรมิ่ ต้นทย่ี ากเกินไป/น้อยเกินไป 5. ดเู ฉลยโจทยแ์ ลว้ คดิ วา่ ตวั เองเขา้ ใจแล้ว

3 ทบทวนพืน้ ฐานคณติ ศาสตร์ เนื้อหาทตี่ อ้ งศกึ ษาในคณติ ศาสตร์พน้ื ฐาน 1. การบวก ลบ คณู และหาร เศษสว่ น 2. เลขยกกาลัง 3. การแยกตวั ประกอบพหนุ าม 4. พีทาโกรสั 5. ตรีโกณมิติเบ้อื งตน้ 6. การแก้สมการสองตวั แปร 7. พ้นื ทผี่ ิวและปรมิ าตร 8. สมการของกราฟเสน้ ตรง 9. มุมและเสน้ ขนาน 10. สามเหลี่ยมคลา้ ย 11. พน้ื ฐานฟงั กช์ ัน Log (เน้ือหานเี้ รียนตอน ม.ปลาย)

4 1. การบวก ลบ คณู และหาร เศษสว่ น การบวกและการลบ เศษสว่ น การบวกและการลบเศษส่วน จะต้องทาส่วนให้เท่ากันเสียก่อน จึงจะสามารถบวก หรือ ลบ กันได้ โดย ใช้ ค.ร.น. ในการหาค่าส่วนทเ่ี ทา่ กัน เชน่ ตัวอย่างที่ 1. 4 + 5 56 ค.ร.น. ของ 5 และ 6 คือ 30 เพราะฉะนั้นเราต้องทาให้ส่วนเป็น 30 โดยการคูณจานวนท่ีทา ให้ส่วนเป็น 30 ทั้งเศษและสว่ น 4 + 5 = 4 × 6 + 5 × 5 = 24 + 25 = 49 5 6 5 × 6 6 × 5 30 40 ตวั อยา่ งที่ 2. 4 1 64 ค.ร.น. ของ 6 และ 4 คือ 12 เพราะฉะนั้นเราต้องทาให้ส่วนเป็น 12 โดยการคูณจานวนท่ีทา ให้สว่ นเปน็ 12 ท้ังเศษและสว่ น 1=4×2 1×3 8 3= 5 4 4 6×2 = 6 4 × 3 12 12 การคณู เศษส่วน เอาเศษคณู เศษ ส่วนคณู ส่วน ได้เลย (ถา้ ตัดทอนได้ควรตัดกันกอ่ น) เชน่ 4×1= 4 =1 6 4 24 6 การหารเศษส่วน ทาไดโ้ ดย เปล่ยี น หาร เป็น คูณ แลว้ กลับเศษเปน็ ส่วน 4÷1=1×4= 4 =1 6 4 4 6 24 6

5 2. เลขยกกาลงั เม่อื a, b เป็นจานวนจรงิ บวก และ m, n เปน็ จานวนจริง 1. a0 = 1 (เเม่ื a ≠0) และa1 = 1 2. am × an = am+n (ฐานเหมือนกัน คูณกนั เอาเลขช้ีกาลงั มาบวกกนั ) 3. am = am n เมอ่ื a ≠0 (ฐานเหมอื นกนั หารกนั เอาเลขชีก้ าลงั มาลบกนั ) an 4. (am )n = amn 5. (ab)m = am bm 6. ( a )m = am b bm 1 7. a-m = am เมอื่ a≠ 0 1 8. am = m a เมอื่ m a มคี วามหมายทางคณิตศาสตร์ 9. m =n am =n am เมอื่ mเป็นเศษส่วนอยา่ งต่า n an ตัวอย่าง 1. 3x × 32 = 33 + 2 2. 2x+2 = 2x × 22 3. 3x = 3x 2 32 4. 2x × 5x = (2 × 5)x = 10x 5. (23 )x = 23x 6. (2)x = 2x 3 3x 7. 2 3 = 1 = 1 23 8 1 8. 83 = 3 8 = 2 3 9. 325 = 5 323 = (5 32 3 ) = 23 = 8

6 3. การแยกตวั ประกอบพหุนาม สูตรทค่ี วรรู้ 1. ab + ac = a(b+c) 2. a2 – b2 = (a +b) (a – b) 3. (a + b)2 = a2 + 2ab + b2 4. (a – b)2 = a2 – 2ab + b2 ตัวอย่าง 1. x2 – 49 = x2 – 72 = (x – 7) (x + 7) 2. (x – 7)2 = x2 – 2(X)(7) + 72 = x2 – 14x + 49 3. (x – 2)2 – 1 = (x – 2)2 – 12 = (x – 2 – 1) (x – 2 + 1) = (x – 3) (x – 1) = (x2 – 4x + 3) การแยกตัวประกอบเปน็ 2 วงเล็บ สาหรบั พหนุ ามกาลัง 2 รูปท่ัวไปของสมการพหุนามกาลังสอง คือ ax2 + bx + c เม่ือ a, b, c เป็นค่าคงตัวและ a ≠ 0 จะเรียก ax2 ว่า พจนห์ น้า เรียก bx วา่ พจน์กลาง และเรียก c ว่า พจน์หลัง ซึ่งสามารถทาไดด้ งั นี้ ให้เติมตัวเลขใน  แล้วเม่ือคูณกันได้ออกมาเหมือนที่โจทย์กาหนด โดยเม่ือเติมแล้วให้เช็คโดยใช้ “หน้า คณู หนา้ ” “หลงั คูณ หลงั ” “ใกล้ คูณ ใกล้ บวก ไกล คูณ ไกล” เมือ่ “หนา้ คณู หนา้ ” ก็คอื พจน์หนา้ “หลัง คูณ หลงั ” กค็ ือ พจน์หลัง “ใกล้ คูณ ใกล้ บวก ไกล คูณ ไกล” กค็ อื พจน์กลาง (ตดิ เครอ่ื งหมายบวก ลบ ดว้ ย)

7 ตัวอยา่ ง = (x + 3) (x + 1) 1. x2 + 4x + 3 = (x – 1) (x – 5) 2. x2 – 6x + 5 = (x + 6) (x – 1) 3. x2 + 5x – 6 = (2x – 3) (x + 1) 4. 2x2 – x – 3 = (2x – 5) (2x – 3) 5. 4x2 – 16x + 15 = (4x – 3) (x + 1) 6. 4x2 + x – 3 = (5x – 3) (x + 1) 7. 5x2 + 2x – 3 การแก้สมการกาลังสองโดยใช้สตู ร ถ้าเกิดเราต้องการหาคาตอบของสมการกาลังสอง แต่ไม่สามารถแยกเป็น 2 วงเล็บ เราสามารถหาได้ จากสูตร ax2 + bx + c เมอ่ื a, b, c เป็นคา่ คงตวั และ a ≠ 0 b ± b2 4ac x= 2a 4.พที าโกรัส ให้ a และ b แทนความยาวของด้านประกอบมมุ ฉาก c แทน ความยาวของด้านตรงขา้ มมมุ ฉาก จะได้ว่า c2 = a2 + b2 5. ตรีโกณมิติเบือ้ งต้น sinθ = ขา้ ม = a ฉาก c cosθ = ชดิ = b ฉาก c tanθ = ขา้ ม = a ชดิ b

8 ตารางแสดงค่ามมุ θ 0๐ 30๐ 37๐ 45๐ 53๐ 60๐ 90๐ 1 3 14 3 sinθ 0 2 5 25 2 1 cosθ 2 34 13 1 0 25 25 2 13 4 tanθ 1 34 1 3 3 undefined 6. การแก้สมการสองตัวแปร โดยวธิ ที างพชี คณิต 1. ใชก้ ารแทนท่ี หาคา่ x ในรปู ของ y หรือ หาค่า y ในรปู ของ x (แลว้ แตว่ า่ วธิ ใี ดจะสะดวกกว่ากัน) 2. การกาจัดตัวแปรโดยใชว้ ิธีการบวก หรอื ลบ สมการ ขัน้ ตอนการหาคาตอบของระบบสมการ มดี ังน้ี 1. ทาสัมประสิทธิ์หน้าตัวแปรใดตัวแปรหนึ่งให้เท่ากัน โดยใช้หลักการของ ค.ร.น. (ถ้าสมการสามารถ หารตัวรว่ มไดใ้ ห้เปน็ อย่างต่าได้ ควรหารก่อน) 2. นาสมการท้ังสองมาลบ หรือ บวก กัน เพ่อื กาจัดตัวแปรร่วมตัวใดตวั หนง่ึ ทิ้งไป ทาให้ไดส้ มการใหม่ท่ี เหลือตวั แปรเพยี งตวั เดียว 3. แก้สมการใหม่เพื่อหาค่าตัวแปรนั้น ๆ แล้วแทนค่าตัวแปรที่ได้ในสมการตั้งต้นสมการใดสมการหนึ่ง (ทม่ี รี ูปแบบง่าย ๆ เลขไม่เยอะ) เพอื่ หาค่าตัวแปรอกี ตัวหนึ่ง ตัวอยา่ ง 1. จงแกส้ มการ x + y = 16 (1) y–x = 2 (2) จาก (2) จดั รูปจะได้ y = 2 + x แทน y ใน (1) จะได้ x + (2 + x) = 16 2x + 2 = 16 2x = 14 x =7 หาคา่ y ในสมการ (1) จะได้ 7 + y = 16 y =9

9 ตวั อยา่ ง 2. จงแกส้ มการ 3x + 3y = 15 (1) 2x + 6y = 22 (2) จะเห็นว่าสมการ (1) สามารถหาร 3 ท้ังสมการได้ และสมการ 2 สามารถหาร 2 ท้งั สมการได้ จะได้ x + y = 15 (3) x + 3y = 11 (4) กาจัด x โดยใชส้ มการ (4) – (3) จะได้ 2y = 6 y =3 หาคา่ x ในสมการ (3) จะได้ x + 3y = 11 x + 3(3) = 11 x =2 ตวั อยา่ ง 3. จงแก้สมการ 2x + 3y = 12 (1) 3x – 2y = 5 (2) เลือกทา x หรือ y ให้มีเลขข้างหน้าเหมือนกัน โดยการหา ค.ร.น. ในข้อนี้เลือกใช้ x ค.ร.น. ของ 2 และ 3 คือ 6 เพราะฉะนนั้ ตอ้ งใหข้ ้างหนา้ x ท้ัง 2 สมการ เปน็ 6 ทาได้โดย (1) x 3 ; 6x + 9y = 36 (3) (2) x 2 ; 6x – 4y = 10 (4) (3) – (4) จะได้ 13y = 26 y =2 หาค่า x ในสมการ (1) จะได้ 2x + 3(2) = 12 2x = 6 x =3

10 7. พนื้ ทีผ่ วิ และปรมิ าตร = 1 × ฐาน×สูง 2 รปู 2 มติ ิ : 1. พ้นื ทส่ี ามเหลี่ยมทว่ั ไป = 3 ×ด้าน2 4 2. พน้ื ทส่ี ามเหลีย่ มด้านเท่า 3. พื้นทส่ี ี่เหลย่ี มจตั รุ ัส = ด้าน × ด้าน 4. พื้นที่สี่เหล่ียมผนื ผ้า 5. พื้นทส่ี เี่ หล่ียมคางหมู = กวา้ ง × ยาว 6. พื้นท่วี งกลม = 1 ×ผลบวกด้านค่ขู นาน×สูง 2 = πr2 รปู 3 มติ ิ 1. ปรมิ าตรของลูกบาศก์ = ดา้ น3 พน้ื ท่ฐี าน x สูง 2. ปริมาตรของปริซมึ ฐานใด ๆ = πr2 h 2πrh 3. พน้ื ท่ขี องทรงกระบอก = 2πrh + 2πr2 4. พืน้ ที่ผิวข้างทรงกระบอก = 1 πr2 h 3 5. พื้นที่ผวิ ทงั้ หมดของทรงกระบอก = πr l เม่อื l คอื สูงเอียงของกรวย 6. ปรมิ าตรของกรวย = πrl + πr2 4 πr3 7. พ้ืนทผี่ ิวข้างกรวย = 3 8. พื้นทผ่ี วิ ทงั้ หมดของกรวย = 4πr2 9. ปริมาตรทรงกลม = 10. พืน้ ทีผ่ วิ ของทรงกลม =

11 8. สมการของกราฟเสน้ ตรง ในรายวิชาฟิสกิ ส์ กราฟทีส่ าคญั และเจอบ่อยท่สี ุด ก็คือ กราฟเสน้ ตรง สมการของกราฟเสน้ ตรง y = mx + c โดยที่ m คอื ความชันของกราฟ c คือ จดุ ตัดแกน y (ถ้าตดั แกนที่ (0,0) c จะเทา่ กับ 0) ความชนั (Sloop) = Δ y Δx ชนิดของความชันทค่ี วรรจู้ กั

12 9. มมุ และเส้นขนาน ชนิดของมมุ 1. มุมแหลม คอื มมุ ท่ีมีขนาดมากกว่า 0 องศา แตน่ ้อยกว่า 90 องศา 2. มมุ ฉาก คือ มุมทมี่ ขี นาดเทา่ กับ 90 องศา 3. มุมป้าน คือ มุมท่ีมีขนาดมากกวา่ 90 องศา แตน่ อ้ ยกว่า 180 องศา 4. มมุ ตรง คอื มมุ ทม่ี ีขนดเทา่ กับ 180 องศา มมุ ภายใน 1. มุมภายในสามเหลี่ยม = 180 องศา 2. มุมภายในสเ่ี หล่ยี ม = 360 องศา *** มุมภายในรูปเหลย่ี มใด ๆ คอื 180(n – 2) โดยที่ n คือ จานวนเหลีย่ ม มุมตรงขา้ ม คือ มุมท่ีเกิดจากการตัดกันของเส้นตรง หรือ ส่วนของเส้นตรง หรือ รังสี 2 เส้น ขนานกัน โดยมุมตรง ขา้ มจะมีขนาดเท่ากัน จากรูป 1ˆ ตรงขา้ มกับ 4ˆ เพราะฉะนัน้ 1ˆ = 4ˆ 2ˆ ตรงขา้ มกับ 3ˆ เพราฉะน้นั 2ˆ = 3ˆ เส้นขนาน 1. ถา้ เส้นตรงสองเสน้ ขนานกัน และมีเส้นตดั มาตัดเส้นตรงท้ังสองแล้ว ขนาดของมุมภายในท่อี ยู่บนข้าง เดยี วกนั ของเส้นตรงตัด รวมกนั เป็น 180 องศา จากรปู AB ขนานกับ CD และมเี ส้นตดั PQ จะได้ 1ˆ + 2ˆ = 180๐ และ 3ˆ + 4ˆ = 180๐

13 2. ถา้ เสน้ ตรงสองเส้นขนานกนั และมีเสน้ ตดั แล้ว มมุ แย้งจะมขี นาดเท่ากัน จากรูป AB ขนานกับ CD และมี PQ เป็นเส้นตัดทาให้เกิด มมุ แย้ง จะได้ว่ามมุ แย้งมีขนาดเทา่ กนั aˆ = bˆ และ cˆ = dˆ 3. ถ้าเส้นตัดสองเส้นขนานกนั และมีเสน้ ตัดแล้ว มมุ ภายนอกและมุมภายในทีอ่ ยู่ขา้ งบนเดยี วกนั ของเส้น ตดั จะมขี นาดเท่ากัน เราเรียก aˆ และ bˆ ว่ามุมภายนอก cˆ และ dˆ วา่ มมุ ภายใน เพราะฉะนน้ั จะได้ aˆ = cˆ และ bˆ = dˆ 10. สามเหล่ียมคลา้ ย บทนยิ าม รูปหลายเหล่ียมสองรูปคลา้ ยกนั กต็ ่อเมอื่ รูปหลายเหล่ียมสองรปู นั้นมี 1. ขนาดของมมุ เทา่ กันเป็นคู่ ๆ ทุกคู่ 2. อตั ราส่วนของความยาวของด้านคทู่ สี่ มนยั กันทกุ คูเ่ ป็นอัตราส่วนท่ีเท่ากนั ตัวอยา่ ง AOB และรูปสามเหลยี่ ม DOF เป็นรูปสามเหล่ยี มที่คล้ายกนั ถ้าแยกรปู ออกมาจะไดเ้ ปน็ สามเหลี่ยมคล้ายจะได้อัตราส่วนของความยาวของด้านคู่ท่ีสมนัยกัน (คือ ด้านท่ีเหมือนกัน) ทุกคู่ เป็น อัตราส่วนทีเ่ ท่ากนั AO = BO = AB FO DO FD

14 ตวั อยา่ ง จากรูป จงหา DO จาก BO = AB DO FD จะได้ 3 = 4 DO 8 ∴ DO = 6cm 11. พนื้ ฐานฟังก์ชัน Log (เน้อื หาน้เี รียนตอน ม.ปลาย) การอ่านค่า log logam อ่านว่า log m ฐาน a สมบตั ิพน้ื ฐานของฟังก์ชันลอการทิ ึม เมอ่ื กาหนดให้ a > 0 และ a ≠ 1 1. loga1 = 0 2. logaa = 1 3. logamn = logam + logan 4. loga m = logam logan n 5. logaXn = n logaX 6. alogam = m (ในวิชาฟิสิกส์ a ที่จะเจอ จะเป็น a = 10 เกือบท้ังหมด ซึ่ง log ฐาน 10 จะไม่นิยมเขียนฐาน เช่น log 10 กค็ อื log 10 ฐาน 10) ตัวอย่าง 1. log 1 = 0 2. log 10 = 1 3. log 10 = log (5x2) = log 5 + log 2 4. log 102 = 2 log 10 = 2

15 บทที่ 1 ธรรมชาตแิ ละพฒั นาการทางฟิสกิ ส์ ผลการเรียนรู้ 1. สืบค้นและอธิบายการค้นหาความรู้ทางฟิสิกส์ประวัติความเป็นมารวมทั้งพัฒนาการของหลักการและ แนวคิดทางฟิสกิ ส์ท่มี ผี ลต่อการแสวงหาความรใู้ หม่และการพฒั นาเทคโนโลยี 2. วัดและรายงานผลการวัดปริมาณทางฟิสิกส์ได้ถูกต้องเหมาะสมโดยนาความคลาดเคลื่อนในการวัดมา พิจารณาในการนาเสนอผลรวมทั้งแสดงผลการทดลองในรูปของกราฟวิเคราะห์และแปลความหมายจากกราฟ เสน้ ตรง

กจิ กรรมที่ 1 กล่องปรศิ นา 16 รายชอ่ื สมาชกิ ในกลุ่ม 1. .......................................................................... เลขที่ ......... ทาหนา้ ท่ี ................................................. 2. .......................................................................... เลขท่ี ......... ทาหนา้ ท่ี ................................................. 3. .......................................................................... เลขท่ี ......... ทาหนา้ ท่ี ................................................. 4. .......................................................................... เลขท่ี ......... ทาหน้าท่ี ................................................. 5. .......................................................................... เลขท่ี ......... ทาหน้าท่ี ................................................. 6. .......................................................................... เลขที่ ......... ทาหน้าที่ ................................................. จุดประสงค์ เปรียบเทยี บการทากิจกรรมกล่องปริศนากบั การไดม้ าซึง่ ความรู้ ทฤษฎี หลักการหรือกฎทางวิทยาศาสตร์ วัสดอุ ปุ กรณ์ 1. กลอ่ งโลหะทปี่ ดิ ผนกึ ไมส่ ามารถเปิดออกได้ ภายในบรรจุวัตถุทแ่ี ตกตา่ งกนั กล่องละ 1 ช้นิ วิธีดาเนนิ กิจกรรม 1. นักเรียนแตล่ ะกลุม่ รับกลอ่ งปริศนา กลมุ่ ละ 1 กลอ่ ง 2. นักเรียนแต่ละกลุ่มอภิปรายร่วมกัน เพ่ือหาวิธีที่จะบอกว่าวัตถุท่ีอยู่ในกล่องปริศนาคืออะไร โดยไม่เปิด กลอ่ งโลหะ 3. นักเรยี นบันทกึ ผลจากสงั เกต วธิ ีทใี่ ช้ และการสรปุ ของกลุม่ ว่าวตั ถทุ ่อี ยู่ในกลอ่ งปรศิ นา คอื อะไร 4. นกั เรยี นเปล่ียนกล่องปริศนากลอ่ งใหม่ แล้วทากจิ กรรมข้อ 2 และ ขอ้ 3 ซา้ จนครบทกุ กล่อง 5. นักเรยี นรว่ มกันอภิปรายวา่ แตล่ ะกลมุ่ มีวธิ ีการที่ใชใ้ นการสังเกต ผลของการสังเกต และข้อสรปุ เก่ียวกับ วัตถทุ อี่ ยูใ่ นกล่องแตล่ ะกลอ่ ง เหมือนหรือแตกตา่ งกนั อย่างไร 6. นักเรียนร่วมกันอภิปรายว่า จะมีวิธีใดในการบอกว่าวัตถุท่ีอยู่ในกล่องปริศนา คืออะไร โดยไม่ต้องเปิด กล่องโลหะ

17 7. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายและสรุปผลการทากิจกรรมโดยเปรียบเทียบการทากิจกรรมกล่อง ปรศิ นากับการได้มาซึ่งความรู้ ทฤษฎี หลักการ หรอื กฎทางวิทยาศาสตร์ ตารางบนั ทกึ ผลการทากิจกรรม วัตถทุ ่ีอยู่ในกล่อง ความถกู ตอ้ ง กลอ่ งที่ วิธีการที่ใช้ 1 2 3 4 5 6 7 8 สรปุ ผลการทากจิ กรรม .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. อภปิ รายหลังการทากจิ กรรม .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................. .................................

18 ความหมายของวิชาฟิสิกส์ วิชาวทิ ยาศาสตร์ คอื วชิ าซ่ึงเนน้ ศกึ ษาเก่ียวกบั สงิ่ ต่างๆ ปรากฏการณต์ ่างๆ ในธรรมชาติ วชิ าวทิ ยาศาสตร์ อาจแบ่งได้เป็น 2 สาขาหลกั ไดแ้ ก่ 1. วิทยาศาสตร์ชวี ภาพ เปน็ การศึกษาเฉพาะสว่ นทเ่ี ก่ยี วกับส่ิงมีชีวิต 2. วิทยาศาสตร์กายภาพ เป็นการศึกษาเกี่ยวกับสิ่งไม่มีชีวิต แบ่งออกเป็นอีกหลายแขนง เชน่ ฟสิ กิ ส์ เคมี ธรณีวทิ ยา ดาราศาสตร์ เป็นต้น วิชาฟิสิกส์ เป็นวิชาวิทยาศาสตร์กายภาพแขนงหนึ่ง ซ่ึงเน้นศึกษาเกี่ยวกับปรากฏการณ์ ธรรมชาติ เช่น ศึกษาเกีย่ วกบั คล่นื แสง เสยี ง ไฟฟา้ แม่เหลก็ การเคลอ่ื นที่ มวล แรง พลงั งาน โมเมนตัม เปน็ ต้น 1.1. เขยี นแผนผังมโนทัศน์เก่ยี วกบั วชิ าวทิ ยาศาสตร์

19 1.2 มนุษยพ์ ัฒนาความรู้ของตนเองด้วยวธิ ีการใด เพอื่ ให้สามารถอธิบายปรากฏการณธ์ รรมชาตไิ ด้ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 1.3 จงยกตัวอย่างสิง่ ประดิษฐ์ทางฟิสิกส์ โดยจาแนกตามการใช้งานในแตล่ ะหวั ขอ้ ตอ่ ไปน้ี 1.3.1 การส่ือสาร ไดแ้ ก่ ...................................................................................................... ........................... 1.3.2 พลังงาน ไดแ้ ก่ ...................................................................................................................................... 1.3.3 การคมนาคมขนส่ง ไดแ้ ก่ ..................................................................................................................... 1.3.4 การแพทย์ ได้แก่ ....................................................................................................... ........................... การวัดและความละเอยี ดในการวดั ในการวัดปริมาณแต่ละคร้งั ตอ้ งเลือกใชเ้ ครือ่ งมอื ซ่งึ มคี วามละเอียดให้เหมาะสมกับสงิ่ ทจ่ี ะวดั ไมบ้ รรทดั ความละเอยี ดสเกล = 1 mm ความละเอยี ดการอา่ น = 0.1 mm (เหมาะกบั การวดั ความกวา้ งของหนงั สอื เปน็ ต้น) เวอร์เนยี ความละเอียดการอา่ น = 0.1 mm (เหมอื นไม้บรรทัด แต่เวอร์เนียจะแม่นยากว่าไม้บรรทดั ) Verniercaliper ไมโครมิเตอร์ ความละเอยี ดการอา่ น = 0.01 mm (เหมาะกบั การวัดความหนาของไสด้ ินสอ เป็นตน้ ) micrometer

20 พจิ ารณาตัวอย่างต่อไปน้ี ความละเอียดของสเกล = 1 cm ความละเอียดในการวัด = 0.1 cm ความละเอียดของสเกล = 0.5 cm ความละเอียดในการวดั = 0.1 cm ความละเอยี ดของสเกล = 0.1 cm ความละเอียดในการวัด = 0.1 cm 2.1 เครื่องมือวัด ดงั รปู มคี วามละเอยี ดของช่องสเกล และความละเอียดของการวดั เปน็ เทา่ ใด ในหน่วย cm 2.1.1 มคี วามละเอียดชอ่ งสเกลเปน็ ...................... และมคี วามละเอยี ดในการวดั เป็น ................ 2.1.2 มีความละเอียดชอ่ งสเกลเป็น ...................... และมีความละเอียดในการวดั เปน็ ................ 2.2 จากรปู ความยาวของแทง่ ดินสอมีคา่ เทา่ กบั กี่เซนตเิ มตร 2.2.1 แทง่ ดินสอมคี วามยาว ................. 2.2.2 แทง่ ดินสอมีความยาว .................

21 2.3. จากรูป แสดงการวัดความหนาของวตั ถุโดยใช้เวอรเ์ นียร์ คา่ ทว่ี ัดได้ควรมคี า่ เท่าใด 2.3.1 คา่ ทว่ี ัดได้ ...................................... 2.3.2 นักเรียนทาการทดลองวัดเส้นผ่านศูนย์กลางของ 2.3.3 ห ล อ ด ท ด ล อ ง โ ด ย ใ ช้ เ ว อ ร์ เ นี ย ร์ ดั ง รู ป ผลการวดั อ่านคา่ ได้เท่ากบั .................................. จาก รูป เ ป็น กา รแ สด งผ ลก าร วัด โ ด ยใ ช้ ไมโครมิเตอร์ ค่าท่ีอา่ นได้เท่ากับ ......................... 2.3.4 ในการวัดความหนาของไม้แผ่นหนึ่งโดยใช้ ไมโครมิเตอร์ แบบสกรูได้ผลดังรูป แสดงว่าไม้ แผ่นน้มี คี วามหนาเปน็ เทา่ ใด .............................. 2.4 ถ้านักเรียนต้องการวัดความหนาของแผ่นอะลูมิเนียมฟอยล์ จะใช้เคร่ืองมืออะไรในการวัดจึงจะได้ค่าที่ ละเอยี ดพอ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 2.5 จงบอกวา่ เครื่องมอื วดั ตา่ ง ๆ ทีใ่ ห้ผลการวดั ดังน้ี มชี อ่ งสเกลท่มี คี วามละเอยี ดเท่าใด ก. 15.000 m มชี ่องสเกลความละเอียดเท่ากับ ......................... ข. 0.250 g มชี ่องสเกลความละเอยี ดเท่ากับ ......................... ค. 3.45 N มชี ่องสเกลความละเอียดเท่ากับ ......................... ง. 0.100439 มชี อ่ งสเกลความละเอยี ดเทา่ กับ .........................

กจิ กรรมท่ี 2 รจู้ ักการวดั 22 จดุ ประสงค์ เซนตเิ มตร นิ้ว สามารถการวดั และมีความละเอียดในการวัด วัสดุอปุ กรณ์ 1. ไมบ้ รรทดั วธิ กี ารทดลอง 1. วดั ความยาวของภาพต่อไปนี้ในหนว่ ยเซนติเมตร และหน่วยนว้ิ ภาพ ……………………………… ……………………………… ……………………………… ……………………………… ……………………………… ……………………………… ……………………………… ……………………………… ……………………………… ……………………………… ……………………………… ……………………………… ……………………………… ……………………………… ……………………………… ……………………………… ……………………………… ……………………………… ……………………………… ………………………………

23 เลขนยั สาคัญ เลขนยั สาคญั เลขนยั สาคัญ คือ เลขที่ได้จากการอ่านคา่ ในการวัด หรือเลขท่ีแน่นอน (เลขท่ีอยบู่ นสเกล) และ เลขทไ่ี ม่แนน่ อน (เลขท่ไี ดจ้ ากการคาดเดา 1 ตวั ) หลักในการนับจานวนตวั ของเลขนยั สาคญั 1) เลข 0 ท่ีอยหู่ นา้ จานวนทัง้ หมด ไม่ถอื เปน็ เลขนยั สาคญั เชน่ 0.00046 มีเลขนัยสาคัญ 2 ตัว คอื 4 และ 6 เทา่ น้ัน 2) เลข 0 ที่อยู่กลางจานวน ถือเป็นเลขนัยสาคญั เชน่ 7.003 มีเลขนยั สาคญั 4 ตวั คอื 7 , 0 , 0 และ 3 3) กรณที ีเ่ ขยี นจานวนในรปู ทศนยิ ม 0 ทีอยูข่ า้ งหลัง ถือเปน็ เลขนยั สาคญั เช่น 8.000 มีเลขนัยสาคัญ 4 ตวั คือ 8 , 0 , 0 และ 0 4) ถ้าเขียนจานวนในรูปจานวนเตม็ ธรรมดาไมม่ ที ศนิยม เลข 0 ทอ่ี ยู่หลงั จานวนไม่ ถือเปน็ เลขนยั สาคญั เชน่ 1500 มเี ลขนยั สาคัญ 2 ตวั คอื เลข 1 กบั 5 เท่านั้น 5) ถ้าเขียนจานวนในรูป a x 10n ใหน้ บั จานวนเลขนัยสาคญั ของ a เทา่ น้นั เปน็ คาตอบ เชน่ 5.23 x 1089 มเี ลขนยั สาคญั 3 ตวั คอื 5 , 2 และ 3 เทา่ นั้น การบวก และลบ เลขนัยสาคัญ วธิ กี าร “ ให้ บวก ลบ ตามปกติ แตผ่ ลลัพธ์ทไ่ี ด้ต้องมีจานวนทศนยิ ม เทา่ กบั จานวนทศนยิ มของ ตัวตัง้ ทม่ี จี านวนทศนิยมนอ้ ยท่ีสุด ” ตวั อย่าง 4 . 1 8 7 ← ทศนิยม 3 ตาแหนง่ + 3 . 4 ← ทศนยิ ม 1 ตาแหน่ง – 2 . 3 2 ← ทศนยิ ม 2 ตาแหน่ง 5.267 ขอ้ น้ีต้องตอบ 5.3 เพ่ือให้มีทศนิยม 1 ตาแหน่ง เท่ากับจานวนทศนิยมของ 3.4ในโจทย์ซึ่งมจี านวน ตัวทศนยิ มน้อยที่สุด

การคูณ และ หาร เลขนยั สาคญั 24 วิธีการ “ ให้ คณู หรือ หาร ตามปกติ แต่ผลลัพธท์ ี่ไดต้ อ้ งมจี านวนตวั เลขนยั สาคญั เทา่ กบั จานวน เลขนยั สาคญั ของตัวต้ังทมี่ จี านวนเลขนัยสาคญั นอ้ ยทสี่ ุด ” ตัวอยา่ ง 3 . 2 4 ← เลขนัยสาคัญ 3 ตัว X 2 . 0 ← เลขนัยสาคัญ 2 ตวั 6.480 ข้อนต้ี ้องตอบ 6.5 เพื่อให้มีเลขนัยสาคัญ 2 ตัว เทา่ กับจานวนเลขนยั สาคัญของ 2.0 ซงึ่ เปน็ ตวั ตงั้ ที่ มจี านวนเลขนยั สาคญั น้อยท่ีสุด 3.1 จงหาจานวนเลขนัยสาคัญที่กาหนดให้ต่อไปนี้ ขอ้ ตัวเลขทก่ี าหนด เลขนัยสาคัญท้ังหมด ข้อ ตวั เลขทก่ี าหนด เลขนยั สาคัญท้ังหมด 1. 28 16. 3.00 x 108 2. 456.7 17. 4.500 x 108 3. 205 18. 801 + 7 + 0.78 4. 30.02 19. 7.235 + 7.86 + 3.0 5. 3.0 20. 926 + 2.51 – 4.2 6. 150.02 21. 469.7 – 346.37 7. 0.024 22. 14.25 x 82.4 8. 435 23. 62.5 x 0.0073 9. 72.306 24. 4.35 ÷ 0.145 10. 0.52 25. 4.35 ÷ 0.145 11. 0.00006 26. 0.021 ÷ 0.003 12. 50000 27. (144.0 – 12.0) ÷ 4 13. 100001 28. (7.32)2 14. 0.2500 29. 123.4 x 2.0 15. 2 x 105 30. 1.2 + 62.543 3.2 จงแปลงจานวนต่อไปน้ีใหม้ ีเลขนยั สาคัญ 3 ตวั ข. 645.45 สามารถเขยี นได้เปน็ ................ ก. 17.93 สามารถเขยี นไดเ้ ป็น ................. ง. 0.20007 สามารถเขียนไดเ้ ป็น ................ ค. 4.8603 สามารถเขยี นไดเ้ ปน็ ................. ฉ. 2.011 สามารถเขียนได้เปน็ ................ จ. 8.465 สามารถเขยี นไดเ้ ป็น .................

25 ความไมแ่ น่นอนในการวัด ความไมแ่ น่นอนในการวดั เนื่องจากค่าท่ีได้จากการวัดนั้น จะมีตัวเลขท่ีได้จากการคาดเดาอยู่ด้วย จึงอาจทาให้เกิดความ คาดเคลื่อนได้ ดังนน้ั การบันทึกค่าที่ได้จากการวดั จงึ เขยี นค่าความคลาดเคลื่อนลงไปด้วย เช่น 16.03 0.01 เป็นตน้ 4.1 เชือกเส้นหนึ่งยาว 20.68  0.01 เซนติเมตร และเสน้ ท่สี องยาว 16.32  0.02 เซนตเิ มตร 1. เชือกเสน้ แรกยาวมากทส่ี ุดเทา่ กบั ............................... เซนติเมตร 2. เชือกเส้นแรกยาวน้อยทีส่ ดุ เท่ากบั ............................... เซนติเมตร 3. เชือกเสน้ สองยาวมากทีส่ ดุ เท่ากับ ............................... เซนติเมตร 4. เชือกเส้นสองยาวน้อยท่ีสดุ เทา่ กบั ............................... เซนติเมตร 5. ผลบวกความยาวมากทีส่ ดุ ของเชือกท้งั 2 เท่ากบั ............................... เซนตเิ มตร 6. ผลบวกความยาวนอ้ ยที่สดุ ของเชอื กทงั้ 2 เท่ากับ............................... เซนติเมตร 7. ผลตา่ งมากทสี่ ดุ ของความยาวเชือกท้งั 2 เทา่ กบั ............................... เซนติเมตร 8. ผลต่างนอ้ ยทส่ี ุดของความยาวเชือกทง้ั 2 เท่ากบั ............................... เซนตเิ มตร การบวก และ ลบ จานวนที่เขียนอยู่ในรูปความคลาดเคล่อื น สตู ร 1 สูตร 2 4.2 มังกร มีเชือกยาวเท่ากับ 6.2 ± 0.2 cm นาเชือกมาต่อกับฉลาม ท่ีมีความยาวเชือก 3.4 ± 0.3 cm จงหา ผลบวกและผลต่างของเสน้ เชอื ก .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ..............................................................................................................................................................................

26 การคณู และ หาร จานวนทเี่ ขยี นอยใู่ นรูปความคลาดเคล่ือน สตู ร 3 สูตร 4 4.3 กรอบรูปของเอลี่ กว้าง 20.5 ± 0.2 cm ยาว 40.4 ± 0.4 cm จงหาพืน้ ทข่ี องกรอบรปู .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 4.4 ถังของเลนส์ เปน็ รูปลกู บาศกม์ คี วามยาวด้านละ 1.5 ± 0.1 m จงคานวณหาปริมาตรของถัง .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 4.5 จงหาความหนาแนน่ ของโลหะทองแดงท่มี มี วล 70.25 ± 0.02 kg และมีปริมาตร 17.02 ± 0.03 m3 .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. การบันทกึ ผลการวดั ค่าที่ได้จากการวัดมีโอกาสเกิดความคลาดเคล่ือนโดยขึ้นอยู่กับเครื่องมือ และวิธีการวัดที่ เหมาะสม รวมท้งั ขนึ้ อยู่กบั ความสามารถและประสบการณ์ของผู้วดั

27 กิจกรรมที่ 3 การรจู้ กั ใช้เครอื่ งมอื วดั จุดประสงค์ 1. สามารถเวอร์เนียในการวดั ได้ 2. สามารถหาปริมาตรของวตั ถไุ ด้ วสั ดุอปุ กรณ์ 1. เวอร์เนยี 1 อนั 2. กระบอกตวง 1 กระบอก 4. แก้วนา้ 1 แก้ว 3. กล่องพลาสติก 1 กลอ่ ง วธิ กี ารทดลอง 1. วดั ความยาวของวัตถุพร้อมจดบนั ทกึ 2. คานวณหาปริมาตรของวตั ถจุ ากการคานวณ 3. หาปรมิ าตรของวตั ถจุ ากการแทนที่น้า บนั ทกึ ผลการทดลอง 1. จากการคานวณ ความกวา้ ง .............................................. ความยาว .............................................. ความสงู .............................................. ปรมิ าตร .............................................. ความยาวเส้นผา่ นศนู ย์กลาง .............................................. ความสงู .............................................. ปริมาตร .............................................. ความยาวเสน้ ผา่ นศูนย์กลางภายนอก .............................................. ความยาวเสน้ ผ่านศนู ยก์ ลางภายใน .............................................. ความสงู .............................................. ปรมิ าตร ..............................................

28 2. จากการแทนทน่ี า้ ปริมาตร........................................ ปรมิ าตร....................................... ปริมาตร........................................ คานวณความคลาดเคล่อื น ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. สรปุ ผล ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… คาถามท้ายกจิ กรรม ให้นักเรยี นทาเคร่ืองหมาย ก หน้าข้อทีเ่ ห็นวา่ ถูก และทาเครือ่ งหมาย ข หนา้ ข้อความทเ่ี หน็ วา่ ผดิ ............... 1. งานทางด้านฟิสิกส์ เครื่องมือวดั เปน็ สงิ่ จาเปน็ นอ้ ยมากในการได้ข้อมลู ใหม่ ๆ ............... 2. มาตรฐานของเครอ่ื งมอื วดั เปน็ สง่ิ สาคญั ยง่ิ ในการเก็บขอ้ มูลทางวิทยาศาสตร์ ............... 3. ประสาทการรับรู้ของมนุษยใ์ นเรอ่ื งตา่ ง ๆ ไมจาเปน็ ตอ้ งอาศยั เครือ่ งมือช่วย ............... 4. การใช้เครอื่ งมือวัดที่เหมาะสมกับงานจะชว่ ยให้ปลอดภัย ประหยดั เวลา ได้รายละเอยี ดทีถ่ ูกต้อง ............... 5. เครือ่ งมือวัดแบบตัวเลขอา่ นคา่ ไดเ้ ป็นขัน้ ๆ ไม่สามารถประมาณคา่ ตาแหน่งสดุ ท้ายดว้ ยสายตาได้ ............... 6. ขณะทาการวัด ถ้าสภาพแวดลอ้ มแตกตา่ งจากเงอ่ื นไขท่ีกาหนด ค่าทว่ี ดั ได้จะมคี วามผิดพลาดสูง ............... 7. การบนั ทกึ ข้อมูลทุกชนดิ จาเปน็ ตอ้ งบนั ทกึ ลงในตารางเสมอ ............... 8. ขอ้ มูลทุกชนิดควรนาเสนอดว้ ยแผนภูมทิ างสถติ ิเสมอ ............... 9. การนาเอามาเขยี นเป็นแผนภูมิทางสถิติแบบต่าง ๆ จะช่วยทาใหผ้ อู้ า่ นมองเหน็ รูปธรรม มากขน้ึ ............... 10. การวัดเพียงครั้งเดยี วจะให้คา่ ทถี่ ูกต้องมากกว่า

29 การทดลองทางฟสิ กิ ส์ การทดลองทางฟสิ กิ ส์เปน็ ส่วนสาคญั ในการฝกึ ทักษะและคดิ หาเหตุผลอยา่ งวิทยาศาสตร์ การทา การทดลองมักจะทาเพื่อตอบคาถามหรอื เพ่ือหาความจรงิ บางอย่าง มีขั้นตอนการทดลองและเขียน รายงานการทดลอง การรายงานความคลาดเคล่อื น เขยี นอยูใ่ นรปู ค่าเฉล่ีย ± ค่าความคลาดเคลอ่ื นของค่าเฉล่ีย หรือ การวเิ คราะห์ผลการทดลอง เป็นการดาเนนิ การเพ่ือใหเ้ ห็นความสัมพนั ธร์ ะหว่างตัวแปรต่าง ๆ ท่ี ได้จากกราฟการทดลอง โดยการนาผลการทดลองมาเขียนกราฟ แล้ววิเคราะห์สรุปผลการทดลอง จากกราฟ สมการทางคณิตศาสตร์ของกราฟเส้นตรงจะอยู่ในรูป y = mx + c เม่ือ m คือ ความชัน หรือ slope และ c คอื จุดตดั แกน y กราฟเป็นดังรูป ประเภทของความชนั 2. ความชนั เป็นลบ (เอยี งซ้าย) 1. ความชนั เปน็ บวก (เอยี งขวา) 3. ความชนั = ศนู ย์ 4. ความชนั หาคา่ ไมไ่ ด้

30 ปริมาณและการเปล่ียนหนว่ ย ปริมาณและการเปลยี่ นหน่วย ปรมิ าณ (Quantities) ในวชิ าฟสิ ิกส์อาจแบ่งเปน็ กลมุ่ ย่อยไดด้ ังน้ี แบง่ โดยใชล้ กั ษณะของปริมาณเป็นเกณฑ์ จะแบ่งไดเ้ ป็น 1. ปริมาณเวกเตอร์ คือ ปริมาณที่ต้องบอกทั้งขนาดและทิศทางจึงจะสมบูรณ์ เช่น การขจัด แรง โมเมนตัม สนามไฟฟา้ สนามแม่เหล็ก เปน็ ต้น 2. ปริมาณสเกลลาร คือ ปริมาณท่ีบอกแต่ขนาดอย่างเดียวก็สมบูรณ์ได เช่น มวล พลังงาน เป็นตน้ แบง่ โดยใชท้ ี่มาของปริมาณเปน็ เกณฑ์: หนว่ ยเอสไอ(SI units ; Systeme International d’Units) ระบบหนว่ ยระหว่างชาติ หรอื เอสไอ ประกอบดว้ ย 3 หนว่ ย คอื 1) ปริมาณมูลฐาน คือ ปริมาณขั้นต้นท่ีจาเป็นต่อการอธิบายปรากฏการณ์ทางฟิสิกส์ มี 7 ปรมิ าณ คอื ปรมิ าณกายภาพ หน่วย สญั ลกั ษณ์ ความยาว (Length) เมตร m มวล (Mass) กโิ ลกรมั kg เวลา (Time) วนิ าที s กระแสไฟฟ้า (Electric Current) แอมแปร์ A อุณหภูมิทางเทอรโ์ มไดนามกิ เคลวิน K ความเขม้ ของการสอ่ งสว่าง แคนเดลา cd ปรมิ าณของสาร โมล mol 2) ปริมาณอนุพันธ์ คือ ปริมาณที่เกิดข้ึนจากการนาปริมาณมูลฐานมาประกอบเข้าด้วยกัน เช่น อตั ราเร็ว (m/s) 3) ปรมิ าณเสริม คือ ปรมิ าณทีน่ อกเหนอื จากปรมิ าณทงั้ สองที่ผ่านมา เช่น การวดั มมุ เปน็ องศา

31 5.1 กาหนดให้ เฮิรตซ์ นวิ ตนั เมตร คลู อมบ์ เคลวิน โอห์ม โมล กโิ ลกรมั จลู วัตต์ วนิ าที โวลต์ แอมแปร์ แคนเดลา เรเดียน สเตอเรเดียน เมตรต่อวินาที พาสคลั จงแยกวา่ หนว่ ยใดเป็นหนว่ ยอนพุ นั ธ์ และหนว่ ยใดเป็นหนว่ ยมลู ฐาน หน่วยมลู ฐาน ได้แก่ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. หนว่ ยอนุพนั ธ์ ได้แก่ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 5.2 จงระบหุ น่วยของปริมาณต่อไปนี้ในระบบเอสไอ 1. ความสงู มีหน่วยเป็น ...................................................................................................... 2. พน้ื ที่ มีหนว่ ยเปน็ ...................................................................................................... 3. ปริมาตร มีหน่วยเป็น ...................................................................................................... 4. ความหนาแนน่ มีหน่วยเป็น .................................................................................................. .... 5. พลงั งาน มหี น่วยเปน็ ......................................................................................................

32 การเปลย่ี นหน่วย คาอุปสรรคท่ใี ชแ้ ทนตวั พหคุ ูณ ตวั อยา่ ง...การเปล่ียนหน่วย ตวั พหุคณู ชื่อ สญั ลักษณ์ 1. เปลีย่ น 9 กโิ ลเมตร (km) เปน็ เมตร (m) 1018 เอกซะ (exa) E 9 km = 9 x k m 1015 เพตะ (peta) P = 9 x 103 m 1012 เทระ (tera) T 109 จิกะ (giga) G 2. เปล่ยี น 9 เมตร (m) เป็นกโิ ลเมตร (km) 106 เมกะ (mega) M 9 m = 9 x k/k m 103 กโิ ล (kilo) k = 9 / 103 km 102 เฮกโต (hecto) h = 9 x 10-3 km 101 เดคา (deca) da 3. เปล่ียน 9 กโิ ลเมตร (km) เปน็ เซนติเมตร (cm) 10-1 เดซิ (deci) d 9 km = 9 x k x c/c m 10-2 เซนติ (centi) c = 9 x 103 / 10-2 cm 10-3 มิลลิ (milli) m = 9 x 105 cm 10-6 ไมโคร (micro) 10-9 นาโน (nano) μ 4. เปลี่ยน 9 ตารางกิโลเมตร (km2) เป็นตาราง n 10-12 ฟโิ ก (pico) p เซนตเิ มตร (cm2) 10-15 เฟมโต (femto) f 9 km2 = 9 (km)2 10-18 อตั โต (atto) a = 9 k2m2 = 9 x k2 x c 2 m2 c 5. เปลี่ยน 9 กรัมต่อตารางเซนติเมตร (g/cm2) 103 2 c2m2 10-2 2 cm2 เป็นกิโลกรัมต่อตารางเมตร (kg/m2) =9x cm2 k g = 9 x 106 / 10-4 m2 9 g/cm2 = 9 k kg = 9 x 1010 m2 1c2 = 9 k c2 1 =9x 103 kg/m2 ผา่ นการท่อง 10-2 2 = 9 x 10-3 x (102)2 kg/m2 ลงชื่อ ............................................

33 5.3 ให้เติมคาตอบทถ่ี ูกตอ้ งลงในช่องว่างต่อไปนี้ 1) 7.2 cm = ……………....……....m 2) 6.524 mg = ……………....……....g 4) 55.26 μm = ……………....……....m 3) 6.23 nm = ……………....……....m 6) 425 km = ……………....……....m 8) 0.0659 MΩ = ……………....……....Ω 5) 62.5 pg = ……………....……....g 10) 3.3 x 103 km = ……………....……....m 7) 0.042 μg = ……………....……....g = ……………....……....g 12) 2.55 x10–3 μg 9) 0.0073 GΩ = ……………....……....Ω 11) 4.625 x 105 nA = ……………....……....A 5.4 จงเตมิ คาตอบ ลงในตารางให้ถกู ต้อง คาอุปสรรค ชื่อภาษาไทย สัญลักษณย์ ่อ ตวั คูณทเ่ี ทียบเท่า p 10-12 pico- พโิ ก nano- นาโน milli- มิลลิ μ 10-6 เซนติ m 10-3 deci- เดซิ d 10-1 กิโล k mega- เมกะ tera- เทระ G 109 T 1012 5.5 จงเปล่ยี นหนว่ ยมวลโปรตรอน 1.6 x 10–27 กิโลกรมั เปน็ พิโคกรัม ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 5.6 จงเปลย่ี น 1.5 ตารางเซนติเมตร ใหเ้ ป็นตารางเมตร ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

34 5.7 จงเปลี่ยน 4 x 10–8 ลกู บาศกเ์ ซนตเิ มตร ให้เปน็ ลกู บาศก์เมตร ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 5.8 จงเปลีย่ น 4000 ตารางเมตร ใหเ้ ปน็ ตารางกโิ ลเมตร ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 5.9 จงเปล่ียน 3 x 1011 ไมโครเมตร/มิลลิวนิ าที ให้เปน็ เมตร/วินาที ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 5.10 นา้ มีความหนาแน่น 1 กรมั /ลบ.ซม. จะมีคา่ เทา่ ใดในหน่วยกโิ ลกรมั /ลบ.เมตร ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 5.11 รถประจาทางคันหน่ึงว่ิงดว้ ยความเร็ว 36 km/hr อยากทราบวา่ รถคันนี้ว่ิงด้วยความเร็วเท่ากบั ก่ีเมตรต่อ วินาที ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

การบ้าน 35 ความละเอียดในการวัด และ เลขนัยสาคัญ 1. จากรูป ควรบันทึกความยาวของ ดินสอเปน็ เทา่ ใด 1. 5 ซม. 2. 5.0 ซม. 3. 5.00 ซม. 4. ถูกทุกขอ้ 2. จากรูปท่ีกาหนดให้ ความยาวที่ อ่านได้ข้อใด 1. 2 cm 2. 2.4 cm 3. 2.45 cm 4. 2.455 cm 3. ปรมิ าณในขอ้ ใดท่ไี ดจ้ ากการวัดโดยใช้ไม้บรรทดั ที่มคี วามละเอยี ดถงึ 0.1 เซนติเมตร 1. 9 เซนตเิ มตร 2. 9.0 เซนตเิ มตร 3. 9.00 เซนตเิ มตร 4. 9.000 เซนตเิ มตร 4. เลขนยั สาคญั คอื อะไร 1. เลขท่วี ัดไดจ้ รงิ ๆ จากเคร่อื งมอื วัด 2. เลขท่ีอา่ นไดจ้ ากเครอ่ื งมอื วดั แบบขดี สเกลรวมกับตวั เลขทป่ี ระมาณอีก 1 ตวั 3. เลขทปี่ ระมาณข้ึนมาในการวัด 4. เลขทปี่ ระมาณข้นึ มาในการวดั 5. จงพิจารณาปริมาณต่อไปนีข้ ้อใดมเี ลขนัยสาคัญ 2 ตวั 1. 2x102 2. 0.2 3. 0.04 4. 0.010 6. จงบอกจานวนเลขนยั สาคัญของปริมาณต่อไปน้ี 105 , 0.0020 , 3.5x103 1. 3 , 2 และ 2 ตวั 2. 3 , 4 และ 5 ตวั 3. บอกไมไ่ ด้ , 1 และ 4 ตวั 4. 2 , 1 และ 3 ตวั 7. ปริมาณในขอ้ ใดมเี ลขนยั สาคัญ 3 ตัว ทั้งหมด 2. 1.00 , 0.03 , 0.12x10–3 1. 0.15 , 3.0x103 , 151 4. 0.120 , 4.32x10–21 , 168 3. 10.0 , 100 , 3.06 x 109

36 8. จงหาผลลัพธข์ องคาต่อไปนี้ตามหลักเลขนยั สาคญั 4.36 + 2.1 – 0.002 4. 6.458 1. 6 2. 6.5 3. 6.46 9. จงหาผลลพั ธข์ องค่าตอ่ ไปนี้ตามหลกั เลขนัยสาคัญ 4.5 + 3.95 – 0.5 2.0 1. 5.7 2. 5.75 3. 5.8 4. 5.85 10. จงหาผลลพั ธข์ องค่าต่อไปนี้ตามหลักเลขนยั สาคญั 1.50 x 104 x 3.6 0.25 1. 2.2 x 105 2. 2.16 x 105 3. 2 x 105 4. 2.1600 x 105 ความไม่แน่นอนในการวัด 11. ผลบวกและผลต่างของจานวน (6.4  0.1) กับ (3.6  0.2) มีค่า 12. เชือกเส้นหน่ึงยาว 22.24  0.04 เซนติเมตร ถ้าตัดออกเป็น 2 เส้น โดยเส้นที่หน่ึงยาว 12.02  0.02 เซนติเมตร เชอื กอีกเส้นหน่งึ ยาวเทา่ ใด 13. แผ่นกระดาษรูปส่ีเหลี่ยมผืนผ้า มีด้านกว้าง 36.20  0.05 เซนติเมตร และมีด้านยาว 96.45  0.05 เซนติเมตร แผ่นกระดาษแผน่ น้จี ะมพี ้นื ทเ่ี ปน็ เทา่ ไร 14. โต๊ะส่ีเหลีย่ มตัวหนึ่งมีดา้ นกว้าง 40.5  0.1 เซนติเมตร มีด้านยาว 115.2  0.2 เซนติเมตร อยากทราบว่า โต๊ะตัวนีม้ พี ้นื ท่มี ากทีส่ ุดเท่าใด 15. ปริมาตรของกล่องส่ีเหลี่ยมรูปลูกบาศก์มีความยาวด้านละ 1.50  0.02 เมตร จะเป็นเท่าใด และ คลาดเคลอ่ื นเท่าใด ความคลาดเคล่อื นคิดเป็นกี่เปอรเ์ ซน็ ต์ 16. ลูกกลมมีรัศมี 1.20  0.01 เมตร จะมีปริมาตรที่อาจคลาดเคล่ือนได้กี่เปอร์เซ็นต์ และ คิดเป็นความ คลาดเคลอื่ นเท่าใด 17. ในการหาความหนาแน่นของวตั ถุซงึ่ มมี วล 72.4  0.1 กรัม และมปี ริมาตร 18.1  0.2 ลูกบาศก์เซนตเิ มตร จะมีค่าเท่าใด ปรมิ าณและการเปลย่ี นหนว่ ย 18. ปรมิ าณใดตอ่ ไปนี้เป็นหนว่ ยฐานทง้ั หมด 2. ระยะทาง , พนื้ ที่ , ปรมิ าตร 1. มวล , ความยาว , แรง 4. อุณหภูมิ , มมุ , พลังงาน 3. มวล , กระแสไฟฟา้ , ปรมิ าณของสาร

37 19. หน่วยในขอ้ ใดเป็นหนว่ ยเสริม 1. เรเดยี น 2. เมตร/วนิ าที 3. เฮิรตซ์ 4. เคลวนิ 20. ขอ้ ใดตอ่ ไปนเ้ี ป็นหน่วย อนุพันธ์ในระบบ SI 1. แอมแปร์ 2. จลู 3. โมล 4. แคนเดลา 21. หน่วย SI ในขอ้ ใดเป็นหน่วยฐานทัง้ หมด 2. เมตร องศาเซลเซยี ส เรเดียน คลู อมบ์ 1. แอมแปร์ เคลวิน แคนเดลา โมล 4. วนิ าที โวลต์ เวเบอร์ ลกั ซ์ 3. กิโลกรมั โอห์ม ลเู มน พาสคาล 22. ปริมาณทางฟสิ ิกสท์ แี่ สดงคา่ แต่ขนาดเพยี งอย่างเดียวกไ็ ด้ความหมายสมบูรณ์ เรียกวา่ ปรมิ าณใด 1. เวกเตอร์ 2. มูลฐาน 3. สเกลาร์ 4. สมั บรู ณ์ 23. ปริมาณท่ีตอ้ งแสดงค่าทัง้ ขนาดและทิศทาง จงึ จะไดค้ วามหมายสมบูรณเ์ รยี กว่า ปริมาณใด 1. เวกเตอร์ 2. มูลฐาน 3. สเกลาร์ 4. สมั บูรณ์ 24. ตอ้ งการวดั ความยาวของดนิ สอ ควรใช้เครื่องมือวัดชนดิ ใด 1. ไมบ้ รรทัด 2. สายวดั 3. เวอรเ์ นยี ร์ 4. ไมโครมิเตอร์ 25. ถา้ ต้องการวัดความหนาของแผน่ กระดาษควรใชเ้ ครอื่ งมอื วดั ชนดิ ใด 1. ไมบ้ รรทัด 2. ไมเ้ มตร 3. เวอร์เนียร์ 4. ไมโครมเิ ตอร์ 26. จากรูป เป็นการแสดงผลการวัดปริมาตรของของเหลวในกระบอกตวง ซึ่งควร อา่ นค่าได้เทา่ ใด 1. 32.0 cm3 2. 34.0 cm3 3. 35.0 cm3 4. 36.0 cm3 27. ปริมาณ 4 x 10–7 เมตร เม่อื ใช้คาอปุ สรรคทเ่ี หมาะสม ควรเปลยี่ นเปน็ 1. 40 mm 2. 4 pm 3. 0.4 μm 4. 0.4 nm 28. แสงสีเหลืองมีความยาวคลืน่ 0.0000006 m จะมคี า่ เทียบเทา่ กับคา่ ใด 1. 0.6 mm 2. 60 pm 3. 6 μm 4. 600 nm 29. พลงั งาน 3.2 x 1016 จลู มีคา่ เทา่ กับข้อใด 2. 32 เพตะจลู 1. 0.32 เอกซะจูล 4. 320 จกิ ะจูล 3. 3200 เทระจูล

30. กาลงั 3.75x107 วัตต์ (W) เมอ่ื ใชค้ าอุปสรรคท่ีเหมาะสมควรเปลยี่ นเป็น 38 1. 37.5 MW 2. 37.5 GW 3. 375 kW 4. 375 μW 4. 109 31. ระยะทางในหน่วยเมกะเมตร มีคา่ เปน็ กี่เทา่ ในหนว่ ยกโิ ลเมตร 4. 1 μg 1. 102 2. 103 3. 106 4. 5 x 1014 32. ปนู ซีเมนต์ 1 ตนั เทียบเทา่ กบั มวล (1 ตนั คอื 1000 กโิ ลกรมั ) 1. 1 Gg 2. 1 Mg 3. 1 mm 33. มวล 500 เมกะกรมั มีค่าเป็นกี่ไมโครกรมั 1. 5 x 102 2. 5 x 106 3. 5 x 1012 34. พืน้ ท่ี 1.5 ตารางมลิ ลเิ มตร คิดเปน็ เท่าไรในหน่วยตารางเมตร 1. 1.5 x 106 2. 1.5 x 103 3. 1.5 x 10–3 4. 1.5 x 10–6 35. พ้ืนที่ 500 ตารางเซนติเมตร คดิ เป็นกี่ตารางเมตร 1. 5 x 10–2 2. 5 x 10–4 3. 5 x 10–6 4. 5 x 10–8 36. นา้ มปี ริมาตร 1 x 10–4 ลกู บาศก์เมตร คิดเปน็ ปรมิ าตรก่ีลกู บาศก์เซนติเมตร 1. 10 2. 100 3. 1000 4. 10000 37. น้ามีความหนาแน่น 1 กรมั /ลบ.ซม. จะมคี า่ เท่าใดในหน่วยกโิ ลกรมั / ลบ.เมตร 1. 10–6 2. 10–3 3. 103 4. 106 38. วตั ถหุ นึง่ มคี วามหนาแน่น 0.004 kg/m3 วัตถุน้ีจะมคี วามหนาแนน่ เทา่ ไรในหน่วย g/cm3 1. 4 x 104 2. 4 x 10–6 3. 4 x 10–3 4. 4 x 109 39. อตั ราเรว็ 72 กิโลเมตร/ชัว่ โมง มีคา่ เท่าไรในหน่วยเมตร/วนิ าที 4. 40 1. 10 2. 20 3. 30 40. อตั ราเรว็ 25 เมตรต่อวินาที มคี ่าเทา่ ใดในหนว่ ยกโิ ลเมตรต่อชัว่ โมง 1. 6.95 2. 50 3. 75 4. 90 41. นา้ 10 ลิตร เทียบได้เท่าใดในหนว่ ยลกู บาศกเ์ มตร (1000 ลติ ร = 1 m3 ) 1. 10–4 2. 10–3 3. 10–2 4. 10–1

39 42. ถงั นา้ สเี่ หลีย่ มก้นถงั มพี ื้นท่ี 1.5 ตารางเมตร สงู 1.2 เมตร จะบรรจนุ ้าไดม้ ากทส่ี ุดกลี่ ติ ร 1. 180 ลิตร 2. 600 ลติ ร 3. 1800 ลิตร 4. 18000 ลติ ร 43. พน้ื ท่ี 1 ตารางกโิ ลเมตร มีคา่ กไี่ ร่ (1 ไร่ มี 1600 m2) 4. 2500 1. 125 2. 250 3. 625 ปญั หาทา้ ทาย ในการทดลองลูกตุ้มอยา่ งงา่ ย ท่ีความยาวเชอื กค่าหนง่ึ ๆ ผู้ทดลองวัดเวลาการแกว่งของลูกตุ้ม 3 ครั้ง ๆ ละ 10 รอบ โดยใชน้ าฬกิ าจับเวลา ไดผ้ ลดงั ตาราง ความยาวเชอื ก l (m) ครงั้ ที่ 1 เวลา 10 รอบ (s) ครัง้ ที่ 3 คร้งั ท่ี 2 0.20 8.91 9.09 9.03 0.40 13.07 12.95 13.10 0.60 15.46 15.58 15.40 0.80 17.92 17.78 17.70 1.00 19.52 19.34 19.58 ถ้าคาบ (T) คือ ช่วงเวลาที่วตั ถุใชใ้ นการเคลื่อนทค่ี รบ 1 รอบ จงเขียน ก.กราฟระหวา่ งคาบการแกว่ง (T) และความยาว ( l ) ข.กราฟระหว่างคาบการแกว่งยกกาลังสอง (T2) และความยาว ( l ) วิธที า ปญั หาทา้ ทาย ตารางบันทกึ ขอ้ มูล

40 ก.กราฟระหว่างคาบการแกวง่ (T) และความยาว ( l )

41 ข.กราฟระหวา่ งคาบการแกวง่ ยกกาลงั สอง (T2) และความยาว ( l )

42 แบบประเมนิ การปฏบิ ัตกิ าร คาช้ีแจง : ใหผ้ ้สู อนประเมนิ การปฏิบัตกิ ารของนักเรยี นตามรายการท่ีกาหนด แล้วขดี  ลงในช่องทต่ี รงกบั ระดับคะแนน ลาดับที่ รายการประเมิน ระดบั คะแนน 4321 1 การปฏิบตั ิการทดลอง 2 ความคล่องแคล่วในขณะปฏิบัติการ 3 การนาเสนอ เกณฑ์การตดั สินคุณภาพ รวม ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ 10-12 ดีมาก ลงช่อื ................................................... ผู้ประเมนิ 7-9 ดี ................./................../.................. 4-6 พอใช้ เกณฑ์การประเมินการปฏบิ ัติการ 0-3 ปรบั ปรุง ประเดน็ ทปี่ ระเมนิ ระดบั คะแนน 1. การปฏบิ ัตกิ าร 4 321 ทดลอง ทาการทดลองตาม ทาการทดลองตาม ต้องใหค้ วามชว่ ยเหลือ ต้องให้ความช่วยเหลือ ขั้นตอน และใช้ อปุ กรณไ์ ดอ้ ยา่ ง ขน้ั ตอน และใช้ บ้างในการทาการ อยา่ งมากในการทา ถูกต้อง อุปกรณ์ไดอ้ ย่าง ทดลอง และการใช้ การทดลอง และการ ถูกตอ้ ง แต่อาจตอ้ ง อุปกรณ์ ใช้อปุ กรณ์ ได้รบั คาแนะนาบา้ ง 2. ความคลอ่ งแคล่ว มีความคล่องแคล่ว มคี วามคล่องแคลว่ ขาดความคลอ่ งแคล่ว ทาการทดลองเสร็จไม่ ในขณะปฏบิ ตั กิ าร ในขณะทาการทดลอง ในขณะทาการทดลอง ในขณะทาการทดลอง ทนั เวลา และทา โดยไมต่ อ้ งได้รบั คา แตต่ อ้ งได้รบั จึงทาการทดลองเสรจ็ อปุ กรณเ์ สียหาย 3. การบนั ทกึ สรปุ และ ช้ีแนะ และทาการ คาแนะนาบ้าง และทา ไมท่ นั เวลา นาเสนอผลการ ทดลองเสร็จทนั เวลา การทดลองเสรจ็ ตอ้ งใหค้ วามชว่ ยเหลอื ทดลอง ทนั เวลา ตอ้ งให้คาแนะนาใน อยา่ งมากในการ บันทกึ และสรปุ ผลการ บันทึกและสรปุ ผลการ การบนั ทกึ สรปุ และ บันทึก สรปุ และ ทดลองไดถ้ กู ตอ้ ง ทดลองไดถ้ ูกต้อง แต่ นาเสนอผลการ นาเสนอผลการ รดั กุม นาเสนอผลการ การนาเสนอผลการ ทดลอง ทดลอง ทดลองเป็นขน้ั ตอน ทดลองยงั ไมเ่ ปน็ ชดั เจน ข้ันตอน

43 แบบประเมินการนาเสนอผลงาน คาช้ีแจง : ให้ผู้สอนสังเกตพฤตกิ รรมของนักเรยี นในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขดี ลงในช่องที่ ตรงกบั ระดับคะแนน ลาดับท่ี รายการประเมิน ระดบั คะแนน 1 32 1 ความถูกตอ้ งของเน้ือหา   2 ความคดิ สร้างสรรค์   3 วธิ ีการนาเสนอผลงาน   4 การนาไปใชป้ ระโยชน์   5 การตรงต่อเวลา   รวม ลงช่อื ................................................... ผู้ประเมนิ ............/................./................... เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน ให้ 3 คะแนน ผลงานหรอื พฤตกิ รรมสอดคล้องกับรายการประเมนิ สมบูรณช์ ัดเจน ให้ 2 คะแนน ผลงานหรอื พฤตกิ รรมสอดคล้องกับรายการประเมินเปน็ สว่ นใหญ่ ให้ 1 คะแนน ผลงานหรือพฤติกรรมสอดคล้องกบั รายการประเมนิ บางส่วน เกณฑก์ ารตัดสินคุณภาพ ชว่ งคะแนน ระดับคุณภาพ 14–15 ดีมาก 11–13 ดี 8–10 พอใช้ ต่ากวา่ 8 ปรับปรุง

44 แบบสังเกตพฤตกิ รรมการทางานรายบุคคล คาชี้แจง : ให้ผสู้ อนสังเกตพฤติกรรมของนักเรยี นในระหวา่ งเรยี นและนอกเวลาเรียน แล้วขดี ลงในช่องท่ี ตรงกบั ระดับคะแนน ลาดบั ที่ รายการประเมนิ ระดบั คะแนน 1 32 1 การแสดงความคิดเหน็   2 การยอมรับฟงั ความคดิ เห็นของผู้อ่นื   3 การทางานตามหน้าที่ท่ไี ดร้ บั มอบหมาย   4 ความมนี า้ ใจ   5 การตรงต่อเวลา   รวม ลงช่อื ................................................... ผูป้ ระเมิน ............/.................../................ เกณฑ์การให้คะแนน ให้ 3 คะแนน ปฏบิ ตั หิ รอื แสดงพฤตกิ รรมอย่างสมา่ เสมอ ให้ 2 คะแนน ปฏบิ ัติหรือแสดงพฤตกิ รรมบ่อยคร้งั ให้ 1 คะแนน ปฏบิ ัตหิ รอื แสดงพฤติกรรมบางครง้ั เกณฑ์การตดั สินคณุ ภาพ ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ 14–15 ดีมาก 11–13 ดี 8–10 พอใช้ ตา่ กวา่ 8 ปรับปรงุ

แบบสังเกตพฤตกิ รร คาช้แี จง : ใหผ้ ้สู อนสงั เกตพฤติกรรมของนกั เรยี นในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วข รหัส ชอื่ –สกลุ การแสดง การยอมรับฟงั ค ประจาตัว ของนกั เรียน ความคิดเหน็ อื่น 321321 เกณฑ์การใหค้ ะแนน ลงช่อื ...................................... ปฏบิ ตั ิหรอื แสดงพฤติกรรมอย่างสม่าเสมอ ............./.................../... ปฏิบัตหิ รอื แสดงพฤตกิ รรมบ่อยครั้ง ปฏบิ ตั ิหรอื แสดงพฤตกิ รรมบางครัง้ ให้ 3 คะแนน ให้ 2 คะแนน ให้ 1 คะแน

รมการทางานกลุ่ม 45 ขีด ลงในช่องท่ตี รงกับระดบั คะแนน รวม 15 คน การทางาน ความมีนา้ ใจ การมี คะแนน ตามท่ไี ด้รบั สว่ นรว่ มในการ มอบหมาย ปรับปรงุ ผลงานกลุม่ 1321321 321 .............. ผู้ประเมนิ เกณฑก์ ารตัดสินคุณภาพ ............. ชว่ งคะแนน ระดับคุณภาพ 14–15 ดีมาก 11–13 ดี 8–10 พอใช้ ต่ากว่า 8 ปรบั ปรุง

แบบประเมนิ คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ 46 คาชี้แจง : ให้ผสู้ อนสังเกตพฤตกิ รรมของนักเรยี นในระหวา่ งเรียนและนอกเวลาเรยี น แล้วขีด ลงในชอ่ งที่ ตรงกับระดับคะแนน คณุ ลกั ษณะ รายการประเมนิ ระดบั คะแนน อนั พึงประสงค์ด้าน 321 1. รักชาติ ศาสน์ 1.1 ยืนตรงเคารพธงชาติ และรอ้ งเพลงชาติได้ กษัตรยิ ์ 1.2 เขา้ ร่วมกิจกรรมท่ีสรา้ งความสามคั คีปรองดอง และเปน็ ประโยชน์ 2. ซื่อสตั ย์ สจุ ริต ตอ่ โรงเรียน 3. มวี นิ ยั 1.3 เข้ารว่ มกจิ กรรมทางศาสนาที่ตนนบั ถอื ปฏิบัตติ ามหลักศาสนา รับผดิ ชอบ 1.4 เข้าร่วมกิจกรรมทีเ่ ก่ียวกบั สถาบันพระมหากษัตริย์ตามที่โรงเรียน จดั ขึ้น 4. ใฝ่เรยี นรู้ 2.1 ใหข้ ้อมลู ทีถ่ ูกต้องและเปน็ จริง 2.2 ปฏบิ ัตใิ นส่ิงทีถ่ กู ตอ้ ง 5. อย่อู ย่างพอเพยี ง 3.1 ปฏบิ ตั ติ ามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบ ขอ้ บังคับของครอบครัว 6. ม่งุ มน่ั ในการ มีความตรงต่อเวลาในการปฏิบัติกจิ กรรมต่าง ๆ ในชีวติ ประจาวัน ทางาน 4.1 รูจ้ ักใช้เวลาวา่ งใหเ้ ป็นประโยชน์ และนาไปปฏิบตั ไิ ด้ 7. รักความเป็นไทย 4.2 ร้จู กั จดั สรรเวลาให้เหมาะสม 4.3 เชือ่ ฟังคาส่งั สอนของบิดา-มารดา โดยไม่โตแ้ ยง้ 8. มจี ติ สาธารณะ 4.4 ต้ังใจเรยี น 5.1 ใชท้ รัพย์สนิ และส่งิ ของของโรงเรยี นอย่างประหยดั 5.2 ใชอ้ ปุ กรณ์การเรยี นอย่างประหยดั และรคู้ ณุ ค่า 5.3 ใชจ้ า่ ยอย่างประหยดั และมกี ารเก็บออมเงิน 6.1 มคี วามตัง้ ใจและพยายามในการทางานที่ได้รับมอบหมาย 6.2 มคี วามอดทนและไมท่ ้อแท้ต่ออุปสรรคเพ่ือให้งานสาเรจ็ 7.1 มีจติ สานกึ ในการอนรุ ักษว์ ฒั นธรรมและภูมปิ ัญญาไทย 7.2 เหน็ คณุ ค่าและปฏบิ ัติตนตามวฒั นธรรมไทย 8.1 ร้จู กั ช่วยพ่อแม่ ผปู้ กครอง และครูทางาน 8.2 รู้จักการดูแลรกั ษาทรัพยส์ มบัตแิ ละสิง่ แวดลอ้ มของหอ้ งเรียน และโรงเรียน เกณฑ์การตัดสนิ คณุ ภาพ ลงชอื่ .................................................. ผปู้ ระเมนิ ชว่ งคะแนน ระดับคุณภาพ ............/.................../................ 51–60 ดมี าก เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน 41–50 ดี พฤตกิ รรมท่ปี ฏบิ ัตชิ ดั เจนและสมา่ เสมอ ให้ 3 คะแนน 30–40 พอใช้ พฤติกรรมท่ีปฏิบัติชัดเจนและบ่อยครัง้ ให้ 2 คะแนน ต่ากวา่ 30 ปรบั ปรุง พฤตกิ รรมท่ปี ฏิบตั บิ างครั้ง ให้ 1 คะแนน

47


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook