Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สรุป ข้อเขยีนและสัมภาษณ์

สรุป ข้อเขยีนและสัมภาษณ์

Published by kittivara.namwaan, 2021-01-15 12:24:36

Description: สรุปข้อเขยีนและสัมภาษณ์ชั้นจูฬอาภธิรรมิกะโท (๔๓-๖๓/๑)
วิชา : ปกณิ ณกสงัคหะ สมุจจยสงัคหะ

Keywords: ข้อเขยีนและสัมภาษณ์ชั้นจูฬอาภธิรรมิกะโท (๔๓-๖๓/๑)

Search

Read the Text Version

สรุป ขอ เขยี นและสมั ภาษณ ชนั้ จฬู อาภธิ รรมกิ ะโท (๔๓-๖๓/๑) วิชา : ปกณิ ณกสงั คหะ สมจุ จยสงั คหะ ขอ เขยี น ๑๐ ขอ (๑๐๐ คะแนน) สมั ภาษณ ๕ ขอ (๒๕ คะแนน) ขอ ความเบอื้ งตน [P001] คาถาที่แสดงมาตกิ าทงั้ ๖ และคําปฏญิ ญา แสดงดังนี้ / คาถาสังคหะ สมปฺ ยตุ ตฺ า ยถาโยคํ เตปฺ าส สภาวโต จติ ตฺ เจตสกิ า ธมมฺ า เตสนทฺ านิ ยถารหํ เวทนา เหตุโต กจิ ฺจ- ทวฺ าราลมพฺ นวตถฺ โุ ต จิตตฺ ปุ ปฺ าทวเสเนว สงคฺ โห นาม นยี เต ฯ แปลคาถาดังตอไปน้ี สภาวธรรม ๕๓ คือ จิตและเจตสิก ช่อื วา นามเตปฺ าส วาโดยลกั ษณะของตน ๆ ประกอบดว ย เอกปุ ปฺ าทตา เปน ตน ตามทปี่ ระกอบได ดงั แสดงแลว โดยพิสดาร (ในปรจิ เฉทท่ี ๒) บัดนี้ ขา พเจาจะแสดงปกิณณกสงั คหะของจิตและเจตสกิ วา ดว ยอํานาจแหงการเกิดข้นึ ของจติ โดยประเภทแหง เวทนา เหตุ กจิ ทวาร อารมณ และ วตั ถุ ตามสมควร. [P002 ส] คาํ วา นามเตปญ ญาส คอื สภาวธรรม ๕๓ น้นั ไดแก จิต ๑ เจตสกิ ๕๒ นี้ นบั ดวยลกั ษณะ อาการของตนๆ คือ จิต ๘๙ นน้ั เมือ่ วาโดยลกั ษณะแลว มีลกั ษณะอยางเดียวคือ มีการไดรับอารมณอ ยเู สมอ เปนลกั ษณะเหมือนกันหมด (อารมมฺ ณวชิ านนลกขฺ ณา) ฉะนน้ั จึงนับเปน ๑ สวน เจตสกิ ๕๒ ดวงน้ัน มลี ักษณะของตนโดยเฉพาะๆ ไมเหมอื นกนั เชน ผัสสเจตสกิ มลี กั ษณะ กระทบอารมณ (ผุสนลกขฺ ณา) เวทนาเจตสกิ มีลกั ษณะเสวยอารมณ (อนภุ วนลกฺขณา) ดังนีเ้ ปน ตน ฉะน้ัน เมอ่ื รวมจติ และเจตสกิ เขา แลว จงึ เรียกวา นามเตปญ ญาส คอื สภาวธรรม ๕๓ [P002] นามเตปฺ าส คอื สภาวธรรม ๕๓ น้นั ไดแ ก จิตทงั้ หมดวา โดยลกั ษณะแลวนับรวมเปน ๑ เจตสกิ ๕๒ [P004] และประเภทของเวทนาโดยนยั ทัง้ ๒ นน้ั คือ ๑. อารมั มณานภุ วนลกั ขณนัย คือ อาการเปน ไปแหง การเสวยอารมณ ๒. อนิ ทรยิ เภทนยั คือ การเปน ใหญเ ปน ผปู กครอง [P002] คําวา ปกณิ ณกสังคหะ แปลวา การแสดงสงเคราะห จติ เจตสกิ โดยเรยี่ รายทวั่ ไป คือ แสดงสงเคราะหโ ดยประเภทแหง เวทนาบาง เหตุบา ง กจิ บา ง ทวารบาง อารมณบ า ง วตั ถุบาง เมอื่ วา โดยมาติกาแลว มี ๖ อยา ง คอื ๑. เวทนาสงั คหะ ๒. เหตสุ งั คหะ ๓. กจิ จสงั คหะ ๔. ทวารสงั คหะ ๕. อารัมมณสงั คหะ ๖. วัตถสุ ังคหะ [P002] ปริจเฉทท่ี ๓ เรยี กวา ปกิณณกสงั คหะ นัน้ เพราะเหตวุ า การแสดงสงเคราะห จติ เจตสกิ โดยเรย่ี รายทั่วไป คือ แสดงสงเคราะหโ ดยประเภทแหง เวทนาบา ง เหตุบาง กจิ บา ง ทวารบา ง อารมณบ าง วตั ถุบา ง เพราะเหตนุ ้ี ปริจเฉทที่ ๓ จงึ เรยี กวา ปกณิ ณกสังคหะ แสดงมาตกิ าทงั้ ๖ พรอ มดว ยความหมาย ดาวนโหลดขอ มูลตา งๆไดจ าก ขอ ความเพิ่มเตมิ ที่ youtube หรอื Post ใน fb ID: Kanrasi Sengking (ตาม link ทแ่ี ปะไว)

๑. เวทนาสงั คหะ ~2~ ๒. เหตสุ ังคหะ ๓. กจิ จสังคหะ หมายความวา การสงเคราะหจติ เจตสกิ โดยประเภทแหงเวทนา ๓ หรือ ๕ ๔. ทวารสงั คหะ หมายความวา การสงเคราะหจิต เจตสกิ โดยประเภทแหงเหตุ ๖ ๕. อารมั มณสงั คหะ หมายความวา การสงเคราะหจ ติ เจตสกิ โดยประเภทแหงกจิ ๑๔ และฐาน ๑๐ ๖. วตั ถสุ งั คหะ หมายความวา การสงเคราะหจ ิต เจตสิก โดยประเภทแหงทวาร ๖ หมายความวา การสงเคราะหจติ เจตสกิ โดยประเภทแหงอารมณ ๖ หมายความวา การสงเคราะหจ ิต เจตสิก โดยประเภทแหงวตั ถุ ๖ เวทนาสงั คหะ เวทนาสังคหะ หมายความวา การแสดงสงเคราะหจิต เจตสกิ โดยประเภทแหงเวทนา ช่ือวา เวทนาสงั คหะ และเมอื่ วา โดยนยั แลวมี ๒ นัย คอื ๑. แสดงโดยอารมั มณานุภวนลกั ขณนยั คอื อาการเปน ไปแหงการเสวยอารมณ ๒. แสดงโดยอินทรยิ เภทนยั คอื การเปน ใหญ เปนผปู กครอง [P003] คาถาเวทนาสงั คหะ สขุ ํ ทุกขฺ มเุ ปกขฺ าติ ตวิ ิธา ตตถฺ เวทนา โสมนสฺสํ โทมนสสฺ มติ ิ เภเทน ปฺจธา คาถาน้ีแปลความวา ในเวทนาสังคหะนนั้ วา โดย อารัมมณานภุ วนลักขณะ คอื ลักษณะแหง การเสวยอารมณแลว มเี วทนา ๓ อยา ง คือ ๑. สุขเวทนา ๒. ทกุ ขเวทนา ๓. อเุ บกขาเวทนา วาโดย อินทริยเภท คอื ประเภทแหง อินทรยี แลว มีเวทนา ๕ อยา ง คอื ๑. สุขเวทนา ๒. ทุกขเวทนา (สขุ ทุก โสม โทม อุ) ๓. โสมนัสสเวทนา ๔. โทมนสั สเวทนา ๕. อุเบกขาเวทนา [P003] คาถา สขุ เมกตถฺ ทกุ ขฺ จฺ โทมนสสฺ ํ ทวฺ เย ต ํ ทวฺ าสฏสุ โสมนสสฺ ํ ปฺจปฺ าสเกตรา ? แปลคาถาดงั ตอ ไปน้ี สุขเวทนาและทุกขเวทนาประกอบอยูในกายวญิ ญาณจติ อยา งละ ๑ ดวง โทมนสั เวทนา ประกอบอยูในจิต ๒ ดวง โสมนัสเวทนา ประกอบอยูในจิต ๖๒ ดวง เวทนาทนี่ อกจากนี้คือ อเุ บกขาเวทนา ประกอบอยใู นจิต ๕๕ ดวง อธบิ ายความเปนไปแหงประเภทเวทนา ๓ / อาการเปนไปแหง การเสวยอารมณข องสัตวท ั้งหลายมีอยู ๓ อยา ง ๑. ในขณะที่เสวยอารมณอยูน น้ั บางทีกร็ สู กึ สบาย เรยี กวา สุขเวทนา ๒. ในขณะที่เสวยอารมณอยนู ้ัน บางทีกร็ ูสึกไมส บาย เรียกวา ทกุ ขเวทนา ๓. ในขณะทเี่ สวยอารมณอยูนั้น บางทีก็รสู กึ เฉยๆ ไมใ ชสขุ ไมใ ชท ุกข เรยี กวา อุเบกขาเวทนา [P004] การเสวยอารมณข องสตั วท ัง้ หลายโดยเวทนา ๕ นน้ั คอื การเสวยอารมณข องสัตวทัง้ หลายนี้ เกี่ยวดวยกายบาง เก่ียวดว ยใจบาง เกี่ยวดวยกาย มี ๒ คือ รูสกึ สบาย และไมส บาย, เก่ียวดวยใจ มี ๓ คอื รูสกึ สบาย ไมสบายและเฉยๆ รวมมี ๕ คอื ๑. ความรสู กึ สบายทเ่ี กีย่ วดว ยกายน้นั เวทนาเจตสกิ ท่อี ยูในสุขสหคตกายวญิ ญาณจิต ดาวนโหลดขอ มูลตา งๆไดจ าก ขอความเพม่ิ เตมิ ท่ี youtube หรือ Post ใน fb ID: Kanrasi Sengking (ตาม link ท่ีแปะไว)

~3~ เปนใหญ เปน ผปู กครอง เรียกวา สขุ เวทนา ๒. ความรูส กึ ไมส บายท่ีเกย่ี วดวยกายนน้ั เวทนาเจตสิกที่อยใู นทกุ ขสหคตกายวญิ ญาณจติ เปน ใหญ เปนผูป กครอง เรียกวา ทุกขเวทนา ๓. ความรสู กึ สบายทเ่ี กย่ี วดวยใจน้นั เวทนาเจตสกิ ที่อยใู นโสมนสั สหคตจิต เปน ใหญ เปน ผูปกครอง เรียกวา โสมนสั เวทนา ๔. ความรสู กึ ไมส บายทีเ่ กี่ยวดว ยใจนน้ั เวทนาเจตสกิ ที่อยใู นโทสมลู จติ เปนใหญ เปน ผปู กครอง เรียกวา โทมนสั เวทนา ๕. ความรูส กึ เฉย ๆ นั้น เวทนาเจตสิกทอี่ ยใู นอุเบกขาสหคตจติ เปนใหญ เปน ผูปกครอง เรียกวา อเุ บกขาเวทนา [P005] จาํ แนกจติ ๑๒๑ โดยเวทนา ๓ ดังนี้ คอื ๑. จิตทเี่ กดิ พรอ มดว ยสขุ เวทนา มี ๖๓ คอื สขุ สหคตกายวญิ ญาณจติ ๑ โสมนสั สสหคตจิต ๖๒ ๒. จติ ทีเ่ กิดพรอมดว ยทุกขเวทนา มี ๓ คือ ทกุ ขสหคตกายวญิ ญาณจิต ๑ โทสมลู จติ ๒ ๓. จิตที่เกิดพรอ มดว ยอุเบกขาเวทนา มี ๕๕ คอื อุเบกขาสหคตจิต ๕๕ [P005-6] แสดงจาํ นวนเจตสกิ ดงั ตอ ไปน้ี ๑ เจตสกิ ที่เกิดพรอ มดวยเวทนาอยางเดยี ว มี ๖ ดวง คือ ปติเจตสิก ๑ โทจตกุ เจตสิก ๔ วจิ ิกจิ ฉาเจตสิก ๑ ๒. เจตสกิ ทเ่ี กดิ พรอ มดว ยเวทนา ๒ มี ๒๘ ดวง คือ โลตกิ เจตสกิ ๓ โสภณเจตสิก ๒๕ ๓. เจตสิกทีเ่ กิดพรอมดว ยเวทนา ๓ มี ๑๑ ดวง คอื ปกณิ ณกเจตสกิ ๕ (เวน ปต ิ) โมจตกุ เจตสิก ๔ ถที กุ เจตสกิ ๒ ๔. เจตสกิ ท่เี กิดพรอมดว ยเวทนา ๔ ไมมี ๕. เจตสิกที่เกดิ พรอมดวยเวทนา ๕ มี ๖ ดวง คือ สพั พจิตตสาธารณเจตสกิ ๖ (เวน เวทนา) ๖. เจตสกิ ทไี่ มไ ดเ กิดพรอ มดว ยเวทนา มี ๑ ดวง คอื เวทนาเจตสกิ ๗. เจตสกิ ท่ีเกดิ พรอมดวยโสมนสั เวทนาได แตเ กดิ พรอ มดวยอเุ บกขาเวทนาไมไ ด ไดแก ปติเจตสกิ ๘. เจตสิกท่เี กิดพรอ มดว ยอุเบกขาเวทนาได แตเ กดิ พรอ มดว ยโสมนสั เวทนาไมได ไดแ ก วจิ ิกจิ ฉาเจตสิก ๙. เจตสกิ ท่ีเกิดพรอ มดวยโสมนสั เวทนาและอุเบกขาเวทนาไดท้ังสอง ไดแก เจตสกิ ๔๕ (เวน เวทนา ปติ โทจตกุ ๔ วิจิกิจฉา) ๑๐. เจตสิกที่เกดิ พรอมดวยโสมนัสเวทนาและอุเบกขาเวทนาไมไดทัง้ สอง ไดแ ก โทจตกุ เจตสิก ๔ [P005-6] เจตสกิ ท่ีเกดิ พรอมดวยเวทนาอยา งเดยี ว มี ๖ ดวง คอื โทจตุกเจตสกิ ๔ เกดิ พรอ มดวย โทมนัสเวทนาอยางเดียว, ปติเจตสกิ ๑ เกดิ พรอ มดวย โสมนัสเวทนาอยา งเดียว, วจิ ิกจิ ฉาเจตสกิ ๑ เกดิ พรอ มดว ย อุเบกขาเวทนาอยางเดียว เจตสกิ ทเี่ กดิ พรอ มดว ยเวทนา ๓ มี ๑๑ ดวง คอื ปกณิ ณกเจตสกิ ๕ (เวน ปต)ิ โมจตกุ เจตสกิ ๔ ดาวนโหลดขอ มลู ตา งๆไดจ าก ขอความเพิม่ เตมิ ที่ youtube หรอื Post ใน fb ID: Kanrasi Sengking (ตาม link ทแ่ี ปะไว)

~4~ ถที ุกเจตสิก ๒ เกดิ พรอมดว ยโสมนสั สเวทนา โทมนสั สเวทนา และ อุเบกขาเวทนา ในบรรดาจติ ทง้ั ๔ ชาติน้นั ๑. จิตทีเ่ ปน กุศลชาติ เกดิ พรอมดว ยเวทนาได ๒ คอื โสมนัสเวทนา และ อุเบกขาเวทนา ๒. จติ ทเ่ี ปนอกศุ ลชาติ เกดิ พรอ มดวยเวทนาได ๓ คอื โสมนัสเวทนา โทมนัสสเวทนา และ อุเบกขาเวทนา ๓. จติ ทีเ่ ปน วปิ ากชาติ เกิดพรอมดวยเวทนาได ๔ คือ สขุ เวทนา ทกุ ขเวทนา โสมนสั สเวทนา และ อุเบกขาเวทนา ๔. จติ ทเี่ ปนกริ ยิ าชาติ เกิดพรอมดว ยเวทนาได ๒ คอื โสมนสั เวทนา และ อุเบกขาเวทนา เหตสุ งั คหะ [P007] คําวา “เหต”ุ หมายความวา เปนธรรมทใ่ี หผ ลเกดิ ขึน้ และใหผ ลธรรมน้ันตง้ั มัน่ ในอารมณ และใหเ จรญิ ขน้ึ ได ผลทเี่ กดิ จากเหตนุ ั้น ไดแก กายกรรม วจกี รรม มโนกรรม ท่ีเปน กุศลบาง อกศุ ลบาง อัพยากตะบาง แสดงถึงผลธรรมทตี่ ้งั มนั่ ไดใ นอารมณ และเจรญิ ขึ้นไดในอารมณ โดยอาศัยเหตุ ดังน้ี เหตทุ ่ีทาํ ใหผ ลธรรมตง้ั ม่นั ในอารมณน นั้ คือ เม่อื ตาเห็นรูป หไู ดยนิ เสยี ง เปนตน ตลอดจนถึงจิตคดิ นกึ เรอ่ื งราวตา ง ๆ แลว อกุศลจิตหรือกุศลจิต ยอ มเกิดขนึ้ และยดึ อารมณต าง ๆ เหลา น้นั ไวอยางมน่ั คงนีแ้ หละ คือ เปนผลท่ีตั้งมน่ั ในอารมณอ นั เกิดจากเหตเุ หลา นั้น เหตทุ ่ีทําใหผ ลธรรมเจรญิ ขนึ้ ไดน น้ั คือ เมอ่ื จิตท่ียึดเอาอารมณต า ง ๆ นั้น คอ ย ๆ มกี าํ ลังมากขึ้น ๆ หมายความวา โลภะกด็ ี โทสะก็ดี หรือสทั ธา เปน ตน เหลาน้ันกด็ ี เมือ่ ขณะแรกทเ่ี กดิ ขึ้นนนั้ ยงั มกี ําลงั ออนอยู ยงั ไมทาํ ใหลลุ ว งไปถึงทุจริต หรอื สุจรติ ได แตเ มอ่ื กาํ ลงั มากข้นึ แลว ยอ มสามารถทาํ ใหผูนั้นกระทาํ ทุจรติ หรอื สุจริต ในบรรดาทุจริต ๑๐ หรอื สุจริต ๑๐ น้นั ลงไปได นแ้ี หละเปนผลทีเ่ จริญข้ึนดว ยอาศยั เหตเุ หลา นัน้ การจําแนกสเหตุกจติ โดยเหตุ ในสเหตกุ จติ ๗๑ หรอื ๑๐๓ น้นั ๑. เอกเหตกุ จติ จิตที่มเี หตุ ๑ มี ๒ ดวง คือ โมหมลู จติ ๒ มเี หตุ ๑ คือ โมหเหตุ ๒. ทวเิ หตุกจิต จติ ท่มี ีเหตุ ๒ มี ๒๒ ดวง คอื โลภมูลจิต ๘ มเี หตุ ๒ คือ โลภเหตุ โมหเหตุ โทสมูลจิต ๒ มเี หตุ ๒ คอื โทสเหตุ โมหเหตุ ญาณวปิ ปยุตตจติ ๑๒ มีเหตุ ๒ คือ อโลภเหตุ อโทสเหตุ ๓. ติเหตุกจติ จติ ทีม่ ีเหตุ ๓ มี ๔๗ หรอื ๗๙ ดวง คอื กามาวจรญาณสมั ปยุตตจิต ๑๒ มหคั คตจติ ๒๗ โลกตุ ตรจติ ๘ หรอื ๔๐ มีเหตุ ๓ คือ อโลภเหตุ อโทสเหตุ อโมหเหตุ เหตุเมื่อจาํ แนกโดยอกศุ ล กุศล อพยากตแลว มี ๙ คอื อกศุ ลเหตมุ ี ๓ คอื โลภเหตุ โทสเหตุ โมหเหตุ กุศลเหตุมี ๓ คอื อโลภเหตุ อโทสเหตุ อโมหเหตุ อพยากตเหตมุ ี ๓ คอื อโลภเหตุ อโทสเหตุ อโมหเหตุ ฯ ดาวนโ หลดขอมลู ตางๆไดจาก ขอ ความเพิ่มเติมท่ี youtube หรอื Post ใน fb ID: Kanrasi Sengking (ตาม link ทแ่ี ปะไว)

~5~ แสดงจํานวน อกศุ ลเหตุ กศุ ลเหตุ และกรยิ าเหตุ โดยพิสดาร และใหจาํ แนกเหตุเหลานั้นมาใหเ ห็นชัดดงั น้ี อกศุ ลเหตมุ ี ๒๒ คือ โลภเหตมุ ี ๘ ท่ใี นโลภมลู จิต ๘ โทสเหตมุ ี ๒ ท่ีในโทสมูลจติ ๒ โมหเหตมุ ี ๑๒ ท่ใี นอกศุ ลจติ ๑๒ กุศลเหตมุ ี ๑๐๗ คือ อโลภเหตมุ ี ๓๗ ท่ใี น มหากุศลจิต ๘ มหคั คตกศุ ลจติ ๙ มรรคจติ ๒๐ อโทสเหตุมี ๓๗ ทีใ่ น มหากุศลจติ ๘ มหัคคตกศุ ลจิต ๙ มรรคจิต ๒๐ อโมหเหตมุ ี ๓๓ ทใ่ี น มหากุศลญาณสมั ปยุตตจิต ๔ มหคั คตกศุ ลจิต ๙ มรรคจติ ๒๐ กรยิ าเหตมุ ี ๔๗ คือ อโลภเหตุมี ๑๗ ที่ใน มหากรยิ าจิต ๘ มหคั คตกริยาจติ ๙ อโทสเหตมุ ี ๑๗ ท่ใี น มหากริยาจิต ๘ มหัคคตกริยาจติ ๙ อโมหเหตมุ ี ๑๓ ทใี่ น มหากรยิ าญาณสมั ปยตุ ตจิต ๔ มหัคคตกริยาจติ ๙ เหตุโดยพสิ ดารมจี ํานวน ๒๘๓ คือ อกุศลเหตุ ๒๒ กุศลเหตุ ๑๐๗ วิปากเหตุ ๑๐๗ กริยาเหตุ ๔๗ ๑. อกศุ ลจิตทม่ี ีโลภเหตุ แตไ มม โี ทสเหตุ ไดแ ก โลภมลู จิต ๘ ๒. อกุศลจิตท่มี โี ทสเหตุ แตไ มม โี ลภเหตุ ไดแ ก โทสมลู จิต ๒ ๓. อกศุ ลจิตทม่ี โี ลภเหตุ และโทสเหตุ ไมม ี ๔. อกุศลจติ ทไี่ มมโี ลภเหตุ และโทสเหตุ ไดแ ก โมหมูลจิต ๒ ๕. กุศลจติ ทม่ี อี โลภเหตุ แตไ มม อี โมหเหตุ ไดแ ก มหากุศลญาณวปิ ปยตุ ตจติ ๔ ๖. กศุ ลจติ ทมี่ ีอโมหเหตุ แตไ มม อี โลภเหตุ ไมม ี ๗. กศุ ลจติ ทม่ี ีอโลภเหตุ และอโมหเหตุ ไดแ ก มหากุศลญาณสัมปยตุ ตจิต ๔ มหัคคตกศุ ลจิต ๙ มรรคจิต ๔ หรือ ๒๐ ๘. กศุ ลจิตทไ่ี มม อี โลภเหตุ และอโมหเหตุ ไมม ี เม่ือจาํ แนกจิตโดยเหตุ ๖ แลว มีแต อเหตกุ จิต เอกเหตุกจติ ทวเิ หตกุ จิต ติเหตุกจิต สวนจตุเหตุกจิต ปญจเหตุกจติ ฉเหตกุ จิต นนั้ ไมมี การทจี่ ตุเหตกุ จติ ปญ จเหตุกจติ ฉเหตุกจติ ไมม นี นั้ เพราะอกศุ ลเหตมุ เี พยี ง ๓ กุศลเหตแุ ละ อพยากตเหตุ ก็มีเพยี ง ๓ ธรรมดาอกุศลเหตกุ บั กศุ ลเหตุ หรอื กับอพยากตเหตนุ น้ั เกดิ ข้ึนพรอ มกันในจิตดวงเดยี วกนั ไมได ฉะนัน้ จตุเหตกุ จติ ปญจเหตุกจิต ฉเหตกุ จติ จึงไมมี ความแตกตางกันระหวางอเหตุกจิต กบั สเหตกุ จิตนัน้ คือ ๑. อเหตกุ จิต จิตที่ไมมเี หตนุ ้นั มีกําลงั ออน ไมม่นั คงในการรบั อารมณ สเหตกุ จิต จิตท่มี ีเหตุ มีกําลงั เขม แข็ง มน่ั คงในการรับอารมณ ๒. อเหตกุ จติ เมอื่ วาโดยชาติแลว มี ๒ ชาติ คือ วปิ ากชาติ กบั กิรยิ าชาติ สเหตกุ จิต เมอื่ วา โดยชาติแลว มี ๔ ชาติ คือ กุศลชาติ อกศุ ลชาติ วปิ ากชาติ กิรยิ าชาติ ๓. อเหตุกจติ เปน กามพวกเดียว ดาวนโ หลดขอมลู ตา งๆไดจ าก ขอ ความเพ่มิ เติมท่ี youtube หรือ Post ใน fb ID: Kanrasi Sengking (ตาม link ทแ่ี ปะไว)

~6~ สเหตกุ จติ เปน กามะ มหัคคตะ และ โลกุตตระ ไดทัง้ ๓ ๔. อเหตกุ จติ เปนโลกยี ะ สเหตกุ จิต เปนโลกียะ และ โลกุตตระ ไดทัง้ ๒ เอกเหตุกเจตสกิ เจตสิกที่มเี หตุ ๑ ตาม อคหติ คั คหนนยั มี ๓ ดวง คอื โลภเจตสกิ มีเหตุ ๑ คือ โมหเหตุ โทสเจตสกิ มีเหตุ ๑ คอื โมหเหตุ วจิ ิกิจฉาเจตสกิ มีเหตุ ๑ คือ โมหเหตุ เอกเหตุกเจตสกิ ตามคหติ คั คหนนัย มี ๒๐ ดวง คือ อัญญสมานเจตสกิ ๑๑ (เวน ปติ ฉันทะ) ทีป่ ระกอบกับ โมหมลู จติ มีเหตุ ๑ คือ โมหเหตุ อหริ ิกะ อโนตตปั ปะ อุทธัจจะ ท่ีประกอบกับ โมหมลู จิต มเี หตุ ๑ คือ โมหเหตุ วจิ กิ จิ ฉาเจตสกิ ๑ มีเหตุ ๑ คอื โมหเหตุ โลภเจตสิก ๑ มีเหตุ ๑ คือ โมหเหตุ โทสเจตสกิ ๑ มีเหตุ ๑ คือ โมหเหตุ โมหเจตสิก ๑ ท่ีประกอบกบั โลภมูลจิต มีเหตุ ๑ คอื โลภเหตุ โมหเจตสกิ ๑ ท่ีประกอบกับโทสมลู จติ มเี หตุ ๑ คอื โทสเหตุ อโลภเจตสิก ๑ ท่ปี ระกอบกบั ญาณวปิ ปยตุ ตจติ มีเหตุ ๑ คอื อโทสเหตุ อโทสเจตสกิ ๑ ทปี่ ระกอบกบั ญาณวปิ ปยตุ ตจติ มเี หตุ ๑ คอื อโลภเหตุ อโลภะ อโทสะ ท่ปี ระกอบกบั ญาณวปิ ปยตุ ตจิตนนั้ เปน เจตสิกพวกเอกเหตกุ เจตสกิ อโลภะ อโทสะ ที่ประกอบกับญาณสัมปยุตตจติ น้ัน เปน เจตสิกพวกทวเิ หตกุ เจตสิก และ ตเิ หตกุ เจตสิก ๓๕ ดวงนัน้ ไดแก อญั ญสมานเจตสกิ ๑๓ โสภณเจตสกิ ๒๒ (เวนอโลภะ อโทสะ ปญญา) ที่ประกอบกับญาณสัมปยุตตจิต เหตุ ๓ น้นั คอื อโลภเหตุ อโทสเหตุ อโมหเหตุ ตเิ หตกุ จติ ๔๗ หรือ ๗๙ คอื กามาวจรญาณสัมปยุตตจิต ๑๒ อโลภเหตุ มหคั คตจิต ๒๗ มเี หตุ ๓ คือ อโทสเหตุ โลกตุ ตรจิต ๘ หรอื ๔๐ อโมหเหตุ ตเิ หตกุ เจตสิก ๒๗ คือ อหิริกะ อโนตตปั ปะ อุทธจั จะ ถนี มิทธะ มเี หตุ ๓ คอื โลภเหตุ โทสเหตุ โมหเหตุ โสภณเจตสกิ ๒๒ (เวน อโลภะ อโทสะ ปญญา) มีเหตุ ๓ คอื อโลภเหตุ อโทสเหตุ อโมหเหตุ จําแนกอโลภเจตสิก อโทสเจตสกิ ปญญาเจตสกิ โดยเหตุ ตามนยั ทัง้ ๒ คือ นบั แลวไมนบั อีก และนบั แลวนับอกี ดงั นี้  จําแนกอโลภเจตสกิ อโทสเจตสิก ปญ ญาเจตสิกโดยเหตุ ตามนัยท่ีนับแลว ไมนบั อกี เปนทวิเหตุกเจตสกิ คอื เจตสกิ ท่มี ีเหตุ ๒ ดงั นี้ คอื อโลภเจตสกิ มเี หตุ ๒ คือ อโทสเหตุ อโมหเหตุ ดาวนโหลดขอมูลตางๆไดจ าก ขอ ความเพมิ่ เติมที่ youtube หรือ Post ใน fb ID: Kanrasi Sengking (ตาม link ทแี่ ปะไว)

~7~ อโทสเจตสกิ มเี หตุ ๒ คอื อโลภเหตุ อโมหเหตุ ปญ ญาเจตสิก มเี หตุ ๒ คือ อโลภเหตุ อโทสเหตุ  จาํ แนก อโลภเจตสกิ อโทสเจตสิก ปญญาเจตสกิ โดยเหตตุ ามนยั ทน่ี ับแลว นับอีกดงั นี้ คือ = เปนเอกเหตกุ เจตสิก คือ เจตสิกทมี่ ีเหตุ ๑ มี ๒ ดวง คือ อโลภเจตสกิ ท่ีประกอบกับญาณวปิ ปยตุ ตจติ มเี หตุ ๑ คือ อโทสเหตุ อโทสเจตสกิ ทปี่ ระกอบกับญาณวปิ ปยุตตจติ มีเหตุ ๑ คอื อโลภเหตุ = เปน ทวเิ หตกุ เจตสิก คอื เจตสิกท่มี ีเหตุ ๒ มี ๓ ดวง คอื อโลภเจตสกิ ท่ีประกอบกับญาณสัมปยุตตจิตมีเหตุ ๒ คอื อโทสเหตุ อโมหเหตุ อโทสเจตสกิ ทป่ี ระกอบกับญาณสมั ปยุตตจิตมเี หตุ ๒ คือ อโลภเหตุ อโมหเหตุ ปญ ญาเจตสกิ ท่ปี ระกอบกับญาณสมั ปยตุ ตจิตมเี หตุ ๒ คือ อโลภเหตุ อโทสเหตุ อธบิ ายปรมตั ถธรรมที่เปน มลู เปนรากของจติ เจตสิก รปู ในหวั ขอ ตอไปนี้ ก. ปรมัตถธรรมท่เี ปน มูลรากของ จิต เจตสิก รูป ไดแก เจตสกิ ๖ ดวง คือ โลภะ โทสะ โมหะ อโลภะ อโทสะ อโมหะ ข. ปรมัตถธรรมที่เปนมลู รากของ จติ เจตสิก รปู เหลานน้ั ชือ่ วา เหตุ ค. ผลทเี่ กิดจากเหตุ ไดแ ก กายกรรม วจกี รรม มโนกรรม ทีเ่ ปน กุศลบา ง อกุศลบาง อพั ยากตบา ง ง. เหตุทเี่ กดิ ใน ปุถชุ น มี ๖ ไดแ ก โลภะ โทสะ โมหะ อโลภะ อโทสะ อโมหะ เหตทุ ่เี กิดใน โสดาบันบคุ คล มี ๖ ไดแก โลภะ โทสะ โมหะ อโลภะ อโทสะ อโมหะ เหตุทเ่ี กดิ ใน อนาคามบี คุ คล มี ๕ ไดแก โลภะ โมหะ อโลภะ อโทสะ อโมหะ เหตุทเี่ กดิ ใน พระอรหนั ต มี ๓ ไดแก อโลภเหตุ อโทสเหตุ อโมหเหตุ แสดงเหตทุ เี่ กดิ แกบ คุ คลดงั ตอ ไปนี้ ๑. เหตุท่ีเกิดแกพระอนาคามไี ด แตเ กิดแกพระอรหันตไ มได ไดแก โลภเหตุ โมหเหตุ ๒. เหตทุ ่เี กดิ แกพระอรหนั ตไ ด แตเกดิ แกพระอนาคามีไมไ ด ไมม ี ๓. เหตทุ ี่เกดิ แกพระอนาคามี และพระอรหนั ต ไดทั้งสอง ไดแก อโลภเหตุ อโทสเหตุ อโมหเหตุ ๔. เหตทุ ่เี กดิ แกพระอนาคามี และพระอรหนั ต ไมไ ดทั้งสอง ไดแก โทสเหตุ พระอนาคามี ไมม ีความโกรธ ทราบไดจากการจาํ แนกเหตุโดยบคุ คล คอื เหตทุ ่เี กิดกบั พระอนาคามี บุคคล มี ๕ คอื โลภเหตุ โมหเหตุ อโลภเหตุ อโทสเหตุ อโมหเหตุ สาํ หรับตัวโทสเหตุ ซงึ่ เปน ตัวเหตุทจ่ี ะทําให เกิดความโกรธนน้ั ไมเกดิ กบั พระอนาคามี หรือจะพูดวาพระอนาคามีละโทสะไดเ ดด็ ขาดแลวกไ็ ด กจิ จสงั คหะ คาํ วา กิจ ในกิจจสงั คหะนี้ หมายความวา การงานของจิต เจตสิก ชอ่ื วา กิจ เปนชอ่ื ของ จิต เจตสกิ กจิ มี ๑๔ คอื ๑. ปฏิสนธิกิจ ๒. ภวังคกิจ ๓. อาวชั ชนกจิ ๔. ทัสสนกจิ ๕. สวนกิจ ๖. ฆายนกิจ ๗. สายนกจิ ดาวนโ หลดขอ มูลตา งๆไดจ าก ขอความเพมิ่ เติมท่ี youtube หรอื Post ใน fb ID: Kanrasi Sengking (ตาม link ท่แี ปะไว)

~8~ ๘. ผุสนกจิ ๙. สัมปฏจิ ฉนกิจ ๑๐. สันตีรณกิจ ๑๑. โวฏฐพั พนกจิ ๑๒. ชวนกิจ ๑๓. ตทารมั มณกิจ ๑๔. จตุ ิกจิ การสงเคราะหจ ติ เจตสกิ โดยประเภทแหงกจิ ช่อื วา กจิ จสังคหะ / และ กจิ มีจาํ นวน ๑๔ คือ ๑. ปฏิสนธกิ จิ หมายความวา ทาํ หนาที่ สืบตอภพใหม ๒. ภวงั คกจิ หมายความวา ทําหนา ท่ี รักษาภพ ๓. อาวชั ชนกจิ หมายความวา ทาํ หนา ท่ี พิจารณาอารมณใ หม ๔. ทัสสนกจิ หมายความวา ทําหนา ที่ เหน็ ๕. สวนกจิ หมายความวา ทาํ หนา ที่ ไดย นิ ๖. ฆายนกจิ หมายความวา ทาํ หนาท่ี รกู ลนิ่ ๗. สายนกจิ หมายความวา ทําหนาท่ี รรู ส ๘. ผสุ นกิจ หมายความวา ทาํ หนา ที่ รถู กู ตอ ง ๙. สมั ปฏจิ ฉนกจิ หมายความวา ทาํ หนาท่ี รับอารมณ ๑๐. สนั ตรี ณกิจ หมายความวา ทาํ หนาท่ี ไตส วนอารมณ ๑๑. โวฏฐพั พนกจิ หมายความวา ทาํ หนา ท่ี ตดั สนิ อารมณ ๑๒. ชวนกจิ หมายความวา ทําหนาท่ี เสพอารมณ ๑๓. ตทารัมมณกิจ หมายความวา ทาํ หนาที่ รับอารมณต อจากชวนะ ๑๔. จตุ กิ จิ หมายความวา ทาํ หนา ท่ี สน้ิ จากภพเกา จติ ทที่ าํ หนา ที่มากทสี่ ดุ มี ๒ ดวง คอื อุเบกขาสนั ตีรณ ๒ ทําหนา ท่ี ๕ อยาง คือ ปฏิสนธกิ ิจ ภวงั คกจิ จุติกิจ สันตีรณกจิ ตทารัมมณกิจ เจตสกิ ท่ที าํ หนาทีม่ ากทส่ี ดุ มี ๗ ดวง คอื สพั พจิตตสาธารณเจตสกิ ๗ ทาํ หนา ท่ี ๑๔ อยา ง คือ ๑) ปฏสิ นธกิ จิ ๒) ภวงั คกจิ ๓) จุตกิ จิ ๔) อาวัชชนกจิ ๕) ทสั สนกจิ ๖) สวนกจิ ๗) ฆายนกจิ ๘) สายนกิจ ๙) ผสุ นกิจ ๑๐) สัมปฏจิ ฉนกิจ ๑๑) สันตีรณกจิ ๑๒) โวฏฐพั พนกจิ ๑๓) ชวนกิจ ๑๔) ตทารมั มณกจิ ในจาํ นวนเจตสกิ ๕๒ น้นั จํานวนเจตสกิ ทีท่ ําหนา ทนี่ อ ยท่สี ดุ มี ๑๗ ดวง คอื อกุศลเจตสกิ ๑๔ วิรตี เจตสิก ๓ ทําหนาท่ี ๑ กจิ คอื ชวนกจิ , เจตสกิ ที่ทาํ หนา ทม่ี ากทีส่ ดุ มี ๗ ดวงคอื สพั พจิตตสาธารณเจตสกิ ๗ ทาํ หนาที่ ๑๔ อยาง คือ ... (ป ภ จุ อา ทัส ส ฆา สา ผุ สัม สัน โว ช ต) กจิ มี ๑๔ กจิ แตฐ านของกิจเหลานัน้ มเี พยี ง ๑๐ ฐาน ทีเ่ ปน เชน น้ีเพราะ ทัสสนกจิ สวนกิจ ฆายนกจิ สายนกิจ ผสุ สนกิจ ทงั้ ๕ นี้ ตองต้งั อยใู นระหวาง ปญจทวารวัชชนจิต กับ สัมปฏิจฉนจติ เทานน้ั ต้งั อยูที่อื่น ไมได ฐานนี้เรียกวา ปญจวญิ ญาณฐาน ดวยเหตนุ ี้ ฐานจงึ มีเพยี ง ๑๐ ฐาน ฐานโดยพิสดาร มีจํานวน ๒๕ คอื ดาวนโหลดขอ มลู ตางๆไดจาก ขอ ความเพ่มิ เติมท่ี youtube หรือ Post ใน fb ID: Kanrasi Sengking (ตาม link ทแี่ ปะไว)

~9~ ปฏสิ นธฐิ านมี ๑ ภวงั คฐานมี ๖ อาวชั ชนฐานมี ๒ ปญ จวิญญาณฐานมี ๑ สัมปฏิจฉนฐานมี ๑ สนั ตีรณฐาน มี ๑ โวฏฐพั พนฐานมี ๒ ชวนฐานมี ๖ ตทารมั มณฐานมี ๒ จุตฐิ านมี ๓ รวมเปนฐาน ๒๕ ดงั มหี ลกั ฐานบาลีแสดงวา สนฺธิ เอกํ ฉ ภวงคฺ ํ ทวฺ าวชฺชนํ ปจฺ าทเฺ ยกํ เทฺว โว โช ฉ ตทา เทวฺ ติ จุตีติ ปฺจวสี ต.ิ ความแตกตา งกนั ระหวา งกจิ และฐาน มดี งั น้ี คอื หนา ทขี่ องจติ เจตสิก มปี ฏสิ นธิจติ เปน ตน ช่อื วา กิจ, สถานท่ีทํางานของจติ เจตสกิ ท้งั หลาย กลา วคือเมอ่ื ดวงท่ี ๑ ดบั ลง และในระหวางดวงที่ ๓ ยังไมเกิดขึน้ มีเวลาช่วั ๑ ขณะใหญข องจติ ซง่ึ เปนเวลาสําหรับดวงท่ี ๒ จะเกดิ ขึน้ ได และทาํ หนาที่ของปฏสิ นธิกจิ เปนตน ในระหวางนี้ แหละชอื่ วา ฐาน ถาจะอปุ มาแลว การงานของคนทงั้ หลายเหมอื นกับกิจ สํานกั งานตาง ๆ เหมอื นกบั ฐาน ปฏสิ นธิฐาน มี ๑ คือ ระหวา งจตุ จิ ติ กบั ภวังคจติ ภวังคค ฐาน มี ๖ คือ ระหวา งปฏิสนธจิ ิต กับ อาวชั ชนจิต, ตทารัมมณจติ กบั อาวชั ชนจติ , ชวนจิต กับ อาวชั ชนจิต, โวฏฐัพพนจิต กับ อาวชั ชนจิต, ตทารมั มณจิต กบั จุติจติ , ชวนจติ กับ จุติจติ ฯ (แสดงการ)จาํ แนกกจิ ๑๔ โดยจติ ๘๙ มดี งั นี้ จิตที่ทาํ หนาทป่ี ฏสิ นธกิ ิจ ภวังคกจิ จตุ ิกจิ มี ๑๙ ดวง คือ อุเบกขาสนั ตีรณจิต ๒ มหาวปิ ากจติ ๘ มหคั คตวิปากจติ ๙ จิตท่ีทําหนา ทอ่ี าวัชนกจิ มี ๒ ดวง คือ ปญ จทวาราวชั ชนจติ ๑ มโนทวาราวชั ชนจิต ๑ จติ ทท่ี าํ หนาทที่ สั สนกจิ มี ๒ ดวง คอื จกั ขวุ ิญญาณจติ ๒ จติ ที่ทาํ หนา ทส่ี วนกจิ มี ๒ ดวง คอื โสตวญิ ญาณจติ ๒ จติ ทท่ี าํ หนา ทฆ่ี ายนกิจ มี ๒ ดวง คือ ฆานวิญญาณจติ ๒ จิตทท่ี าํ หนาทสี่ ายนกิจ มี ๒ ดวง คือ ชิวหาวญิ ญาณจิต ๒ จิตทท่ี ําหนา ทผี่ สุ นกิจ มี ๒ ดวง คอื กายวิญญาณจติ ๒ จิตทีท่ ําหนาทสี่ ัมปฏจิ ฉนกจิ มี ๒ ดวง คอื สมั ปฏจิ ฉนจิต ๒ จติ ที่ทําหนาทส่ี นั ตรี ณกิจ มี ๓ ดวง คือ สนั ตรี ณจิต ๓ จิตทที่ าํ หนาทโี่ วฏฐพั พนกจิ มี ๑ ดวง คือ มโนทวาราวัชชนจติ ๑ จิตทที่ าํ หนาทช่ี วนกจิ มี ๕๕ ดวง คือ อกุศลจติ ๑๒ หสิตุปปาทจติ ๑ มหากศุ ลจิต ๘ มหากริยาจิต ๘ มหคั คตกุศลจิต ๙ มหัคคตกริยาจิต ๙ โลกุตตรจิต ๘ จติ ท่ที ําหนาทต่ี ทารมั มณกิจ มี ๑๑ ดวง คือ สนั ตรี ณจิต ๓ มหาวิปากจิต ๘ จําแนกกจิ ๑๔ โดยอเหตกุ จติ ๑๘ ดงั นี้ คอื จติ ท่ีทาํ หนาท่ี ปฏสิ นธกิ ิจ ภวงั คกจิ จตุ ิกิจ มี ๒ ดวงคือ อเุ บกขาสันตีรณจิต ๒ จติ ทท่ี าํ หนาท่ี อาวัชชนกจิ มี ๒ ดวงคอื ปญจทวาราวัชชนจิต ๑ มโนทวาราวัชชนจิต ๑ จติ ทท่ี าํ หนาที่ ทสั สนกจิ มี ๒ ดวงคอื จกั ขุวญิ ญาณจิต ๒ ดาวนโหลดขอ มลู ตางๆไดจ าก ขอความเพ่ิมเติมที่ youtube หรอื Post ใน fb ID: Kanrasi Sengking (ตาม link ทแ่ี ปะไว)

จติ ทท่ี าํ หนา ท่ี สวนกจิ ~ 10 ~ จิตทที่ าํ หนาที่ ฆายนกิจ จติ ทท่ี าํ หนาที่ สายนกจิ มี ๒ ดวงคือ โสตวิญญาณจติ ๒ จิตที่ทําหนาท่ี ผสุ นกจิ มี ๒ ดวงคอื ฆานวิญญาณจิต ๒ จติ ที่ทาํ หนาที่ สมั ปฏจิ ฉนกิจ มี ๒ ดวงคือ ชิวหาวญิ ญาณจิต ๒ จิตทีท่ าํ หนาท่ี สนั ตรี ณกจิ มี ๒ ดวงคอื กายวญิ ญาณจิต ๒ จิตทท่ี าํ หนา ที่ โวฏฐพั พนกจิ มี ๒ ดวงคือ สมั ปฏิจฉนจิต ๒ จิตท่ที าํ หนาท่ี ชวนกจิ มี ๓ ดวงคอื สนั ตีรณจิต ๓ จิตที่ทาํ หนา ท่ี ตทารมั มณกจิ มี ๑ ดวงคือ มโนทวาราวัชชนจิต ๑ มี ๑ ดวงคอื หสิตุปปาทจิต ๑ มี ๓ ดวงคอื สันตรี ณจิต ๓ จาํ แนก กจิ ๑๔ โดย อเหตกุ วบิ ากจติ ๑๕ ๑.จิตท่ที าํ หนา ท่ี ปฏสิ นธกิ ิจ ภวังคกิจ จุติกิจ มี ๒ ดวง คอื อุเบกขาสนั ตีรณจติ ๒ ๒. จิตทที่ าํ หนา ท่ี อาวัชชนกิจ ไมม ี ๓. จติ ท่ที ําหนา ที่ ทัสสนกิจ มี ๒ ดวง คือ จักขุวญิ ญาณจติ ๒ ๔. จติ ทท่ี ําหนา ที่ สวนกิจ มี ๒ ดวง คือ โสตวิญญาณจิต ๒ ๕. จิตท่ที าํ หนา ที่ ฆายนกจิ มี ๒ ดวง คือ ฆานวิญญาณจติ ๒ ๖. จิตท่ที าํ หนา ที่ สายนกจิ มี ๒ ดวง คอื ชิวหาวญิ ญาณจิต ๒ ๗. จิตทท่ี ําหนาที่ ผสุ นกิจ มี ๒ ดวง คือ กายวญิ ญาณจิต ๒ ๘. จิตทีท่ ําหนาที่ สัมปฏจิ ฉนกิจ มี ๒ ดวง คือ สมั ปฏจิ ฉนจิต ๒ ๙. จิตทท่ี ําหนา ท่ี สนั ตีรณกิจ มี ๓ ดวง คือ สันตรี ณจติ ๓ ๑๐. จิตที่ทําหนา ท่ี โวฏฐพั พนกจิ ไมมี ๑๑. จติ ทท่ี าํ หนาท่ี ชวนกิจ ไมมี ๑๒. จิตท่ที าํ หนาท่ี ตทารัมมณกิจ มี ๓ ดวง คอื สันตีรณจติ ๓ แปลคาถา อฎสฏ ตถา เทวฺ จ นวาฏ เทวฺ ยถากฺกมํ เอก ทวฺ ิ ติ จตุ ปจฺ กจิ จฺ ฏานานิ นิททฺ ิเส ? คาถานแ้ี ปลความวา แสดงจํานวนจิต โดยหนาท่ีและฐานตามลําดบั ดังนคี้ อื จิตที่มหี นาที่ ๑ และฐาน ๑ มีจํานวน ๖๘ ดวง จติ ทมี่ ีหนาท่ี ๒ และฐาน ๒ มจี าํ นวน ๒ ดวง จิตที่มหี นา ท่ี ๓ และฐาน ๓ มีจาํ นวน ๙ ดวง จิตทม่ี หี นา ที่ ๔ และฐาน ๔ มีจาํ นวน ๘ ดวง จิตท่ีมหี นาที่ ๕ และฐาน ๕ มีจาํ นวน ๒ ดวง จติ ทม่ี หี นาท่ี ๒ และฐาน ๒ มจี ํานวน ๒ ดวงคือ โสมนัสสันตีรณจติ ๑ มสี นั ตรี ณกิจ ตทารัมมณกจิ และ สันตรี ณฐาน ตทารมั มณฐาน มโนทวาราวชั ชนจติ ๑ มีอาวัชชนกจิ โวฏฐัพพนกิจ และ อาวชั ชนฐาน โวฏฐพั พนฐาน ฯ ดาวนโหลดขอ มูลตางๆไดจ าก ขอความเพม่ิ เตมิ ท่ี youtube หรือ Post ใน fb ID: Kanrasi Sengking (ตาม link ที่แปะไว)

~ 11 ~ แสดงการจาํ แนกฐาน ๑๐ โดยจติ ๘๙ หรอื ๑๒๑ ดังนี้ คอื ๑. จิตทที่ ําหนา ทีใ่ น ปฏสิ นธิฐาน ภวงั คฐาน จุติฐาน มี ๑๙ ดวง คอื อุเบกขาสนั ตรี ณจติ ๒ มหาวิปากจติ ๘ มหคั คตวิปากจิต ๙ ๒. จิตที่ทาํ หนาทใ่ี น อาวัชชนฐาน มี ๒ ดวง คือ ปญ จทวาราวชั ชนจติ ๑ มโนทวาราวัชชนจติ ๑ ขณะเกดิ ในมโนทวาร ๓. จติ ที่ทําหนาทใี่ น ปญจวิญญาณฐาน มี ๑๐ ดวง คอื ทวิปญ จวญิ ญาณจิต ๑๐ ๔. จติ ที่ทาํ หนาทใ่ี น สมั ปฏิจฉนฐาน มี ๒ ดวง คอื สัมปฏิจฉนจติ ๒ ๕. จติ ที่ทําหนาทใ่ี น สันตรี ณฐาน มี ๓ ดวง คือ สนั ตรี ณจติ ๓ ๖. จิตทีท่ ําหนาท่ีใน โวฏฐพั พนฐาน มี ๑ ดวง คอื มโนทวาราวัชชนจติ ๑ ขณะเกิดในปญจทวาร ๗. จติ ท่ีทําหนาท่ใี น ชวนฐาน มี ๕๕ หรือ ๘๗ ดวง คือ อกุศลจติ ๑๒ หสติ ปุ าทจิต ๑ มหากศุ ลจติ ๘ มหา กริยาจิต ๘ มหัคคตกุศลจิต ๙ มหัคคตกริยาจิต ๙ โลกุตตรจิต ๘ หรือ ๔๐ ๘. จิตทท่ี าํ หนาที่ใน ตทารมั มณฐาน มี ๑๑ ดวง คือ สนั ตีรณจิต ๓ มหาวิปากจิต ๘ ชวนฐานมี ๖ ฐาน คอื ๑. ระหวา งโวฏฐพั พนะ กบั ตทารัมมณะ ในปญ จทวารวถิ ี ทเ่ี ปน ตทารัมมณวาระ ๒. ระหวางโวฏฐพั พนะ กบั ภวงั ค ในปญจทวารวถิ ี ทีเ่ ปนชวนะวาระ ๓. ระหวา งโวฏฐพั พนะ กับ จุติ ในปญจทวารมรณาสันนวถิ ี ที่เปนชวนวาระ ๔. ระหวา งมโนทวาราวัชชนะ กับ ตทารัมมณะ ในกามชวนมโนทวารวิถี ทเี่ ปนตทารัมมณวาระ ๕. ระหวา งมโนทวารวชั ชนะ กบั ภวังค ในกามชวนมโนทวารวถิ ี ท่เี ปน ชวนวาระ ๖. ระหวา งมโนทวาราวชั ชน กบั จุติ ในมโนทวารมรณาสันนวิถี ทเ่ี ปน ชวนวาระ ทวารสังคหะ ทวารสงั คหะ แปลวา การสงเคราะห จิต เจตสิก โดยประเภทแหงทวาร ช่อื วา ทวารสังคหะ คาํ วา ทวาร ในท่ีนี้ หมายความวา ประตู ซ่ึงเปนท่เี ขาออก ของวถิ จี ติ ทงั้ หลาย เหมอื นหนึ่งประตูสาํ หรับเปน ทเ่ี ขาออก ของคนทง้ั หลาย มี ๖ อยา ง คือ ๑. จักขทุ วาร องคธ รรมไดแก จักขปุ สาท ๔. ชวิ หาทวาร องคธรรมไดแ ก ชิวหาปสาท ๒. โสตทวาร องคธ รรมไดแ ก โสตปสาท ๕. กายทวาร องคธรรมไดแก กายปสาท ๓. ฆานทวาร องคธรรมไดแก ฆานปสาท ๖. มโนทวาร องคธ รรมไดแ ก ภวงั คจติ ๑๙ ทวารมี ๖ พรอมดวยองคธ รรม คอื ......... // คําวา ทวาร แปลวา ประตสู ําหรบั เปนท่ีเขาออกของคน ทง้ั หลาย จักขุปสาทเปนตน ชอ่ื วา ทวาร เพราะเหมือนหน่ึงประตูเปนที่เขาออกของวถิ ีจิตทั้งหลาย ธรรมดาสัตว ท้ังหลาย ถาไมม ีปสาทรูปทั้ง ๕ และภวังคจิตแลว วิถีจิตก็เกิดข้ึนไมได เมื่อวิถีจิตเกิดข้ึนไมไดแลว ก็เปนอันวา การทาํ การพูด การคดิ ทีด่ กี ็ตาม ไมด ีกต็ าม ก็มไี มไดเ ชน เดียวกนั แสดง จติ ท่ีเกดิ ในทวารเดียว โดยแนนอนมี ๓๖ หรือ ๖๘ ดวง ไดแ ก ทวิปญ จวญิ ญาณจติ ๑๐ อัปปนาชวนจติ ดาวนโ หลดขอ มลู ตางๆไดจ าก ขอ ความเพิ่มเติมท่ี youtube หรอื Post ใน fb ID: Kanrasi Sengking (ตาม link ทีแ่ ปะไว)

~ 12 ~ ๒๖ หรือ ๕๘ ไมแ นน อน ไดแ ก กามจิต ๔๔ (เวน ทวปิ ญ จวิญญาณจติ ๑๐) จิตที่เกิดในทวาร ๕ โดยแนนอนมี ๓ ดวง ไดแก มโนธาตุ ๓ ไมแ นนอน ไดแ ก กามจติ ๔๑ (เวน ทวปิ ญจวญิ ญาณจติ ๑๐ มโนธาตุ ๓) จิตที่เกดิ ในทวาร ๖ โดยแนนอน มี ๓๑ ดวง ไดแ ก โสมนัสสันตีรณจิต ๑ มโนทวาราวชั ชนจติ ๑ กามชวนจิต ๒๙ ไมแ นน อนมี ๑๐ ดวง ไดแ ก อุเบกขาสนั ตรี ณจิต ๒ มหาวปิ ากจิต ๘ จิตทีเ่ กิดพนจากทวาร ๖ โดยแนนอนมี ๙ ดวง ไดแก มหัคคตวปิ ากจิต ๙ ไมแ นนอน ไดแ ก อุเบกขาสนั ตีรณจิต ๒ มหาวิปากจติ ๘ และจงแปลคาถา ดงั ตอ ไปน้ี เอกทวฺ าริกจติ ตฺ านิ ปจฺ ฉทวฺ ารกิ านิ จ ฉทวฺ ารกิ วมิ ุตตฺ านิ วมิ ตุ ตฺ านิ จ สพพฺ ถา ฉตตฺ สึ ติ ตถา ตณี ิ เอกตตฺ ึส ยถากกฺ มํ ทสธา นวธา เจติ ปจฺ ธา ปริทีปเย ฯ คาถานี้แปลความวา จติ ทีเ่ กิดในทวารเดยี ว จติ ท่เี กดิ ในทวาร ๕ จิตทเี่ กิดในทวาร ๖ จิตท่ีบางทีเกิดในทวาร ๖ บางทีเกดิ พนจากทวาร ๖ และจติ ท่ีเกิดพนจากทวาร ๖ เสมอ มีจํานวนตามลําดับดงั นีค้ ือ ๓๖-๓-๓๑–๑๐–๙ แสดงการจาํ แนกทวารรกิ จิต และทวารวมิ ตุ ตจติ โดยอารมณ ๖ ดงั นค้ี อื ๑. จักขทุ วารกิ จิต ๔๖ มีรูปารมณ ทเ่ี ปน ปจจุบันอยางเดยี ว ๒. โสตทวาริกจติ ๔๖ มสี ทั ทารมณ ท่ีเปนปจ จุบนั อยางเดยี ว ๓. ฆานทวาริกจติ ๔๖ มคี ันธารมณ ทีเ่ ปน ปจ จุบันอยางเดยี ว ๔. ชิวหาทวารกิ จิต ๔๖ มีรสารมณ ทเี่ ปน ปจจุบันอยางเดยี ว ๕. กายทวาริกจิต ๔๖ มโี ผฏฐพั พารมณ ที่เปนปจจุบนั อยางเดียว ๖. มโนทวาริกจติ ๖๗ หรือ ๙๙ มอี ารมณ ๖ ที่เปนปจ จุบนั อดตี อนาคต และกาลวมิ ุตต ตามสมควรแก อารมณ ๗. ทวารวิมตุ ตจิต ทเี่ กิดขน้ึ ทาํ หนาท่ีปฏสิ นธิ ภวงั ค จตุ ิ ทัง้ ๑๙ ดวงน้ีมีอารมณหนึ่งอารมณใ ด ในบรรดา อารมณท ง้ั ๖ ท่ีเรยี กวา กรรม กรรมนิมิต คตินิมติ ซง่ึ เปน ปจจุบัน อดตี และบญั ญัติ ทฉี่ ทวารกิ มรณาสันนชวนะ รับเอามาจากภพกอ น เมือ่ ใกลจะตายเปน สว นมาก ทวารวมิ ตุ ตจติ คอื จิตทพ่ี น จากทวารทง้ั ๖ ได มี ๑๙ ดวง คอื อุเบกขาสันตีรณจิต ๒ มหาวปิ ากจิต ๘ มหคั คตวิปากจิต ๙ จติ ๑๙ ดวงนี้ ในขณะทาํ หนาที่ ปฏิสนธิ ภวงั ค จุติ เปน ทวารวิมุตต หมายความวาขณะ ทําหนา ทป่ี ฏิสนธิ และจุตนิ ัน้ ตัวเองยังไมไ ดเ ปนมโนทวาร เพราะไมม วี ิถีจติ เกดิ ขึน้ แสดง จิตทีเ่ กดิ ในกายทวาร โดยแนน อนมี ๒ ดวง คอื กายวิญญาณจติ ๒ ไมแนนอนมี ๔๔ ดวง คือ กามจิต ๔๔ (เวน ทวิปญจวญิ ญาณจิต ๑๐) ดาวนโหลดขอมูลตา งๆไดจ าก ขอความเพิ่มเติมท่ี youtube หรือ Post ใน fb ID: Kanrasi Sengking (ตาม link ท่ีแปะไว)

~ 13 ~ จิตที่เกดิ ในมโนทวาร แนนอนมี ๒๖ หรอื ๕๘ ดวงคือ อปั ปนาชวนะ ๒๖ หรือ ๕๘ ไมแนนอนมี ๔๑ ดวง คอื กามจิต ๔๑ (เวน ทวิปญ จวญิ ญาณจิต ๑๐ มโนธาตุ ๓) หรอื มโนทวาราวชั ชนจติ ๑ กามชวนะ ๒๙ ตทารมั มณจติ ๑๑ จิตทีเ่ กิดพนจากทวาร โดยแนนอนมี ๙ ดวงคอื มหัคคตวปิ ากจติ ๙ ไมแนน อนมี ๑๐ ดวงคอื อุเบกขาสนั ตีรณจิต ๒ มหาวิปากจติ ๘ จกั ขทุ วารกิ เจตสกิ ปญ จทวารกิ เจตสกิ ทวารวิมตุ เจตสิก ท้งั ๓ อยางนี้ โดยแนน อนไมม นี ัน้ เพราะ เจตสกิ ทปี่ ระกอบกบั จกั ขุวญิ ญาณจิตโดยเฉพาะไมม ี เจตสกิ ทปี่ ระกอบกบั มโนธาตุ ๓ โดยเฉพาะไมมี เจตสกิ ที่ ประกอบกับมหคั คตวปิ ากจิต ๙ โดยเฉพาะก็ไมมี ฉะนน้ั เจตสกิ ทงั้ ๓ อยางน้ี จึงเปนเจตสิกท่แี นนอนไมได เจตสกิ ที่เกิดขนึ้ ไมวา เวลาใด ตอ งเกดิ ในทวารเดยี วเสมอน้นั มจี าํ นวน ๒ ดวงคอื อัปปมญั ญาเจตสกิ ๒ ที่ เปน เชน น้ีเพราะอัปปมัญญาเจตสิก ๒ ดวงน้ี เกิดขึ้นรบั สตั วบญั ญัตเิ ปนอารมณ วิถจี ิตทจี่ ะรับสัตวบัญญัตเิ ปน อารมณไ ดน ้ัน ตอ งเปน วถิ จี ติ ท่ีเกดิ ทางมโนทวารอยา งเดียว ที่กลาวเชน นี้มงุ หมายเอาอัปปมญั ญาเจตสิก ที่ ประกอบกบั มหากุศลจิต มหากริยาจติ รูปาวจรกศุ ลจิต รูปาวจรกริยาจิต เทานั้น ถา อัปปมัญญาเจตสกิ ที่ ประกอบกับ รปู าวจรวปิ ากจิตแลว กเ็ ปนทวารวิมุตไิ ป ฉะนนั้ อปั ปมญั ญาเจตสิก ๒ ดวงน้ี จึงเกิดไดเ ฉพาะแต ในมโนทวารเทานั้น เจตสกิ ทีต่ อ งเกดิ ในทวารเสมอ มี ๑๗ ดวง คือ อกศุ ลเจตสิก ๑๔ วิรตเี จตสกิ ๓ เพราะอกุศลเจตสิก ๑๓ ประกอบกับอกุศลจิต ๑๒ ซงึ่ เปน จิตท่เี กิดในทวาร ๖ ทวารใดทวารหนง่ึ เสมอ สว นวิรตเี จตสกิ ๓ นนั้ ประกอบกับมหากศุ ลจติ และโลกุตตรจติ ซงึ่ เปน ทเ่ี กดิ ในทวารใดทวารหน่ึงเสมอเชนเดยี วกัน ฉะน้นั เจตสิกท้ัง ๑๗ ดวงจงึ เกดิ ในทวารโดยแนน อน ปญญาเจตสกิ ท่ีเกดิ ข้นึ โดยไมใ ชทางตา หู จมกู ล้นิ กาย ใจน้นั มี เปนปญ ญาเจตสกิ ทปี่ ระกอบกับมหาวบิ าก ญาณสัมปยุตตจติ ๔ ในขณะท่ีทําหนาที่ปฏสิ นธิ ภวงั ค จตุ ิ และปญญาเจตสิกท่ีประกอบกับมหคั คตวิปากจิต ๙ อารมั มณสงั คหะ ความแตกตา งกนั ระหวางคําวา อารัมมณะกับอาลัมพนะนั้น มดี งั นี้ อารมั มณะ หมาย ความวา ธรรมชาติท่ีเปน ท่ียินดขี อง จิต เจตสกิ ทง้ั หลาย เสมอื นหนง่ึ สวนดอกไมอ ันเปนที่ยินดีของคนทั้งหลาย อาลัมพนะ หมายความวา ธรรมชาตอิ นั เปน เคร่ืองยดึ เหนี่ยวของ จิต เจตสกิ ท้งั หลาย เหมอื นไมเ ทาหรอื เชอื กอันเปนเครือ่ งยดึ เหนี่ยวของคนชรา และคนทุพพลภาพ ๑. รปู ารมณ อารมณม ี ๖ อยา งคือ ๒. สทั ทารมณ องคธ รรมไดแก สตี า ง ๆ ๓. คันธารมณ องคธ รรมไดแก เสียงตา ง ๆ ๔. รสารมณ องคธรรมไดแก กล่ินตาง ๆ องคธ รรมไดแ ก รสตาง ๆ ดาวนโ หลดขอมลู ตางๆไดจ าก ขอ ความเพิม่ เตมิ ท่ี youtube หรอื Post ใน fb ID: Kanrasi Sengking (ตาม link ทแี่ ปะไว)

~ 14 ~ ๕. โผฏฐพั พารมณ องคธรรมไดแ ก เย็น รอ น ออน แข็ง หยอ น ตึง ๖. ธรรมารมณ องคธ รรมไดแ ก จติ เจตสิก ปสาทรปู สุขุมรปู นพิ พาน บัญญัติ แปลคาถา ปฺจวสี ปริตตฺ มหฺ ิ ฉ จติ ตฺ านิ มหคคฺ เต เอกวีสติ โวหาเร อฏ นิพพฺ านโคจเร วสี านุตตฺ รมตุ ตฺ มฺหิ อคคฺ มคคฺ ผลชุ ฌฺ เิ ต ปจฺ สพฺพตถฺ ฉจเฺ จติ สตตฺ ธา ตตฺถ สงคฺ โห. คาถานี้แปลวา / แปลคาถาดงั ตอไปนี้ จติ ๒๕ ดวง คอื ทวปิ ญ จวญิ ญาณจติ ๑๐ มโนธาตุ ๓ สันตรี ณจติ ๓ มหาวปิ ากจิต ๘ หสิตปุ ปาทจิต ๑ เกดิ ไดในอารมณ ๖ ท่ีเปน กามธรรมอยางเดยี ว จติ ๖ ดวง คือ วิญญานญั จายตนฌานจิต ๓ เนวสัญญานาสัญญายตนฌานจติ ๓ เกิดไดใ นธรรมารมณท ่ีเปน มหัคคตะอยางเดยี ว จิต ๒๑ ดวง คือ รปู าวจรจิต ๑๕ (เวนอภญิ ญาจติ ๒) อากาสานญั จายตนฌานจติ ๓ อากญิ จญั ญายตนฌาน จิต ๓ เกิดไดใ นธรรมารมณท เี่ ปน บัญญัตอิ ยางเดยี ว จิต ๘ ดวง คือ โลกตุ ตรจิต ๘ เกิดไดในธรรมารมณทเี่ ปน นิพพานอยา งเดียว จิต ๒๐ ดวง คือ อกศุ ลจิต ๑๒ มหากศุ ลญาณวิปปยุตตจติ ๔ มหากรยิ าญาณวิปปยุตตจิต ๔ เกิดไดในอารมณ ๖ ทเี่ ปนกามะ มหคั คตะ บัญญตั ิ (เวนโลกุตตรธรรม ๙) จิต ๕ ดวง คือ มหากศุ ลญาณสมั ปยุตตจิต ๔ กุศลอภิญญาจติ ๑ เกดิ ไดใ นอารมณ ๖ ทีเ่ ปน กามะ มหคั คตะ โลกุตตระ บัญญัติ (เวน อรหตั ตมรรค อรหัตตผล) จติ ๖ ดวง คือ มหากริยาญาณสมั ปยตุ ตจติ ๔ กริ ิยาอภิญญาจิต ๑ มโนทวาราวัชชนจติ ๑ เกิดไดใ นอารมณ ๖ ทเี่ ปนกามะ มหัคคตะ โลกุตตระ บัญญตั ิ โดยไมมเี หลอื ในอารัมมณสงั คหะนี้ มกี ารสงเคราะหจ ิต ๗ นยั โดยประเภทแหงเอกันตะ ๔ อเนกนั ตะ ๓ ดังทกี่ ลา วมาแลว ดวยประการฉะน้ี. อารมณ ๖ เมื่อจาํ แนกโดยประเภทใหญแลว มี ๔ ประเภท คอื ๑. กามอารมณ องคธ รรมไดแ ก กามจติ ๕๔ เจตสกิ ๕๒ รปู ๒๘ ๒. มหคั คตอารมณ องคธรรมไดแก มหคั คตจิต ๒๗ เจตสิก ๓๕ ๓. โลกตุ ตรอารมณ องคธ รรมไดแ ก โลกตุ ตรจติ ๘ เจตสิก ๓๖ นพิ พาน ๔. บญั ญตั อิ ารมณ องคธรรมไดแ ก สทั ทบญั ญตั ิ อตั ถบัญญัติ อารมณ ๖ แบง ออกเปน ๒ พวก คอื ๑. เตกาลกิ อารมณ เปน อารมณท่เี กีย่ วดวยกาลท้ัง ๓ คอื ปจจุบัน อดีต อนาคต ไดแก จติ เจตสิก รูป จติ เจตสกิ รปู ท่ีเปนปจ จุบนั อารมณน ัน้ หมายถงึ ขณะที่ปรากฏอยูเฉพาะหนา ทางตา หู จมูก ลนิ้ กาย ใจ คอื กาํ ลงั เหน็ กําลงั ไดยนิ กาํ ลังไดกล่ิน กําลงั รรู ส กาํ ลังถูกตอ ง กําลังรใู นอารมณที่เกิดข้นึ ยงั ไมด ับ ดาวนโหลดขอมูลตางๆไดจ าก ขอ ความเพิม่ เติมท่ี youtube หรือ Post ใน fb ID: Kanrasi Sengking (ตาม link ท่ีแปะไว)

~ 15 ~ ไป เหลา น้ี เรียกวา ปจ จบุ ันอารมณ จติ เจตสกิ รปู ทเี่ ปน อดีตอารมณน น้ั หมายถึง อารมณเ หลาน้ผี า นไปแลว คือ ไดเห็นแลว ไดยนิ แลว ไดก ลิน่ แลว ไดรูรสแลว ไดถ ูกตอ งแลว สาํ หรับทางใจน้ัน คดิ ในอารมณท ่ผี านไปแลว จติ เจตสกิ รปู ท่ีเปน อนาคตอารมณน ั้น หมายถึงอารมณต าง ๆ เหลานั้นจะมาปรากฏในทางตา หู จมกู ล้ิน กาย ใจ คือจะเห็น จะไดยินจะไดก ล่นิ จะไดรูรส จะไดถูกตอง สาํ หรับทางใจนน้ั คิดนึกถึง อารมณท จ่ี ะมาปรากฏเหลานัน้ ๒. กาลวมิ ตุ ตอารมณ เปนอารมณท ีไ่ มเก่ียวดวยกาลท้งั ๓ ไดแก นพิ พาน บัญญัติ นพิ พาน บญั ญตั ิ ทเี่ ปน กาลวิมตุ ตอารมณนั้น เพราะธรรม ๒ พวกน้ีเปน อสังขตธรรม ไมไ ดถ กู ปรงุ แตง ดว ย ปจจัย ๔ ฉะน้นั การเกดิ ขนึ้ ของธรรมทั้ง ๒ พวกน้ีจึงไมมี เม่อื ไมมีการเกดิ แลว ก็กลาวไมไ ด วา นพิ พานหรอื บัญญตั ิเหลา น้ี เปนปจจบุ นั อดีต อนาคต เรยี กวา กาลวิมตุ ตอารมณ นพิ พาน กับ บญั ญัติ ทพี่ นจากกาลทง้ั ๓ เรียกวา กาลวมิ ตุ อารมณน ัน้ เพราะธรรม ๒ พวกนี้ เปนอสงั ขต ธรรม ไมไ ดถ กู ปรงุ แตง ดวยปจ จยั ๔ ฉะนั้น การเกดิ ขนึ้ ของธรรม ๒ พวกนจ้ี ึงไมมี เม่อื ไมม ีการเกดิ ขึ้นแลว ก็ กลา วไมไ ดว า นพิ พาน หรือบญั ญัตเิ หลานี้ เปน ปจจุบัน อดีต อนาคต จงึ เรยี กวา กาลวมิ ุตอารมณ จาํ แนกจติ ท่รี บั อารมณ โดยแนนอน (บางสวน) ดังนี้ ๑. จติ ที่รับนิพพานอารมณอยางเดียว โดยแนนอน มี ๘ หรอื ๔๐ ดวง คือ โลกตุ ตรจติ ๘ หรือ ๔๐ ๒. จติ ทรี่ บั อนาคตอารมณอยา งเดียว โดยแนน อน ไมมี ๓. จิตท่รี บั บัญญตั อิ ารมณอ ยา งเดยี ว โดยแนน อน มี ๒๑ ดวง คือ รปู าวจรจิต ๑๕ (เวน อภิญญาจติ ๒) อากาสานญั จายตนฌานจิต ๓ อากญิ จัญญายตนฌานจิต ๓ ๔. จติ ทร่ี บั ธรรมารมณอ ยา งเดียว โดยแนน อน มี ๓๕ ดวง คือ มหัคคตจิ ต ๒๗ (เวน อภญิ ญาจติ ๒) โลกุตตร จิต ๘ จติ และเจตสกิ ทร่ี ับอารมณโ ดยแนน อนมดี งั นค้ี ือ ๑./- จติ ทร่ี ับนพิ พานอารมณ โดยแนนอนมี ๘ ดวง คอื โลกตุ ตรจิต ๘ เจตสิกที่รบั นิพพานอารมณ โดยแนนอนไมม ี ๒/๑. จติ ท่ีรับนามอารมณโ ดยแนนอน มี ๑๔ ดวง คือ วิญญาณญั จายตนฌานจติ ๓ เนวสญั ญานาสญั ญายตนฌานจิต ๓ โลกตุ ตรจิต ๘ เจตสกิ ทร่ี บั นามอารมณโดยแนนอน ไมมี ๓/๒. จิตท่ีรับรูปอารมณ โดยแนน อน มี ๑๓ ดวง คือ ทวิปญ จวิญญาณจิต ๑๐ มโนธาตุ ๓ เจตสกิ ทร่ี บั รปู อารมณโ ดยแนน อน ไมม ี ๔/๓. จติ ที่รบั บัญญัตอิ ารมณ โดยแนน อน มี ๒๑ ดวง คอื รปู าวจรจติ ๑๕ (เวน อภญิ ญาจติ ๒) อากาสานญั จายตนฌานจติ ๓ อากญิ จญั ญายตนฌานจิต ๓ เจตสกิ ท่รี บั บญั ญัติอารมณโ ดยแนนอน มี ๒ ดวง คือ อปั ปมัญญาเจตสิก ๒ ๕/๔. จิตท่ีรับปรมัตถอารมณ โดยแนนอน มี ๓๙ ดวง คือ ทวิปญจวญิ ญาณจิต ๑๐ มโนธาตุ ๓ สันตีรณจิต ดาวนโหลดขอ มูลตา งๆไดจ าก ขอ ความเพิม่ เตมิ ที่ youtube หรือ Post ใน fb ID: Kanrasi Sengking (ตาม link ทแี่ ปะไว)

~ 16 ~ ๓ มหาวิปากจิต ๘ หสิตปุ ปาทจิต ๑ วิญญานัญจายตนฌานจิต ๓ เนวสญั ญานาสัญญายตนฌานจิต ๓ โลกตุ ตรจิต ๘ เจตสกิ ทรี่ บั ปรมตั ถอารมณโ ดยแนน อนมี ๓ ดวงคอื วีรตีเจตสกิ ๓ วัตถสุ งั คหะ คําวา วัตถุ ในวัตถสุ งั คหะนี้ หมายความวา ธรรมเปนทอี่ าศยั ของจติ และเจตสกิ ชอ่ื วา วัตถุ วตั ถุมี ๖ อยา ง คอื ๑. จกั ขุวตั ถุ องคธรรมไดแก จกั ขุปสาท ๒. โสตวตั ถุ องคธ รรมไดแก โสตปสาท ๓. ฆานวตั ถุ องคธรรมไดแ ก ฆานปสาท ๔. ชวิ หาวัตถุ องคธ รรมไดแ ก ชวิ หาปสาท ๕. กายวตั ถุ องคธ รรมไดแ ก กายปสาท ๖. หทยั วตั ถุ องคธ รรมไดแ ก หทยั รูป ฉวตถฺ ุ นสิ ฺสติ า กาเม สตตฺ รูเป จตพุ ฺพธิ า ตวิ ตถฺ ุ นสิ ฺสติ า รูเป ธาเตฺวกา นสิ สฺ ติ า มตา. คาถานี้แปลความวา นกั ศกึ ษาท้งั หลาย พึงทราบ วญิ ญาณธาตุ ๗ ทอี่ าศัยวตั ถุรูป ๖ เกดิ ในกามภมู ิ ๑๑ พึงทราบ วิญญาณธาตุ ๔ คือ จักขุวิญญาณธาตุ โสตวิญญาณธาตุ มโนธาตุ มโนวิญญาณธาตุ ท่ีอาศัยวัตถุ รูป ๓ คือ จักขุวตั ถุ โสตวัตถุ หทยวตั ถุ เกิดในรูปภมู ิ ๑๕ (เวน อสญั ญสตั ตภูม)ิ พงึ ทราบ มโนวิญญาณธาตุ ๑ ท่ไี มอาศัยวตั ถุรปู เกดิ ในอรูปภูมิ ๔ ฯ เตจตตฺ าลสี นสิ สฺ าย เทวฺ จตตฺ าลสี ชายเร นสิ ฺสาย จ อนสิ สฺ าย ปาการปุ ปฺ า อนสิ สฺ ติ า ฯ แปลคาถา : - จิต ๔๓ ดวง คอื ปญจวิญญาณธาตุ ๑๐ มโนธาตุ ๓ มโนวิญญาณธาตุ ๓๐ ไดแก โทสมูลจิต ๒ สนั ตีรณจิต ๓ หสิตุปปาทจิต ๑ มหาวิปากจิต ๘ รูปาวจรจิต ๑๕ โสตาปตติมรรคจิต ๑ เหลานี้ เกดิ ขึ้นโดยอาศัยวตั ถรุ ปู แนน อน (๑๐ ๓ ๓๐=๒/๓/๑/๘/๑๕/๑) จิต ๔๒ ดวง คือ โลภมูลจิต ๘ โมหมูลจิต ๒ มโนทวาราวัชชนจิต ๑ มหากุศลจิต ๘ มหากริยาจิต ๘ อรู ปาวจรกุศลจิต ๔ อรูปาวจรกรยิ าจติ ๔ โลกตุ ตรจิต ๗ (เวนโสดาปตติมรรค) เหลานี้ เกดิ ข้นึ โดยอาศัยวตั ถรุ ปู ไมแนน อน (๘ ๒ ๑ ๘ ๘ ๔ ๔ ๗) อรปู วปิ ากจิต ๔ ยอมเกิดขึน้ โดยไมอ าศยั วัตถรุ ปู เลย จิตท่ีเกดิ ข้ึนโดยอาศยั วัตถรุ ูปแนน อน มี ๔๓ ดวง คือ ทวปิ ญ จวญิ ญาณจิต ๑๐ มโนธาตุ ๓ โทสมูลจติ ๒ ตทารมั มณจิต ๑๑ หสติ ปุ ปาทจติ ๑ รูปาวจรจติ ๑๕ โสดาปต ติมรรคจิต ๑ จิตทอี่ าศยั วตั ถรุ ูปเกิดไมแนน อน มี ๔๒ ดวง คอื โลภมูลจิต ๘ โมหมูลจติ ๒ มโนทวาราวชั ชนจิต ๑ มหา กศุ ลจิต ๘ มหากรยิ าจิต ๘ อรปู าวจรกศุ ลจติ ๔ อรูปาวจรกริยาจิต ๔ โลกตุ ตรจติ ๗ (เวน โสดาปตติมรรค) (๘ ๒ ๑ ๘ ๘ ๔ ๔ ๗) ดาวนโหลดขอ มูลตา งๆไดจ าก ขอ ความเพม่ิ เติมที่ youtube หรอื Post ใน fb ID: Kanrasi Sengking (ตาม link ทแ่ี ปะไว)

~ 17 ~ จติ ทีเ่ กิดขึน้ โดยไมไดอาศัยวตั ถุรปู แนน อน มี ๔ ดวง คอื อรปู าวจรวปิ ากจติ ๔ จิตท่เี กิดขึน้ โดยไมตอ งอาศยั วตั ถรุ ูปเลย มี ๔ ดวงคือ อรูปาวจร วปิ ากจติ ๔ จําแนกจติ ๔๓ ดวง ท่ีอาศยั วตั ถรุ ปู เกดิ แนน อนโดยวตั ถรุ ปู ๖ ดังนี้คือ ๑. จกั ขวุ ญิ ญาณธาตุ ๒ อาศัยจักขุวตั ถเุ กิด ๒. โสตวิญญาณธาตุ ๒ อาศยั โสตวตั ถุเกดิ ๓. ฆานวญิ ญาณธาตุ ๒ อาศัยฆานวัตถุเกิด ๔. ชิวหาวิญญาณธาตุ ๒ อาศยั ชิวหาวัตถุเกดิ ๕. กายวิญญาณธาตุ ๒ อาศัยกายวตั ถเุ กิด ๖. มโนธาตุ ๓ โทสมูลจิต ๒ ตทารัมมณจติ ๑๑ หสติ ุปปาทจิต ๑ อาศัยหทยั วัตถุเกิด รปู าวจรจติ ๑๕ โสตาปตติมรรคจิต ๑ รวม ๓๓ ดวงน้ี แสดงวญิ ญาณธาตุ ๗ พรอ มดว ยองคธ รรม มดี ังนี้ ๑. จกั ขวุ ญิ ญาณธาตุ องคธรรมไดแก จักขวุ ญิ ญาณจติ ๒ ๒. โสตวญิ ญาณธาตุ องคธรรมไดแก โสตวิญญาณจิต ๒ ๓. ฆานวญิ ญาณธาตุ องคธ รรมไดแก ฆานวญิ ญาณจติ ๒ ๔. ชวิ หาวิญญาณธาตุ องคธรรมไดแก ชิวหาวิญญาณจิต ๒ ๕. กายวิญญาณธาตุ องคธ รรมไดแก กายวญิ ญาณจติ ๒ ๖. มโนธาตุ องคธรรมไดแ ก สัมปฏิจฉนจติ ๒ ปญ จทวาราวชั ชนจิต ๑ ๗. มโนวิญญาณธาตุ องคธรรมไดแ ก จิต ๗๖ หรือ ๑๐๘ (เวน ทวิปญจวญิ ญาณจติ ๑๐ มโนธาตุ ๓) การจําแนกวญิ ญาณธาตุ ๗ ทเี่ กดิ ในกามภมู ิ ๑๑ โดยวตั ถรุ ปู ๖ ดังน้ี ๑. จักขุวญิ ญาณธาตุ ๒ อาศยั จกั ขวุ ตั ถุเกิด ๒. โสตวิญญาณธาตุ ๒ อาศยั โสตวัตถเุ กดิ ๓. ฆานวญิ ญาณธาตุ ๒ อาศัยฆานวัตถุเกิด ๔. ชวิ หาวญิ ญาณธาตุ ๒ อาศยั ชิวหาวตั ถเุ กิด ๕. กายวญิ ญาณธาตุ ๒ อาศัยกายวตั ถุเกิด ๖. มโนธาตุ ๓ อาศยั หทยั วตั ถุเกดิ ๗. มโนวญิ ญาณธาตุ ๖๗ ไดแ ก กามจิต ๔๑ (เวน ทวปิ ญ จวญิ ญาณ ๑๐ มโนธาตุ ๓) และมหัคคตกุศลจิต ๙ มหคั คตกริยาจิต ๙ โลกตุ ตรจติ ๘ อาศัยหทยั วัตถุเกิด จาํ แนกวญิ ญาณธาตุ ๔ ทีเ่ กดิ ในรปู ภมู ิ ๑๕ โดยวตั ถรุ ปู ๓ ดงั น้ี ๑. จกั ขุวิญญาณธาตุ ๒ อาศยั จักขวุ ัตถเุ กิด ๒. โสตวญิ ญาณธาตุ ๒ อาศยั โสตวตั ถเุ กดิ ๓. มโนธาตุ ๓ อาศยั หทยวตั ถเุ กิด ดาวนโหลดขอ มูลตางๆไดจาก ขอ ความเพ่ิมเติมท่ี youtube หรือ Post ใน fb ID: Kanrasi Sengking (ตาม link ทแี่ ปะไว)

~ 18 ~ ๔. มโนวญิ ญาณธาตุ ๖๒ ไดแกโลภมลู จติ ๘ โมหมูลจติ ๒ สนั ตรี ณจติ ๓ มโนทวาราวชั ชนจิต ๑ หสิตุป ปาทจิต ๑ มหากุศลจิต ๘ โลกุตตรจิต ๘ มหากริยาจติ ๘ รปู าวจรจิต ๑๕ อรู ปาวจรกุศลจิต ๔ อรปู าวจรกริยาจติ ๔ เหลา นี้ อาศยั หทยวัตถเุ กดิ จําแนกเจตสกิ ๕๒ โดยวตั ถรุ ปู ๖ นนั้ มีดงั นี้ คอื ในบรรดาเจตสิก ๕๒ ดวงนั้น สัพพจิตตตสาธารณเจตสกิ ๗ ดวง อาศยั วตั ถุรูป ๖ เกิดก็ได ไมอาศัยวตั ถุรูป ๖ เกดิ กไ็ ด เจตสกิ ท่ีเหลอื ๓๙ (เวน โทจตกุ กเจตสิก ๔ อัปปมญั ญาเจตสิก ๒) อาศัยหทยวตั ถรุ ูปเกดิ กไ็ ด ไมอาศัยหทยวตั ถุรปู เกิดก็ได โทจตกุ เจตสกิ ๔ อปั ปมญั ญาเจตสิก ๒ อาศยั หทยวตั ถรุ ูปเกดิ แนนอน และท่กี ลา ววา โทจตุกเจตสกิ ๔ อัปปมัญญาเจตสกิ ๒ ตองอาศัยหทยวตั ถรุ ปู เกิดโดยแนน อนนัน้ เพราะเหตุวา โทจตุกเจตสิก ๔ ดวงน้ี เกิดไดเ ฉพาะแตใ นกามภมู อิ ยางเดียว สวนอัปปมญั ญาเจตสิก ๒ เกดิ ไดเฉพาะแตใ นปญ จโวการภูมิเทานัน้ ทวารมี ๖ วัตถมุ ี ๖ ทง้ั สองอยา งน้ี องคธรรมเหมือนกันกม็ ี ตา งกันก็มี สว นทเ่ี หมอื นกนั นน้ั คอื จักขุทวารกับจกั ขุวตั ถุ องคธรรมไดแ ก จกั ขุปสาท โสตทวารกบั โสตวตั ถุ องคธรรมไดแก โสตปสาท ฆานทวารกบั ฆานวัตถุ องคธ รรมไดแก ฆานปสาท ชิวหาทวารกบั ชิวหาวัตถุ องคธ รรมไดแ ก ชิวหาปสาท กายทวารกับกายวตั ถุ องคธ รรมไดแ ก กายปสาท สว นท่ีตา งกนั คอื มโนทวาร องคธรรมไดแ ก ภวงั คจติ ๑๙, หทัยวตั ถุ องคธรรมไดแก ทหยั รปู สมจุ จยสังคหะ ปรจิ เฉทที่ ๗ จงึ เรียกวา สมจุ จยสังคหะ เพราะเหตุ ในปริจเฉทท่ี ๗ น้ี พระอนุรุทธาจารยแ สดงการรวบรวม ธรรมท่ีมีสภาพเขากนั ได เรียกวา สมจุ จยสังคหะ และในสมุจจยสงั คหะ นี้มีสงั คหะอยู ๔ หมวด คอื ๑. อกศุ ลสังคหะ การแสดงสงเคราะหธรรมทเี่ ปน ฝายอกศุ ลโดยสวนเดียว หมวดหน่งึ ๒. มิสสกสงั คหะ การแสดงสงเคราะหธ รรมทเ่ี ปนกศุ ล อกุศล อพยฺ ากต ทัง้ ๓ ปนกัน หมวดหน่งึ ๓. โพธปิ กขยิ สังคหะ การแสดงสงเคราะหธรรมทเ่ี ปนฝายมรรคญาณ หมวดหนง่ึ ๔. สพั พสงั คหะ การแสดงสงเคราะหจิต เจตสกิ รูป นพิ พาน ซ่ึงเปน วตั ถธุ รรมทัง้ หมดรวมกัน หมวดหนึ่ง ในอกศุ ลสังคหะ มธี รรมอยู ๙ หมวด คือ ๑. อาสวะ ๒. โอฆะ ๓. โยคะ ๔. คนั ถะ ๕. อปุ าทาน ๖. นีวรณะ ๗. อนสุ ัย ๘.สังโยชน ๙. กิเลส ในมสิ สกสังคหะ มีธรรมอยู ๗ หมวด คือ ๑. เหตุ ๒. ฌานงั คะ ๓. มัคคงั คะ ๔. อนิ ทรยี  ๕. พละ ๖. อธิบดี ๗. อาหาร ในโพธิปก ขยิ สงั คหะมธี รรมอยู ๗ หมวด คอื ๑. สตปิ ฏ ฐาน ๒. สมั มัปปธาน ๓. อิทธิบาท ๔. อินทรยี  ๕. พละ ๖. โพชฌงค ๗. มคั คังคะ ดาวนโ หลดขอ มูลตา งๆไดจาก ขอความเพิม่ เตมิ ที่ youtube หรอื Post ใน fb ID: Kanrasi Sengking (ตาม link ทแี่ ปะไว)

~ 19 ~ ในสพั พสงั คหะ มีธรรมอยู ๕ หมวด คอื ๑. ขันธ ๒. อุปาทานขันธ ๓. อายตนะ ๔. ธาตุ ๕. สัจจะ คาถาทีแ่ สดงถึงอนสุ นธแิ ละปฏิญญา ทวฺ าสตตฺ ตวิ ธิ า วตุ ตฺ า วตถฺ ุธมฺมา สลกฺขณา เตสํ ทานิ ยถาโยคํ ปวกขฺ ามิ สมจุ จฺ ย.ํ คาถานแ้ี ปลวา วัตถุธรรม คอื ธรรมทม่ี ีสภาพของตนโดยแท ๗๒ ประการนน้ั ขาพเจาไดแ สดงไปแลว บดั น้ีจะ แสดงสมุจจยสังคหะ คือสังคหะท่รี วบรวมธรรมตา ง ๆ ของวัตถุธรรม ๗๒ ประการน้นั ตามที่จะเขากนั ได นับจาํ นวนวัตถธุ รรม ๗๒ นั้น มดี ังน้ี จิตทั้งหมดนบั เปน ๑ เจตสกิ ๕๒ นปิ ผนั นรปู ๑๘ นิพพาน ๑ สมจุ จยสงั คหะ หมายความวา ปริจเฉทท่ีแสดงการรวบรวมปรมตั ถธรรมทั้ง ๔ ท่มี สี ภาพเขากันไดใ หอ ยูเ ปนหมวด ๆ ช่อื วา สมุจจยสงั คหะ ดงั มวี จนตั ถะแสดงวา สห อจุ ฺจยี นเฺ ต เอตถฺ าติ สมจุ ฺจโย (วา) สํ ปณ ฺเฑตวฺ า อจุ ฺจยี นเฺ ต เอเตนาติ สมจุ จฺ โย ปรจิ เฉทท่ีชอ่ื วา สมจุ จยะ เพราะเปน ปรจิ เฉทท่แี สดงรวบรวมปรมตั ถธรรมท้ัง ๔ ประการพรอ มกนั (หรือ) ปริจเฉททช่ี ่ือวา สมุจจยะ เพราะเปนเหตแุ หง การรวบรวมปรมัตถธรรมทมี่ สี ภาพเขากันได ใหอ ยูเปนหมวด ๆ สมจุ จยสงั คหะ แบงออกเปน ๔ หมวด คอื ๑. อกุศลสังคหะ การแสดงสงเคราะหธรรมทีเ่ ปนฝา ยอกุศล โดยสว นเดียว หมวดหนง่ึ ๒. มสิ สกสังคหะ การแสดงสงเคราะหธรรมท่เี ปน กุศล อกุศล อพยฺ ากต ท้ัง ๓ ปนกนั หมวดหนง่ึ ๓. โพธปิ กขยิ สงั คหะ การแสดงสงเคราะหธรรมที่เปนฝายมรรคญาณ หมวดหนึ่ง ๔. สพั พสังคหะ การแสดงสงเคราะหจติ เจตสกิ รปู นพิ พาน ซ่ึงเปน วัตถธุ รรมทง้ั หมดรวมกนั หมวดหน่ึง วตั ถุธรรม หมายความวา ธรรมท่ีมีองคธรรมปรมัตถข องตนโดยเฉพาะ สามารถปรากฏแกปญ ญาได การแสดงรวบรวมธรรมทมี่ ีสภาพเขากนั ไดใ หอ ยูเปนหมวด ๆ แบงออกเปน ๔ หมวด คือ ...... อกศุ ลสงั คหะ ในอกุศลสงั คหะนน้ั มีธรรมอยู ๙ หมวด คือ (อา โอ โย คนั อุ นี อนุ สัง กิ) ๑. อาสวะ ๒. โอฆะ ๓. โยคะ ๔. คันถะ ๕. อุปาทาน ๖. นวี รณะ ๗. อนสุ ัย ๘. สังโยชน ๙. กิเลส เมื่อวาโดยประเภท มี ๕๕ แปลและแสดงองคธรรมของบทตอไปนี้ ก. กามาสวะ ธรรมชาติท่เี ปน เครอ่ื งไหลอยูใ นกามคุณอารมณ องคธ รรมไดแ ก โลภเจตสิก ทใ่ี นโลภมลู จิต ๘ ข. ภโวฆะ ธรรมชาติที่เปน เครือ่ งทําใหสัตวจ มอยูใน รูปภพ อรปู ภพ หรือ รปู ฌาน อรปู ฌาน องคธรรมไดแ ก โลภเจตสิก ทใี่ นทิฏฐคิ ตวปิ ปยุตตจติ ๔ ค. ทฏิ ฐิโยคะ ธรรมชาติทเี่ ปน เคร่อื งประกอบสตั วใ หต ิดอยูในความเห็นผดิ องคธรรมไดแ ก ทิฏฐิเจตสกิ ที่ในทิฏฐคิ ตสมั ปยตุ ตจติ ๔ ง. อตั ตวาทุปาทาน ธรรมชาติทเี่ ปนเครอ่ื งยึดมั่นใน รูปนาม ขันธ ๕ วาเปน ตวั เปนตน ดาวนโหลดขอ มูลตางๆไดจาก ขอความเพม่ิ เตมิ ท่ี youtube หรือ Post ใน fb ID: Kanrasi Sengking (ตาม link ท่แี ปะไว)

~ 20 ~ องคธ รรมไดแก ทฏิ ฐิเจตสกิ ท่ใี นทิฏฐคิ ตสมั ปยุตตจติ ๔ จ. อวิชชานวี รณะ ธรรมชาติทเี่ ปนเคร่อื งกน้ั ความดีคือความหลง ความโง ทไ่ี มร ูตามความเปนจริง องคธ รรมไดแก โมหเจตสกิ ทีใ่ นอกศุ ลจิต ๑๒ แสดงคนั ถะ ๔ พรอ มทง้ั ความหมายและองคธ รรม ๑. อภิชฌากายคนั ถะ ธรรมชาติท่ีเก่ยี วคลองนามกาย รูปกายไวโดยอาการผกู พันอยูในกามคุณอารมณ องคธ รรมไดแ ก โลภเจตสิก ท่ใี นโลภมูลจติ ๘ ๒. พยาปาทกายคันถะ ธรรมชาติที่เก่ยี วคลอ งนามกายรปู กายไวโดยอาการโกรธ องคธ รรมไดแ ก โทสเจตสิก ที่ในโทสมลู จติ ๒ ๓. สลี พั พตปรามาสกายคนั ถะ ธรรมชาติท่ีเกย่ี วคลองนามกายรปู กายไวโ ดยอาการยดึ ถอื ในการปฏิบตั ทิ ่ผี ิด องคธรรมไดแก ทฏิ ฐเิ จตสิก ทใี่ นทิฏฐคิ ตสัมปยตุ ตจิต ๔ ๔. อทิ ังสัจจาภินเิ วสกายคันถะ ธรรมชาติท่ีเกี่ยวคลอ งนามกายรูปกายไว โดยอาการยดึ ม่ันในความเห็นผิดของ ตนวาถูก ความเห็นของคนอ่นื วา ผดิ องคธรรมไดแก ทิฏฐิเจตสิก ที่ในทิฏฐคิ ตสัมปยุตตจิต ๔ แสดงความแตกตา งระหวา ง อภิชฌาและพยาบาททเ่ี ปน มโนทจุ ริต กบั อภิชฌาและพยาบาทที่เปนคนั ถะ ๑. อภชิ ฌาท่เี ปน มโนทุจรติ นนั้ เปนโลภะอยา งหยาบ มีสภาพอยากไดท รพั ย สมบัติ ของผอู ืน่ มาเปน ของ ๆ ตน โดยไมชอบธรรม ๒. สว น อภชิ ฌากายคนั ถะ นน้ั เปนไดทั้งโลภะอยา งหยาบและอยางละเอยี ดทั้งหมด ที่เก่ียวกับความอยากได ความพอใจในทรพั ยส มบตั ิของผอู ่ืน หรือของตนเอง โดยชอบธรรมก็ตาม ไมช อบธรรมก็ตาม จัดเปน อภิชฌา กายคันถะ ท้งั สนิ้ ๓. พยาบาททีเ่ ปน มโนทจุ รติ ไดแก โทสะอยา งหยาบ ทเ่ี กี่ยวกับความปองรา ยผูอื่น โดยนึกคดิ ใหเ ขามีความ ลาํ บากเสยี หายตา ง ๆ หรอื นกึ แชง ใหผูท่ีตนไมช อบน้นั ใหถ ึงตาย ๔. สวน พยาปาทกายคันถะ น้ัน ไดแ ก โทสะ อยางหยาบกต็ าม อยา งละเอียดก็ตาม คือความไมช อบ ไมพ อใจ โกรธ กลวั กลุม ใจ เสียใจ ไปจนถึงการทําปาณาตบิ าต ผรสุ วาจา เหลาน้ี จัดเปน พยาปาทกายคันถะทัง้ สิ้น คาํ วา อุปาทาน เมอ่ื แยกบทออกแลว ได ๒ บท คือ อุป + อาทาน อุป หมายถงึ มนั่ อาทาน หมายถึงยดึ เม่อื รวม ๒ บทเขาดวยกนั แลว หมายถงึ การยึดมนั่ ในอารมณ ธรรมที่ยดึ มน่ั ในอารมณท ่เี รียกวา อุปาทาน นี้ เปรียบเสมอื นหน่ึงงูท่ีจบั กบได กัดกบนัน้ ไวแ นน ไมยอมปลอย ฉันใด โลภะ ทฏิ ฐิ ทั้ง ๒ ทม่ี ีสภาพยดึ มัน่ ในอารมณ ของตน ๆ ไมยอมปลอ ย กฉ็ ันน้นั ดงั แสดงวจนัตถะวา อุปาทยี นตฺ ตี ิ = อุปาทานานิ ธรรมเหลา ใดยอมยึดมน่ั ในอารมณ ฉะนั้น ธรรมเหลา นั้น ชื่อวา อุปาทาน ความยึดมน่ั ในอารมณเ รยี กวา อุปาทาน มี ๔ /แสดงอุปาทาน ๔ พรอมทั้งความหมายและองคธ รรม คอื ๑. กามปุ าทาน ธรรมชาติที่เปนเครื่องยึดม่นั ในกามคณุ อารมณ องคธรรมไดแก โลภเจตสกิ ที่ในโลภมูลจติ ๘ ๒. ทฏิ ุปาทาน ธรรมชาติที่เปนเคร่ืองยึดม่ันในความเห็นผิด ที่นอกจากสีลัพพตปรามาสทิฏฐิ ดาวนโหลดขอ มลู ตา งๆไดจาก ขอความเพิ่มเตมิ ที่ youtube หรือ Post ใน fb ID: Kanrasi Sengking (ตาม link ทีแ่ ปะไว)

๓. สีลัพพตุปาทาน ~ 21 ~ ๔. อตั ตวาทปุ าทาน และอตั ตวาททิฏฐิ องคธ รรมไดแ ก ทฏิ ฐเิ จตสกิ ท่ีในทฏิ ฐคิ ตสมั ปยตุ ตจติ ๔ ธรรมชาตทิ ่ีเปนเครอื่ งยึดมนั่ ในการปฏิบัตผิ ดิ องคธ รรมไดแ ก ทฏิ ฐเิ จตสิก ท่ใี นทฏิ ฐคิ ตสัมปยุตตจติ ๔ ธรรมชาติทเี่ ปนเครื่องยดึ ม่ันในรปู นามขนั ธ ๕ วา เปน ตัวเปนตน องคธรรมไดแก ทิฏฐเิ จตสกิ ท่ีในทิฏฐคิ ตสัมปยุตจิต ๔ คําวา สงั โยชน หมายความวา ธรรมชาตทิ ผ่ี กู สตั วท้งั หลายไว ไมใ หอ อกไปจากวฏั ฏทกุ ขได เหมือนหน่ึง เชอื กท่ผี กู โยงสตั วห รือวตั ถุสิ่งของไวไ มใหห ลดุ ไป ดงั แสดงวจนตั ถะวา สํ โยเชนฺติ พนธฺ นตฺ ตี ิ = สโํ ยชนานิ ธรรมเหลาใด ยอมผกู สตั วท งั้ หลายไว ฉะนั้น ธรรมเหลา น้นั ชอื่ วา สังโยชน จาํ แนกสงั โยชน ๑๐ โดยโอรัมภาคยิ สงั โยชนและอทุ ธมั ภาคยิ สงั โยชนตามสตุ ตันตนัย คอื โอรัมภาคิยสงั โยชน มี ๕ คอื ๑. กามราคสงั โยชน ๒. ปฏฆิ สงั โยชน ๓. ทิฏฐสิ งั โยชน ๔. สีลพั พตปรามาสสงั โยชน ๕. วจิ กิ ิจฉาสงั โยชน อุทธมั ภาคิยสังโยชน มี ๕ คอื ๑. รูปราคสังโยชน ๒. อรปู ราคสังโยชน ๓. มานสงั โยชน ๔. อุทธจั จสงั โยชน ๕. อวิชชาสังโยชน เหตทุ ค่ี วามพอใจ ความโกรธ ความถอื ตวั เปน ตน เหลา นี้ จึงชอ่ื วา สังโยชนไ ด การที่ความพอใจ ความโกรธ ความถือตัวเปนตนเหลาน้ี ช่ือวา สงั โยชนไ ดน ั้น เพราะความพอใจ ความ โกรธ ความถือตวั เปน ตนเหลานี้ยอมผกู สตั วทั้งหลายไวไ มใหพ นจากวฏั ฏะทุกข อธบิ ายวา ตามธรรมดาของปุถชุ นท้ังหลายนั้น ยอมมีธรรมชาติชนดิ หนง่ึ ท่ีเปรียบเหมอื นเชือกเสน ใหญ ๑๐ เสนดวยกนั ซ่งึ ทาํ การผกู มดั สตั วท ั้งหลายไวไ มใหหลุดพนไปจากกองทกุ ขไ ด เชือก ๑๐ เสน เหลา น้ี ถาหาก วา เสน หนง่ึ เสนใดมีอาการตงึ ข้ึนแลว สงั โยชนเสน นน้ั ก็จะนาํ สตั วน้ันใหไ ปเกดิ ในภูมิท่ีเกยี่ วกบั สังโยชนน้นั ๆ โดยอาศยั กรรมทส่ี ตั วนัน้ กระทําขนึ้ ดังมีวจนัตถะแสดงวา สํโยเชนฺติ พนฺธนตฺ ตี ิ = สโํ ยชนานิ ธรรมเหลา ใด ยอ มผูกสัตวทง้ั หลายไว ฉะน้ัน ธรรมเหลานัน้ ช่อื วา สังโยชน แสดงยกอปุ มาเปรียบเทียบระหวา งกเิ ลสทงั้ ๓ มอี นสุ ยั กิเลสเปนตน นั้น มดี งั น้ี คือ อนสุ ยั กเิ ลส ปรยิ ฏุ ฐานกเิ ลส วตี กิ กมกเิ ลส ทง้ั ๓ อยา งน้ี เปรียบเหมอื นไมขดี ไฟ อนสุ ยั กเิ ลส เปรยี บเหมอื นไฟ ทีอ่ ยใู นหวั ไมขีด อารมณต า งๆ ท่ีมากระทบทาง ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ เปรียบเหมือนเอากา นไมขดี ไฟขีดที่ ขางกลอง เมือ่ ไฟปรากฏขึน้ ไฟนีเ้ ปรยี บเหมอื นกับปริยฏุ ฐานกเิ ลส และเม่ือเอาไฟทปี่ รากฏขน้ึ น้ไี ปจดุ เขากบั วตั ถุสงิ่ หนึง่ ส่ิงใดแลว ไฟทลี่ ุกตดิ วัตถนุ ั้น ๆ เปรยี บเหมอื นวตี กิ กมกเิ ลส ดงั น้ี และกุศลทส่ี ามารถประหาณกเิ ลสทงั้ ๓ เหลา นไี้ ดโ ดยเฉพาะ ๆ นน้ั คือ ๑. ศลี กศุ ล สามารถประหาณวตี กิ กมกเิ ลสได ๒. สมาธกิ ศุ ล สามารถประหาณปริยฏุ ฐานกิเลสได ๓. ปญ ญาในมรรค สามารถประหาณอนสุ ยั กเิ ลสได ดาวนโหลดขอมูลตางๆไดจาก ขอ ความเพิม่ เติมที่ youtube หรอื Post ใน fb ID: Kanrasi Sengking (ตาม link ท่แี ปะไว)

~ 22 ~ กเิ ลสมจี ํานวน ๑๐ คอื ๑. โลภกเิ ลส ๒. โทสกเิ ลส ๓. โมหกเิ ลส ๔. มานกเิ ลส ๕. ทิฏฐกิ ิเลส ๖. วจิ ิกจิ ฉากิเลส ๗. ถนี กเิ ลส ๘. อุทธจั จกิเลส ๙. อหิรกิ กิเลส ๑๐. อโนตตปั ปกเิ ลส แสดงการนบั กิเลส โดยพสิ ดาร ๑๕๐๐ อารมณทเี่ ปนเหตใุ หก ิเลส ๑๐ เกดิ ขึ้นไดน้ันมี ๑๕๐ คือ นามเตปญญาสะ คือ นามธรรม ๕๓ นิปผันนรูป ๑๘ ลักขณรปู ๔ รวม ๗๕ ในอชั ฌัตตสนั ดาน คือ ภายในตัวเรา มี ๗๕ ในพหทิ ธสันดาน คอื ส่งิ ท่ีมชี ีวติ และไมม ีชวี ติ ทีอ่ ยูภายนอกตวั เรา มี ๗๕ รวม ๑๕๐ อารมณ ๑๕๐ คณู ดวยกิเลส ๑๐ คงเปนกิเลส ๑๕๐๐ แสดงอกศุ ลธรรมดงั ตอ ไปน้ี ก. ธรรมทเ่ี ปนนวิ รณไ ด แตเปนสังโยชนไมไ ด ไดแ ก ถีนะมิทธะ กุกกจุ จะ ข. ธรรมท่เี ปนสงั โยชนไดแ ตเปน นิวรณไมไ ด ไดแก มานะ ทิฏฐิ อิสสา มจั ฉรยิ ะ ค. ธรรมท่ีเปนนิวรณแ ละสงั โยชนไ ดท้งั ๒ ไดแก โลภะ โทสะ โมหะ อุทธจั จะ วิจิกิจฉา ง. ธรรมทเี่ ปน นวิ รณแ ละสังโยชนไมไ ดท้ัง ๒ ไดแ ก อกุศลจติ ๑๒ เจตสิก ๑๕ (เวนองคธ รรม ๑๒) และอกุศลธรรมทีเ่ ปน อาสวะ โอฆะ โยคะ คันถะ อปุ าทาน นิวรณ อนุสัย สงั โยชน กิเลสทง้ั ๙ เหลา น้ีไดน นั้ ไดแก โลภเจตสกิ อกศุ ลธรรมท่ีเปนไมไ ดท ง้ั ๙ เหลาน้ี ไดแก อกศุ ลจิต ๑๒ อญั ญสมานเจตสิก ๑๓ ทปี่ ระกอบกบั อกศุ ลจิต มสิ สกสงั คหะ ในมิสสกสังคหะนัน้ มีธรรมอยู ๗ หมวด คือ ๑. เหตุ ๒. ฌานงั คะ ๓. มคั คงั คะ ๔. อนิ ทรยี  ๕. พละ ๖. อธบิ ดี ๗. อาหาร เมอ่ื วาโดยประเภทแลว มีจํานวน ๖๔ ประเภท แปลคาถาที่แสดงองคธรรมในมิสสกสังคหะท้งั ๗ หมวด ดงั นี้คือ เหตุ เม่ือวา โดยองคธ รรมปรมัตถแลว มี ๖ (โลภะ โทสะ โมหะ อโลภะ อโทสะ อโมหะ) ฌานงั คะ เม่ือวา โดยองคธรรมปรมัตถแ ลว มี ๕ (วิตก วจื าร ปติ เวทนา เอกัคคตา) มคั คังคะ เม่ือวา โดยองคธรรมปรมตั ถแ ลว มี ๙ (ปญ วติ ก วริ ตี ๓ วิริยะ สติ เอกัค. ท.ิ ) อินทรยี  เมือ่ วา โดยองคธ รรมปรมตั ถแลว มี ๑๖ (รูป๘=ปสาท.๕ อติ ปรุ สิ ช-ี รูป, นาม๘=ชี-เจ จิต เว สทั วิริ สติ เอ ปญ ) พละ เมอ่ื วา โดยองคธ รรมปรมตั ถแลว มี ๙ (สัททา สติ เอกัค ปญ หิริ โอต อหิริ อโนต ) อธบิ ดี เม่ือวา โดยองคธ รรมปรมัตถแ ลว มี ๔ (ฉันทะ วริ ิยะ จิตตะ วมี งั สาปญญา) อาหาร เม่ือวาโดยองคธรรมปรมัตถแลว มี ๔ เหมือนกัน (กพฬกี าราหารโอชา ผสั สะ เจตนา จติ ) นักศกึ ษาทงั้ หลายพึงทราบการแสดงมิสสกสงั คหะ ท่มี กี ุศลเปนตนปะปนกนั โดยมี ๗ หมวดดังน้ี คําวา ฌานหมายความวา การเขาไปเพง อารมณม ีกสณิ เปน ตน หรอื เผาธรรมทีเ่ ปน ปฏปิ ก ษต อ กัน ฉะนนั้ จึงชือ่ วา ฌาน ธรรมทีเ่ ปนปฏิปก ษตอ องคฌ าน นั้น คือ ถนี มทิ ธนิวรณ เปนปฏปิ กษก ับ วติ ก วจิ กิ จิ ฉานวิ รณ เปนปฏิปกษกบั วิจาร ดาวนโหลดขอ มูลตางๆไดจาก ขอ ความเพิม่ เตมิ ท่ี youtube หรอื Post ใน fb ID: Kanrasi Sengking (ตาม link ทแ่ี ปะไว)

~ 23 ~ พยาปาทนิวรณ เปน ปฏปิ ก ษกบั ปติ กามฉนั ทนิวรณ เปน ปฏปิ ก ษก ับ เอกคั คตา อทุ ธจั จกกุ กจุ นิวรณแ ละโทมนสั เวทนา เปน ปฏปิ กษกับโสมนสั เวทนาและอเุ บกขาเวทนา ปต แิ ละโสมนัสเวทนา เปนปฏิปก ษก ับ โทมนสั เวทนา ในจาํ นวนองคม รรค ๑๒ นี้ องคมรรคที่เปน เหตุและเปนหนทางใหไ ปถึง สคุ ตภิ มู ิ และพระนพิ พาน มอี ยู ๘ คอื ๑.สมั มาทฎิ ฐิ ๒. สมั มาสงั กัปปะ ๓. สัมมาวาจา ๔. สมั มากมั มนั ตะ ๕. สัมมาอาชวี ะ ๖. สมั มาวายามะ ๗. สัมมาสติ ๘. สัมมาสมาธิ องคม รรคท่ีเปนเหตุ และเปน หนทางใหไ ปถึงทคุ ตภิ มู ิ มอี ยู ๔ คอื ๑. มิจฉาทิฏฐิ ๒. มิจฉาสงั กัปปะ ๓. มิจฉาวายามะ ๔. มิจฉาสมาธิ อธิบายองคธรรมทง้ั ๙ มปี ญญาเปน ตน ทไ่ี ดช อ่ื วา มรรค องคธรรม ๙ มีปญญา เปนตน ทไ่ี ดชอ่ื วามรรคน้ี เพราะธรรมดาสัตวทง้ั หลายที่เวียนวา ยตายเกดิ อยูใน ๓๑ ภมู ิ และผูทเี่ ขาถึงพระนพิ พานไดนัน้ ยอมตอ งอาศยั มเี หตมุ ีหนทางท่ีชวยสงเสรมิ ใหถึง ธรรมท่ีเปนเหตแุ ละ เปนหนทางใหเขาถึงภูมิตาง ๆ และพระนพิ พานนนั้ กไ็ ดแ กองคม รรค ๑๒ มสี มั มาทิฏฐิเปนตน นน้ั เอง และพระพุทธองคท รงแสดงหนทางทน่ี อกจากองคม รรค ๑๒ มอี ยู ๔ อยาง คอื มจิ ฉาวาจา มิจฉากมั มนั ตะ มจิ ฉาอาชวี ะ มิจฉาสติ เมื่อวา โดยองคธรรมแลว มิจฉาวาจา ไดแ ก อกุศลจิตตุปบาท ทเ่ี กี่ยวดว ยวจีทจุ รติ มิจฉากัมมนั ตะ ไดแ ก อกศุ ลจติ ตปุ บาท ทเ่ี กี่ยวดว ยกายทจุ ริต มิจฉาอาชีวะ ไดแ ก อกุศลจติ ตุปบาท ท่ีเก่ียวดวยการเลยี้ งชพี ในทางท่ีผดิ มจิ ฉาสติ ไดแ ก อกศุ ลจิตตปุ บาท ท่มี ีสญั ญาเปนประธาน ในการระลกึ สงิ่ ทไี่ มด ตี า ง ๆ นน้ั เอง จาํ แนกอนิ ทรีย ๒๒ โดยจติ เจตสิก รูป น้ันมีดงั นี้คอื ในอินทรีย ๒๒ นน้ั จกั ขุนทรยี  โสตนิ ทรยี  ฆานินทรีย ชิวหนิ ทรีย กายินทรยี  อติ ถนิ ทรยี  ปุรสิ นิ ทรีย รวม ๗(อนิ ทรยี น้ี) เปน รปู , ชวี ิตนิ ทรยี  เปน เจตสกิ และรูป, มนนิ ทรยี  เปน จติ สขุ ินทรีย ทุกขินทรีย โสมนัสสนิ ทรยี  โทมนสั สินทรยี  อเุ ปกขินทรยี  สัทธินทรีย วิริยนิ ทรีย สตินทรยี  สมาธิน- ทรยี  ปญญนิ ทรยี  อนัญญาตัญญสั สามิตินทรีย อัญญนิ ทรยี  อัญญาตาวนิ ทรยี  รวม ๑๓(อินทรยี นี้) เปน เจตสกิ ปล. อินทรยี  ๒๒=รูป ๘ = จักขุ-โสต-ฆาน-ชิวหา-กาย+ปสาทรูป(๕), อติ -ปุริส+ภาวรปู , ชีวิตรปู วตั ถ๕ุ , ภาว๒, รูปชีวติ นิ ฺทรฺ ิยํ นาม ๘ = ชวี ิตินทรียเ จ. จติ เวทนา สัททา วิรยิ ะ สติ เอกคั คตา ปญญา อรปู โน อนิ ฺทฺรยิ า สมฺปยตุ ฺตกานํ แสดงความหมายพรอ มทง้ั องคธรรมของอินทรีย ดังตอไปน้ี อนัญญาตญั ญสั สามติ นิ ทรยี  ธรรมชาติท่ีเปน ผปู กครองในการรูแ จงอริยสจั จ ๔ ทตี่ นไมเ คยรู องคธ รรมไดแก ปญญาเจตสกิ ที่ในโสดาปต ตมิ รรคจติ ๑ อัญญินทรยี  ธรรมชาติที่เปน ผูปกครองในการรแู จงอริยสจั จ ๔ ท่ตี นเคยรู องคธรรมไดแก ปญ ญาเจตสกิ ทใ่ี นมรรคจติ เบ้อื งบน ๓ และผลจิตเบือ้ งตาํ่ ๓ ดาวนโหลดขอ มูลตางๆไดจ าก ขอ ความเพมิ่ เติมที่ youtube หรือ Post ใน fb ID: Kanrasi Sengking (ตาม link ท่แี ปะไว)

~ 24 ~ อญั ญาตาวนิ ทรีย ธรรมชาติที่เปนผปู กครองในการรแู จง อริยสจั จ ๔ สนิ้ สดุ แลว องคธรรมไดแก ปญ ญาเจตสิก ท่ีในอรหตั ตผลจิต ๑ ปล. (ชื่อ:เทยี บโลกตุ ตรจติ ๘) = (ชอ่ื )ยาว:บนสดุ โส-มคั ๑, (ชอื่ )สั้น:๖ กลาง ๓+๓, (ช่ือ)กลาง:ทายสดุ อรผ ๑ จําแนกพละธรรม ๙ โดย โสภณะ และ อโสภณะ นน้ั มดี งั นี้ สทั ธาพละ สติพละ ปญ ญาพละ หิริพละ โอตตัปปะพละ รวม ๕ เปน โสภณ อหิรกิ พละ อโนตตปั ปะพละ รวม ๒ เปน อโสภณ วิรยิ พละ สมาธพิ ละ รวม ๒ เปน ท้ังโสภณและอโสภณ แสดงความหมายของพละธรรม ๙ ดังนี้ ๑. สทั ธาพละ หมายความวา ธรรมชาตทิ ีไ่ มห วนั่ ไหวใน ความเชอื่ ตอสงิ่ ทค่ี วรเช่ือ ๒. วริ ยิ พละ หมายความวา ธรรมชาตทิ ไ่ี มหว่นั ไหวใน ความเพียร ๓. สตพิ ละ หมายความวา ธรรมชาติที่ไมหว่ันไหวใน การระลึกชอบ ๔. สมาธิพละ หมายความวา ธรรมชาติทไี่ มห วน่ั ไหวใน การต้ังมั่นในอารมณอ ันเดียว ๕. ปญ ญาพละ หมายความวา ธรรมชาตทิ ีไ่ มหว่ันไหวใน การรูตามความเปน จริง ๖. หริ พิ ละ หมายความวา ธรรมชาตทิ ไี่ มหวน่ั ไหวใน ความละอายตอทุจริต ๗. โอตตปั ปพละ หมายความวา ธรรมชาตทิ ไี่ มหว่ันไหวใน ความสะดุงกลวั ตอ ทุจริต ๘. อหริ กิ พละ หมายความวา ธรรมชาติทไ่ี มห วน่ั ไหวใน ความไมล ะอายตอทจุ ริต ๙. อโนตตัปปะพละ หมายความวา ธรรมชาตทิ ่ไี มหว่ันไหวใน ความไมส ะดุงกลัวทจุ รติ ๑. ฉนั ทาธิปติ แสดงอธบิ ดี ๔ พรอมท้งั ความหมายและองคธรรม ดงั นี้ ธรรมชาตทิ ี่เปนใหญในความพอใจ (ฉนั ทะ+อธปิ ต)ิ องคธรรมไดแ ก ฉันทเจตสกิ ท่ใี นทวเิ หตุกชวนะ ๑๘ ติเหตกุ ชวนะ ๓๔ หรอื ๖๖ ๒. วริ ยิ าธปิ ติ ธรรมชาตทิ ่ีเปนใหญในความเพียร (วริ ยิ ะ+อธิปติ) องคธ รรมไดแก วิรยิ ะเจตสกิ ทีใ่ นทวิเหตุกชวนะ ๑๘ ติเหตกุ ชวนะ ๓๔ หรอื ๖๖ ธรรมชาติท่ีเปน ใหญในการรับอารมณ ๓. จติ ตาธปิ ติ องคธรรมไดแ ก ทวิเหตุกชวนะ และติเหตุกชวนะ ๕๒ หรือ ๘๔ (จติ ตะ+อธิปติ) ธรรมชาติท่ีเปนใหญในการรแู จง ตามความเปน จรงิ ๔. วีมงั สาธิปติ องคธรรมไดแ ก ปญ ญาเจตสกิ ที่ในติเหตกุ ชวนะ ๓๔ หรอื ๖๖ ฯ (วมี ังสา+อธิปติ) ธรรมใดยอ มนาํ มาซ่ึงผลของตน ธรรมน้นั ชอื่ วา อาหาร อธิบายคาํ ที่วา “นาํ มา” นน้ั ดงั น้ี คําวา “นํามา” ในท่ีนี้น้ัน หมายความวา ทําใหเกิดผลขึ้น และชวยอุดหนุนใหต ้ังอยูได เจริญขน้ึ ได เหมือนดังที่กลาวกันทว่ั ๆ ไปวา การงานสิ่งน้ันต้ังขึ้นได เจริญไดก็โดยอาศัยผูจัดการเปนผูนําถาขาดผจู ัดการ เสยี แลว กิจการน้นั ๆ กต็ ง้ั อยแู ละเจริญขึ้นไมไ ด ขอนฉี้ ันใด ความเปน อยขู องสัตวท ง้ั หลายก็เชน เดียวกนั และ แสดงการนาํ มาของอาหารทั้ง ๔ โดยเฉพาะ ๆ น้นั มดี งั น้ี คือ ดาวนโ หลดขอมูลตา งๆไดจาก ขอ ความเพมิ่ เตมิ ที่ youtube หรอื Post ใน fb ID: Kanrasi Sengking (ตาม link ท่แี ปะไว)

~ 25 ~ ๑. กพฬกี าราหาร นาํ มาซึ่งอาหารชสุทธฏั ฐกกลาป ใหเกดิ ขึ้นในสนั ดานของสัตวทงั้ หลาย ๒. ผสั สาหาร นาํ มาซึง่ เวทนา คือ การเสวยอารมณเปน สุขบา ง เปนทกุ ขบ า ง เฉย ๆ บาง ๓. มโนสญั เจตนาหาร นํามาซ่ึงปฏสิ นธวิ ิญญาณ คือ การเกิดเปนมนษุ ย เทวดา พรหม อบาย สัตว และปวตั ตวิ ิญญาณ คือ การเหน็ การไดยิน เปนตน ๔. วญิ ญาณาหาร นํามาซง่ึ เจตสิกและกัมมชรูป ดงั มหี ลักฐานบาลแี สดงวา โอชฏฐ มกรปู  เย เวทนํ ปฏสิ นธฺ กิ ํ นามรปู  อาหรนตฺ ิ ตสมฺ าหาราติ วุจฺจเร ธรรมเหลาใด ยอ มนาํ อาหารชสุทธัฏฐกกลาป เวทนา ปฏสิ นธวิ ญิ ญาณ เจตสกิ และ กมั มชรปู โดยเฉพาะของตน ๆ ฉะนนั้ ธรรมเหลาน้ัน จงึ ไดชอ่ื วา อาหาร แสดงอาหาร ๔ พรอ มทง้ั ความหมายและองคธ รรม ๑. กพฬกี าราหาร ธรรมชาติที่เปน ผูนําใหอาหารชรปู เกดิ องคธรรมไดแก โอชาทอ่ี ยใู นอาหารตา ง ๆ ๒. ผสั สาหาร ธรรมชาตทิ ่ีเปนผูน ําใหเวทนาเกิด องคธรรมไดแ ก ผสั สเจตสกิ ทีใ่ นจติ ทง้ั หมด ๓. มโนสญั เจตนาหาร ธรรมชาตทิ ่ีเปน ผูน ําใหวปิ ากวิญญาณมปี ฏิสนธิจติ เปนตนเกิด องคธ รรมไดแก เจตนาเจตสิกทีใ่ นจิตทง้ั หมด ๔. วิญญาณาหาร ธรรมชาติท่ีเปน ผูนําใหเจตสกิ และกมั มชรปู เกดิ องคธรรมไดแก จติ ทงั้ หมด ธรรมที่เปนอาหารของทกุ ขต า ง ๆ มชี าติ ชรา พยาธิ มรณะ เปน ตนนน้ั ไดแ ก ขันธ ๕ คอื รูปขันธ เวทนาขันธ สญั ญาขันธ สงั ขารขันธ วิญญาณขันธ ถาธรรมที่เปนอาหารของทกุ ขเหลา นีไ้ มมีแลว ชาติ ชรา เปนตนเหลา น้ีก็เกดิ ขึน้ ไมไ ด อธิบายวา ชาติ ชรา พยาธิ มรณะ เหลานเ้ี ปนอาการเปน ไปของขนั ธ ๕ หาใชวา มีขนึ้ เฉพาะไม กลาวคอื การเกดิ ขน้ึ ของขนั ธ ๕ เรียกวา ชาติ การสบื ตอ ของขนั ธ ๕ โดยการเจรญิ เตบิ โตขึน้ และแกลง เรยี กวา ชรา การเจบ็ ปว ยของรปู เรียกวา พยาธิ การดับไปของขนั ธ ๕ ในภพหนง่ึ ๆ เรยี กวา มรณะ ดงั มีวจนัตถะแสดงวา อเนกทกุ ฺเขหิ ขชชฺ นตฺ ตี ิ = ขนฺธา ธรรมทงั้ หลาย ที่ถกู ทุกขตา ง ๆ เคีย้ วกิน ฉะนั้น ชอ่ื วา ขนั ธ หมายถงึ ขันธ ๕ นี้ เปนทเี่ กิดแหงชาติ ชรา พยาธิ มรณะ เปนตน ถาไมม ขี ันธ ๕ แลวทกุ ขตา ง ๆ เหลา น้กี เ็ กิดขึ้นไมได โพธปิ ก ขยิ สังคหะ ในโพธปิ ก ขยิ สงั คหะ มธี รรมอยู ๗ หมวด คอื ๑. สตปิ ฏ ฐาน ๒. สัมมปั ปธาน ๓. อิทธบิ าท ๔. อนิ ทรยี  ๕. พละ ๖. โพชฌงค ๗. มัคคงั คะ วาโดยประเภทมี ๓๗ แสดงความหมายพรอมทงั้ องคธ รรมของบทตอ ไปนด้ี งั น้ี ดาวนโ หลดขอมลู ตา งๆไดจาก ขอ ความเพมิ่ เติมท่ี youtube หรือ Post ใน fb ID: Kanrasi Sengking (ตาม link ทแ่ี ปะไว)

~ 26 ~ ก. กายานุปส สนาสตปิ ฏ ฐาน สติท่ีต้ังม่นั อยูในการพิจารณาเนือง ๆ ซึง่ กาย คือ รูปขนั ธ มีลมหายใจเขา ออก อิรยิ าบถใหญ อิรยิ าบถนอยเปน ตน องคธ รรมไดแ ก สตเิ จตสิกท่ใี นมหากศุ ลจิต ๘ มหากิรยิ าจติ ๘ อัปปนาชวนจิต ๒๖ ข. ฉนั ทิทธิบาท ความพอใจอยางแรงกลา เปน บาทเบ้ืองตน แหงความสําเรจ็ ฌาน มรรค ผล (ฉันทะ+อทิ ธบิ าท) องคธรรมไดแ ก ฉนั ทเจตสิกที่ในกุศลจติ ๒๑ ค. สทั ธินทรยี  ศรัทธา เปน ผปู กครองในความเลอ่ื มใสตอ สิ่งทีค่ วร องคธ รรมไดแก สัทธาเจตสิกทีใ่ นมหากศุ ลจิต ๘ มหากริ ิยาจติ ๘ อัปปนาชวนจติ ๒๖ ง. สมั มาทฏิ ฐิ ความเหน็ ชอบ เปนหนทางใหถ งึ มรรค ผล นิพพาน องคธรรมไดแก ปญญาเจตสกิ ท่ีในมหา กศุ ลญาณสมั ปยุตตจิต ๔ มหากิรยิ าญาณสมั ปยตุ ตจิต ๔ อปั ปนาชวนจติ ๒๖ แสดง สมั มัปปธาน ๔ พรอ มทั้งความหมาย และองคธรรม ๑. อปุ ปฺ นนฺ านํ ปาปกานํ ปหานาย วายาโม ความพยายามเพ่ือละอกศุ ลธรรมทเ่ี กดิ ขึ้นแลว องคธ รรมไดแก วริ ยิ เจตสกิ ที่ใน กศุ ลจิต ๒๑ ๒. อนปุ ฺปนนฺ านํ ปาปกานํ อนปุ ปฺ าทาย วายาโม ความพยายามเพ่ือใหอกุศลทย่ี ังไมเกิดขึ้น ไมใ หเกิดขน้ึ องคธ รรมไดแก วริ ยิ เจตสิกท่ใี น กศุ ลจติ ๒๑ ๓. อนปุ ฺปนนฺ านํ กสุ ลานํ อปุ ปฺ าทาย วายาโม ความพยายามเพ่ือใหก ุศลธรรมที่ยงั ไมเกิดขึ้น ใหเ กดิ ขึน้ องคธ รรมไดแ ก วริ ยิ เจตสิกที่ใน กุศลจติ ๒๑ ๔. อปุ ฺปนนฺ านํ กสุ ลานํ ภยิ ฺโยภาวาย วายาโม ความพยายามเพ่ือใหก ุศลธรรมที่เกิดขนึ้ แลวใหเจริญย่ิง ๆ ข้นึ ไป องคธ รรมไดแก วริ ิยเจตสิกที่ใน กุศลจติ ๒๑ ๑. รปู ขนั ธ อารมณอ นั เปน ที่ตง้ั แหง การกาํ หนดของสติ มี ๔ คอื เปน อารมณแ หง การกําหนดของสติ เรียกวา กายานปุ สสนาสตปิ ฏ ฐาน ๒. เวทนาขนั ธ เปนอารมณแ หงการกําหนดของสติ เรยี กวา เวทนานปุ ส สนาสตปิ ฏ ฐาน ๓. วญิ ญาณขนั ธ เปนอารมณแ หง การกําหนดของสติ เรียกวา จติ ตานปุ สสนาสตปิ ฏ ฐาน ๔. สญั ญาขนั ธ และสังขารขนั ธ เปนอารมณแ หง การกําหนดของสติ เรยี กวา ธัมมานปุ สสนาสตปิ ฏ ฐาน แสดงลกั ษณะอันเปน นิมติ ทป่ี รากฏขึ้น และการประหารวปิ ลาสธรรมในการเจรญิ สติปฏ ฐาน ดังนค้ี ือ การกําหนดพิจารณาในกายอยเู นอื ง ๆ เปนเหตุใหอ สภุ ลกั ขณะปรากฏขึ้น และในขณะเดยี วกันนั้นยอ ม ประหาณ สภุ วปิ ลาสใหหมดไป การกําหนดพิจารณาในเวทนาอยเู นอื ง ๆ เปนเหตุใหทุกขลกั ขณะปรากฏขึ้น และในขณะเดียวกนั น้นั ยอ ม ประหาณ สขุ วปิ ลาสใหห มดไป การกาํ หนดพิจารณาในจติ อยูเนอื ง ๆ เปนเหตใุ หอ นจิ จลกั ขณะปรากฏข้นึ และในขณะเดียวกันนั้นยอม ประหาณ นจิ จวิปลาสใหห มดไป การกําหนดพิจารณาในสภาพธรรม คือ สญั ญา สังขาร อยเู นือง ๆ เปน เหตใุ หอนตั ตลกั ขณะปรากฏข้นึ และใน ดาวนโ หลดขอ มูลตา งๆไดจาก ขอความเพมิ่ เตมิ ท่ี youtube หรือ Post ใน fb ID: Kanrasi Sengking (ตาม link ทแ่ี ปะไว)

~ 27 ~ ขณะเดียวกนั นัน้ ยอ มประหาณอตั ตวิปลาสใหห มดไป คําวา สตปิ ฏ ฐาน หมายความวา สตทิ ่เี ปนประธานในสมั ปยตุ ตธรรม แลวตงั้ มน่ั ในอารมณ มีกายเปน ตน ดังมวี จนัตถะแสดงวา สติ เอว ปฏานนตฺ ิ สตปิ ฏ านํ (54/2) สตนิ ้นั แหละ เปน ประธานในสัมปยตุ ตธรรม แลวตั้งมัน่ ในอารมณ มี กาย เปนตน ฉะนัน้ จึงชื่อวา สติปฏฐาน และการทีส่ ตดิ วงเดยี วเปนสติปฏฐานทั้ง ๔ ไดน้นั ก็เพราะวา ๑. อารมณอนั เปน ทตี่ ้ังแหง การกําหนด กม็ ี ๔ ๒. ลักษณะอันเปนนมิ ิตทีป่ รากฏข้ึน กม็ ี ๔ ๓. การประหาณวิปลาสธรรมก็มี ๔ ดว ยเหตนุ ้ี สติดวงเดียว จึงเปน สติปฏ ฐานทัง้ ๔ ได. วิรยิ ะดวงเดยี วเปน สมั มปั ปธานท้ัง ๔ ได เพราะกิจของวริ ยิ ะในท่ีนีม้ ีอยู ๔ อยา ง คือ ๑. พยายามเพอ่ื ละอกศุ ลที่เกดิ แลว ๒. พยายามเพอ่ื ไมใ หอกศุ ลใหมเกดิ ๓. พยายามเพ่อื ใหกศุ ลใหมเ กดิ ๔. พยายามเพ่ือใหก ศุ ลท่ีเกดิ แลวเจรญิ รงุ เรอื งข้ึน ๑. ฉนั ททิ ธบิ าท แสดงอิทธบิ าท ๔ พรอ มทง้ั ความหมายและองคธ รรม ดงั น้ี คอื ความพอใจอยา งแรงกลา เปนบาทเบื้องตน แหง ความสาํ เร็จ ฌาน มรรค ผล (ฉนั ทะ+อิทธบิ าท) องคธรรมไอแ ก ฉันทเจตสกิ ที่ในกุศลจิต ๒๑ ความพยายามอยางแรงกลา เปนบาทเบือ้ งตน แหงความสาํ เร็จ ฌาน มรรค ผล ๒. วีรยิ ทิ ธบิ าท องคธ รรมไดแก วริ ิยะเจตสิก ทใ่ี นกุศลจติ ๒๑ ความตง้ั ใจอยางแรงกลา เปน บาทเบือ้ งตนแหงความสาํ เรจ็ ฌาน มรรค ผล (วริ ิยะ+อทิ ธบิ าท) องคธ รรมไดแ ก กศุ ลจติ ๒๑ ปญญาอยา งแรงกลา เปน บาทเบ้อื งตน แหง ความสาํ เรจ็ ฌาน มรรค ผล ๓. จิตตทิ ธบิ าท องคธรรมไดแก ปญญาเจตสิกท่ใี นกุศลญาณสมั ปยุตตจติ ๑๗ (จิตตะ+อิทธบิ าท) ๔. วมี งั สทิ ธบิ าท (วมี ังสา+อทิ ธิบาท) คาํ วา โพชฌงค เมอ่ื แยกบทออกแลว ได ๒ บท คอื โพธิ + องคฺ , โพธิ หมายความวา ธรรมท่เี ปน เหตุ ใหร ูอ ริยสัจจ ๔ ไดแ ก องคธรรม ของโพชฌงค ๗ รวมกัน มีสติ ปญ ญา เปนตน องฺค หมายความวา ธรรมอนั เปน เครอื่ งประกอบ ไดแ ก องคธ รรมของโพชฌงคโดยเฉพาะ ๆ ปญ ญา ที่ไดชอื่ วา สมั มาทฏิ ฐมิ รรคน้ัน เปนปญ ญาทีเ่ ห็นแจงในอริยสจั จ ๔ โดยกจิ ๔ อยาง คอื ๑. ทกุ เฺ ขาณํ รูในทกุ ขสจั จโดยปริญญากิจ ๒. ทุกขฺ สมทุ เยาณํ รูใ นเหตใุ หเกิดทุกขโ ดยปหาณกิจ ๓. ทกุ ขฺ นโิ รเธาณํ รใู นพระนพิ พานซึ่งเปนที่ดับแหง ทกุ ข โดยสัจฉิกรณกจิ ๔. ทุกขฺ นโิ รธคามินีปฏปิ ทายาณํ รูในขอ ปฏบิ ตั ิอนั เปน เหตใุ หเ ขาถึงพระนิพพาน ซึ่งเปน ท่ีดับแหง ทกุ ขท้งั ปวง โดยภาวนากิจ เหลานี้แหละไดช่ือวา ปญ ญาที่เปนสัมมาทิฏฐิมรรค สําหรับ วิตก ที่ไดชือ่ วา สมั มาสงั กัปปมรรคนั้น เปน วิตกชนิดที่มคี วามดาํ ริชอบ ในเร่อื งทั้ง ๓ คอื ดาวนโหลดขอมลู ตา งๆไดจาก ขอความเพิ่มเตมิ ท่ี youtube หรือ Post ใน fb ID: Kanrasi Sengking (ตาม link ทแ่ี ปะไว)

๑. นกิ ขมสงั กปั ปะ ~ 28 ~ ๒. อพั ยาปาทสังกปั ปะ ๓. อวิหงิ สาสงั กปั ปะ ความดาํ รทิ ี่ออกจากกามคุณอารมณ ความดําริที่ประกอบดว ยเมตตา ความดําริที่ประกอบดวยกรณุ า เหลา นีแ้ หละไดช ือ่ วาวิตกท่ีเปน สัมมาสงั กัปปมรรค จาํ แนกมคั คงั คะ ๘ โดย ศีล สมาธิ ปญ ญา ดงั น้ี . แสดงการจําแนกองคมรรค ๘ โดยศลี ขันธ สมาธิขันธ ปญญาขันธ ๑. สมั มาวาจา ๒. สมั มากัมมนั ตะ ๓. สัมมาอาชีวะ องคมรรคทง้ั ๓ น้ี สงเคราะหเขาใน ศีลขันธ ๔. สมั มาวายามะ ๕. สัมมาสติ ๖. สมั มาสมาธิ องคมรรคทง้ั ๓ น้ี สงเคราะหเขาใน สมาธิขันธ ๗. สัมมาทฏิ ฐิ ๘. สมั มาสงั กปั ปะ องคม รรคทัง้ ๒ น้ี สงเคราะหเขาใน ปญ ญาขันธ มคั คงั คะที่ในมสิ สกสงั คหะกบั มคั คงั คะทใี่ นโพธปิ ก ขยิ สงั คหะนนั้ ตางกันหรอื เหมือนกนั ตางกนั มัคคังคะท่ใี นมิสสกสังคหะน้ัน เปน เหตใุ หถ ึงสคุ ติภูมิ ทคุ ติภูมิ และพระนิพพาน เปน ไดท้ังกศุ ล และอกุศล กลาวคอื ต้ังแตข อ ที่ ๑-๘ เปนเหตใุ หถ งึ สุคตภิ มู ิและพระนพิ พานเปนกศุ ล สวนขอที่ ๙-๑๒ เปน เหตใุ ห ถึงทคุ ตภิ มู ิ เปนอกศุ ล, สว นมัคคังคะทใี่ นโพธปิ ก ขิยสงั คหะนน้ั เปน องคตรสั รูมงุ ตรงตอ มรรค ผล นิพพาน โดยตรงและเปนกศุ ลโดยสว นเดียว ในโพธปิ ก ขยิ สงั คหะท้งั ๗ หมวดนั้น เมือ่ วาโดยองคธ รรมปรมัตถแลวมี ๑๔ คือ ๑. ฉนั ทะ ๒. จิต ๓. ตัตตรมชั ฌตั ตตา ๔. สทั ธา ๕. ปส สทั ธิ ๖. ปต ิ ๗. ปญญา ๘. วติ ก ๙. วรี ยิ ะ ๑๐. สัมมาวาจา ๑๑. สัมมากัมมันตะ ๑๒. สมั มาอาชีวะ ๑๓. สติ ๑๔. เอกัคคตา โพธิปก ขิยธรรมนี้ เกดิ ขึน้ ในโลกยี ธรรมได และเกิดขนึ้ ในขณะท่ีสาํ เรจ็ เปน วสิ ทุ ธิทัง้ ๖ (เวนญาณทัสสนวิสทุ ธิ) ดงั มหี ลกั ฐานบาลีแสดงวา โลกิเยป ยถาโยคํ ฉพพฺ สิ ทุ ฺธิ ปวตตฺ ยิ ํ แมใ นโลกยี กศุ ลและกิรยิ าจิต ก็ยอ มเกดิ ข้นึ ตามท่ปี ระกอบได สพั พสงั คหะ ในสพั พสังคหะ มีธรรมอยู ๕ หมวด คือ ๑. ขันธ ๒. อุปาทานักขันธ ๓. อายตนะ ๔. ธาตุ ๕. สจั จะ เมื่อวา โดยประเภทแลว มี ๓๙ (ไมตอ งนับอปุ าทานกั ขนั ธโดยเฉพาะ) คําวา ขนั ธ หมายความวา เปน กลุม เปน กอง มบี าลีแสดงวา ราสฏเน (ราสอิ ฏเ น) ขนโฺ ธ ชื่อวา ขนั ธ เพราะอรรถวา เปนกลุมเปน กอง และคําวา ขันธ มี ๕ คือ ............. ๑. รปู ขันธ คําวา ขนั ธ หมายความวา เปน กอง มี ๕ คอื ๒. เวทนาขนั ธ กองรปู องคธรรมไดแก รูป ๒๘ ๓. สญั ญาขนั ธ กองเวทนา องคธรรมไดแ ก เวทนาเจตสิก ที่ในจติ ๘๙ หรือ ๑๒๑ กองสญั ญา องคธ รรมไดแ ก สัญญาเจตสิก ทีใ่ นจิต ๘๙ หรือ ๑๒๑ ดาวนโ หลดขอมูลตา งๆไดจ าก ขอ ความเพม่ิ เตมิ ท่ี youtube หรอื Post ใน fb ID: Kanrasi Sengking (ตาม link ที่แปะไว)

๔. สงั ขารขันธ กองสังขาร ~ 29 ~ ๕. วญิ ญาณขนั ธ กองจติ องคธรรมไดแก เจตสิก ๕๐ (เวนเวทนา สัญญา) ท่ีในจิต ๘๙ หรือ ๑๒๑ ตามสมควร องคธรรมไดแก จิต ๘๙ หรอื ๑๒๑ อปุ าทานักขนั ธ มี ๕ คือ ๑. รปู ปู าทานกั ขนั ธ กองรปู ทเ่ี ปน อารมณของอุปาทาน องคธ รรมไดแก รูป ๒๘ ๒. เวทนูปาทานกั ขนั ธ กองเวทนาท่ีเปนอารมณข องอุปาทาน องคธรรมไดแก เวทนาเจตสิก ทใ่ี นโลกียจิต ๘๑ ๓. สญั ูปาทานกั ขนั ธ กองสญั ญาท่ีเปน อารมณของอุปาทาน องคธ รรมไดแก สญั ญาเจตสกิ ท่ีในโลกียจิต ๘๑ ๔. สงั ขารปู าทานกั ขนั ธ กองสังขารที่เปน อารมณข องอปุ าทาน องคธรรมไดแก เจตสิก ๕๐ (เวน เวทนา สัญญา) ท่ีในโลกียจติ ๘๑ ๕. วญิ ญาณูปาทานกั ขนั ธ กองจิตท่ีเปน อารมณข องอุปาทาน องคธรรมไดแ ก โลกยี จติ ๘๑ ในปรมตั ถธรรม ๔ ประการ เมอื่ วาโดยอายตนะแลวมี ๑๒ นัน้ เพราะอาศัยมีประเภทตา งกนั แหงทวาร ๖ อารมณ ๖ เม่อื วาโดยธาตุ มี ๑๘ นั้น เพราะอาศยั ทวาร ๖ อารมณ ๖ และวิญญาณ ๖ ๑. จกั ขวุ ิญญาณ ผลทเี่ กิดจากอายตนะ ๑๒ โดยเฉพาะ ๆ น้ัน มดี ังนี้ คือ การเห็น เปนผลของ จักขายตนะ กับ รูปายตนะ ๒. โสตวิญญาณ การไดยนิ เปน ผลของ โสตายตนะ กับ สัททายตนะ ๓. ฆานวิญญาณ การรกู ลิ่น เปน ผลของ ฆานายตนะ กับ คันธายตนะ ๔. ชวิ หาวญิ ญาณ การรูรส เปน ผลของ ชิวหายตนะ กับ รสายตนะ ๕. กายวญิ ญาณ การรถู ูกตอ ง เปนผลของ กายายตนะ กับ โผฏฐัพพายตนะ ๖. จติ ๗๖ (เวนทวิปญจวิญญาณจิต ๑๐ มโนธาตุ ๓) มกี ารรอู ารมณ และคิดนึกในเร่อื งราวทงั้ ปวง เปน ผลของ มนายตนะ กับ ธัมมายตนะ ก. สพั พจติ ตสาธารณเจตสิก ๗ เปน (ข) เวทนาขันธ สญั ญาขันธ สงั ขารขันธ ข. หทยวตั ถุ เปน (อา) ธัมมายตนะ ค. อเหตกุ กริ ิยาจติ ๓ เปน (ธา) มโนธาตุ มโนวญิ ญาณธาตุ ง. รปู ๒๘ เปน ทุกขสัจจะ นิพพาน เปน (สัจ) นโิ รธสจั จะ จ. องคธรรมของธัมมายตนะ กับ ธมั มธาตนุ ั้น เหมือนกัน ไดแก เจตสิก ๕๒ สขุ มุ รูป ๑๖ นพิ พาน สวนองคธ รรมของธมั มารมณน ั้นไดแก จิต ๘๙ เจตสิก ๕๒ ปสาทรูป ๕ สขุ มุ รูป ๑๖ นิพพาน บัญญตั ิ ก. สงั ขารขนั ธ แสดงความหมาย พรอ มทัง้ องคธรรมในหัวขอธรรม ดงั ตอ ไปนี้ ข. รปู ปุ าทานกั ขนั ธ กองสังขาร องคธรรมไดแก เจตสิก ๕๐ (เวน เวทนา สัญญา) ท่ีในจิต ๘๙ หรอื ๑๒๑ ตามสมควร กองรปู ท่ีเปนอารมณข องอปุ าทาน องคธรรมไดแ ก รูป ๒๘ ดาวนโ หลดขอ มลู ตา งๆไดจ าก ขอความเพ่ิมเตมิ ที่ youtube หรอื Post ใน fb ID: Kanrasi Sengking (ตาม link ที่แปะไว)

~ 30 ~ ค. จักขายตนะ จกั ขุ ชอ่ื วา อายตนะ เพราะเปนเหตใุ หจ ิต เจตสกิ เกิด องคธรรมไดแก จกั ขุปสาท ข./ค. ธัมมายตนะ สภาพธรรมตาง ๆ ชื่อวา อายตนะ เพราะเปน เหตใุ หจิต เจตสิก เกดิ ค. มโนธาตุ องคธรรมไดแก เจตสกิ ๕๒ สุขุมรูป ๑๖ นิพพาน จติ ๓ ดวง ชอื่ วา มโนธาตุ เพราะทรงไวซ่งึ การรปู ญจารมณ อยา งสามัญ องคธรรมไดแ ก ปญจทวาราวัชชนจติ ๑ สัมปฏิจฉนจติ ๒ ง./ฆ. มโนวญิ ญาณธาตุ จิต ๗๖ ช่อื วา มโนวญิ ญาณธาตุ เพราะทรงไวซ ่งึ การรูอ ารมณ เปนพิเศษ องคธ รรมไดแก ๗๖ (เวนทวปิ ญ จวญิ ญาณจติ ๑๐ มโนธาตุ ๓) จ./ฆ. ทกุ ขสจั จะ ธรรมท่ีเปนทกุ ข เปน ความจริงของพระอริยเจาทงั้ หลาย องคธรรมไดแ ก โลกยี จิต ๘๑ เจตสิก ๕๑ (เวน โลภะ) รูป ๒๘ ง. มรรคสจั จะ ธรรมที่เปนเหตุใหถึงความดบั ทุกข เปน ความจริงของพระอรยิ เจาท้ังหลาย องคธ รรมไดแก มัคคังคเจตสกิ ๘ ดวง มปี ญญาเจตสิกเปน ตน ท่ีในมรรคจติ ๔ ราสฏเ น (ราสอิ ฏเ น) ขนโฺ ธ ชอื่ วาขันธ เพราะอรรถวา เปน กลมุ เปน กอง คอื ธรรมท่ีเปน ปจ จุบัน อดตี อนาคต รวมกนั เปน กอง ๑ ธรรมที่เปน อชั ฌตั ตะ และ พหทิ ธะ รวมกนั เปนกอง ๑ ธรรมที่เปน โอฬารกิ ะ และ สุขุมะ รวมกันเปน กอง ๑ ธรรมท่ีเปน หนี ะ และ ปณีตะ รวมกันเปน กอง ๑ ธรรมท่ีเปน ทรู ะ และ สนั ตกิ ะ รวมกนั เปนกอง ๑. คําวา ขันธ ทแี่ ปลวา เปน กลุม เปน กอง นนั้ หมายเอาธรรมทมี่ ปี ระเภทตา งกนั ๕ ประเภท ซ่งึ ไดแ ก ธรรมท่ีเปน ปจจบุ ัน อดีต อนาคต รวมกันเปนกอง ๑ ธรรมที่เปน อชั ฌตั ตะ และ พหิทธะ รวมกันเปนกอง ๑ ธรรมท่ีเปน โอฬารกิ ะ และ สุขุมะ รวมกนั เปน กอง ๑ ธรรมที่เปน หีนะ และ ปณีตะ รวมกนั เปนกอง ๑ ธรรมท่ีเปน ทูระ และ สนั ตกิ ะ รวมกนั เปนกอง ๑ สาํ หรบั นิพพาน ไมม ีประเภทตา งกันดังกลา วขางตน คอื ๑. นิพพาน ไมมีประเภทแหง ปจจบุ ัน อดีต อนาคต มแี ตก าลวมิ ตุ ตอยา งเดยี ว ฉะนนั้ จึงเปนขันธไมไ ด ๒. นพิ พานทีเ่ ปน อัชฌตั ตะ ไมมี เปน พหิทธะ อยางเดยี ว ฉะนนั้ จงึ เปน ขันธไมไ ด ๓. นิพพานทีเ่ ปน โอฬาริกะ ไมม ี มีแตสขุ มุ ะ อยางเดยี ว ฉะนนั้ จึงเปนขนั ธไมได ๔. นิพพานที่เปน หนี ะ ไมมี เปน ปณตี ะ อยา งเดียว ฉะนนั้ จงึ เปนขนั ธไมได ๕. นพิ พานทีเ่ ปน สนั ตกิ ะ ไมม ี เปน ทูระ อยา งเดยี ว ฉะน้ันจึงเปน ขนั ธไ มไ ด ท่ีกลาววา นพิ พานเปน กาลวิมุตต พหทิ ธะ สุขุมะ ปณีตะ ทรู ะ เหลา นี้ ก็ไมเรยี กวา นพิ พานมี ๕ ประเภท แตคงเปนอนั หนึ่งอันเดยี วกัน คอื นพิ พานทเี่ ปนกาลวมิ ตุ ตนั้นเอง กเ็ ปนพหิทธะ สขุ ุมะ ปณีตะ ทูระ ดวย ดาวนโหลดขอ มูลตางๆไดจาก ขอความเพมิ่ เตมิ ท่ี youtube หรือ Post ใน fb ID: Kanrasi Sengking (ตาม link ทแ่ี ปะไว)

~ 31 ~ เมื่อนพิ พานเปนขนั ธไ มไ ด จึงชอื่ วา เปน ขนั ธวมิ ตุ ต ที่ทานกลาววา นพิ พานเปน ขนั ธวิมุตนน้ั เพราะเหตุวา ไมม ีประเภททตี่ า งกัน กลาวคือ นิพพานไมมี ประเภทแหงปจ จุบัน อดตี อนาคต มีแตก าลวิมุตอยางเดยี ว นิพพานเปนอัชฌัตตะไมม ีเปน พหิทธะอยา งเดียว นิพพานเปน โอฬาริกะไมมีเปน สุขมุ ะอยา งเดียว นพิ พานเปนหีนะไมม ี เปน ปณตี ะอยา งเดียว นพิ พานเปน สันติกะไมม ี เปน ทรู ะอยา งเดียว ฉะนั้นจึงเปนขนั ธไมได ทก่ี ลา ววา นพิ พานเปน กาลวมิ ุต พหิทธะ สขุ ุมะ ปณตี ะ ทรู ะเหลานี้ก็ไมเรียกวา นิพพานมี ๕ ประเภท แต คงเปน อนั หน่ึงอันเดยี วกัน คือ นพิ พานที่เปนกาลวมิ ุตนัน้ เองก็เปน พหิทธะ สุขุมะ ปณีตะ ทรู ะดว ย ธรรมท่ีเปน ความจริงของพระอรยิ เจา ทงั้ หลาย มีช่อื เรยี กวา อริยสจั จะ แสดงพรอ มท้งั ความหมายและองคธ รรมดงั น้ี อรยิ สจั จะมี ๔ คอื / อรยิ สัจจะ มี ๔ อยา ง คือ ๑. ทุกขสจั จะ ธรรมที่เปน ทกุ ข เปนความจรงิ ของพระอรยิ เจา ทั้งหลาย องคธ รรมไดแ ก โลกียจติ ๘๑ เจตสกิ ๕๑ (เวน โลภะ) รปู ๒๘ ๒. สมุทยสัจจะ ธรรมท่เี ปน เหตใุ หเ กดิ ทกุ ข เปนความจรงิ ของพระอริยเจาทั้งหลาย องคธรรมไดแ ก โลภเจตสกิ ๓. นิโรธสจั จะ ธรรมที่เปน เครอ่ื งดับทกุ ข เปน ความจรงิ ของพระอริยเจาท้งั หลาย องคธรรมไดแก นิพพาน ๔. มรรคสจั จะ ธรรมท่ีเปนเหตใุ หถึงความดบั ทุกข เปน ความจรงิ ของพระอรยิ ะเจาทง้ั หลาย องคธ รรมไดแ ก มัคคงั คเจตสกิ ๘ ดวง มีปญญาเจตสกิ เปน ตน ท่ใี นมรรคจติ ๔ แสดง ก. สพั พจิตตสาธารณเจตสกิ ๗ เปน เวทนาขนั ธ สญั ญาขันธ สังขารขนั ธ ข. หทยวตั ถุ เปน ธัมมายตนะ ค. อเหตกุ กิรยิ าจติ ๓ เปน มโนธาตุ มโนวญิ ญาณธาตุ ง. นิพพาน เปนนโิ รธสจั จะ จ. มรรคจติ ตุปบาท ๒๙ (เวนองคม รรค ๘ ทีป่ ระกอบกับมรรคจติ ) ผลจิตตปุ บาท ๓๗ เปนสจั จวมิ ุตต จ. ธัมมารมณแ ละธัมมายตนะ ตา งกันคือ องคธรรมของธมั มารมณ ไดแก จิต ๘๙ เจตสิก ๕๒ ปสาทรูป ๕ สุขมุ รูป ๑๖ นพิ พาน บัญญตั ิ องคธรรมของธัมมายตนะ ไดแ ก เจตสกิ ๕๒ สุขุมรูป ๑๖ นิพพาน จาํ แนกอริยสจั จ ๔ โดยเหตุ ผล และ โลกยี ะโลกตุ ตระ เปน ตน นน้ั มดี งั นี้ ทกุ ขสัจจ เปนผล สมทุ ยสจั จ เปน เหตุ นโิ รธสัจจ เปนผล มรรคสัจจ เปนเหตุ ทกุ ขสัจจ ทง้ั ๒ น้ี เปน โลกยี ธรรม โลกียสัจจะ สมุทยสจั จ ดาวนโ หลดขอ มลู ตางๆไดจ าก ขอความเพ่มิ เตมิ ท่ี youtube หรือ Post ใน fb ID: Kanrasi Sengking (ตาม link ทแ่ี ปะไว)

~ 32 ~ นิโรธสัจจ ท้งั ๒ นี้ เปน โลกตุ ตรธรรม โลกุตตรสัจจะ มรรคสจั จ ทุกขสัจจะ เปนสจั จะท่มี คี วามเปนไปอยูในวฏั ฏสงสาร ชื่อวา ปวัตติสจั จะ สมทุ ยสจั จะ เปนสจั จะท่ีเปนเหตุใหทุกขสจั จะเกิดขึ้น เปน ไปอยูใ นวฏั ฏสงสาร ช่ือวา ปวตั ตเิ หตุสจั จะ นิโรธสัจจะ เปนสัจจะที่ถอยอออกจากวฏั ฏทุกข ชอื่ วา นวิ ัตตสิ จั จะ มรรคสจั จะ เปนสัจจะท่ีเปน เหตใุ หถงึ ความถอยออกจาก วัฏฏทกุ ข ชื่อวา นิวตั ตเิ หตุสจั จะ ๑. รปู นามทงั้ ๒ อรยิ สัจจะ ๔ จําแนกโดยวฏั ฏะ ไดด งั น้ี ที่เกดิ อยูในวัฏฏสงสารน้ี ลวนแตเปนทุกข ฉะนั้น ทกุ ขสจั จะน้ี จึงเปนสจั จะท่มี คี วาม ๒. สมทุ ยสัจจะ เปน อยใู นวฏั ฏสงสาร ชอื่ วา ปวตั ตสิ จั จะ เปนสจั จะที่ไมด ี เปน สัจจะท่เี ปน เหตุใหทกุ ขสัจจะเกดิ ขน้ึ เปนไปอยูใ นวฏั ฏสงสาร ๓. นโิ รธสจั จะ ชือ่ วา ปวัตตเิ หตสุ จั จะ เปนสจั จะท่ไี มด ีเหมือนกัน ๔. มรรคสจั จะ เปนสัจจะทถี่ อยออกจากวฏั ฏทุกข ชอ่ื วา นิวตั ติสัจจะ เปนสจั จะทีด่ ี เปน สจั จะท่ีเปน เหตุใหถึงความถอยออกจากวฏั ฏทกุ ข ชอื่ วา นวิ ตั ตเิ หตสุ จั จะ เปน สัจจะท่ีดีเหมอื นกัน การเหน็ แจงในอรยิ สัจจ ทัง้ ๔ โดยกจิ ท้ัง ๔ คอื ๑. เห็นแจงใน ทกุ ขสจั จะ โดย ปริญญากิจ ๒. เหน็ แจงใน สมุทยสัจจะ โดย ปหานกิจ โดย ภาวนากจิ ๓. เหน็ แจงใน นิโรธสัจจะ โดย สัจฉิกรณกจิ ๔. เหน็ แจงใน มรรคสจั จะ สัมมาสังกปั ปะ ความดํารชิ อบ มี ๓ คอื ๑. นกิ ฺขมสงฺกปฺป ความดาํ ริที่ออกจากกามคุณอารมณ ๒. อพฺยาปาทสงกฺ ปปฺ ความดาํ รทิ ี่ประกอบดวยเมตตา ๓. อวิหงสฺ าสงฺกปปฺ ความดาํ รทิ ี่ประกอบดว ยกรณุ า เหลาน้ีชือ่ วา สัมมาสงั กัปปะ ในวัตถุธรรม ๗๒ นั้น วตั ถธุ รรมทแ่ี สดงไวในอกศุ ลสงั คหะ มี ๑๔ คอื อกศุ ลเจตสกิ ๑๔ วัตถธุ รรมที่แสดงไวในมสิ สกสงั คหะ มี ๓๖ คอื จติ ๑ เจตสิก ๒๖ รปู ๙ วตั ถุธรรมทแี่ สดงไวใ นโพธปิ ก ขิยสงั คหะ มี ๑๔ คอื จิต ๑ เจตสิก ๑๓ วัตถธุ รรมทแ่ี สดงไวในสัพพสงั คหะ มี ๗๒ คือ จิต ๑ เจตสกิ ๕๒ นิปผันนรปู ๑๘ นิพพาน ๑ **************************** ส่ิงที่สาํ คัญคือการเขา ศกึ ษากบั อาจารยผ ูสอน เพอื่ ความรูความเขา ใจท่ถี กู ตอ ง แจมแจง หากสงสยั จะไดส อบถาม ทนั ที การรวบรวมขอสอบทเี่ คยออกมาแลว นี้ เปนเพยี งแนวทางสําหรับผศู ึกษา นํามาเนน+ทรงจาํ ไว (เมอ่ื ไดชื่อวา ศกึ ษาแลว กค็ วรทรงจําใหไ ดมากทส่ี ุดหรือทงั้ หมด จึงจะชือ่ วา สุตะดวยดี เพอ่ื การจินตาและภาวนาตอ ไป) ขอ มลู ของชัน้ จูฬอาภิธรรมิ กะโทนี้ เปนพื้นฐานของชั้นสูงขัน้ ไป จนถงึ จบมหาอาภธิ รรมกิ ะเอก ดังน้ันควรทรงจําไวใ หม ากทส่ี ุด (ตามเน้ือหาหลกั สตู ร) หรือนอ ยท่สี ดุ กค็ วรจะทรงจาํ ขอสอบท่เี คยออกมาแลว ทัง้ หมด การสอบไมใชท ี่สดุ ของชวี ติ แตข อใหต ัง้ จิตศกึ ษาและทรงจาํ เพื่อธาํ รงและรกั ษาไวซงึ่ พระศาสนา รูอรรถะและพยัญชนะ ท้ังเขา ใจและเขา ใหถงึ ธรรมะ แมยงั มบิ รรลุคุณธรรมอันสงู ถงึ ขน้ั อรยิ ะ ก็ขอจงเปน ผูร ธู รรมะ (ตามสมควร) และจงเปนผมู ีธรรมะ ดาวนโ หลดขอ มลู ตางๆไดจาก ขอ ความเพม่ิ เติมท่ี youtube หรือ Post ใน fb ID: Kanrasi Sengking (ตาม link ท่แี ปะไว)


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook