Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ยุติธรรม ยุติกรรม

ยุติธรรม ยุติกรรม

Published by kittivara.namwaan, 2021-01-10 11:40:35

Description: ยุติธรรม ยุติกรรม

Keywords: ธรรมหรรษา

Search

Read the Text Version

1



สารบัญั บทนำำ� ๑ ยุุติิธรรม: อะไรและอย่่างไร ๔ ยุตุ ิิธรรมในพระพุุทธศาสนา ๗ ยิ่่ง� เข้้าใกล้้ความยุุติธิ รรมตามกฎธรรมชาติิ ๑๒ ยิ่่ง� ใกล้้ความยุตุ ิธิ รรมตามกฎเกณฑ์์สังั คม ความยุุติิธรรมไม่เ่ กิดิ ถ้า้ เปิดิ โอกาสให้อ้ คติ ิ ๑๗ ยุุติิธรรมทำำ�ไม ทำำ�ไมต้้องยุุติธิ รรม ๒๑ สรุปุ ๒๕

4 บทนำ�ำ

1 ความยุุติิธรรมเป็็นตััวแปรสำ�ำ คััญประการหนึ่�่งในการที่่�จะ เชื่�อ่ มสมานกลุ่�ม่ คน หรืือกลุ่่ม� ผลประโยชน์์ต่่างๆ ให้้สามารถอยู่�่ ร่่วมกัันได้้อย่่างสัันติิสุุข แต่่เมื่�อ่ ใดก็ต็ ามที่�่สังั คมตั้้ง� คำำ�ถาม หรืือ สงสััยต่่อความยุุติิธรรม ไม่่ว่่าจะเป็น็ การให้้คำำ�นิยิ าม หรืือความ หมายต่่อความยุุติิธรรม และการนำ�ำ ความยุุติิธรรมไปใช้้ในมิิติิ ต่่างๆ เช่่น ความยุตุ ิิธรรม ทางเศรษฐกิจิ การเมืือง สถานการณ์์ ความไม่่ไว้้วางใจ (Trust) ความเชื่่�อมั่่�นซึ่่�งกัันและกัันมัักจะเกิิด การติิดขััด และผลกระทบที่่�จะเกิิดตามมาคืือ ความสััมพัันธ์์ (Relationship) ที่ไ่� ม่่ลงรอยกันั ระหว่่างกัันคนต่่างๆ ในสัังคม ดังั ที่�่ ศ.นพ.ประเวศ วะสีี ได้้ย้ำำ��เตืือนในประเด็น็ นี้้ว� ่่า “หากสัังคมไร้้ซึ่่�งความยุุติิธรรมจะก่่อให้้เกิิดความทุุกข์์ ความขััดแย้ง้ การเสีียกำำ�ลังั ใจ และนำำ�ไปสู่่�วิิกฤติดิ ้้านต่่าง ๆ รวม ทั้้�งวิิกฤตการณ์์ทางเศรษฐกิิจที่�่เรากำ�ำ ลัังเผชิิญอยู่�่ ฉะนั้้�น ความ ยุุติิธรรมในสังั คมจึึงเป็็นเรื่�่องสำำ�คัญั แต่่เท่่าที่ผ�่ ่่านมา สังั คมไทย ยัังให้ค้ วามสำ�ำ คัญั กับั เรื่�อ่ งนี้้�น้้อยเกิินไป”

2 หลัักฐานประการหนึ่�่งที่�่สามารถยืืนยัันบทสรุุปของ ศ.นพ.ประเวศ วะสีีชี้้ว� ่่า เท่่าที่ผ�่ ่่านมา สังั คมไทยยังั ให้ค้ วามสำ�ำ คัญั กับั ความยุตุ ิธิ รรมน้อ้ ยเกินิ ไปนั้้น� เราอาจจะประเมินิ ได้จ้ ากตัวั เลข ล่่าสุดุ ที่โ่� ครงการยุตุ ิธิ รรมโลก (The World Justice Project) ได้้ จััดอัันดับั ให้ไ้ ทยอยู่ใ่� นอัันดับั ที่่� ๘๐ จาก ๙๗ ประเทศ ที่เ่� สริิม สร้้างความยุตุ ิิธรรมอย่่างมีีประสิิทธิิภาพ ตามรายงานดััชนีีหลักั นิิติิธรรม ๒๐๑๒ (Rule of Law Index 2012) จะเห็็นว่่า ในช่่วง ๑๐ ปีีที่่�ผ่่าน กลุ่�่มคนต่่างๆ มัักจะตั้้�งคำ�ำ ถามต่่อความยุุติิธรรม อย่่างต่่อเนื่�่อง ไม่่ว่่าจะเป็็นความยุุติิธรรมทางเศรษฐกิิจ ความ ยุุติิธรรมทางกฎหมาย และความยุุติิธรรมทางสัังคม ซึ่่�งการตั้้�ง คำำ�ถามต่่อความยุตุ ิธิ รรมนั้้น� มัักจะสัมั พัันธ์ก์ ับั “คน” ที่อ�่ าศััยอยู่่� ร่่วมกันั ในสังั คม แต่่ผู้้�เขีียนมองว่่า ปััญหาสำำ�คัญั ประการหนึ่ง่� ที่่� ทำ�ำ ให้้คำ�ำ ถามในลัักษณะดัังกล่่าว อาจจะเกิิดจากการที่�่กลุ่�่มคน ต่่างๆ ไม่่เข้้าใจแก่่นแท้ข้ องความยุุติิธรรมอย่่างรอบด้้าน

3 บทความนี้้� จึึงให้้ความสนใจต่่อประเด็็นเกี่่�ยวกัับ “ความ หมายที่่�แท้้จริิงของความยุุติิธรรม” เพราะส่่วนตััวมีีสมมติิฐาน ว่่า “การที่ก่� ลุ่ม�่ คนเข้า้ ใจ หรืือมีีมโนทัศั น์เ์ กี่ย�่ วกับั ความยุตุ ิธิ รรมที่�่ แตกต่่างกันั ย่่อมนำำ�ไปสู่ก่� ารวางท่่าทีี และการปฏิิบัตั ิทิ ี่่�แตกต่่าง กัันเช่่นเดีียวกััน” หากเป็็นเช่่นนั้้�น ย่่อมเป็น็ เรื่�่องง่่ายที่�จ่ ะทำ�ำ ให้้ กลุ่�ม่ คนต่่างๆ เกิิดความขััดแย้ง้ และนำำ�ไปสู่่ค� วามรุุนแรงในที่ส�่ ุุด

4 ยุุติิธรรม: อะไร และอย่า่ งไร

5 ยุตุ ิธิ รรม: อะไร และอย่่างไร กลุ่่�มนัักคิิดตะวัันตกมัักจะให้้ความหมายเกี่�่ยวกัับความ ยุุติธิ รรมค่่อนข้้างจะคล้้ายคลึึงกันั ว่่า “Justice is a concept of moral rightness based on ethics, rationality, law, natural law, religion or equity.” แปลว่่า “ยุตุ ิธิ รรมเป็น็ แนวคิดิ ที่เ�่ กี่ย่� วกับั ความ ถููกต้้องทางศีีลธรรม ที่่�สััมพันั ธ์์จริยิ ธรรม เหตุุผล กฎหมาย กฎ ธรรมชาติิ ศาสนา และความเสมอภาพ” ความยุุติิธรรมซึ่่ง� เป็น็ ความถููกต้้องทางศีีลธรรมในบริิบทนี้้� อาจจะอธิิบายได้้ ๒ ความหมายหลััก คืือ ความถููกต้อ้ งของการ อยู่�่ร่่วมกัันในสังั คมของกลุ่่�มคนต่่างๆ อย่่างเสมอภาค และการ อยู่ร่� ่่วมกัันดัังกล่่าวจะต้้องสอดรัับกัับเหตุุผล และความเป็็นจริิง ตามหลักั ศีีลธรรม และจริยิ ธรรมทางศาสนา และโดยเฉพาะอย่่าง ยิ่่�งต้้องสอดรัับกัับกฎธรรมชาติิ ในอีีกมิิติิหนึ่�่ง ความยุุติิธรรม จำำ�เป็น็ ต้อ้ งอยู่บ่� นฐานของศีีลธรรม ซึ่ง�่ ศีีลธรรมจำำ�เป็น็ อย่่างยิ่่ง� ที่่� จะต้้องสอดรับั กัับกฎเกณฑ์์ของธรรมชาติ ิ มิิฉะนั้้น� สัังคมมนุุษย์์ จะไม่่สามารถหาหลักั อ้า้ งอิงิ ว่่า จะเทีียบเคีียงกับั กฎเกณฑ์อ์ ันั ใด เพราะมนุษุ ย์แ์ ต่่ละคนล้้วนมีีแง่่มุุมหรืือการนิยิ ามที่แ�่ ตกต่่างกััน ตามประสบการณ์์ และมุุมมองของตัวั เอง

6 เมื่�่อวิิเคราะห์์แง่่มุุมความหมายของ “ความยุุติิธรรม” ใน บริิบทของสัังคมไทย ราชบััณฑิิตสถานได้้คำำ�จำ�ำ กััดความว่่า “น. ความเที่�่ยงธรรม, ความชอบธรรม, ความชอบด้้วยเหตุุผล ว. ความเที่ย่� งธรรม, ความไม่่เอนเอีียงเข้า้ ข้า้ งใดข้า้ งหนึ่�่ง, ชอบ ด้ว้ ยเหตุุผล” คำำ�ถามมีีว่่า ราชบััณฑิติ ยสถานได้ใ้ ช้้ฐานคิดิ อะไร จึึงนำ�ำ ไปสู่่�การแปลคำำ�ว่่า “Justice” ออกมาเป็็นความหมายใน ลัักษณะดัังกล่่าว แต่่จากการวิิเคราะห์ร์ ููปศััพท์โ์ ดยละเอีียดแล้้ว ทำ�ำ ให้้พบประเด็็นคำ�ำ ตอบที่�่น่่าสนใจว่่า “พื้้�นฐานสำำ�คััญของการ แปลดัังกล่่าวนั้้�น ราชบััณฑิติ ยสถานได้้นำ�ำ คำำ�ศััพท์์ของพระพุุทธ ศาสนามาเป็็นกรอบในการให้้คำ�ำ จำ�ำ กััดความและอธิิบายความ” ดัังจะอธิิบาย และนำ�ำ เสนอเหตุุผลโดยละเอีียดในข้อ้ ถััดไป

7 ความยุุติิธรรมในพระพุุทธศาสนา ความยุตุ ิิธรรม ในพระพุุทธศาสนา

8 ความยุตุ ิิธรรมในพระพุุทธศาสนา เมื่อ่� นำำ�คำำ�ว่่า “Justice” ซึ่ง�่ ราชบัณั ฑิติ แปลเป็น็ ภาษาไทยว่่า “ยุตุ ิธิ รรม” ไปเทีียบเคีียงกับั คำ�ำ ศัพั ท์ใ์ นภาษาบาลีี จะพบประเด็น็ ที่น่� ่่าสนใจว่่า โดยศัพั ท์น์ ั้้น� ไม่่มีีคำำ�ว่่ายุตุ ิธิ รรมปรากฏในคัมั ภีีร์ท์ าง พระพุทุ ธศาสนาแบบตรงตัวั คำำ�ถามมีีว่่า “พระพุทุ ธศาสนาไม่่ ได้ใ้ ห้้ความสนใจ และใส่่ใจต่่อความยุุติิธรรมใช่่หรืือไม่่? จึึงไม่่ได้้ บัญั ญัตั ิคิ ำ�ำ ศัพั ท์เ์ หล่่านี้้เ� อาไว้ใ้ นคัมั ภีีร์ส์ ำำ�คัญั ทางพระพุทุ ธศาสนา

9 อย่่างไรก็็ดีี เมื่อ�่ วิิเคราะห์์คำำ�ว่่า “ยุตุ ิธิ รรม” แบบแยกศััพท์์ เป็็น “ยุุติิกัับธรรม” จะพบว่่า ในคััมภีีร์์ชั้�นอรรถกถาได้้อธิิบาย เอาไว้อ้ ย่่างน่่าสนใจว่่า “ยุุติิ” มาจากคำ�ำ ว่่า “ยุตุ ติิ” ในภาษาบาลีี ซึ่่ง� แปลว่่า “ชอบ” หากนำำ�ไปผสมกัับคำ�ำ ว่่า “ยุุติิธรรม” สามารถ แปลได้ว้ ่่า “ความชอบธรรม” ในขณะเดีียวกันั ยุตุ ติติ ามที่ป่� รากฏ ในอรรถกถาสุุมัังคลวิิลาสิินีีนั้้น� แปลว่่า “ข้้อสรุุป หรืือข้้อตกลง” หมายถึึง “สิ่่�งที่น่� ำำ�ไปสู่�่ข้้อสรุุป และข้อ้ ตกลง” หรืือ “ข้อ้ ข้้อสรุุป หรืือข้้อตกลงที่�เ่ ป็็นธรรม หรืือโดยชอบ” จะเห็น็ ว่่า “ยุุติิ” แต่่ละ แห่่งมีีนััยที่�่ครอบคลุุมถึึงความหมายที่�่ “เลิกิ แล้้วต่่อกััน” หรืือ “ จบถ้ว้ นกระบวนความ” ดัังนั้้�น คำำ�ว่่า “ยุตุ ิิธรรม” สามารถแปล ว่่าได้้ว่่า “ธรรมที่่�นำ�ำ ไปสู่�่ข้้อสรุุป หรืือข้้อตกลง ซึ่�่งจะก่่อให้้เกิิด บรรยากาศของการเลิิกแล้้วต่่อกััน หรืือจบถ้้วนกระบวนความ” หรืืออาจจะแปลโดยความว่่า “การตกลงโดยอาศัยั ธรรม หรืือยุตุ ิิ โดยอิงิ อาศััยธรรม” แนวทางนี้้�สอดรับั กัับหลักั การในอััคคัญั สูตู รที่ม�่ หาชนพากันั เรีียกขานผู้ท้� ี่ท่� ำ�ำ หน้้าที่โ�่ ดยการสร้้างความ พอใจให้้แก่่ประชาชนโดยธรรมว่า่ “ราชา” ซึ่ง�่ การสร้้างความ พอใจตามหลัักทศพิิธราชธรรมข้้อที่�่ ๑๐ นั้้�น มีีนััยที่ช่�ี้�ไปถึึงการ ตััดสิิน และแบ่่งปัันผลประโยชน์์แก่่กลุ่่�มคนต่่างๆ ที่�่อยู่�่ร่่วมกััน ในสังั คมอย่่างเที่่�ยงธรรมโดยปราศจากอคติิ

10 สรุปุ แล้ว้ “ความยุตุ ิธิ รรม” ในโลกทัศั น์ข์ องพระพุทุ ธศาสนา จะสามารถเทีียบเคีียงคำำ�ว่่ายุตุ ิธิ รรมใน ๒ ความหมายใหญ่่ๆ คืือ (๑) ยุุติธิ รรมในความหมายของวินิ ััย หมายถึึง “ความ ชอบธรรม” หรืือ “ประกอบด้้วยธรรม” บาลีีใช้ค้ ำำ�ว่่า “ธััมมิิกะ” โดยในวิินััยกล่่าวถึึงประเด็็นนี้้�เอาไว้้ในกรณีีที่่�เกี่�่ยวข้้องกัับการ ตััดสิินหลัักอธิิกรณ์์ หรืือความขััดแย้้ง โดยให้้ใช้้วิิธีีการที่่�ชอบ ธรรม หรืือวิิธีีเป็็นธรรมแก่่คู่�่กรณีี โดยผู้้�ตััดสิินต้้องเป็็นบุุคคลที่�่ เป็็นธรรม หรืือชอบธรรม (ธัมั มิกิ บุคุ คล) คำ�ำ นี้้� จะสอดรัับกัับคำ�ำ ว่่า “Rightness” ในภาษาอัังกฤษมากที่ส�่ ุุด เพราะหากจะเทีียบ เคีียงแล้้ว วิินัยั ของพระภิิกษุุมีีลักั ษณะเดีียวกัันกัับกฎหมายที่ใ�่ ช้้ เป็น็ กรอบในการปฏิิบััติิของบุุคคลทั่่�วไปในสังั คม

11 (๒) ยุตุ ิธิ รรมในความหมายของพระสูตู ร หมายถึึง “ความ เที่ย่� งธรรม” หรืือ “ความไม่่คลาดเคลื่่�อนจากธรรม” (อวิโิ รธนะ) ซึ่�่งเป็็นทศพิิธราชธรรมข้้อที่�่ ๑๐ โดยหลัักธรรมชุุดนี้้�เป็็นหลััก การสำ�ำ คัญั สำำ�หรับั นักั ปกครองที่ม�่ ีีหน้า้ ที่ส�่ ำ�ำ คัญั ในการทำ�ำ ให้บ้ ุคุ คล อื่่�น หรืือผู้�ใต้้ปกครองพึึงพอใจ (ราชา) ความเที่่ย� งธรรมในบริิบท นี้้� หมายถึึง ความหนัักแน่่น ถืือความถููกต้้อง ไม่่เอนเอีียงหวั่�น ไหวด้ว้ ยคำ�ำ พููด อารมณ์์ หรืือลาภสัักการะใดๆ ด้้วยความอคติิ จะเห็น็ ว่่า การขาดความยุตุ ิธิ รรม หรืือเที่ย่� งธรรมเป็น็ ผลอันั เนื่อ่� ง มาจากสภาพจิิตของบุุคคลใดบุุคคลหนึ่่�งคลาดเคลื่�่อนจากธรรม คืือ เที่่�ยงธรรมด้ว้ ยอิิทธิิพลของอคติิ

12 ยิ่่ง� เข้ค้าวใากมล้ย้คุุตวิิธามรรยุมุติใิธนรพรมระตพาุมุทกธฎศาธสรนรมาชาติิ ยิ่่�งเข้้าใกล้้ความยุตุ ิิธรรมยิ่่ง� ใกล้ค้ วามยุตุ ิิธรรมตามกฎเกณฑ์์สัังคม ตามกฎธรรมชาติิ ยิ่่�งใกล้้ความยุตุ ิิธรรม ตามกฎเกณฑ์์สัังคม

13 ยิ่่�งเข้้าใกล้้ความยุตุ ิิธรรมตามกฎธรรมชาติิ ยิ่่ง� ใกล้ค้ วามยุตุ ิิธรรมตามกฎเกณฑ์์สังั คม จากการให้้คำำ�จำ�ำ กััดความในลัักษณะดัังกล่่าว คำ�ำ ว่่า “ยุตุ ิธิ รรม” ในความหมายของพระพุทุ ธศาสนาจึึงหมายถึึง “ความ ชอบธรรม และความเที่่�ยงธรรม” แต่่การจััดวางคำ�ำ ว่่า “เที่่�ยง ธรรม” เอาไว้้เป็็นเบื้้อ� งต้้นนั้้น� หากมองในเชิิงสังั คมวิทิ ยา ความ เที่ย�่ งธรรมเป็น็ ตัวั แปรสำ�ำ คัญั ที่จ�่ ะนำำ�ไปสู่ค�่ วามชอบธรรม หรืือข้อ้ ตกลงที่�่เป็็นธรรมของกลุ่�่มคนต่่างๆ ที่่�อาศััยอยู่่�ร่่วมกัันในสัังคม ได้้อย่่างสันั ติิสุขุ ถึึงกระนั้้�น ความยุตุ ิิธรรมกิินความได้ส้ องความหมาย คืือ “ความยุุติิธรรมตามกฎเกณฑ์์ทางสัังคม” กัับ “ยุุติิธรรมตามกฎ เกณฑ์์ธรรมชาติ”ิ ซึ่ง่� ความยุตุ ิธิ รรมตามกฎเกณฑ์ข์ องสัังคมเป็็น ระเบีียบหรืือกฎเกณฑ์์ที่่�มนุุษย์์ที่�่อาศััยอยู่�่ร่่วมกัันในฐานะเป็็น สััตว์์สัังคมได้้สร้้างขึ้�นโดยการเห็็นพ้้องต้้องกััน อาจจะเป็็นการ ประนีีประนอมผลประโยชน์ร์ ะหว่่างกลุ่ม่� คนที่ม�่ ีีอำ�ำ นาจ หรืือการ มีีฉัันทามติิร่่วมกัันของคนกลุ่�่มใหญ่่ก็็ตาม ซึ่่�งการออกแบบกฎ เกณฑ์์ดัังกล่่าว อาจจะสอดรับั กัับวัฒั นธรรม ประเพณีี วิิถีีชีีวิติ ความเชื่่อ� ค่่านิยิ ม ลััทธิิ และศาสนา

14 ในขณะที่�่ความยุุติิธรรมตามกฎเกณฑ์์ธรรมชาติินั้้�น เป็็น ความยุุติิธรรมที่่�สอดรัับกฎเกณฑ์์ของธรรมชาติิ (Natural Law) ซึ่ง�่ พระพุทุ ธศาสนาเรีียกกฎธรรมชาตินิ ี้้ว� ่่า “นิยิ าม” โดยแบ่่งออก เป็น็ ๕ ประการ คืือ ๑. อุุตุุนิิยาม (Physical Laws) คืือ กฎธรรมชาติิที่่� ครอบคลุุม ความเป็็นไปของปรากฏการณ์์ในธรรมชาติิ เกี่่�ยว กัับวััตถุุที่�่ไม่่มีีชีีวิิตทุุกชนิิด เช่่น ปรากฏการณ์์ฟ้้าร้้อง ฟ้้าผ่่า แม้้กระทั่่�งการเกิิดและการดัับสลายของโลกก็็เป็็นไปตามกฎ ธรรมชาติิข้อ้ นี้้� ๒. พีีชนิิยาม (Biological Laws) คืือ กฎธรรมชาติิที่่� ครอบคลุมุ ความเป็น็ ไปของสิ่่ง� มีีชีีวิติ ทั้้ง� พืืชและสัตั ว์์ กฎธรรมชาติิ นี้้� เมื่อ่� เรานำำ�เมล็ด็ ข้า้ วเปลืือกไปเพาะ ต้น้ ไม้ท้ ี่ง�่ อกออกมาจะต้อ้ ง เป็็นต้้นข้า้ วเสมอ หรืือ ช้้างเมื่่�อคลอดลููกออกมาแล้้วก็ย็ ่่อมเป็็น ลููกช้้างเสมอ ความเป็็นระเบีียบนี้้�พุุทธศาสนาเชื่่�อว่่าเป็็นผลมา จากการควบคุุมของพีีชนิิยาม

15 ๓. จิติ นิยิ าม (Psychic Laws) คืือ กฎธรรมชาติิที่�เ่ กี่ย�่ ว กัับกลไกการทำำ�งานของจิิต จิิตจึึงมีีกฎเกณฑ์์ในการทำำ�งาน เปลี่ย�่ นแปลงและแสดงพฤติกิ รรม เป็น็ แบบฉบัับเฉพาะตัวั ทั้้ง� นี้้� สุขุ ทุกุ ข์ ์ ดีีชั่่ว� ของบุคุ คลใดบุคุ คลหนึ่ง่� จึึงขึ้น� อยู่ก่� ับั การปรุงุ แต่่งของ จิิต ๔. กรรมนิยิ าม (Kamic Laws) คืือ กฎการให้ผ้ ลของกรรม กรรมคืือ การกระทำำ�ที่ป�่ ระกอบด้้วยความตั้้�งใจ แบ่่งออกเป็น็ ๒ อย่่าง คืือ กรรมดีีและกรรมชั่�ว กรรมดีีย่่อมตอบสนองในทางดีี กรรมชั่ว� ย่่อมตอบสนองในทางชั่ว� นี่่�คืือ กฎแห่่งกรรมนั่่น� เอง ๕. ธรรมนิยิ าม (General Laws) คืือ กฎธรรมชาติเิ กี่ย�่ วกับั ความเป็น็ เหตุุเป็น็ ผลของสิ่่ง� ทั้้ง� หลาย เป็็นกฎสากลที่ค�่ รอบคลุุม ความเป็น็ ไปทั้้ง� ฝ่า่ ยจิติ และฝ่า่ ยวัตั ถุุ กฎข้อ้ นี้้ม� ีีขอบเขตครอบคลุมุ กว้า้ งขวางที่�่สุดุ กฎ ๔ ข้อ้ ข้า้ งต้น้ สรุุปรวมลงในข้อ้ สุุดท้า้ ยนี้้�

16 จะเห็็นว่่า ความยุุติิธรรมตามกฎธรรมชาติิจึึงไม่่ได้้อยู่่�กัับ ตััวแปรที่�่บุุคคล หรืือสัังคมกำ�ำ หนดขึ้้�นมา หากแต่่เป็็นการเกิิด ขึ้�น ตั้้�งอยู่่� และเปลี่่�ยนแปลงไปตามเหตุุและปััจจััยตามหลัักขอ งอิิทััปปััจจยตาที่ว่� ่่า “เมื่�่อสิ่่ง� นี้้�มีี สิ่่�งนี้้�จึึงมีี เมื่่อ� สิ่่ง� นี้้เ� กิิด สิ่่�งนี้้จ� ึึง เกิดิ ” กลุ่�ม่ คนต่่างๆ ที่อ่� าศัยั อยู่่�ร่่วมกัันได้้อย่่างสัันติิสุุขในสัังคม จึึงมีีความจำ�ำ เป็น็ ที่จ่� ะต้อ้ งออกแบบระเบีียบหรืือกฎเกณฑ์ต์ ่่างๆ ให้ส้ อดรับั หรืือใกล้เ้ คีียงกับั กฎธรรมชาติใิ ห้ม้ ากที่ส�่ ุดุ โดยเฉพาะ อย่่างยิ่่ง� หากสามารถดำำ�เนินิ การออกแบบให้ป้ ระสานสอดคล้อ้ ง เป็็นหนึ่่�งเดีียวกับั กฎธรรมชาติ ิ ย่่อมสามารถเป็็นหลัักประกันั ถึึง การอยู่่�ร่่วมกัันอย่่างสันั ติิสุขุ อย่่างไรก็็ดีี มนุษุ ย์์จึึงมีีความจำำ�เป็น็ อย่่างยิ่่�งที่่�จะต้้องเรีียนรู้� และเข้้าใจความยุุติิธรรมตามกฎเกณฑ์์ ธรรมชาติิอย่่างลึึกซึ้ �งเพื่�่อจะได้้ออกแบบความยุุติิธรรมตามกฎ เกณฑ์ข์ องสังั คมให้ม้ ีีระบบ และกลไกที่่�ประสมกลมกลืืนกันั มาก ยิ่่�งขึ้ น�

17 ความยุุติิธรรมไม่่เกิิด ถ้้าเปิดิ โอกาสให้้อคติิ

18 ความยุตุ ิิธรรมไม่่เกิดิ ถ้า้ เปิิดโอกาสให้อ้ คติิ ตััวแปรสำำ�คััญที่�่ทำำ�ให้้มนุุษย์์สููญเสีีย “ความเที่่�ยงธรรมจน กลายเป็็นความเที่�่ยงเทีียม” คืือ “อคติิ” เพราะอคติิจะทำ�ำ ให้้ สภาพจิิตของมนุุษย์์ไม่่เที่�่ยงแท้้เพราะคลาดเคลื่�่อนไปจากธรรม จนนำ�ำ ไปสู่�่ความเอนเอีียงเข้า้ ข้้างใดข้้างหนึ่่�ง ในพระพุุทธศาสนา ในแบ่่งประเภทของอคติิไว้เ้ ป็็น ๔ ประการ คืือ ๑. ฉันั ทาคติิ (Prejudice caused by love or desire; partiality) ความละเอีียงเพราะความความชอบ และรัักใคร่่ หมายถึึง การทำำ�ให้เ้ สีียความยุตุ ิธิ รรม เพราะอ้า้ งเอาความรักั ใคร่่ หรืือความชอบพอกันั ซึ่�่งมัักเกิิดกับั ตนเอง ญาติิพี่น่� ้อ้ ง และคน สนิทิ สนม ความเอนเอีียงเพราะชอบจะทำำ�ให้ส้ ููญเสีียความเป็น็ กลาง และไม่่สามารถที่จ่� ะวางตน และปฏิบิ ัตั ิติ ่่อทุกุ คนให้เ้ หมาะ สมเหมืือนๆกััน ๒. โทสาคติิ (Prejudice caused by hatred or enmit- ty) ความละเอีียงเพราะความไม่่ชอบ เกลีียดชััง หรืือโกรธแค้้น หมายถึึง การทำำ�ให้้เสีียความยุตุ ิิธรรม เพราะความโกรธ หรืือลุุ อำ�ำ นาจโทสะเพราะมีีจิติ ใจที่ไ�่ ม่่หนักั แน่่น ไม่่รู้้�จักั เอาใจเขามาใส่่ใจ เรา และไม่่สามารถแยกเรื่�อ่ งส่่วนตััวกับั เรื่อ่� งงานออกจากกันั ได้้

19 ๓. โมหาคติิ (Prejudice caused by delusion or stupidity) ความละเอีียงเพราะความหลงเพราะไม่่รู้้� หรืือความ รู้�เท่่าไม่่ถึึงการณ์์ หมายถึึง การทำำ�ให้้เสีียความรู้�สึกธรรมเพราะ ความสะเพร่่า ความไม่่ละเอีียดถี่ถ่� ้ว้ น รีีบตัดั สินิ ใจก่่อนพิจิ ารณา ให้้ดีี การไม่่เปิิดใจให้้กว้้าง จึึงทำำ�ให้้มองโลกในแง่่ร้้าย และไม่่ สามารถยอมรับั ความคิิดเห็น็ ของผู้้�อื่�่น ๔. ภยาคติิ (Prejudice caused by fear) ความละเอีียง เพราะความกลััว หมายถึึง การทำำ�ให้้เสีียความยุุติธิ รรม เพราะ มีีความหวาดกลัวั หรืือเกรงกลัวั ภยันั ตรายที่จ�่ ะเกิดิ ขึ้้น� ต่่อตนเอง และครอบครััว จึึงทำำ�ให้้ขาดความความกล้้าหาญ โดยเฉพาะ ความกล้า้ หาญทางจริยิ ธรรม คืือ กล้า้ คิดิ กล้า้ พููดในสิ่่ง� ที่ถ่� ููกต้อ้ ง ดีีงาม

20 ความลำำ�เอีียงทั้้�ง ๔ ประการนี้้� เป็็นตััวแปรสำำ�คััญที่จ่� ะปิดิ กั้้น� จิติ ของมนุษุ ย์ท์ ี่อ่� าศัยั อยู่ร�่ ่่วมกันั ในฐานะเป็น็ สัตั ว์ส์ ังั คมคลาด เคลื่่�อน หรืือเบี่�่ยงเบนไปจากความยุุติิธรรม หรืือเที่�่ยงธรรม จนทำ�ำ ให้้การกระทำำ�การอย่่างใดอย่่างหนึ่�่งขาดความชอบธรรม เพราะองค์ธ์ รรมที่ว�่ ่่าด้ว้ ยความยุตุ ิธิ รรม (Justice) จะนำ�ำ ไปสู่ค�่ วาม ไว้ว้ างใจซึ่�ง่ กัันและกันั ของกลุ่่�มคนในสัังคม (Trust) เมื่�่อมนุุษย์ไ์ ว้้ วางใจเพราะได้้รัับความยุุติิธรรมที่่�พอรัับได้้ในระดััปานกลางถึึง มากที่่�สุุด ย่่อมทำำ�ให้้ความสััมพัันธ์์ระหว่่างกัันและกัันเป็็นไปใน เชิิงบวกมากยิ่่ง� ขึ้�น (Relationship) ดังั นั้้�น ความยุตุ ิิธรรม ความ ไว้้วางใจ และความสัมั พัันธ์์ จึึงเป็น็ ประดุุจห่่วงโซ่่ที่ค่� ล้อ้ งทั้้ง� การ คิิด พููด และแสดงออกต่่อกันั ของกลุ่่ม� คนต่่างๆ ที่�อ่ าศัยั อยู่ร่� ่่วม กันั เป็น็ สัังคม

21 ยุุติิธรรมทำ�ำ ไม ทำ�ำ ไมต้้องยุุติธิ รรม

22 ยุุติิธรรมทำำ�ไม ทำ�ำ ไมต้้องยุุติธิ รรม จากแง่่มุุมดัังกล่่าวทำ�ำ ให้้เกิิดคำ�ำ ถามว่่า เพราะเหตุุใด? พระพุุทธเจ้้าจึึงทรงนำ�ำ เสนอ หรืือออกแบบความเที่่�ยงธรรม โดยไม่่ประสงค์์ให้้จิิตใจของมนุุษย์์คลาดเคลื่�่อนจากธรรมเพราะ อิิทธิิพลของอคติิ คำ�ำ ตอบที่่�พอจะตอบได้้ในขณะนี้้�น่่าจะมีี ๒ ประการ คืือ

23 ๑. มุ่่�งหวัังไม่่ให้้มนุุษย์์เอาเปรีียบซึ่่�งกัันและกัันจนทำ�ำ ให้้ สัังคมเกิิดความสููญเสีียดุุลยภาพ จนนำำ�ไปสู่�่การไม่่เคารพสิิทธิิ เสรีีภาพ และความเสมอภาพระหว่่างกันั และกันั หากมองในมุมุ นี้้� ความยุุติิธรรมจึึงไม่่ใช่่สิ่่ง� เดีียวกัันกับั เสรีีภาพ หรืือเสมอภาพ หากแต่่เป็น็ พื้้น� ที่่ใ� ห้้สิิทธิิ เสรีีภาพ เสมอภาพ และภราดรภาพได้้ สำำ�แดงตัวั เองออกมาในเชิงิ บวกมากยิ่่ง� ขึ้น� นั่่น� หมายความว่่า หาก สัังคม หรืือบุุคคลใดเปิิดพื้้�นที่�่ให้้แก่่ความยุุติิธรรมได้้ทำ�ำ งานเต็็ม ศักั ยภาพ สังั คมนั้้น� จะเป็น็ สังั คมที่อ่� ุดุ มไปด้ว้ ยการเคารพในสิทิ ธิิ เสรีีภาพ ความเสมอภาพ และภราดรภาพ ตัวั อย่่างอย่่างที่�่เห็็น ได้้ชัดั คืือ ประเด็็นเรื่�อ่ งการปฏิเิ สธวรรณะของพระพุุทธเจ้า้ การ หยิบิ ยื่น�่ ประเด็น็ เรื่อ่� งความเที่ย�่ งธรรม หรืือการเปิดิ พื้้น� ที่ใ่� ห้ม้ นุษุ ย์์ ได้พ้ ัฒั นาตัวั เองอย่่างไร้ข้ ีีดจำ�ำ กัดั จึึงทำ�ำ ให้ม้ นุษุ ย์ไ์ ด้พ้ ัฒั นาตัวั เอง อย่่างไร้้ขีีดจำำ�กััด ตั้้�งแต่่แง่่มุุมเชิิงกายภาพไปจนถึึงจิิตภาพคืือ การเข้า้ ถึึงความจริงิ สููงสุดุ หนึ่ง�่ ในกลุ่ม่� คนที่ส่� ามารถพิสิ ููจน์ท์ ราบ ข้้อเท็็จจริิงดัังกล่่าวได้้ดีีที่่�สุุดนอกจากสาวกของพระพุุทธเจ้้า ในสมััยพุุทธกาลคืือ “ดร.อััมเบการ์์” ที่่�ศรััทธาในคุุณค่่าของ ค ว า ม ยุุ ติิ ธ ร ร ม จ น ส า ม า ร ถ แ ห ว ก เ ม ฆ ห ม อ ก ข อ ง ว ร ร ณ ะ และเพีียรพยายามพััฒนาตััวเองจนกลายเป็็นประธานคณะ กรรมการร่่างกฎหมายรััฐธรรมนููญของประเทศอิินเดีียฉบัับแรก และฉบัับเดีียวที่�ใ่ ช้้ในขณะนี้้�

24 ๒. มุ่่�งหวัังที่�่จะให้้มนุุษย์์ปฏิิบััติิต่่อการและกัันในเชิิงบวก ด้ว้ ยความรักั เคารพ ให้เ้ กีียรติใิ นศักั ดิ์์ศ� รีี และคุุณค่่าของความ เป็น็ มนุษุ ย์ใ์ ห้เ้ หมาะสมกับั ฐานะของ “ความเป็น็ ผู้้�ยกระดับั จิติ ใจ ของตััวเองให้้สููงขึ้�น” ภายใต้้มโนทััศน์์ที่�่ว่่า “เรารัักความสุุข เกลีียดกลัวั ความทุกุ ข์์ ฉัันใด คนอื่่น� ๆ ก็ร็ ักั ความสุุขเกลีียดกลัวั ความทุุกข์์ ฉันั นั้้น� เหมืือนกััน การเข้้าใจความจริงิ เช่่นนี้้� จะทำ�ำ ให้้ เราปฏิิบััติิต่่อเพื่�่อนมนุุษย์์ด้้วยความเป็็นธรรม และเที่่�ยงธรรม หลีีกเลี่�่ยงการคิิด พููด หรืือแสดงพฤติิกรรมอย่่างใดอย่่างหนึ่�่ง ที่่�ส่่อแสดงให้้เห็็นถึึงการละเมิิดสิิทธิิและเสรีีภาพของคนอื่�่นๆ ด้้วยการมุ่่�งมั่่�นและใส่่ใจที่�่จะปฏิิบััติิต่่อคนอื่่�นๆ ในสัังคมอย่่าง เสมอภาค เท่่าเทีียม และเป็น็ ธรรม ตั้้ง� แต่่การแบ่่งปันั ทรัพั ยากร ผลประโยชน์์ ความต้อ้ งการ ไปจนถึึงความรักั เพื่อ่� นร่่วมโลกโดย ไม่่แบ่่งเขาแบ่่งเราเพีียงเพราะความคิิด ความเชื่่�อ วััฒนธรรม ชาติพิ ันั ธุ์์� และภาษาที่�่แตกต่่าง

25 สรุปุ

26 สรุุป สรุปุ แล้ว้ เป้า้ หมายของการนำำ�เสนอหลัักการเรื่�อ่ ง “ความ ยุุติิธรรม” ในกรอบของความเที่�่ยงธรรม และไร้้อคติินั้้�น จะนำ�ำ ไปสู่่�การสร้า้ งชีีวิิต และสังั คมที่่เ� ป็็นธรรมมากยิ่่ง� ขึ้น� จึึงชอบแล้้ว ที่่พ� ระพุทุ ธเจ้า้ พยายามจะย้ำ��ำ เตืือนว่่า “ธรรมนั่่น� แล ย่่อมรักั ษาผู้� ประพฤติธิ รรม” เพราะเมื่อ�่ ใดก็ต็ ามที่เ่� ราให้ค้ วามใส่่ใจ และรักั ษา ความยุุติิธรรม หรืือเที่�่ยงต่่อธรรม เมื่่�อนั้้�น ความยุุติิธรรมที่�่เรา เพีียรพยายามที่่�จะปฏิิบััติิหน้้าที่่�อย่่างเที่�่ยงตรงนั้้�นจะทำำ�หน้้าที่�่ รักั ษาชีีวิติ และสัังคมให้เ้ กิดิ ดุุลยภาพ และทำ�ำ ให้้มนุุษย์์ที่อ่� ยู่ร่� ่่วม กันั ในฐานะเป็น็ สัตั ว์ส์ ังั คมสามารถอยู่ด่� ้ว้ ยกันั อย่่างไว้เ้ นื้้อ� เชื่อ�่ ใจ ซึ่่ง� กัันและกััน ไม่่หวาดระแวงสงสัยั อัันจะส่่งผลให้้เกิิดการเชื่่�อม สมานความสััมพัันธ์์ระหว่่างกัันและกัันมากยิ่่�งขึ้�นโดยลำ�ำ ดัับทั้้�ง ต่่อหน้า้ และลับั หลังั ทั้้ง� ในโลกนี้้� และโลกต่่อๆ ไปในฐานะเพื่อ่� น มนุษุ ย์ท์ ี่เ�่ กิดิ แก่่ เจ็บ็ และตายอย่่างเสมอภาค เท่่าเทีียม และเที่ย่� ง ธรรม

27 ผู้�คนจำ�ำ นวนมาก มัักจะพููดคล้้ายๆ กัันว่่า “กฏหมายเป็น็ เครื่่�องมืือ ในการผดุุงความยุุติิธรรม หรืือเป็็นสะพานทอดเดิิน ไปสู่ค่� วามยุตุ ิธิ รรม” หากพููดในลักั ษณะนี้้� กฏหมายจึึงเป็น็ วิธิ ีีการ (Mean) ในขณะที่�่ความยุุติธิ รรมเป็็นเป้้าหมาย (End) ความจริงิ หากจะมองให้้ลึึกซึ้ �งกว่่านั้้�น ตััวกฏหมายในตััวของมัันเองเป็็น ได้ท้ ั้้ง� วิธิ ีีการและเป็น็ ทั้้ง� เป้า้ หมาย เพราะในตัวั กฏหมายโดยเนื้้อ� แท้ต้ ้อ้ งมีีความยุตุ ิธิ รรมในตัวั ของมันั เองด้ว้ ย มิไิ ด้ห้ มายความว่่า การจะเกิิดความยุุติิธรรมนั้้�นจะใช้้วิิธีีการอย่่างใดก็็ได้้โดยตััวกฏ หมายไม่่จำ�ำ เป็น็ ต้อ้ งยุตุ ิธิ รรม สรุุปแล้้ว ความยุุติิธรรมจะเกิดิ ตััว กฏหมาย หรืือการบัังคัับใช้้กฏหมายต้้องทั่่�วถึึง เท่่าเทีียม และ เป็น็ ธรรมด้้วย มิฉิ ะนั้้น� ยุุติิธรรมจะมีีความเพีียงแค่่ทำ�ำ ให้ม้ ัันยุตุ ิิ และยุตุ ิิความเป็็นธรรม

28 ความยุุติธิ รรม อันั หมายถึึง การที่่จ� ะทำ�ำ ให้ส้ ิ่่ง� ต่่างๆ ยุตุ ิลิ ง นั้้น� ต้้องอาศัยั ความเป็็นธรรม หรืือความชอบธรรม (Rightness) มาเป็็นฐานรองรัับ หรืืออีีกนััยหนึ่�่ง บทสรุุปและข้้อตกลงที่่�เป็็น ธรรมเท่่านั้้�น ที่จ�่ ะนำ�ำ ไปสู่่�ความยุุติิธรรมได้้อย่่างยั่่�งยืืน ด้ว้ ยเหตุุ นี้้� ความยุตุ ิิธรรมเท่่านั้้�น ที่่จ� ะยุตุ ิอิ กุศุ ลกรรมที่�่จะเกิดิ ขึ้้�นระหว่่าง คู่ก่� รณีีได้ ้ ตราบใดที่ก่� ฏหมายไม่่สามารถจะหยิบิ ยื่น�่ ความยุตุ ิธิ รรม ให้แ้ ก่่ฝ่า่ ยใดฝ่า่ ยหนึ่ง�่ ใดได้อ้ ย่่างทั่่ว� ถึึง เท่่าเทีียมและเป็น็ ธรรมนั้้น� อกุศุ ลกรรมจะยังั คงเกิดิ ขึ้้น� ให้ค้ ู่ก�่ รณีีจองล้า้ งจองผลาญกันั อย่่าง ไม่่มีีจุดุ จบ ต่่อเนื่อ�่ งไปทุกุ ภพทุกุ ชาติิ ฉะนั้้น� เพื่อ�่ ปิดิ ช่่องทางมิใิ ห้้ อกุศุ ลกรรมได้ช้ ่่องทางเจริญิ เติบิ โต จำ�ำ เป็น็ อย่่างยิ่่ง� ที่จ�่ ะต้อ้ งสร้า้ ง ความยุตุ ิิธรรมให้เ้ กิดิ ขึ้้น� ในชีีวิิตและสังั คม

29 ธรรมหรรษา พระมหาหรรษา ธมฺมหาโส, รศ.ดร. พระสงฆ์ย์ ุคุ ใหม่่ ผู้ซ�้ ึ่ง่� เป็น็ นักั คิดิ และนักั วิชิ าการทางพระพุทุ ธ ศาสนา ที่�่สามารถบููรณาการความรู้�้ทางพระพุุทธศาสนากัับศาสตร์์ สมััยใหม่่ต่่างๆ เผยแผ่่สู่่�สัังคมได้้อย่่างดีีเยี่่�ยม เป็็นผู้้�เชี่่�ยวชาญ การจััดการความขััดแย้้งโดยพุุทธสัันติิวิิธีี เป็็นพระสงฆ์์ยุุคใหม่่ ที่่�กล้้าเปิิดรัับความรู้�้ใหม่่ๆ ช่่องทางใหม่่ๆ ในการเผยแผ่่ธรรมะ และในอีีกบทบาทหนึ่�่งที่�่เป็็นนัักบริิหารของมหาวิิทยาลััยมหา จุุฬาลงกรณราชวิิทยาลััย มหาวิิทยาลััยแห่่งคณะสงฆ์์ไทยที่่�นำำ� วิิชาการความรู้�้ทางพระพุุทธศาสนาเผยแผ่่สู่่�สัังคม เป็็นนัักทำำ�งาน ที่�่มุ่�งมั่�นตั้�งใจ ได้้รัับมอบหมายให้้เป็็นผู้�้ประสานงานจััดงานประชุุม วิิสาขบููชาโลก ในด้้านวิิชาการท่่านก็็เป็็นอาจารย์์ เป็็นพระสงฆ์์ นัักวิิชาการที่่�บรรยายธรรม บรรยายการจััดการความขััดแย้้ง โดยพุุทธสัันติิวิิธีี ให้้แก่่สถานศึึกษา องค์์กร และแก่่ผู้้�บริิหารต่่างๆ เป็็นตััวแทนนัักวิิชาการทางพระพุุทธศาสนาไปร่่วมประชุุมวิิชาการ ทั้้�งในประเทศและต่่างประเทศอยู่ �เป็็นประจำำ� www.facebook.com/HansaPeace Facebook Fanpage : ธรรมหรรษา DhammaHansa

30 จััดพิมิ พ์์เผยแผ่่ วิทิ ยาลัยั พุุทธศาสตร์น์ านาชาติิ และหลักั สููตรสันั ติศิ ึกึ ษา มหาวิทิ ยาลััยมหาจุุฬาลงกรณราชวิทิ ยาลััย 035-248-000 ต่อ่ 7210, 082-692-5495 [email protected] www.ibsc.mcu.ac.th ออกแบบโดย อุบุ ลวรรณา กลิ่�นจุ้�ย Image by freepik.com

31

32


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook