Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ส่วนหน้า

ส่วนหน้า

Published by Amnaj Samervong, 2023-07-02 04:44:24

Description: วิเคราห์หลักสูตรรายวิชา

Search

Read the Text Version

30100-0101 กลศาสตร์วิศวกรรม วิเคราะห์หลักสูตรรายวิชา โดย: ครูอำนาจ เสมอวงศ์ แผนกวิชาช่างกลโรงงาน วิทยาลัยเทคนิคชุมพร

คำนำ แผนการสอนวิชากลศาสตรวิศวกรรมรหัสวิชา 30100-0101 ตามหลกั สตู รประกาศนียบัตรวชิ าชีพช้ันสูง พุทธศักราช 2563 เพื่อใชเปนแนวทางประกอบการจัดการเรียนรูตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขาวิชาชางกลโรงงาน โดยชวยเปนแนวทางในการจัดการเรียนรูใหเปนไปตามแผนการจัดการเรียนรูที่ได กำหนดไวใ นหลกั สตู ร โดยจดั แบงเนอื้ หา ทัง้ สิ้น 17 หนวยการเรยี น การแยกหนว ยการเรยี นรจู ะอางองิ ภาคทฤษฎีไวต ามหนว ยการเรยี นรูตาง ๆ ตามความเหมาะสม แตละ หนวยจะประกอบดวย แผนการจัดการเรียนรู เนื้อหาสาระ กิจกรรมการเรียนรู การวัดและประเมินผลและสื่อ ประกอบการเรยี นการสอน ทายนี้ ผูเรียบเรียงหวังเปนอยางย่ิงวาแผนการสอนวิชากลศาสตรวิศวกรรมรหัสวิชา 30100-0101 จะชวยเปน แนวทางในการจัดการเรยี นรู ไดเปน อยางดแี กค รผู สู อน และเพ่ิมความรูแกนักเรียน อำนาจ เสมอวงศ วทิ ยาลัยเทคนคิ ชมุ พร

คำแนะนำการใชแผนการจัดการเรียนรูมงุ เนน สมรรถนะ แผนการจัดการเรยี นรมู งุ เนน สมรรถนะ ใชใ นการสอนกับผูเรยี นท้งั หอง กจิ กรรมการเรยี นการสอนใน การเรียนรูผูเรียนจะตองประกอบกิจกรรมไปพรอม ๆ กับเนื้อหาวิชา โดยเนื้อหาวิชาประกอบดวยหนวยการ เรยี น 17 หนวย คอื หนวยการเรยี นที่ 1 การเปลยี่ นระบบหนว ย หนว ยการเรียนที่ 2 การคำนวณระบบแรง 2 มิติ หนว ยการเรยี นท่ี 3 การคำนวณระบบแรง 3 มติ ิ หนว ยการเรียนที่ 4 การคำนวณโมเมนตของแรง 2 มิติ หนวยการเรียนท่ี 5 การคำนวณแรงคคู วบ 2 มิติ หนว ยการเรียนท่ี 6 การคำนวณโมเมนตของแรง 3 มิติ หนว ยการเรยี นที่ 7 การคำนวณแรงคคู วบ 3 มิติ หนวยการเรียนที่ 8 การคำนวณสมดุลของแรง 2 มติ ิ หนว ยการเรียนท่ี 9 การคำนวณสมดลุ ของแรง 3 มติ ิ หนว ยการเรยี นที่ 10 การเขียนแผนภาพวตั ถอุ สิ ระ หนว ยการเรยี นที่ 11 การคำนวณหาแรงในช้นิ สว นโครงสราง หนว ยการเรียนท่ี 12 การคำนวณแรงกระจายในชิ้นสว นโครงสรา ง หนว ยการเรียนที่ 13 การคำนวณจุดศูนยถวงและเซนทรอยด 2 มิติ หนว ยการเรยี นที่ 14 การคำนวณจุดศูนยถวงและเซนทรอยด 3 มิติ หนว ยการเรยี นที่ 15 การคำนวณโมเมนตความเฉื่อยของรปู ทรงมาตรฐาน หนว ยการเรียนที่ 16 การคำนวณโมเมนตความเฉื่อยของรูปทรงผสม หนว ยการเรียนท่ี 17 การคำนวณหาความเสยี ดทานในเคร่อื งจักรกล ในการจดั การเรยี นรรู ายวิชากลศาสตรว ิศวกรรม สว นประกอบดว ยเอกสารที่เกีย่ วขอ งดังน้ี 1. หลกั สูตรรายวชิ า 2. ตารางวเิ คราะหหลักสตู รายวชิ า 3. ตารางวิเคราะหแ หลง การเรยี นรู 4. ตารางวิเคราะหส มรรถนะท่ัวไป 5. ตารางวเิ คราะหส มรรถนะที่พงึ ประสงค 6. ตารางวิเคราะหพฤติกรรมการเรยี นรูท่ีพงึ ประสงค 7. โครงการสอนรายวชิ า 8. การบรู ณาการรายวชิ า 9. แผนการเรยี นรรู ายหนว ย ภาคทฤษฎี/ปฏิบตั ิ 9.1 ใบเนือ้ หาหนวยท่ี 1-17 9.2 แบบฝกหัด 9.3 แบบทดสอบกอ น

9.4 ใบงาน 9.5 ส่อื การสอน 9.6 บันทกึ หลงั การสอน 9.7 แบบประเมนิ คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค 1. คำชีแ้ จงสำหรับผสู อน 1.1 ผูสอนตองศกึ ษาหลักสูตร เน้ือหาวิชาและแผนการเรยี นใหเ ขา ใจกอนทำการสอนและตอ งเตรียม วัสดุ อุปกรณ เพอ่ื ใชในการเรียนการสอนตามระบไุ วใ นแผนการสอนแตล ะหนวยการเรยี นรู 1.2 การจัดกจิ กรรมการเรียนการสอน แบง ออกเปน ดังน้ี ขั้นท่ี 1 ทดสอบกอนเรียน ขนั้ ท่ี 2 นำเขา สูบทเรยี น ขน้ั ท่ี 3 ใบเน้อื หา ข้ันท่ี 4 กจิ กรรมประกอบการเรยี น ข้ันท่ี 5 สรปุ ผล ขั้นท่ี 6 ทดสอบหลงั เรียน 1.3 การสรุปบทเรยี นเปนกจิ กรรมรว มระหวา งผสู อนกบั ผเู รียน 1.4 หลังจากเรยี นครบทกุ หัวขอเร่ืองในแตล ะหนว ยการเรยี นแลว ใหผเู รยี นทำแบบทดสอบ 1.5 หลงั จากผเู รียน เรยี นจบครบทกุ หนว ยการเรียนแลว ผูส อนตอ งเก็บขอ มูลผลการเรยี นของผูเรียน เพอื่ ดูการเปล่ยี นแปลงพฤตกิ รรมและความกาวหนา ของผูเรยี น 2. การจัดชน้ั เรียน ใชการจัดชั้นเรียนตามปกติสำหรับการสอนภาคทฤษฎี โดยการจัดการเรียนการสอนแบบบรรยายหรือ ถามตอบ สภาพการจัดชั้นเรียนตองจัดเพื่อใหเหมาะสมสามารถจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแกผูเรียนอยาง ท่ัวถงึ จดั การเรยี นการสอนแบบบูรณาการใหผ ูเรยี นปฏบิ ัตติ ามกิจกรรมที่เสนอไวในแผนการสอน 3. การประเมินผล ประเมินผลจากการทำแบบฝกปฏิบัติขณะเรียน แบบทดสอบกอน/หลังเรียน การปฏิบัติงานท่ี มอบหมายตามใบงานของแตละหนว ย

ระดบั ชัน้ ปวส. ผลงานและเกณฑก ารประเมินผลงานรายวิชา 3 หนวยกิต สาขาวิชาชางกลโรงงาน รหสั วิชา 30100-0101 ชื่อวิชา กลศาสตรวิศวกรรม 3 ช่ัวโมง/สัปดาห 1. ผลงานและเกณฑก ารประเมินผลงาน ผลงานและเกณฑการประเมินผลงานในรายวิชากลศาสตรวิศวกรรม ไดกำหนดหลักเกณฑการ ประเมนิ ผลงานเพือ่ ใหผ เู รียนมคี วามรู คณุ ธรรม จรยิ ธรรม และคุณลกั ษณะทพี่ งึ ประสงค ดงั น้ี 1. ผลงานและเกณฑก ารประเมินผลงาน (คะแนนเต็ม 100 %) 1. การวัดผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี น 60 % 2. แบบทดสอบหลงั เรยี นรายหนวย 20 % 3. คุณธรรม จริยธรรม และคุณลกั ษณะท่พี งึ ประสงค 20 % รวม 100 % * คณุ ธรรม จรยิ ธรรม และคุณลักษณะที่พงึ ประสงค คุณธรรม จริยธรรมฯ นี้ไดกำหนดขึ้นตามกรอบคุณธรรม จริยธรรม และคุณลักษณะทีพ่ ึงประสงค ของผูสำเรจ็ การศกึ ษา สำนกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา ประกอบดวย 15 คณุ ลักษณะ สอดคลองกับ การบูรณาการปรัชญาเศรฐกิจพองเพียง (เงื่อนไขคุณธรรม) ซึ่งในรายวิชาความแข็งรงวัสดุ ไดเนน 4 คุณลักษณะ คือ ดานความมีวินัย ดานความรบั ผิดชอบ ดานความซื่อสัตยส ุจรติ และ ดานความสนใจใฝ เรียนรู ซงึ่ ในแตล ะดานมีพฤตกิ รรมบงช้ีท่สี ำคญั และนำมาเลือกใช ดังน้ี 1. ความมีวินัย คือปฏิบัติตามกฎระเบียบขอบังคับและขอตกลงตาง ๆ ของสถานศึกษาไดแกการ แตง กายถูกตองตามระเบียบและขอบังคับ ตรงตอเวลา รักษาสาธารณสมบัติ สิ่งแวดลอมและเขารวม กิจกรรมทค่ี รู กำหนดและประพฤติตนถกู ตองตามศีลธรรมอนั ดีงาม (เขา ชนั้ เรยี นตรงเวลา) 2. ความรับผิดชอบ คือการเตรียมความพรอมในการเรียนและการปฏิบัติงาน ปฏิบัติงานตาม ขั้นตอน ที่วางไว ปฏิบัติงานดวยความตั้งใจ ปฏิบัติงานดวยความละเอียดรอบคอบ ปฏิบัติงานที่ไดรับ มอบหมายเสร็จ ตามกำหนด มีความเพียรพยายามในการเรียนและการปฏิบัตงิ าน ปฏิบตั ิงานตามหนาท่ีของ ตนเอง ยอมรับผล การกระทำของตนเอง ปฏิบัติงานโดยคำนึงถึงความปลอดภัยตอตนเองและสวนรวม (นักเรียนเอาใจใสการ เขา รวมกิจกรรมในแตละแผนการจัดการเรียนรมู งุ เนนสมรรถนะอยางต้ังใจ) 3. ความซ่อื สัตยส จุ รติ คือการพดู ความจริง ไมน ำผลงานของผอู ืน่ มาแอบอา งเปนของตนเอง ไม ทุจริต ในการสอบ ไมล กั ขโมยเปน ตน (นกั เรยี นไมถามและไมลอกคำตอบจากผูอนื่ ) 4. ความสนใจใฝร ู เปน การศึกษาคนควา ดวยตนเอง ซักถามปญหาขอ สงสยั แสวงหาประสบการณ และคน หาความรูใ หม ๆ (นักเรยี นใฝในการเรียนรูอยูเสมอ โดยการศึกษาหาความรดู วยตนเอง หรือ ปรึกษาหารือหาความรู หรือศึกษาดวยวธิ กี ารอนื่ ๆ)

2. เกณฑแ ละวธิ กี ารปฏิบตั ิในการวดั และประเมินผลการเรียนรายวชิ า เกณฑการตัดสนิ ผลการเรยี น ใหเปน ไปตามระเบยี บกระทรวงศึกษาธิการ วาดว ย การประเมนิ ผล การ เรยี นตามหลักสูตรประกาศนียบตั รวิชาชพี ดงั นี้ ระดับผลการเรยี น ความหมาย ชว งคะแนน 4.0 ผลการเรยี นอยูในเกณฑด ีเยี่ยม 80 ขึน้ ไป 3.5 ผลการเรียนอยูในเกณฑดีมาก 75-79 3.0 ผลการเรียนอยูใ นเกณฑด ี 70-74 2.5 ผลการเรยี นอยใู นเกณฑด ีพอใช 65-69 2.0 ผลการเรยี นอยูในเกณฑพอใช 60-64 1.5 ผลการเรยี นอยใู นเกณฑออน 55-59 1.0 ผลการเรยี นอยูในเกณฑอ อนมาก 50-54 0 ผลการเรียนตำ่ กวาเกณฑขน้ั ต่ำ ตำ่ กวา 50 รายวิชาใดทแ่ี สดงระดับผลการเรยี นตามตารางขา งตนไมไ ดใหใ ชตัวอักษรตอ ไปนี้ ข.ร. หมายถึง ขาดเรยี น ไมมีสิทธิเขา รับการประเมินสรปุ ผลการเรยี นเนอื่ งจากมีเวลาเรียนต่ำกวา รอย ละ 80 โดยสถานศึกษาพิจารณาแลวเหน็ วา ไมใชเ หตสุ ุดวสิ ัย ข.ป. หมายถงึ ขาดการปฏิบตั งิ าน หรอื ปฏบิ ัตงิ านไมค รบ โดยสถานศกึ ษาพจิ ารณาแลว เห็นวาไมม ี เหตุผลสมควร ข.ส. หมายถึง ขาดการประเมินสรุปผลการเรียน โดยสถานศกึ ษาพิจารณาแลว เห็นวา ไมมเี หตผุ ล สมควร ถ.ล. หมายถึง ถอนรายวชิ าภายหลังกำหนด โดยสถานศึกษาพิจารณาแลว เหน็ วาไมมเี หตผุ ล สมควร ถ.น. หมายถงึ ถอนรายวิชาภายในกำหนด ถ.พ. หมายถึง ถูกส่งั พักการเรียนในระหวางท่ีมีการประเมินสรุปผลการเรยี น ท. หมายถึง ทจุ ริตในการสอบหรืองานทม่ี อบหมายใหทำ ม.ส. หมายถึง ไมสมบูรณเ นื่องจากไมสามารถเขา รับการประเมนิ ครบทกุ ครงั้ และหรือไมส งงานอัน เปน สวนประกอบของการเรียนรายวิชาตามกำหนด ดว ยเหตุจำเปนอันสุดวิสยั ม.ท. หมายถงึ ไมสามารถเขา รบั การประเมินทดแทนการประเมนิ สว นที่ขาดของรายวิชาทไ่ี ม สมบูรณ ภายในภาคเรยี นถดั ไป ผ. หมายถึง ไดเขา รว มกิจกรรมตามกำหนด และผลการประเมินผา น ม.ผ. หมายถงึ ไมเ ขารว มกจิ กรรม หรือผลการประเมนิ ไมผ า น หรือผลการประเมนิ การเรยี นโดยไม นับจำนวนหนว ยกติ มารวมเพ่ือการสำเร็จการศกึ ษาตามหลกั สูตรไมผาน หรือไมไดทำการประเมินผลการ เรียน

หลักสตู รรายวิชา ระดบั ชน้ั ปวส. สาขาวิชาชางกลโรงงาน 3 หนว ยกิต รหัสวิชา 30100-0101 ชือ่ วิชา กลศาสตรวิศวกรรม 3 ชว่ั โมง/สัปดาห ชอ่ื วิชา กลศาสตรวิศวกรรม 3-0-3 จุดประสงคร ายวชิ า เพ่ือให 1. เขาใจหลกั สถิตศาสตรก ารใชเ วกเตอรชวยในการหาขนาดแรงในโครงสรางและชนิ้ สว นเคร่อื งกล 2. สามารถวเิ คราะหแรงในโครงสรา งและชิน้ สวนเครอื่ งกล และสามารถแกป ญหาสถิตศาสตรว ศิ วกรรม ท่ีเกี่ยวของกับสาขาวิชาชีพ 3. มเี จตคติที่ดใี นการสืบคน ความรูและใชเหตุผลทางวิทยาศาสตรใ นการแกป ญหา มีความละเอยี ด รอบคอบ และตระหนักถงึ ความปลอดภยั สมรรถนะรายวชิ า 1. แสดงความรูเกยี่ วกบั การหาขนาดแรงโมเมนตบนระนาบโดยใชว ิธกี ราฟกและคาํ นวณ 2. แสดงความรเู กย่ี วกบั การวิเคราะหแรงในโครงสรางและช้นิ สว นเครอ่ื งกล 3. แสดงความรูเ กย่ี วกับการหาจดุ ศูนยถว ง เซนทรอยดและคาโมเมนตค วามเฉ่ือยของรูปทรงเรขาคณิต 4. แสดงความรูเกยี่ วกบั การหาแรงเสียดทานในเครือ่ งจักรกล คำอธบิ ายรายวชิ า ศกึ ษาเกย่ี วกบั หลกั สถติ ศาสตร ระบบของแรง โมเมนตและแรงคคู วบ สมดุลของวตั ถุแขง็ เกรง็ จดุ ศูนยถ วงและจุดเซนทรอยด แผนภาพวตั ถุอสิ ระ โมเมนตความเฉ่ือย หลักการวเิ คราะหโ ครงสรางแรงเสียด ทานและวิธีการงานเสมือน หมายเหตุ ปรับปรงุ รายวชิ า เร่อื ง การเปลีย่ นระบบหนว ย

การวเิ คราะหหลักสูตรรายวิชา ตารางวิเคราะหหลักสูตรายวิชา ระดับชนั้ ปวส. สาขาวิชาชางกลโรงงาน 3 หนว ยกติ รหัสวิชา 30100-0101 ชื่อวิชา กลศาสตรวศิ วกรรม 3 ชว่ั โมง/สัปดาห หนว ยที่ ช่อื หนวยการเรยี นรู พฤตกิ รรมที่พึงประสงค รวม ทฤษฎี ปฏบิ ัติ (ชม.) 1 การเปลี่ยนระบบหนวย 2 การคำนวณระบบแรง 2 มิติ 3- 3 3 การคำนวณระบบแรง 3 มิติ 3- 3 4 การคำนวณโมเมนตข องแรง 2 มิติ 3- 3 5 การคำนวณแรงคคู วบ 2 มิติ 3- 3 6 การคำนวณโมเมนตข องแรง 3 มิติ 3- 3 7 การคำนวณแรงคูควบ 3 มติ ิ 3- 3 8 การคำนวณสมดุลของแรง 2 มติ ิ 3- 3 9 การคำนวณสมดลุ ของแรง 3 มิติ 3- 3 10 การเขยี นแผนภาพวัตถอุ ิสระ 3- 3 11 การคำนวณหาแรงในชน้ิ สวนโครงสราง 3- 3 12 การคำนวณแรงกระจายในชิน้ สว นโครงสราง 3- 3 13 การคำนวณจดุ ศนู ยถวงและเซนทรอยด 2 มิติ 3- 3 14 การคำนวณจดุ ศูนยถวงและเซนทรอยด 3 มิติ 3- 3 15 การคำนวณโมเมนตความเฉื่อยของรปู ทรงมาตรฐาน 3- 3 16 การคำนวณโมเมนตค วามเฉ่ือยของรูปทรงผสม 3- 3 17 การคำนวณหาความเสียดทานในเคร่ืองจักรกล 3- 3 18 สอบปลายภาคเรียน 3- 3 3- 3 รวม 54 - 54

การปรับปรุงหลักสตู รรายวิชา ระดับชั้น ปวส. ตารางแสดงการปรบั ปรงุ หลักสตู รรายวชิ า 3 หนว ยกติ สาขาวชิ าชา งกลโรงงาน 3 ชว่ั โมง/สัปดาห รหัสวิชา 30100-0101 ชอื่ วิชา กลศาสตรวศิ วกรรม หนวย ชือ่ หนว ยการเรียนรู การปรับปรุง พฤติกรรมท่ีพงึ รวม ที่ (รายละเอยี ดการปรับปรุง) หลักสูตร ประสงค (ชม.) 1 การเปลยี่ นระบบหนวย รายวิชา 3 1.1 ระบบหนวย ทฤษฎี ปฏบิ ตั ิ 1.2 หลักการเปล่ียนหนวย / 3- รวม 3 - 3 หมายเหตุ เพ่ิมเตมิ เน่ืองจากการเรียนรายวชิ า กลศาสตรวศิ วกรรม ภาคเรยี นที่ 1 ปก ารศึกษา 2566 เพ่อื ใหส อดคลอ งกบั หลักการคำนวณในหนวยอน่ื ๆ

การวิเคราะหแ หลงการเรยี นรู ระดบั ชั้น ปวส. ตารางวิเคราะหแ หลง การเรยี นรู 3 หนวยกติ รหัสวชิ า 30100-0101 สาขาวชิ า ชางกลโรงงาน 3 ช่วั โมง/สปั ดาห ชอื่ วิชา กลศาสตรวิศวกรรม หนว ยที่ ช่ือหนวยการเรยี นรู/ หัวขอการเรียนรู ก แหลงการเรียนรู หมาย / ข ค ง จ ฉ เหตุ 1 การเปล่ยี นระบบหนว ย / 1.1 ระบบหนว ย / // 1.2 หลกั การเปลยี่ นหนว ย / // / 2 การคำนวณระบบแรง 2 มติ ิ / // 2.1 ลกั ษณะของระบบแรง 2 มติ ิ / // 2.2 หลกั การคำนวณระบบแรง 2 มิติ / / // 3 การคำนวณระบบแรง 3 มติ ิ / // 3.1 ลกั ษณะของระบบแรง 3 มติ ิ / 3.2 หลักการคำนวณระบบแรง 3 มติ ิ / // / // 4 การคำนวณโมเมนตข องแรง 2 มติ ิ / 4.1 วธิ กี ารรวมโมเมนตข องแรง 2 มิติ / // 4.1 หลักการคำนวณโมเมนตของแรง 2 มติ ิ / // / 5 การคำนวณแรงคคู วบ 2 มติ ิ / // 5.1 ลกั ษณะของแรงคคู วบ 2 มิติ // 5.2 หลักการคำนวณของแรงคูควบ 2 มิติ // 6 การคำนวณโมเมนตข องแรง 3 มิติ // 6.1 วิธีการรวมโมเมนตข องแรง 3 มิติ 6.2 หลกั การคำนวณโมเมนตของแรง 3 มิติ // // 7 การคำนวณแรงคคู วบ 3 มิติ 7.1 ลักษณะของแรงคูควบ 3 มิติ // 7.2 หลกั การคำนวณของแรงคคู วบ 3 มิติ // 8 การคำนวณสมดุลของแรง 2 มติ ิ 8.1 เงือ่ นไขของการสมดุล 2 มติ ิ 8.2 หลักการคำนวณสมดลุ ของแรง 2 มิติ 9 การคำนวณสมดลุ ของแรง 3 มิติ 9.1 เงอื่ นไขของการสมดุล 2 มิติ 9.2 หลักการคำนวณสมดุลของแรง 2 มิติ

การวเิ คราะหแ หลง การเรยี นรู ระดบั ชนั้ ปวส. ตารางวเิ คราะหแหลง การเรยี นรู 3 หนวยกติ รหัสวชิ า 30100-0105 สาขาวชิ า ชา งกลโรงงาน 3 ช่ัวโมง/สัปดาห ชอื่ วิชา ความแขง็ แรงวัสดุ หนวยท่ี ชอ่ื หนวยการเรียนรู/หวั ขอ การเรียนรู แหลง การเรยี นรู หมาย ก ข ค ง จ ฉ เหตุ / 10 การเขียนแผนภาพวัตถอุ สิ ระ / // 10.1 หลักการเขยี นแผนภาพวตั ถุอิสระ / / // 11 การคำนวณหาแรงในช้นิ สว นโครงสรา ง / 11.1 หลกั การคำนวณหาแรงในชิ้นสวนโครงสราง / // / 12 การคำนวณแรงกระจายในชนิ้ สวนโครงสราง // 12.1 หลกั การคำนวณแรงกระจายในช้ินสว นโครงสรา ง / / // 13 การคำนวณจุดศนู ยถว งและเซนทรอยด 2 มิติ / 13.1 หลักการคำนวณจดุ ศูนยถวงและเซนทรอยด 2 มิติ / // // 14 การคำนวณจดุ ศนู ยถ วงและเซนทรอยด 3 มติ ิ 14.1 หลกั การคำนวณจดุ ศูนยถว งและเซนทรอยด 3 มิติ // // 15 การคำนวณโมเมนตค วามเฉื่อยของรปู ทรงมาตรฐาน // 15.1 หลกั การ ทฤษฎแี กนขนาน // 15.2 หลักการคำนวณโมเมนตค วามเฉ่ือยของรูปทรง มาตรฐาน 16 การคำนวณโมเมนตความเฉ่อื ยของรูปทรงผสม 16.1 หลักการคำนวณโมเมนตความเฉ่ือยของรปู ทรงผสม 17 การคำนวณหาความเสียดทานในเคร่ืองจกั รกล 17.1 คณุ สมบัติของแรงเสยี ดทาน 17.2 สมั ประสิทธ์ขิ องแรงเสียดทาน 17.3 หลกั การคำนวณหาความเสยี ดทานในเคร่อื งจักรกล

ระดับชน้ั ปวส. ตารางวิเคราะหแหลงการเรียนรู การวิเคราะหแหลงการเรียนรู รหสั วชิ า 30100-0101 สาขาวชิ า ชา งกลโรงงาน ช่อื วิชา กลศาสตรวิศวกรรม 3 หนวยกิต 3 ชั่วโมง/สัปดาห แหลงที่มาของแหลง การเรยี นรู ก. สงิ่ ทก่ี ำหนดในรายวชิ า ข. ประสบการณของตนเอง ค. สอบถามจากผูเชี่ยวชาญ ง. จากตำราหรือเอกสารทเี่ ก่ยี วของ จ. จากการดูงานจากสถานประกอบการณ ฉ. อนื่ ๆ...จากอินเตอรเน็ต...................

การวิเคราะหสมรรถนะทว่ั ไป ระดับชน้ั ปวส. ตารางวเิ คราะหสมรรถนะท่ัวไป 3 หนว ยกติ รหสั วิชา 30100-0101 สาขาวชิ า ชางกลโรงงาน 3 ช่ัวโมง/สัปดาห ชื่อวิชา กลศาสตรวิศวกรรม หนวยท่ี ชอื่ หนวยการเรียนรู/หัวขอ การเรียนรู สมรรถนะทั่วไป 1 การเปลี่ยนระบบหนวย 1.1 แสดงความรูเกย่ี วกับระบบหนว ย 1.1 ระบบหนว ย 1.2 แสดงความเขาใจเก่ียวกบั หลกั การเปลย่ี นหนวย 1.2 หลกั การเปลี่ยนหนว ย 1.3 แสดงทกั ษะการเปลีย่ นหนว ย 2 การคำนวณระบบแรง 2 มติ ิ 2.1 ลักษณะของระบบแรง 2 มิติ 2.1 แสดงความเขาใจเก่ยี วกบั ระบบแรง 2 มิติ 2.2 หลักการคำนวณของระบบแรง 2.2 แสดงความเขาใจเก่ียวกบั หลักการคำนวณระบบแรง 2 มิติ 2 มิติ 2.3 แสดงทกั ษะการคำนวณระบบแรง 2 มติ ิ 3 การคำนวณระบบแรง 3 มติ ิ 3.1 ลักษณะของระบบแรง 3 มติ ิ 3.1 แสดงความเขาใจเกี่ยวกบั ระบบแรง 3 มติ ิ 3.2 หลักการคำนวณของระบบแรง 3.2 แสดงความเขาใจเก่ียวกบั หลกั การคำนวณระบบแรง 3 มิติ 3 มิติ 3.3 แสดงทกั ษะการคำนวณระบบแรง 3 มิติ 4 การคำนวณโมเมนตข องแรง 2 มิติ 4.1 วธิ ีการรวมโมเมนตข องแรง 2 มิติ 4.1 แสดงความเขาใจเกยี่ วกับวิธีการรวมโมเมนตของแรง 4.1 หลักการคำนวณโมเมนตของแรง 2 มติ ิ 2 มิติ 4.2 แสดงความเขาใจเกย่ี วกบั หลกั การคำนวณโมเมนตของ แรง 2 มติ ิ 4.3 แสดงทกั ษะการคำนวณโมเมนตข องแรง 2 มิติ 5 การคำนวณแรงคคู วบ 2 มติ ิ 5.1 ลกั ษณะของแรงคูควบ 2 มิติ 5.1 แสดงความเขาใจเก่ยี วกับแรงคูควบ 2 มิติ 5.2 หลักการคำนวณของแรงคคู วบ 5.2 แสดงความเขาใจเกยี่ วกับหลกั การคำนวณแรงคูควบ 2 มติ ิ 2 มติ ิ 5.3 แสดงทกั ษะการคำนวณแรงคูค วบ 2 มิติ

การวเิ คราะหสมรรถนะทัว่ ไป ระดับชน้ั ปวส. ตารางวเิ คราะหสมรรถนะท่ัวไป 3 หนวยกิต รหัสวชิ า 30100-0101 สาขาวิชา ชางกลโรงงาน 3 ชวั่ โมง/สัปดาห ชือ่ วิชา กลศาสตรวิศวกรรม หนว ยที่ ชือ่ หนวยการเรยี นร/ู หวั ขอ การเรยี นรู สมรรถนะท่ัวไป 6 การคำนวณโมเมนตข องแรง 3 มิติ 6.1 วธิ กี ารรวมโมเมนตข องแรง 3 มติ ิ 6.1 แสดงความเขาใจเกย่ี วกบั วิธีการรวมโมเมนตของแรง 6.1 หลักการคำนวณโมเมนตของแรง 3 มติ ิ 3 มติ ิ 6.2 แสดงความเขาใจเกย่ี วกับหลกั การคำนวณโมเมนตของ แรง 3 มติ ิ 6.3 แสดงทกั ษะการคำนวณโมเมนตของแรง 3 มิติ 7 การคำนวณแรงคคู วบ 3 มติ ิ 7.1 ลักษณะของแรงคคู วบ 3 มติ ิ 7.1 แสดงความเขาใจเกยี่ วกบั แรงคคู วบ 3 มติ ิ 7.2 หลักการคำนวณของแรงคคู วบ 7.2 แสดงความเขาใจเกย่ี วกบั หลกั การคำนวณแรงคูควบ 3 มิติ 3 มติ ิ 7.3 แสดงทกั ษะการคำนวณแรงคคู วบ 3 มติ ิ 8 การคำนวณสมดุลของแรง 2 มิติ 8.1 เงือ่ นไขของการสมดลุ 2 มิติ 8.1 แสดงความเขาใจเก่ยี วกับเง่ือนไขของการสมดุล 2 มิติ 8.2 หลกั การคำนวณสมดุลของแรง 2 8.2 แสดงความเขาใจเก่ยี วกับหลักการคำนวณสมดลุ ของ มติ ิ แรง 2 มติ ิ 8.3 แสดงทักษะการคำนวณสมดุลของแรง 2 มิติ 9 การคำนวณสมดลุ ของแรง 3 มิติ 9.1 เง่ือนไขของการสมดุล 3 มติ ิ 9.1 แสดงความเขาใจเก่ียวกบั เงอื่ นไขของการสมดุล 3 มติ ิ 9.2 หลกั การคำนวณสมดลุ ของแรง 9.2 แสดงความเขาใจเก่ียวกับหลกั การคำนวณสมดุลของ 3 มิติ แรง 3 มติ ิ 9.3 แสดงทักษะการคำนวณสมดุลของแรง 3 มิติ

การวเิ คราะหสมรรถนะท่ัวไป ระดับช้นั ปวส. ตารางวิเคราะหสมรรถนะท่ัวไป 3 หนว ยกติ รหัสวิชา 30100-0101 สาขาวิชา ชางกลโรงงาน 3 ชวั่ โมง/สัปดาห ชื่อวชิ า กลศาสตรวิศวกรรม หนว ยท่ี ชอื่ หนวยการเรียนรู/หวั ขอ การเรียนรู สมรรถนะท่ัวไป 10 การเขียนแผนภาพวตั ถุอิสระ 10.1 หลกั การเขยี นแผนภาพวตั ถอุ ิสระ 10.1 แสดงความเขาใจเกี่ยวกับหลักการเขยี นแผนภาพ วตั ถอุ สิ ระ 10.2 แสดงทกั ษะการเขยี นแผนภาพวัตถอุ สิ ระ 11 การคำนวณหาแรงในชิน้ สว นโครงสราง 11.1 หลักการคำนวณแรงในชิ้นสว น 11.1 แสดงความเขา ใจเกย่ี วกับหลกั การคำนวณแรงใน โครงสราง ช้ินสว นโครงสราง 11.2 แสดงทกั ษะการคำนวณแรงในชิน้ สว นโครงสรา ง 12 การคำนวณแรงกระจายในช้นิ สวนโครงสราง 12.1 หลักการคำนวณคา แรงกระจายใน 12.1 แสดงความเขา ใจเก่ยี วกับหลกั การคำนวณคาแรง ชิ้นสวนโครงสราง กระจายในชน้ิ สว นโครงสรา ง 12.2 แสดงทักษะการคำนวณแรงกระจายในชิ้นสว น โครงสราง 13 การคำนวณจดุ ศนู ยถวงและเซนทรอยด 2 มติ ิ 13.1 หลกั การคำนวณจดุ ศูนยถว งและเซน 13.1 แสดงความเขา ใจเกย่ี วกับหลกั การคำนวณ ทรอยด 2 มิติ จุดศนู ยถว งและเซนทรอยด 2 มติ ิ 13.2 แสดงทักษะการคำนวณจดุ ศูนยถวงและเซน ทรอยด 2 มติ ิ 14 การคำนวณจดุ ศนู ยถ ว งและเซนทรอยด 3 มติ ิ 14.1 หลักการคำนวณจุดศูนยถวงและเซน 14.1 แสดงความเขา ใจเกยี่ วกับหลักการคำนวณ ทรอยด 3 มติ ิ จุดศนู ยถว งและเซนทรอยด 3 มิติ 14.2 แสดงทกั ษะการคำนวณจดุ ศนู ยถ ว งและเซน ทรอยด 3 มิติ

การวเิ คราะหส มรรถนะทวั่ ไป ระดบั ช้ัน ปวส. ตารางวิเคราะหส มรรถนะท่ัวไป 3 หนวยกิต รหัสวิชา 30100-0101 สาขาวชิ า ชางกลโรงงาน 3 ชวั่ โมง/สปั ดาห ชือ่ วิชา กลศาสตรวิศวกรรม หนว ยที่ ช่อื หนวยการเรียนรู/ หัวขอการเรยี นรู สมรรถนะท่ัวไป 15 การคำนวณโมเมนตค วามเฉื่อยของรปู ทรงมาตรฐาน 15.1 หลกั การ ทฤษฎแี กนขนาน 15.1 แสดงความเขา ใจเกี่ยวกับหลกั การ ทฤษฎีแกน 15.2 หลักการคำนวณโมเมนตความเฉื่อย ขนาน ของรปู ทรงมาตรฐาน 15.2 แสดงความเขาใจเก่ียวกับหลกั การคำนวณโมเมนต ความเฉ่ือยของรูปทรงมาตรฐาน 15.3 แสดงทกั ษะการคำนวณโมเมนตความเฉ่ือยของ รปู ทรงมาตรฐาน 16 การคำนวณโมเมนตค วามเฉ่อื ยของรปู ทรงผสม 16.1 หลักการคำนวณโมเมนตค วามเฉื่อย 16.1 แสดงความเขา ใจเกยี่ วกับหลักการคำนวณโมเมนต ของรูปทรงผสม ความเฉือ่ ยของรูทรงผสม 16.2 แสดงทกั ษะการคำนวณโมเมนตค วามเฉื่อยของ รปู ทรงผสม 17 การคำนวณหาความเสียดทานในเครื่องจกั รกล 17.1 คณุ สมบัติของแรงเสียดทาน 17.1 แสดงความเขา ใจเก่ยี วกับคณุ สมบตั ิของแรงเสียด 17.2 สัมประสทิ ธข์ิ องแรงเสยี ดทาน ทาน 17.3 หลักการคำนวณหาความเสียดทาน 17.2 แสดงความเขาใจเกย่ี วกับสมั ประสทิ ธขิ์ องแรง ในเครอ่ื งจักรกล เสยี ดทาน 17.3 แสดงความเขาใจเกย่ี วกับหลกั การคำนวณหา ความเสยี ดทานในเคร่อื งจักรกล 17.4 แสดงทักษะการคำนวณความเสยี ดทานใน เคร่ืองจักรกล 18 สอบปลายภาคเรยี น

การวเิ คราะหส มรรถนะทีพ่ ึงประสงค (ทฤษฎี) ระดับชัน้ ปวส. ตารางวิเคราะหส มรรถนะที่พงึ ประสงค 3 หนวยกติ รหสั วิชา 30100-0101 สาขาวชิ า ชา งกลโรงงาน 3 ชั่วโมง/สปั ดาห ช่ือวิชา กลศาสตรว ศิ วกรรม หนวยท่ี สมรรถนะทั่วไป สมรรถนะทพ่ี ึงประสงค 1 การเปลีย่ นระบบหนวย 1.1 บอกระบบหนว ยไดถูกตอง 1.1 แสดงความรูเกย่ี วกับระบบหนว ย 1.2 อธิบายหลกั การเปล่ยี นหนวยไดถ กู ตอง 1.2 แสดงความเขาใจเกย่ี วกบั หลกั การเปลย่ี น 1.3 เปล่ียนหนวยตามหลักการไดถ ูกตอ ง หนว ย 1.3 แสดงทกั ษะการเปลยี่ นหนวย 2 การคำนวณระบบแรง 2 มติ ิ 2.1 แสดงความเขาใจเกยี่ วกับระบบแรง 2 มิติ 2.1 อธบิ ายระบบแรง 2 มติ ไิ ดถูกตอง 2.2 แสดงความเขาใจเกยี่ วกบั หลกั การคำนวณ 2.2 อธบิ ายหลกั การคำนวณระบบแรง 2 มติ ิ ระบบแรง 2 มติ ิ ไดถ ูกตอ ง 2.3 แสดงทกั ษะการคำนวณระบบแรง 2 มิติ 2.3 คำนวณระบบแรง 2 มิติ ตามหลกั การได ถูกตอง 3 การคำนวณระบบแรง 3 มิติ 3.1 แสดงความเขาใจเกย่ี วกบั ระบบแรง 3 มิติ 3.1 อธิบายระบบแรง 3 มิติไดถ กู ตอง 3.2 แสดงความเขาใจเกีย่ วกับหลกั การคำนวณ 3.2 อธิบายหลกั การคำนวณระบบแรง 3 มิติได ระบบแรง 3 มิติ ถูกตอง 3.3 แสดงทกั ษะการคำนวณระบบแรง 3 มิติ 3.3 คำนวณระบบแรง 3 มติ ิ ตามหลักการได ถูกตอง 4 การคำนวณโมเมนตข องแรง 2 มติ ิ 4.1 แสดงความเขาใจเกย่ี วกบั วธิ กี ารรวมโมเมนต 4.1 อธบิ ายวธิ ีการรวมโมเมนตของแรง 2 มิติ ของแรง 2 มิติ ไดถ ูกตอ ง 4.2 แสดงความเขาใจเกยี่ วกับหลักการคำนวณ 4.2 อธบิ ายหลกั การคำนวณโมเมนตของแรง 2 โมเมนตของแรง 2 มิติ มิติไดถกู ตอง 4.3 แสดงทักษะการคำนวณโมเมนตข องแรง 2 มติ ิ 4.3 คำนวณโมเมนตของแรง 2 มติ ติ ามหลักการ ไดถ ูกตอ ง

การวิเคราะหส มรรถนะทพี่ งึ ประสงค (ทฤษฎ)ี ระดบั ชนั้ ปวส. ตารางวิเคราะหสมรรถนะท่ีพึงประสงค 3 หนวยกติ รหสั วิชา 30100-0101 สาขาวชิ า ชา งกลโรงงาน 3 ชัว่ โมง/สัปดาห ชื่อวชิ า กลศาสตรว ศิ วกรรม หนว ยท่ี สมรรถนะท่ัวไป สมรรถนะทพี่ ึงประสงค 5 การคำนวณแรงคคู วบ 2 มิติ 5.1 แสดงความเขาใจเกี่ยวกับแรงคูค วบ 2 มิติ 5.1 อธบิ ายแรงคูควบ 2 มิตไิ ดถ กู ตอง 5.2 แสดงความเขาใจเกีย่ วกบั หลักการคำนวณแรง 5.2 อธบิ ายหลกั การคำนวณแรงคคู วบ 2 มติ ิได คูควบ 2 มติ ิ ถูกตอง 5.3 แสดงทักษะการคำนวณแรงคคู วบ 2 มิติ 5.3 คำนวณแรงคูควบ 2 มิติตามหลกั การได ถกู ตอง 6 การคำนวณโมเมนตข องแรง 3 มติ ิ 6.1 แสดงความเขาใจเก่ียวกับวธิ ีการรวมโมเมนต 6.1 อธบิ ายวธิ กี ารรวมโมเมนตของแรง 3 มติ ิ ของแรง 3 มิติ ไดถูกตอ ง 6.2 แสดงความเขาใจเกย่ี วกับหลกั การคำนวณ 6.2 อธิบายหลกั การคำนวณโมเมนตข องแรง 3 โมเมนตข องแรง 3 มิติ มติ ไิ ดถูกตอง 6.3 แสดงทกั ษะการคำนวณโมเมนตข องแรง 3 มิติ 6.3 คำนวณโมเมนตของแรง 3 มติ ติ ามหลกั การ ไดถูกตอง 7 การคำนวณแรงคคู วบ 3 มิติ 7.1 แสดงความเขาใจเกยี่ วกับแรงคคู วบ 3 มิติ 7.1 อธิบายแรงคูควบ 3 มิตไิ ดถูกตอง 7.2 แสดงความเขาใจเกยี่ วกับหลักการคำนวณแรง 7.2 อธิบายหลกั การคำนวณแรงคูควบ 3 มิติได คูควบ 3 มติ ิ ถูกตอง 7.3 แสดงทกั ษะการคำนวณแรงคูควบ 3 มติ ิ 7.3 คำนวณแรงคูควบ 3 มติ ติ ามหลักการได ถกู ตอง 8 การคำนวณสมดลุ ของแรง 2 มิติ 8.1 แสดงความเขาใจเกีย่ วกบั เงือ่ นไขการสมดลุ 8.1 อธบิ ายเงอ่ื นไขการสมดลุ 2 มติ ไิ ดถูกตอง 2 มิติ 8.2 อธิบายหลกั การคำนวณสมดุลของแรง 8.2 แสดงความเขาใจเกีย่ วกบั หลกั การคำนวณ 2 มติ ไิ ดถูกตอง สมดุลของแรง 2 มิติ 8.3 คำนวณสมดลุ ของแรง 2 มิติตามหลักการ 8.3 แสดงทกั ษะการคำนวณสมดุลของแรง 2 มติ ิ ไดถ ูกตอ ง

การวเิ คราะหสมรรถนะที่พึงประสงค (ทฤษฎ)ี ระดบั ชั้น ปวส. ตารางวิเคราะหส มรรถนะที่พงึ ประสงค 3 หนวยกติ รหสั วชิ า 30100-0101 สาขาวิชา ชางกลโรงงาน 3 ชวั่ โมง/สปั ดาห ช่อื วชิ า กลศาสตรวศิ วกรรม หนวยท่ี สมรรถนะทั่วไป สมรรถนะท่ีพึงประสงค 9 การคำนวณสมดลุ ของแรง 3 มติ ิ 9.1 แสดงความเขาใจเก่ยี วกับเงอ่ื นไขการสมดุล 9.1 อธิบายเงอ่ื นไขการสมดุล 3 มิตไิ ดถกู ตอง 3 มติ ิ 9.2 อธบิ ายหลักการคำนวณสมดลุ ของแรง 9.2 แสดงความเขาใจเก่ยี วกับหลักการคำนวณ 3 มติ ไิ ดถกู ตอง สมดุลของแรง 3 มิติ 9.3 คำนวณสมดลุ ของแรง 3 มิติตามหลักการ 9.3 แสดงทักษะการคำนวณสมดุลของแรง 3 มิติ ไดถูกตอง 10 การเขยี นแผนภาพวตั ถอุ ิสระ 10.1 แสดงความเขาใจเกย่ี วกับหลกั การเขียน 10.1 อธิบายหลักการเขยี นแผนภาพวัตถอุ ิสระ แผนภาพวตั ถุอสิ ระ ไดถ ูกตอง 10.2 แสดงทกั ษะการเขยี นแผนภาพวตั ถอุ สิ ระ 10.2 เขียนแผนภาพวตั ถุอสิ ระตามหลักการได ถูกตอง 11 การคำนวณหาแรงในชิ้นสวนโครงสรา ง 11.1 แสดงความเขา ใจเกี่ยวกับหลกั การคำนวณ 11.1 อธิบายหลักการคำนวณแรงในช้นิ สวน แรงในชน้ิ สวนโครงสราง โครงสรางไดถูกตอง 11.2 แสดงทักษะการคำนวณแรงในชนิ้ สว น 11.2 คำนวณแรงในชิ้นสว นโครงสรางตาม โครงสรา ง หลกั การไดถกู ตอง 12 การคำนวณแรงกระจายในช้ินสวนโครงสรา ง 12.1 แสดงความเขาใจเกย่ี วกับหลักการคำนวณ 12.1 อธิบายหลกั การคำนวณคาแรงกระจายใน คา แรงกระจายในช้นิ สว นโครงสรา ง ช้ินสวนโครงสรา งไดถูกตอง 12.2 แสดงทกั ษะการคำนวณแรงกระจายใน 12.2 คำนวณแรงกระจายในชิ้นสวนโครงสราง ช้ินสว นโครงสราง ตามหลกั การไดถ ูกตอง 13 การคำนวณจดุ ศูนยถ วงและเซนทรอยด 2 มติ ิ 13.1 แสดงความเขาใจเกีย่ วกับหลกั การคำนวณ 13.1 อธิบายหลกั การคำนวณจดุ ศนู ยถว งและ จุดศนู ยถว งและเซนทรอยด 2 มติ ิ เซนทรอยด 2 มิติไดถกู ตอง 13.2 แสดงทักษะการคำนวณจดุ ศูนยถวงและเซน 13.2 คำนวณจุดศูนยถว งและเซนทรอยด 2 มิติ ทรอยด 2 มติ ิ ตามหลกั การไดถ ูกตอง

การวเิ คราะหส มรรถนะที่พงึ ประสงค (ทฤษฎ)ี ระดับชัน้ ปวส. ตารางวิเคราะหสมรรถนะที่พงึ ประสงค 3 หนว ยกิต รหัสวชิ า 30100-0101 สาขาวชิ า ชา งกลโรงงาน 3 ชั่วโมง/สัปดาห ช่อื วิชา กลศาสตรว ิศวกรรม หนวยที่ สมรรถนะท่ัวไป สมรรถนะที่พึงประสงค 14 การคำนวณจุดศูนยถ ว งและเซนทรอยด 3 มิติ 14.1 แสดงความเขา ใจเก่ียวกับหลกั การคำนวณ 14.1 อธิบายหลกั การคำนวณจุดศนู ยถ ว งและ จดุ ศนู ยถวงและเซนทรอยด 3 มติ ิ เซนทรอยด 3 มิติไดถกู ตอง 14.2 แสดงทกั ษะการคำนวณจดุ ศนู ยถว งและเซน 14.2 คำนวณจดุ ศูนยถว งและเซนทรอยด 3 มิติ ทรอยด 3 มิติ ตามหลกั การไดถูกตอง 15 การคำนวณโมเมนตความเฉือ่ ยของรูปทรงมาตรฐาน 15.1 แสดงความเขา ใจเกี่ยวกับหลักการ ทฤษฎี 15.1 อธิบายหลักการ ทฤษฎีแกนขนานได แกนขนาน ถกู ตอง 15.2 แสดงความเขาใจเกย่ี วกับหลักการคำนวณ 15.2 อธบิ ายหลกั การคำนวณโมเมนตความ โมเมนตค วามเฉื่อยของรปู ทรงมาตรฐาน เฉอื่ ยของรูปทรงมาตรฐานไดถูกตอง 15.3 แสดงทักษะการคำนวณโมเมนตค วามเฉ่ือย 15.3 คำนวณโมเมนตความเฉ่ือยของรูปทรง ของรปู ทรงมาตรฐาน มาตรฐานตามหลักการไดถูกตอง 16 การคำนวณโมเมนตค วามเฉื่อยของรปู ทรงผสม 16.1 แสดงความเขาใจเกย่ี วกับหลักการคำนวณ 16.1 อธบิ ายหลักการคำนวณโมเมนตความ โมเมนตความเฉ่ือยของรทู รงผสม เฉ่ือยของรทู รงผสมไดถูกตอง 16.2 แสดงทักษะการคำนวณโมเมนตความเฉ่ือย 16.2 คำนวณโมเมนตความเฉื่อยของรปู ทรง ของรปู ทรงผสม ผสมตามหลักการไดถูกตอง 17 การคำนวณหาความเสียดทานในเครอ่ื งจกั รกล 17.1 แสดงความเขา ใจเก่ยี วกับคุณสมบัติของแรง 17.1 อธิบายคุณสมบตั ิของแรงเสียดทานได เสียดทาน ถกู ตอง 17.2 แสดงความเขาใจเกี่ยวกับสมั ประสทิ ธ์ขิ อง 17.2 อธบิ ายสัมประสิทธขิ์ องแรงเสียดทานได แรงเสยี ดทาน ถกู ตอง 17.3 แสดงความเขาใจเกย่ี วกับหลักการคำนวณหา 17.3 อธิบายหลกั การคำนวณหาความเสยี ด ความเสยี ดทานในเครื่องจกั รกล ทานในเคร่ืองจกั รกลไดถูกตอง 17.4 แสดงทกั ษะการคำนวณความเสียดทานใน 17.4 คำนวณความเสียดทานในเครื่องจักรกล เคร่อื งจักรกล ตามหลักการไดถ ูกตอง 18 สอบปลายภาคเรยี น

การวเิ คราะหพ ฤตกิ รรมการเรียนรูท ่ีพงึ ประสงค (ทฤษฎ)ี ระดบั ชน้ั ปวส. ตารางวิเคราะหพ ฤติกรรมการเรยี นรูท ี่พงึ ประสงค 3 หนว ยกิต รหัสวชิ า 30100-0101 สาขาวิชา ชางกลโรงงาน 3 ช่ัวโมง/สปั ดาห ชอ่ื วิชา กลศาสตรวศิ วกรรม หนว ยที่ สมรรถนะท่ีพึงประสงค พฤตกิ รรมการเรียนรทู ่พี ึงประสงค 1 การเปล่ยี นระบบหนวย R U Ap An E C 1.1 บอกระบบหนว ยไดถูกตอง 1.2 อธบิ ายหลกั การเปล่ยี นหนว ยไดถกู ตอง I 1.3 เปลี่ยนหนว ยตามหลักการไดถ ูกตอ ง I X 2 การคำนวณระบบแรง 2 มติ ิ 2.1 อธิบายระบบแรง 2 มติ ไิ ดถกู ตอง I 2.2 อธิบายหลักการคำนวณระบบแรง 2 มติ ิ ไดถูกตอง I 2.3 คำนวณระบบแรง 2 มิติ ตามหลักการไดถ ูกตอง X 3 การคำนวณระบบแรง 3 มติ ิ I 3.1 อธบิ ายระบบแรง 3 มติ ไิ ดถูกตอง I 3.2 อธบิ ายหลกั การคำนวณระบบแรง 3 มิติไดถกู ตอง 3.3 คำนวณระบบแรง 3 มติ ิ ตามหลกั การไดถ ูกตอง X I 4 การคำนวณโมเมนตข องแรง 2 มติ ิ I 4.1 อธบิ ายวธิ กี ารรวมโมเมนตข องแรง 2 มติ ิ ไดถกู ตอ ง 4.2 อธิบายหลกั การคำนวณโมเมนตของแรง 2 มติ ิได X ถูกตอง 4.3 คำนวณโมเมนตของแรง 2 มติ ติ ามหลกั การไดถ กู ตอง 5 การคำนวณแรงคคู วบ 2 มิติ I 5.1 อธิบายแรงคูควบ 2 มิตไิ ดถูกตอง I 5.2 อธิบายหลักการคำนวณแรงคูค วบ 2 มติ ิไดถูกตอ ง 5.3 คำนวณแรงคูควบ 2 มติ ิตามหลกั การไดถ ูกตอง X I 6 การคำนวณโมเมนตข องแรง 3 มิติ I 6.1 อธิบายวธิ ีการรวมโมเมนตข องแรง 3 มติ ิ ไดถกู ตอ ง 6.2 อธบิ ายหลกั การคำนวณโมเมนตของแรง 3 มิตไิ ด X ถูกตอง 6.3 คำนวณโมเมนตข องแรง 3 มติ ติ ามหลักการไดถูกตอง

การวิเคราะหพฤติกรรมการเรียนรูทพ่ี งึ ประสงค (ทฤษฎ)ี ระดับชน้ั ปวส. ตารางวิเคราะหพฤตกิ รรมการเรียนรทู พี่ งึ ประสงค 3 หนว ยกติ รหสั วิชา 30100-0101 สาขาวิชา ชางกลโรงงาน 3 ชว่ั โมง/สปั ดาห ชอื่ วชิ า กลศาสตรว ิศวกรรม หนว ยท่ี สมรรถนะทพ่ี ึงประสงค พฤตกิ รรมการเรียนรูท่ีพึงประสงค 7 การคำนวณแรงคคู วบ 3 มติ ิ R U Ap An E C 7.1 อธบิ ายแรงคูควบ 3 มติ ไิ ดถกู ตอง 7.2 อธบิ ายหลกั การคำนวณแรงคคู วบ 3 มิติไดถูกตอง I 7.3 คำนวณแรงคูควบ 3 มติ ติ ามหลักการไดถ ูกตอง I X 8 การคำนวณสมดุลของแรง 2 มติ ิ I 8.1 อธบิ ายเงือ่ นไขการสมดลุ 2 มิตไิ ดถกู ตอง I 8.2 อธบิ ายหลกั การคำนวณสมดลุ ของแรง 2 มติ ิไดถูกตอง 8.3 คำนวณสมดุลของแรง 2 มิติตามหลักการไดถกู ตอ ง X 9 การคำนวณสมดลุ ของแรง 3 มติ ิ I 9.1 อธบิ ายเงื่อนไขการสมดุล 3 มติ ไิ ดถกู ตอง I 9.2 อธบิ ายหลักการคำนวณสมดลุ ของแรง 3 มติ ิได ถกู ตอง X 9.3 คำนวณสมดลุ ของแรง 3 มติ ติ ามหลักการไดถ ูกตอ ง 10 การเขยี นแผนภาพวัตถุอิสระ I 10.1 อธิบายหลักการเขยี นแผนภาพวัตถุอิสระไดถกู ตอง X 10.2 เขยี นแผนภาพวัตถุอิสระตามหลักการไดถูกตอง 11 การคำนวณหาแรงในชน้ิ สว นโครงสราง I 11.1 อธิบายหลกั การคำนวณแรงในชิน้ สว นโครงสรางได X ถูกตอง 11.2 คำนวณแรงในชน้ิ สวนโครงสรา งตามหลักการได ถกู ตอง

การวเิ คราะหพฤตกิ รรมการเรยี นรูที่พึงประสงค (ทฤษฎ)ี ระดับชัน้ ปวส. ตารางวิเคราะหพ ฤติกรรมการเรียนรทู ี่พึงประสงค 3 หนว ยกติ รหสั วิชา 30100-0101 สาขาวชิ า ชา งกลโรงงาน 3 ชว่ั โมง/สปั ดาห ชื่อวิชา กลศาสตรวศิ วกรรม หนวยท่ี สมรรถนะท่พี ึงประสงค พฤตกิ รรมการเรียนรูท พ่ี งึ ประสงค 12 การคำนวณแรงกระจายในชน้ิ สว นโครงสรา ง R U Ap An E C 12.1 อธบิ ายหลกั การคำนวณคา แรงกระจายในชน้ิ สวน I โครงสรา งไดถูกตอง 12.2 คำนวณแรงกระจายในชิน้ สวนโครงสรา งตามหลักการ X ไดถูกตอ ง 13 การคำนวณจุดศนู ยถวงและเซนทรอยด 2 มิติ 13.1 อธิบายหลกั การคำนวณจดุ ศูนยถวงและเซนทรอยด 2 I มติ ิไดถกู ตอง 13.2 คำนวณจุดศูนยถว งและเซนทรอยด 2 มิติ X ตามหลักการไดถูกตอง 14 การคำนวณจุดศูนยถ ว งและเซนทรอยด 3 มติ ิ 14.1 อธิบายหลักการคำนวณจดุ ศูนยถ ว งและเซนทรอยด 3 I มิตไิ ดถกู ตอง 14.2 คำนวณจุดศูนยถว งและเซนทรอยด 3 มิติ X ตามหลกั การไดถ ูกตอง 15 การคำนวณโมเมนตความเฉอ่ื ยของรปู ทรงมาตรฐาน 15.1 อธิบายหลักการ ทฤษฎีแกนขนานไดถูกตอง I 15.2 อธบิ ายหลกั การคำนวณโมเมนตค วามเฉ่ือยของ I รปู ทรงมาตรฐานไดถูกตอง 15.3 คำนวณโมเมนตความเฉ่ือยของรปู ทรงมาตรฐานตาม X หลักการไดถูกตอง 16 การคำนวณโมเมนตความเฉอื่ ยของรปู ทรงผสม 16.1 อธิบายหลกั การคำนวณโมเมนตค วามเฉื่อยของรูทรง I ผสมไดถ กู ตอ ง 16.2 คำนวณโมเมนตความเฉ่ือยของรปู ทรงผสมตาม X หลักการไดถูกตอง

การวิเคราะหพฤติกรรมการเรียนรูทพ่ี ึงประสงค (ทฤษฎ)ี ระดับช้ัน ปวส. ตารางวิเคราะหพ ฤตกิ รรมการเรียนรูท่พี ึงประสงค 3 หนว ยกติ รหสั วชิ า 30100-0101 สาขาวชิ า ชางกลโรงงาน 3 ชวั่ โมง/สปั ดาห ชอื่ วชิ า กลศาสตรว ศิ วกรรม หนว ยท่ี สมรรถนะท่พี ึงประสงค พฤติกรรมการเรยี นรูทีพ่ ึงประสงค 17 การคำนวณหาความเสยี ดทานในเครือ่ งจักรกล R U Ap An E C 17.1 อธิบายคุณสมบัตขิ องแรงเสียดทานไดถูกตอง I 17.2 อธิบายสัมประสิทธข์ิ องแรงเสยี ดทานไดถกู ตอ ง I 17.3 อธิบายหลกั การคำนวณหาความเสียดทานใน I เครอ่ื งจักรกลไดถูกตอง 17.4 คำนวณความเสียดทานในเครอื่ งจักรกลตามหลักการ X ไดถ ูกตอ ง 18 สอบปลายภาคเรยี น หมายเหตุ : ความหมายของระดบั การเรยี นรูท่ีพึงประสงค (Bloom S Taxonomy ; 2001 ดา นความรู ระดบั ความสำคัญ R = จำ (Remembering) An = วิเคราะห (Analyzing) X = สำคญั มากท่ีสุด U = เขา ใจ (Understanding) Ap = ประยกุ ตใช (Applying) I = สำคญั มาก E = ประเมนิ คา (Evaluting) C = คดิ สรา งสรรค (Creating) O = สำคญั

โครงการสอนรายวิชา ระดบั ชน้ั ปวส. โครงการสอนรายวิชา 3 หนว ยกิต รหัสวิชา 30100-0101 สาขาวิชา ชางกลโรงงาน 3 ชัว่ โมง/สปั ดาห ชื่อวชิ า กลศาสตรว ศิ วกรรม จำนวน แบบฝก หดั ชว่ั โมง แบบทดสอบ สอน สัปดาห หนวย ชอ่ื หนวยการเรยี นรู 3 คร้ังท่ี ที่ ท่ี 3 1 1 1 การเปล่ยี นระบบหนว ย 3 3 2 2 2 การคำนวณระบบแรง 2 มิติ 3 3 3 3 3 การคำนวณระบบแรง 3 มิติ 3 3 4 4 4 การคำนวณโมเมนตข องแรง 2 มติ ิ 3 3 5 5 5 การคำนวณแรงคคู วบ 2 มิติ 3 3 6 6 6 การคำนวณโมเมนตของแรง 3 มติ ิ 3 3 7 7 7 การคำนวณแรงคูควบ 3 มติ ิ 3 8 8 8 การคำนวณสมดุลของแรง 2 มติ ิ 3 3 9 9 9 การคำนวณสมดลุ ของแรง 3 มิติ 3 54 10 10 10 การเขียนแผนภาพวตั ถอุ ิสระ 11 11 11 การคำนวณหาแรงในชน้ิ สว นโครงสราง 12 12 12 การคำนวณแรงกระจายในช้ินสว นโครงสราง 13 13 13 การคำนวณจดุ ศนู ยถว งและเซนทรอยด 2 มิติ 14 14 14 การคำนวณจดุ ศนู ยถ ว งและเซนทรอยด 3 มิติ 15 15 15 การคำนวณโมเมนตความเฉอ่ื ยของรูปทรง มาตรฐาน 16 16 16 การคำนวณโมเมนตความเฉอ่ื ยของรปู ทรงผสม 17 17 17 การคำนวณหาความเสยี ดทานในเครื่องจักรกล 18 18 18 สอบปลายภาคเรยี น รวม

การบรู ณาการรายวิชา 1. การบูรณาการคณุ ธรรม จริยธรรม คานิยม คณุ ลักษณะท่พี ึงประสงค การบูรณาการคณุ ธรรม จริยธรรม คานิยม คุณลักษณะทีพ่ ึงประสงค นีไ้ ดกำหนดขนึ้ ตามกรอบ คณุ ธรรม จริยธรรม คานิยมและคุณลักษณะที่พึงประสงค ของผูสำเร็จการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการ อาชีวศึกษา ซึ่งประกอบดวย 15 คุณลักษณะ โดยในรายวชิ ากลศาสตรวิศวกรรม ไดเนน 4 คุณลักษณะ คือ ดานความมีวินยั ดา นความรบั ผดิ ชอบ ดา นความซ่อื สัตยส ุจริต และดานความสนใจใฝเรียนรู ซง่ึ ในแตละ ดานมีพฤติกรรมบงช้ีที่ สำคญั และนำมาเลือกใช ดังนี้ 1) ความมีวินัย คือปฏิบัติตามกฎระเบียบขอบังคับและขอตกลงตาง ๆ ของสถานศึกษาไดแกการแตง กายถูกตองตามระเบียบและขอบังคับ ตรงตอเวลา รักษาสาธารณสมบัติ สิ่งแวดลอมและเขารวมกิจกรรมที่ครู กำหนดและประพฤติตนถกู ตอ งตามศลี ธรรมอนั ดีงาม (เขา ช้ันเรยี นตรงเวลา) 2) ความรับผิดชอบ คือการเตรียมความพรอมในการเรียนและการปฏิบัติงาน ปฏิบัติงานตามขั้นตอนที่ วางไว ปฏิบัติงานดวยความตั้งใจ ปฏิบัติงานดวยความละเอียดรอบคอบ ปฏิบัติงานที่ไดรับมอบหมายเสร็จตาม กำหนด มีความเพียรพยายามในการเรียนและการปฏิบัติงาน ปฏิบัติงานตามหนาที่ของตนเอง ยอมรับผลการ กระทำของตนเอง ปฏิบัติงานโดยคำนึงถึงความปลอดภัยตอตนเองและสวนรวม (นักเรียนเอาใจใสการเขารวม กิจกรรมในแตล ะแผนการจดั การเรยี นรมู งุ เนนสมรรถนะอยางตั้งใจ) 3) ความซอ่ื สัตยสุจรติ คือการพดู ความจริง ไมน ำผลงานของผูอน่ื มาแอบอางเปนของตนเอง ไมท ุจริต ใน การสอบ ไมล ักขโมยเปน ตน (นักเรียนไมถามและไมล อกคำตอบจากผอู ืน่ ) 4) ความสนใจใฝรู เปนการศึกษาคนควาดวยตนเอง ซักถามปญหาขอสงสัย แสวงหาประสบการณและ คนหาความรูใหม ๆ (นักเรียนใฝในการเรียนรูอยูเสมอ โดยการศึกษาหาความรูดวยตนเอง หรือปรึกษาหารือ หา ความรู หรือศกึ ษาดวยวธิ ีการอื่นๆ) 2. การบรู ณาการเขา กบั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง 3 หวง 2 เง่ือนไข 4 มิตปิ ระกอบดวย 3 หว ง 2 เงื่อนไข 4 มติ ิ 1. ความพอประมาณ 1. เง่ือนไขความรู 1. เศรษฐกิจ 2. ความมเี หตุผล 2. เงอื่ นไขคุณธรรม 2. สงั คม 3. การมภี ูมคิ มุ กันในตวั ทด่ี ี 3. ส่งิ แวดลอ ม 4. วัฒนธรรม

30100-0101 กลศาสตร์วิศวกรรม แผนกวิชาช่างกลโรงงาน วิทยาลัยเทคนิคชุมพร


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook