30100-0101 กลศาสตร์วิศวกรรม สมดุลของแรง 2 มิติ โดย: ครูอำนาจ เสมอวงศ์ แผนกวิชาช่างกลโรงงาน วิทยาลัยเทคนิคชุมพร
แผนการจดั การเรยี นรมู ุง เนนสมรรถนะ หนว ยที่ 8 ชือ่ หนวย การคำนวณสมดลุ ของแรง 2 มิติ สอนคร้งั ท่ี 8 ช่ัวโมงรวม 3 ช่ัวโมง จำนวน 3 ช่ัวโมง 1. สาระสำคัญ สมดุลหรือภาวะสมดุลเปนหัวขอท่ีมีความสำคัญมากในวิชากลศาสตรวิศวกรรม ภาคสถิตยศาสตร เน่ืองจากวาหัวใจของกลศาสตร คือการสมดุลของวัตถูหรือของแรง ซึ่งในการศึกษาเกี่ยวกับสมดุล จึงเปนการศึกษา เกี่ยวกบั แรงท่กี ระทำกับวัตถุ 2. สมรรถนะประจำหนว ย 2.1 แสดงความรูเ ก่ยี วกับเง่ือนไขและหลกั การคำนวณสมดุลของแรง 2 มติ ิ 2.2 คำนวณหาคาสมดลุ ของแรง 2 มติ ิ 2.3 แสดงพฤติกรรมลักษณะนิสัยความมวี นิ ยั ความรบั ผิดชอบ ตรงตอเวลาและมีจิตอาสา 3. จดุ ประสงคก ารเรยี นรู 3.1 ดานความรู 3.1.1 บอกเงือ่ นไขสมดุลของแรง 2 มิติ ไดถูกตอง 3.1.2 อธิบายหลักการคำนวณสมดุลของแรง 2 มติ ิ ไดถูกตอง 3.2 ดา นทกั ษะ 3.2.1 คำนวณหาคาสมดุลแรง 2 มติ ิ ไดถ ูกตอง 3.3 ดานคณุ ลักษณะท่ีพึงประสงค 3.3.1 ตระหนักถึงความมวี นิ ัย ความรบั ผดิ ชอบ ตรงตอเวลาและมีจติ อาสา 4. เนือ้ หาสาระการเรียนรู การคำนวณหาคา สมดลุ แรง 2 มิติ 4.1 เงือ่ นไขสมดุลของแรง 2 มติ ิ 4.2 หลักการคำนวณสมดุลของแรง 2 มติ ิ (รายละเอยี ดอยูในใบความรู ภาคผนวก)
แผนการจัดการเรียนรูมุง เนนสมรรถนะ หนว ยที่ 8 ช่ือหนวย การคำนวณสมดุลของแรง 2 มิติ สอนครั้งท่ี 8 ช่ัวโมงรวม 3 ชวั่ โมง จำนวน 3 ช่ัวโมง 5. กจิ กรรมการเรียนรู ข้นั นำเขา สบู ทเรียน 1. ครูตรวจการแตง กายของนักศึกษาวามีความเรยี บรอยถูกตองตามระเบียบหรือไม 2. ครูยกตวั อยา งของแรงทกี่ ระทำกับช้นิ สว นเครอ่ื งจักรกลและอยูในสภาวะสมดลุ 3. ผูเรยี นทำแบบทดสอบกอนเรียน โดยใชแ บบทดสอบกอนเรียน การเรียนรู 4. ครอู ธบิ ายเรอื่ ง เงือ่ นไขและหลกั การคำนวณสมดลุ ของแรง 2 มติ ิ โดยใชส ื่อ Power Point ครูคอยใหคำแนะนำปรึกษา 5. ครผู สู อนใหน กั เรียน ศึกษาจากใบความรเู รื่อง เง่ือนไขและหลักการคำนวณสมดลุ ของแรง 2 มติ ิ 6. ครูบอกจุดสงั เกต “สาระนารู” ในใบความรูทเ่ี ปนเกรด็ ความรเู พิ่มเติมในแตล ะเรื่อง 7. ครูถามเก่ยี วกับ “ปญหานาคิด” แลว ใหน ักศึกษาชวยกันตอบ การสรปุ 8. ครูเปด โอกาสใหน ักศึกษาสอบถามขอมูลเพม่ิ เติม 9. ครสู รุปเนอื้ หาทัง้ หมดรวมกับนกั เรยี นโดยใชเ หตผุ ลจากความรทู เี่ รยี นในเรื่องเงื่อนไขและ หลักการคำนวณสมดลุ ของแรง 2 มิติ 10. ใหน ักศึกษาทำแบบฝก หัดและเฉลยแบบฝกหัด การวัดผลและประเมนิ ผล 11. ใหน กั เรียนทำแบบทดสอบหลงั เรยี นเรื่อง เงือ่ นไขและหลกั การคำนวณสมดุลของแรง 2 มติ ิ 12. ครตู รวจและเกบ็ คะแนนแบบทดสอบเรอื่ ง เง่อื นไขและหลกั การคำนวณสมดุลของแรง 2 มติ ิ 13. ครูทบทวนความรแู กไขสว นที่ผิดในการทำแบบทดสอบ 14. ครูเนนยำ้ ใหผ ูเรยี นตระหนกั ถงึ ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งในสวนของความมวี ินัย ความ รบั ผิดชอบ ตรงตอเวลาและมีจติ อาสา ในเรือ่ งเงื่อนไขและหลกั การคำนวณสมดุลของแรง 2 มติ ิ 6. ส่อื การเรียนรู/ แหลงการเรียนรู 6.1 สอื่ สิ่งพิมพ เอกสารประกอบการจัดการเรยี นรูเร่ือง การคำนวณสมดุลของแรง 2 มิติ 6.2 สอื่ โสตทัศน(ถา ม)ี ส่ือ power point เรอื่ งการคำนวณสมดุลของแรง 2 มิติ 6.3 หุนจำลองหรือของจริง(ถา มี) - 6.4 อ่ืนๆ(ถา มี)
แผนการจดั การเรยี นรมู งุ เนน สมรรถนะ หนวยท่ี 8 ชอื่ หนวย การคำนวณสมดลุ ของแรง 2 มิติ สอนครง้ั ท่ี 8 ช่วั โมงรวม 3 ชว่ั โมง จำนวน 3 ช่ัวโมง 7.เอกสารประกอบการเรยี นรู (ใบความรู ใบงาน ใบมอบหมายงาน) - ใบเน้ือหาเรือ่ งการคำนวณสมดลุ ของแรง 2 มิติ - แบบทดสอบกอนเรียนเรื่องการคำนวณสมดลุ ของแรง 2 มิติ - แบบทดสอบหลังเรียนเร่ืองการคำนวณสมดลุ ของแรง 2 มิติ 8.การบรู ณาการ/ความสมั พันธกับวชิ าอ่ืน บรู ณาการกบั หลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งเกี่ยวกบั - นักเรียนมเี หตุผลในการเลือกเงอ่ื นไขและหลักการคำนวณสมดลุ ของแรง 2 มิติ - นักเรยี นมีความพอประมาณในการคำนวณสมดุลของแรง 2 มิติ - นกั เรยี นมภี มู ิคุม กันเก่ยี วกับการมวี นิ ยั ความรบั ผิดชอบ ตรงตอ เวลาและมจี ติ อาสา 9.การวัดและประเมินผล 20 คะแนน 9.1กอนเรยี น 10 คะแนน - แบบทดสอบกอนเรยี น จำนวน 2 ขอ 10 คะแนน 9.2ขณะเรยี น - แบบฝก หัดเรอื่ งเง่ือนไขและหลกั การคำนวณสมดลุ ของแรง 2 มติ ิ 9.3หลังเรียน - แบบทดสอบหลงั เรยี น จำนวน 2 ขอ 9.4การประเมินผล - เกณฑก ารใหค ะแนน คะแนน คุณธรรมจรยิ ธรรม คะแนน ความรู(แบบฝกหดั ) คะแนน ความรู( แบบทดสอบ)
บันทกึ หลังสอน สัปดาหท ่ี ……. ช่อื วิชา …………………………………………………………..รหสั วชิ า ……………………………………………………………… แผนกวชิ า ……………………………………………………… วันที่สอน …………………………………. หนวยท่ี ………… รายการสอน ………………………………………………….. ภาคเรยี นที่………………..ปการศึกษา………………….. จำนวนผเู รียน ชัน้ ………………กลมุ …………………จำนวน……………คน เขา เรยี น…………คน ขาดเรียน ……. คน 1.เนื้อหาทส่ี อน (สาระสำคัญ) ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 2.ผลการสอน ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 3.ปญหา อปุ สรรค ทเี่ กดิ ขึ้นในระหวา งการเรยี นการสอน ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 4.แนวทางการแกปญหาของครูผูสอน(แนวทางการทำวจิ ัย) ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงช่ือ………………………………………………ผูส อน (…………………………………………….) …………../……………/…………… ลงช่อื ……………………………………………หวั หนาแผนก ลงชื่อ……………………………หวั หนา งานหลักสตู รฯ (……………………………………) (……………………………………..) …………../……………/…………… …………../……………/…………… ลงช่ือ………………………………………………รองผอู ำนวยการฝายวชิ าการ (………………………………………….) …………../……………/……………..
ใบแบบทดสอบกอนเรียน/หลังเรียน หนวยการเรียนท่ี 7 เรือ่ ง การคำนวณสมดลุ ของแรง 2 มติ ิ 1. จากรปู จงคำนวณหาแรงในช้ินสวน AC และ BC 500 kg 2. จากรูป จงหาแรงท่จี ุดยดึ A และ B ที่ทำใหร ปู น้อี ยูในสภาวะสมดลุ
ใบแบบฝกหัด หนวยการเรยี นที่ 7 เร่อื ง การคำนวณสมดลุ ของแรง 2 มิติ 1. จากรปู จงคำนวณหาแรงที่กระทำบนเสนลวด AC และ BC 2. เคเบิล AC และ BC รับน้ำหนกั จากมวล 500 kg ทแี่ ขวนอยูด ังรปู จงหาแรงที่ทีก่ ระทำบนเคเบลิ ทง้ั สอง 500 kg
วิชา กลศาสตรว ิศวกรรม หนวยท่ี 8 ช่อื หนวย การคำนวณสมดุลของแรง 2 มติ ิ สอนครงั้ ที่ 8 ช่ัวโมงรวม 3 ชั่วโมง วตั ถุใดๆจะอยูในสมดลุ กต็ อเมื่อผลลพั ธข องแรงทั้งหมดมีคาเทากบั ศูนย ผลลพั ธข องแรงท้ังหมด หมายถึง แรงลพั ธแ ละแรงคคู วบลัพธ ดังนัน้ สมการสมดลุ ยจ งึ เขยี นไดดังนี้ ถา พิจารณาโดยแยกแรงและโมเมนตแ ตล ะโมเมนตบ นพิกัดฉาก อาจแสดงเง่ือนไข สำหรับสมดุลในรปู ของสมการสเกลารไดด งั นี้ สมการตางๆดงั กลาวน้อี าจนำไปใชค ำนวณหาแรงท่ีไมทราบคาท่ีกระทำกบั วตั ถหุ รือหาแรงปฏิกิรยิ าที่ กระทำบนจุดยึด สมการ 3 แสดงใหเห็นวาแรงยอ ยของแรงท่ีกระทำในแนวแกน X ,Y และ Z และสมการ 4 แสดงใหเหน็ วา โมเมนตของแรงภายนอกตา งๆรอบแกน X ,Y และ Z น้นั สมดุลกัน เงอื่ นไขของสมดลุ ในระบบ 2 มิติ ในระบบ 2 มิติ มกั นยิ มต้ังแกน X - Y ในผังวัตถุอสิ ระ แรงยอ ยตางๆในผงั วตั ถุอิสระจะพจิ ารณาเทียบ กบั แกน X และ Y ถานำมาเขียนในรูปเวกเตอรจ ะเขยี นไดด ังนี้
วชิ า กลศาสตรวศิ วกรรม หนวยท่ี 8 ชอ่ื หนวย การคำนวณสมดุลของแรง 2 มติ ิ สอนครง้ั ที่ 8 ช่ัวโมงรวม 3 ชว่ั โมง วตั ถทุ ่ีอยูในสมดุลแรงลัพธจ ะเทากบั ศนู ยแ ละโมเมนตล ัพธก็เทา กบั ศนู ยด ว ยเชนกนั ถาแรงลัพธเทา กับ ศูนยแตโมเมนตล ัพธไ มเทากบั ศนู ย ระบบจะยังไมสมดลุ ในทำนองเดยี วกนั ถา โมเมนตลัพธเ ทา กบั ศูนยแ ต แรงลัพธไมเ ปน ศนู ย ระบบก็จะยังไมสมดุล ดังน้นั ระบบจะอยูใ นสมดุลไดน ้ันแรงลัพธแ ละโมเมนตล พั ธต อง เทา กับศูนย ในระบบ 2 มิติ ถาเขียนสมการในรปู ของปริมาณสเกลลารส ามารถเขียนได ดังนี้ สมการ นน้ั หมายความวาแรงลัพธแ นวแกน X เทากับศูนย แรงลพั ธแนวแกน Y เทา กบั ศนู ย และ โมเมนตลัพธร อบแกนทีผ่ า นจุด O ใดๆเทากบั ศูนย ซึง่ จุด O นี้จะอยทู ่ีใดก็ไดไมเฉพาะเจาะจง สภาวะสมดุลท่ีมักพบบอ ย มี 2 ลักษณะ สมดุลยภ ายใตแ รงกระทำสองแรง ชนิ้ สว นจะรับแรงสองแรง (two – force- member) แรงทง้ั สองจะตองมีขนาดเทา กันและอยูในแนว เดยี วกนั โดยไมคำนึงถงึ รูปทรงของวัตถุ และถือวาน้ำหนกั ของวตั ถนุ อยมากเม่ือเทยี บกับขนาดของ ดงั รูป
วิชา กลศาสตรวศิ วกรรม หนวยท่ี 8 ช่ือหนวย การคำนวณสมดุลของแรง 2 มติ ิ สอนครงั้ ที่ 8 ชั่วโมงรวม 3 ชัว่ โมง สมดลุ ยภ ายใตแรงกระทำสามแรง ชนิ้ สวนจะรบั แรงสามแรง (three – force-member) โดยแรงกระทำสามจะพบกันทีจ่ ดุ จดุ หน่ึงเมื่อ ตอแนวแรงออกไป และเม่ือเขียนสามเหลยี่ มแทนแรงจะไดค รบรูปสามเหล่ยี มพอดี ดงั รปู นี้
ใบแบบทดสอบกอนเรียน/หลังเรียน หนวยการเรยี นท่ี 7 เรือ่ ง การคำนวณสมดลุ ของแรง 2 มติ ิ 1. จากรปู จงคำนวณหาแรงในช้ินสวน AC และ BC 500 kg 2. จากรูป จงหาแรงท่จี ุดยดึ A และ B ที่ทำใหร ปู น้อี ยูในสภาวะสมดลุ
ใบแบบฝกหัด หนวยการเรยี นที่ 7 เร่อื ง การคำนวณสมดลุ ของแรง 2 มิติ 1. จากรปู จงคำนวณหาแรงที่กระทำบนเสนลวด AC และ BC 2. เคเบิล AC และ BC รับน้ำหนกั จากมวล 500 kg ทแี่ ขวนอยูด ังรปู จงหาแรงที่ทีก่ ระทำบนเคเบลิ ทง้ั สอง 500 kg
ส่อื การสอน
สมดุลของอนุภาค จุดประสงค์ เพื่อใหเ้ ขา้ ใจ concept ของแผ diagram (FBD) ของอนุภาค ดงั กล่าวไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง เพ่อื ใหส้ ามารถแกป้ ัญหาที่เก ความสมดุล (Equations of Eq
ผนภาพวตั ถุอิสระหรือ Free-body (particle) และสามารถเขียนแผนภาพ ก่ียวกบั สมดุลของอนุภาคโดยใชส้ มการ quilibrium) ได้
Concept ของแรงลพั ธแ์ ละแรงปฏิก แรงลพั ธ์ = แรงกระทาํ แต่ แ กฏขอ้ ท่ี 3 ของนิวตนั : แรงล แรงปฏิกิริยา O แรงลพั ธ์
กิริยา แรงปฏิกิริยา = แรงตา้ น ลพั ธ์ = แรงปฏิกิริยา แรงปฏิกิริยา แรงลพั ธ์ F=R ∑=F 80i + 320 j-1440k N
การประยกุ ตใ์ ชง้ านข
ของสมดุลของอนุภาค ในการออกแบบหาขนาด ของ cable AB และ AC เพอื่ รองรับน้าํ หนกั ของมว้ น สายไฟฟ้า (FAD) เราจะตอ้ ง ทราบขนาดของแรงใน cables ดงั กล่าว (FAB และ จFะACถ)ูกดหงั านม้นั าไแดรอ้ งยFา่ AงBไรแ?ละ FAC
การประยกุ ตใ์ ชง้ านของส
สมดุลของอนุภาค (ต่อ) ถา้ กาํ หนดให้ cable มี ความสามารถรับแรงสูงสุด (กาํ ลงั : strength) คา่ หน่ึง แลว้ เราจะวเิ คราะห์เพื่อ ตรวจสอบหาค่าน้าํ หนกั บรรทุกสูงสุด (แรงสีแดง) ท่ี cable สามารถรองรับได้ อยา่ งไร?
3.1 เง่ือนไขของความสมดุลของอน อนุภาคอยู่กบั ที่ ถ้าเม่ือตอนเร่ิมต้นอยู่กบั ท่ี (stati อนุภาคเคล่ือนที่ดว้ ย v คงที่ ถา ต ใน No เน่ือ เรีย การ
นุภาค ic equilibrium) หรือ า้ ตอนเร่ิมตน้ เคล่ือนที่ดว้ ย v คงที่ ตวั อยา่ งของระบบท่ีอยใู่ นสภาวะสมดุล 2 มิติ ote: ในการหาแรงตึงท่ีเกิดข้ึนใน cable องจากน้าํ หนกั ของเครื่องยนต์ เราจะตอ้ ง ยนรู้การเขียน free-body diagram และ รประยกุ ตใ์ ชส้ มการความสมดุล
3.2 Free-body diagram/แผนภาพว What?: เป็นแผนภาพท่ีแสดงถึงแ คา่ ) ท่ีกระทาํ ต่ออนุภาค/ว Why?: เพื่อใชใ้ นการเขียนสมการ Unknown?: แรงที่ไม่ทราบคา่ หรือ
วตั ถุอิสระ แรงภายนอกท้งั หมด (ท่ีทราบและไม่ทราบ วตั ถุ/โครงสร้าง/เครื่องจกั รกล รความสมดุลเพือ่ แกห้ า unknown อมุมท่ีแรงกระทาํ กบั แกนอา้ งอิง
ข้นั ตอนในการเขียน Free-body diag 1. แยกอนุภาค (เช่น .....) ออกจากส 2. ต้งั ระบบแกน x-y 3. เขียนแรงและทิศทางของแรง พ
gram ส่ิงรอบขา้ งและเขียนอนุภาคน้นั อยา่ งคร่าวๆ y FAC FAB 30o 50o x A W พร้อมขนาดและสญั ลกั ษณ์ที่เหมาะสม
3.3 สมการความสมดุลใน 2 มิติ A TD 2.45 ใน ดงั น้นั โดยทวั่ ไปแลว้ 1 FBD จะมี unkno
y เมื่ออนุภาค A อยใู่ น สมดุล ผลรวมของแรง TB 30o x กระทาํ ต่ออนุภาคมีคา่ เป็ นศูนย์ ในรูป vector 52 kN นรูป scalar own ไดไ้ ม่เกิน 2 ตวั และจากรูป เราจะได้ >>>> TB = 4.90 kN TD = 4.25 kN
กาํ หนดให้ cable มีกาํ ลงั 5.0 kN จงหาน้าํ หนกั ของเครื่องยนต์ สูงสุดท่ีสามารถ นาํ มาแขวนได้ โดย cable ไม่ ขาด + ↑ ∑ Fy = 0; + TB sin 30o − W = 0 > TB = 2W + → ∑ Fx = 0; + TB cos 30o − TD = 0 TD = 1.732W
y TB A 30o x TD W >>>> W = 5.0 / 2 = 2.50 kN W = 5.0 /1.732 = 2.89 kN
ตวั อยา่ งที่ 3-1 จงหาค่าแรงดึงที่เกิดข้ึนในโซ่ AB แท่งเหลก็ BC เม่ือเครื่องยนตม์ ีมวล 1. เขียน FBD 2. ใชส้ มการสมด + ∑→=F x 0; FAC =+ ↑ ∑ Fy 0; 20 F=AC
B และ AC และค่าแรงกดอดั ท่ีเกิดข้ึนใน ล 200 kg y 200(9.81) N A x 55o 55o ดุล FAB FAC C cos 55o − FAB=cos 55o 0 00(9.81) − FAC sin 55o=− FAB sin 55o 0 F=AB 1198=N 1.20 kN
1. เขียน FBD 2. ใชส้ มการสมดุล + =→ ∑ F x
y 1198 N x B 55o ล FBD FBC 0; 119=8 cos 55° − FBC 0 FBC = 687 N FBD = ?
ตวั อยา่ งที่ 3-2 จงหาคา่ แรงที่เกิดข้ึนในส่วนต่าง cable เม่ือดวงไฟมีมวล 4 kg 2. ใชส้ มการ + 0; TBC สมดุล 0; TBA →=∑ F x =+ ↑ ∑ Fy =TBC 3=9.24 3
งๆ ของ cable และค่าแรง F ท่ีใชใ้ นการดึง 1. เขียน FBD: เราควรเริ่มท่ีจุดใด??? yTBA 60o B x 30o 4(9.81) N TBC C cos 30o − TBA=cos 60o 0 Asin60° − TBC sin 3=0° − 4(9.81) 0 39.2 N and =TBA 6=7.97 68.0 N
39.24 kN 2. ใชส้ มการสมดุล + →∑ F x =0; − 39.24co =+ ↑ ∑ Fy 0; 39.24sin30 TCD = F= 3 =TBC 3=9.2 N, TBA 68.0 N, T
1. เขียน FBD: จุดเช่ือมต่อ C 39.24 kN y TCD 30o C 30o x F os 30o + TCD cos 30o =0 Note: Tmax 0o +=TCD sin 30o − F 0 เกิดข้ึนใน 39.2 N cable ที่ทาํ 39.2 N มุมสูงสุดกบั แนวนอน TCD 39.2 N Tmax = ?
ตวั อยา่ งที่ 3-3 ถา้ เสน้ เชือกแต่ละเสน้ รับแรงดึงไ ถุงทรายที่เชือกสามารถรองรับได้ แ 2. ใชส้ มการสมดุล
ไดส้ ูงสุด 200 N จงหาน้าํ หนกั สูงสุดของ และจงหามุม θ ของเสน้ เชือก CD 1. เขียน FBD: เราควรเริ่มที่จุดใด??? y THA Hx W ∑+ ↑ =Fy 0; TH=A −W 0 THA = W
W จุดเชื่อมต่อ A + TAB y TAC →∑F +↑∑F 45o 60o x A W
ถดั ไปเราจะเลือกจุดเช่ือมต่อใด??? Fx 0; TAC cos 60o − TAB c=os 45o 0 Fy 0; TACsin60° + TAB si=n 45° −W 0 TAC = 0.7321W TAB = 0.5176W
0.5176W จุดเชื่อมต่อ B + ↑ ∑ Fy y TBE TBC + ∑30o F → x B x 45o −0.7321W 0.5176W
y 0; TBEsin30° − 0.5176W=sin 45° 0 TBE = 0.7321W =0; W cos 30o + 0.5176W cos 45o + TBC =0 TBC = 0.2679W
จุดเช่ือมต่อ C TCD y 0.2679W θ x 60o C 0.7321W + ∑→ =Fx 0;TCD cosθ − 0.26 ∑+=↑ Fy 0; TCDsinθ TCD = 0. θ =4
0.2679W 0.7321W 679W − 0.7321W cos 6=0o 0 − 0.7321W=sin 60o 0 .8966W 45o
Wmax = 200/0.8966 TBC = 0.2 TBE = 0.7321W TAB = 0.5176W
6 = 223 N TCD = 0.8966W θ = 45o 2679W TAC = 0.7321W THA = W Wmax = 200 N
สรุปบทที่ 3/1 3.1 เงื่อนไขของความสมดุลของอน อนุภาคอยู่กบั ท่ี ถ้าเม่ือตอนเร่ิมต้นอยู่กบั ที่ (static equil จาก เนื่อ เรีย แล
Search