Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หน่วยที่ 7 กฎหมาย7

หน่วยที่ 7 กฎหมาย7

Published by นางกมลพร สวนทวี, 2021-09-25 15:34:30

Description: หน่วยที่ 7 กฎหมาย7

Search

Read the Text Version

กฎหมาย ในชีวิตประจาวนั รายวชิ า ส31101 หน้าทพ่ี ลเมือง ช้ันมัธยมศึกษาปี ท่ี 4

ตวั ช้ีวดั ส2.1ม.4-6/1 วิเคราะห์และปฏิบตั ิตนตาม กฎหมายที่เก่ียวกบั ตนเอง ครอบครัว ชุมชน ประเทศชาติ และสงั คมโลก

ขอ้ สอบ o-net ข้อใดไม่ใช่ กฎหมายมหาชน ก. กฎหมายมรดก ข. กฎหมายภาษอี ากร ค. กฎหมายประกนั สังคม ง. กฎหมายส่งเสริมการลงทุน จ. กฎหมายระหว่างประเทศ

ข้อสอบ o-net ข้อใดกล่าวถูกต้องเกย่ี วกบั จานาและจานอง ก. จานองต้องเป็ นอสังหาริมทรัพย์เท่าน้ัน ข. การบงั คบั จานาผู้รับจานาทุกรายมสี ิทธ์ิเอาทรัพย์จานาน้ันหลดุ ให้แก่ตนได้ ค. การบังคบั จานองผ้รู ับจานองต้องฟ้องร้องให้ศาลส่ังบังคับให้หรือจะดาเนินการให้ มกี ารขายทอดตลาดทรัพย์สินท่ีจานองโดยไม่ต้องร้องเป็ นคดีต่อศาลได้ในบางกรณี ง. ผ้จู านองต้องส่งมอบทรัพย์จานองให้อย่ใู นการครอบครองของผู้รับจานองเพื่อเป็ น หลกั ประกนั การชาระหนี้ จ. การจานองจะจดทะเบียนหรือไม่กไ็ ด้ แต่อย่างน้อยต้องมหี ลกั ฐานเป็ นหนังสือลง ลายมือช่ือผู้จานองและผ้รู ับจานองเป็ นสาคญั

ขอ้ สอบ o-net ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกย่ี วกบั เร่ืองบุคคล ก. นิตบิ ุคคลมสี ิทธิและหน้าทเ่ี หมือนกบั บุคคลธรรมดาทุกประการ ข. สภาพบุคคลของบุคคลธรรมดาสิ้นสุดลงเม่ือตาย ค. บุคคลทไ่ี ร้ความสามารถต้องเกดิ จากการทศ่ี าลมคี าสั่งให้เป็ นคนไร้ ความสามารถเสมอ ง. นิตบิ ุคคลถูกกาหนดกรอบอานาจหน้าทใี่ ห้อยู่ในขอบวัตถุประสงค์ ของนิตบิ ุคคลน้ันๆ จ. บุคคลซึ่งเป็ นผู้เยาว์อาจบรรลุนิตภิ าวะได้แม้อายุยงั ไม่ถึง 20 ปี

ขอ้ สอบ o-net การกระทาใดเป็ นนิติกรรมฝ่ ายเดยี ว ก. นายดาทาพนิ ัยกรรมยกทดี่ นิ ให้แก่นายแดง ข. นายขาวยกทดี่ นิ ให้แก่นายเขยี วโดยเสน่หา ค. นายส้มตกลงขายทด่ี ินให้นายแสด ง. นายม่วงทาสัญญาก้ยู ืมเงนิ นายมืด จ. นายนา้ ตาลจานาแหวนไว้กบั นายนา้ ตก

ขอ้ สอบ o-net ข้อใดกล่าวถึงเร่ืองหม้นั ไม่ถูกต้อง ก. ชายและหญงิ จะหม้นั กนั ได้ต่อเมื่อมอี ายุ 17 ปี บริบูรณ์ขึน้ ไป มฉิ ะน้ันการ หม้นั จะตกเป็ นโมฆะ ข. ผู้เยาว์จะทาการหม้นั ได้ต่อเมื่อได้รับความยนิ ยอมจากบดิ ามารดาหรือ ผ้ปู กครองตามกฎหมายมฉิ ะน้ันการหม้นั จะตกเป็ นโมฆยี ะ ค. สิทธิในของหม้นั เป็ นของหญงิ ไม่ใช่สิทธิร่วมกนั ระหว่างชายหญงิ คู่หม้นั ง. ของหม้นั ต้องเป็ นทรัพย์สินทมี่ ีค่าตามสมควร ได้แก่เครื่องประดบั เงนิ ทองคา อสังหาริมทรัพย์ จ. เมื่อการหม้นั มผี ลสมบูรณ์ตามกฎหมาย หากคู่หม้นั ฝ่ ายใดผดิ ความตกลง คู่มนั อกี ฝ่ ายจะฟ้องให้ศาลส่ังให้มกี ารจดทะเบียนสมรสไม่ได้

ความหมาย ความสาคญั และลกั ษณะของกฎหมาย

ความหมายของกฎหมาย อริสโตเติล (Aristotle) ได้อธิบายไว้ว่า “กฎหมาย คือข้อบังคบั (Rule) ซ่ึงประกอบด้วยเหตุผล (Reason) ของชุมชน โดยมีลกั ษณะทจี่ ะทาให้สิ่งต่าง ๆ ทม่ี ีความขดั แย้งอยู่ รวมกนั ได้ และก่อให้เกดิ สันติสุขขนึ้ ในสังคมน้ัน” พระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมหลวงราชบุรีดเิ รกฤทธ์ิ พระบิดา แห่งกฎหมายไทย ทรงอธิบายไว้ว่า “กฎหมายน้ัน คือ คาสั่ง ท้งั หลายของผู้ปกครองแผ่นดนิ ต่อราษฎรท้งั มวล เม่ือไม่ทาตามแล้ว ตามธรรมดาต้องได้รับโทษ”

ความหมายของกฎหมาย จอห์น ออสตนิ (John Austin) ปรัชญาเมธีชาว องั กฤษ ได้ให้คาจากดั ความว่า กฎหมายคือคาส่ังคาบญั ชาของรัฐาธิปัตย์ ซ่ึงบงั คบั ใช้กบั กฎหมายท้งั หลาย ถ้าผู้ใดไม่ปฏิบัตติ าม โดยปกติแล้วผู้น้ัน ต้องได้รับโทษ หลวงจารูญเนติศาสตร์ ได้กล่าวว่า กฎหมาย คือข้อบงั คับว่าด้วย การปฏบิ ตั ิซึ่งผู้มีอานาจของประเทศได้บัญญตั ิขนึ้ และบงั คบั ให้ผู้ทอี่ ยู่ใน สังกดั ของประเทศน้ันปฏิบัติตาม หยุด แสงอุทยั อธิบายว่า กฎหมาย ได้แก่ ข้อบังคบั ของรัฐ ซึ่ง กาหนดความประพฤตขิ องมนุษย์ ถ้าฝ่ าฝื นจะได้รับผลร้ายหรือถูก ลงโทษ

ความหมายของกฎหมาย พจนานุกรมฉบับราชบณั ฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 กฎหมาย คือ กฎทส่ี ถาบันหรือผู้มอี านาจสูงสุดในรัฐตราขนึ้ หรือ เกดิ ขึน้ จากจารีตประเพณอี นั เป็ นทย่ี อมรับ นับถือเพ่ือใช้ในการ บริหารประเทศเพื่อใช้บงั คบั บุคคล ให้ปฏิบตั ิตามหรือเพ่ือกาหนด ระเบียบแห่งความสัมพนั ธ์ระหว่างบุคคลหรือระหว่างบุคคลกบั รัฐ กฎหมาย หมายถึง ข้อบังคบั ของรัฐ อนั เป็ นส่วนหน่ึงของการ จดั ระเบยี บสังคม เพ่ือใช้ควบคุมความประพฤตขิ องพลเมือง หากผู้ใด ฝ่ าฝื นจะต้องได้รับโทษอย่างใดอย่างหน่ึง โดยเจ้าหน้าท่ีของรัฐเป็ น ผู้ดาเนินการบงั คบั

ลกั ษณะของกฎหมาย ลกั ษณะกฎหมาย มีดงั นีค้ ือ 1. กฎหมายเป็ นคาส่ัง ข้อห้าม หรือข้อบงั คบั ของรัฐ 2. กฎหมายเป็ นข้อบงั คบั ความประพฤตขิ องพลเมือง โดยกาหนดความ ประพฤตแิ ละการงดเว้นการกระทา 3. ผู้ใดฝ่ าฝื นกฎหมายจะต้องได้รับโทษหรือผลร้ายแรงอย่างอ่ืน กฎหมายเป็ นคาส่ังหรือข้อบังคบั ทใ่ี ช้ทว่ั ไปกบั ทุกคน ทุกหน่วยงาน ทุก องค์การ 4. โทษหรือผลร้ายอนั เกดิ จากการฝ่ าฝื นกฎหมายน้ัน เจ้าพนักงานของ รัฐจะเป็ นผู้ดาเนินการบังคบั

ความสาคญั ของกฎหมาย 1. กฎหมายเป็ นเครื่องมือในการสร้างความเจริญก้าวหน้าให้กบั ประเทศชาติ 2. กฎหมายก่อให้เกดิ ความเป็ นระเบียบเรียบร้อย ความสงบสุข และความยุตธิ รรมในประเทศ 3. กฎหมายก่อให้เกดิ สิทธิเสรีภาพและผลประโยชน์ของ ประชาชนในประเทศ

ความสาคญั ของกฎหมาย 4. กฎหมายเป็ นเคร่ืองประกนั สิทธิเสรีภาพ และผลประโยชน์ของ ประชาชนในประเทศ 5. กฎหมายเป็ นหลกั ท่จี ะให้รัฐบาลยดึ ถือเป็ นแนวทางในการ บริหารประเทศ 6. กฎหมายเป็ นกรอบแห่งความประพฤตปิ ฏบิ ัติของคนในสังคม

ที่มาของกฎหมาย กฎหมายพฒั นาขึน้ มาจากศีลธรรม ขนบธรรมเนียม จารีตประเพณี ศาสนา และกฎเกณฑ์ข้อบังคบั โดยมีวตั ถุประสงค์เพื่อธารงความ สงบเรียบร้อยและศีลธรรมอนั ดขี องสมาชิกในสังคม ทาให้การอยู่ ร่วมกนั ในสังคมน้ันเป็ นไปโดยราบรื่น โดยมีทม่ี าดงั นี้ 1. ขนบธรรมเนียม 2. การออกกฎหมายโดยฝ่ ายนิติบญั ญตั ิ 3. คาสั่งของฝ่ ายบริหาร 4. คาพพิ ากษาของศาล

ท่ีมาของกฎหมาย 5. บทความทางวชิ าการกฎหมาย 6. รัฐธรรมนูญ 7. สนธิสัญญา 8. ประมวลกฎหมาย 9. ประชามติ 10. หลกั ความยุตธิ รรม

ประเภทของกฎหมาย กฎหมายทใ่ี ช้อยู่ในปัจจุบนั นีม้ หี ลายรูปแบบหลาย ลกั ษณะ กฎหมายบางฉบับกม็ ลี กั ษณะคล้ายกนั บางฉบับกม็ ี ลกั ษณะทแ่ี ตกต่างกนั ดงั น้ันจงึ จาเป็ นต้องมีการแยกกฎหมาย ออกเป็ นประเภทๆ เพื่อสะดวกในการศึกษาค้นคว้าและง่ายต่อ การเข้าใจ ในการแบ่งแยกประเภทของส่ิงใด จาเป็ นต้องมี หลกั เกณฑ์ในการแบ่งแยก กฎหมายกเ็ ช่นกนั หลกั เกณฑ์ท่ใี ช้ แบ่งแยกกฎหมายออกเป็ นประเภทขึน้ อยู่ว่าจะยดึ อะไรเป็ น เกณฑ์ในการแบ่ง ซ่ึงมีหลายเกณฑ์ดังนี้

ประเภทของกฎหมาย 1. แบ่งตามรูปแบบ กฎหมายตาม กฎหมายไม่เป็ น ลายลกั ษณ์อกั ษร ลายลกั ษณ์อกั ษร เป็ นกฎหมายท่ีตีความตาม ใชจ้ ารีตประเพณีบรรทดั ลายลกั ษณ์อกั ษร ตดั สิน ฐานทางกฎหมายหรือคา ตามตวั บทกฎหมาย เรียกอีก พิพากษาในคดีก่อนๆในการ อยา่ งวา่ ระบบประมวล ตดั สินเรียกอีกอยา่ งวา่ กฎหมาย กฎหมายจารีตประเพณี

ประเภทของกฎหมาย 2. แบ่งตามลกั ษณะความสมั พนั ธ์ของคู่กรณี 1.กฎหมายเอกชน 2.กฎหมายมหาชน 3.กฎหมาย ระหวา่ งประเทศ กฎหมายท่ีบญั ญตั ิถึง กฎหมายที่บญั ญตั ิถึง กฎหมายที่บญั ญตั ิถึง ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ ง ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ ง ความสมั พนั ธ์ระหวา่ ง เอกชนกบั เอกชนดว้ ยกนั รัฐกบั ประชาชน รัฐกบั รัฐ

กฎหมายเอกชน กฎหมายมหาชน กฎหมายระหวา่ ง ประเทศ

ประเภทของกฎหมาย 3. แบ่งตามแหล่งกาเนิด กฎหมาย กฎหมาย ในประเทศ ระหวา่ งประเทศ เป็ นกฎหมายที่ใช้ เป็นเร่ืองระหวา่ งประเทศ ภายในประเทศมีผลต่อทุกคน หรือองคก์ รระหวา่ งประเทศ ท่ีอาศยั อยใู่ นประเทศน้นั ๆ

ประเภทของกฎหมาย 4. แบ่งตามลกั ษณะของการใช้ /หนา้ ที่ กฎหมายสารบญั ญตั ิ กฎหมายวิธีสบญั ญตั ิ กฎหมายบงั คบั ความ กฎหมายเก่ียวกบั การ ประพฤติของพลเมืองให้ ดาเนินคดี เพอื่ ใหผ้ กู้ ระทา กระทาการหรืองดเวน้ ผดิ ไดร้ ับโทษ กระทาการอยา่ งใดอยา่ ง หน่ึง



ประเภทของกฎหมาย 5. แบ่งตามลาดบั ศกั ด์ิ รัฐ พระราช พระราช พระราช พระราช กฎ กฎท่ีตราโดย ธรรมนูญ บญั ญตั ิ บญั ญตั ิ กาหนด กฤษฎีกา กระทรวง องคก์ ารบริหาร ประกอบ ส่วนทอ้ งถ่ิน รัฐธรรมนูญ

ประเภทของกฎหมาย 6. แบ่งตามสภาพบงั คบั กฎหมายแพง่ กฎหมายอาญา กฎหมายวางระเบียบ กฎหมายท่ีกาหนดลกั ษณะ เกี่ยวขอ้ งระหวา่ งเอกชน ของการกระทาที่ถือวา่ เป็น กบั เอกชน ความผดิ และมีการกาหนด บทลงโทษน้นั

กฎหมายแพ่งเกยี่ วกบั ตนเองและครอบรัว

กฎหมายแพ่ง กฎหมายแพง่ เป็นกฎหมายที่วางระเบียบความเก่ียวพนั ระหวา่ งบุคคลเก่ียวกบั สถานภาพ สิทธิ และหนา้ ท่ีของบุคคลตามกฎหมาย เช่น กฎหมายวา่ ดว้ ยนิติ กรรม เอกเทศสญั ญา ทรัพยส์ ิน ครอบครัว มรดก แต่งงาน ในปัจจุบนั กฎหมาย แพง่ และกฎหมายพาณิชยข์ องประเทศไทย ไดบ้ ญั ญตั ิรวมเป็นกฎหมายฉบบั เดียวกนั โดย - กฎหมายแพง่ เก่ียวกบั สิทธิหนา้ ท่ีเอกชน - กฎหมายพาณิชยเ์ กี่ยวกบั การคา้ และธุรกิจ

หลกั ทว่ั ไปของกฎหมายแพ่ง ประเภทของบุคคล บุคคลธรรมดา มนุษยห์ รือ คนที่มีชีวติ นิติบุคคล จิตใจเกิดข้ึนตาม ธรรมชาติ บคุ คลท่ีกฎหมายสมมติมีสิทธิและ หนา้ ท่ีตามกฎหมาย มีสิทธิเป็นเจา้ ของ จาหน่ายจ่ายโอน ทรัพยส์ ิน เป็นเจา้ หน้ี-ลูกหน้ี นิติบุคคลไม่มีสิทธิดา้ นใน ครอบครัว การสมรส การมีบตุ ร สิทธิทางการเมือง หนา้ ที่ราชการ

หลกั ทวั่ ไปของกฎหมายแพ่ง บุคคล หมายถึง สิ่งที่มีสิทธิและหนา้ ท่ีตามกฎหมาย แบ่งได้ เป็น 2 ประเภท คือ บุคคลธรรมดา กบั นิติบุคคล - บุคคลธรรมดา หมายถึง มนุษยซ์ ่ึงมีสภาพบุคคลและ สิ้นสุดสภาพบุคคลโดยการตาย “สภาพบุคคลยอ่ มเริ่มแต่เม่ือคลอดแลว้ อยรู่ อดเป็นทารกและ สิ้นสุดลงเมื่อตาย ทารกในครรภม์ ารดากส็ ามารถมีสิทธิต่างๆได้ หากวา่ ภายหลงั คลอดแลว้ อยรู่ อดเป็นทารก”

หลกั ทว่ั ไปของกฎหมายแพ่ง - นิติบุคคล หมายถึง บุคคลท่ีกฎหมายสมมติให้ มีสภาพบุคคลเช่นเดียวกบั บุคคลธรรมดา ดงั น้นั นิติบุคคลจึงมี ความสามารถเช่นเดียวกบั บุคคลธรรมดา เช่น ความสามารถในการทา นิติกรรมสญั ญา มีสิทธิในการเป็นเจา้ ของทรัพยส์ ินต่างๆ เช่น ที่ดิน เงิน มีหนา้ ท่ีในการเสียภาษี มีสภาพการเป็นเจา้ หน้ีลูกหน้ี เริ่มต้นสภาพเม่ือจดทะเบียนต่อเจา้ หนา้ ท่ี สิ้นสุดสภาพ เม่ือเลิกกิจการ หรือลม้ ละลาย

หลกั ทว่ั ไปของกฎหมายแพ่ง ส่วนประกอบสภาพบุคคล จะต้องมีสิ่งต่อไปนี้ 1) สัญชาติ คือ ความผูกพนั กบั ประเทศ 2) ชื่อ มีชื่อตวั และช่ือสกลุ 3) ภูมลิ าเนา ได้แก่ถิ่นอนั บุคคลน้ันอยู่เป็ นแหล่งสาคญั หรือ อยู่เสมอ 4) สถานะ คือ สถานะในประเทศชาติ ครอบครัวทด่ี ารงอยู่ เช่น ผู้เยาว์ ผู้บรรลุนิตภิ าวะ บดิ า มารดา บุตร 5) ความสามารถ คือ การใช้สิทธิและหน้าทท่ี มี่ อี ยู่ตามกฎหมายได้ หรือไม่เพยี งใด

ความสามารถของบุคคล ความสามารถของบุคคล หมายถึง การใช้สิทธิและหน้าที่ของ บุคคลทม่ี ีอยู่ตามกฎหมายได้หรือไม่เพยี งใด แบ่งเป็ น 1. ความสามารถของบุคคลทวั่ ไป ตามกฎหมายปกติแล้ว บุคคลทุกคนมสี ิทธิทางกฎหมายเท่าเทยี มกนั แต่ความสามารถใช้การใช้ สิทธิแตกต่างกนั ได้แก่ ความสามารถในการใช้สิทธิต่างๆ เช่น สิทธิ ในทรัพย์สิน สิทธิในการดาเนินคดี สามารถในการทานิติกรรม การ สมรส การรับบุตรบุญธรรม เป็ นต้น

ความสามารถของบุคคล 2. ความสามารถของบุคคลไร้ความสามารถ บุคคลไร้ ความสามารถ หมายถึง บุคคลใดๆ ซึ่งไม่มีความสามารถตามกฎหมาย คนไร้ความสามารถ คือ บุคคลวกิ ลจริตซ่ึงศาลได้สั่งให้เป็ นคน ไร้ความสามารถ และให้อยู่ในความอนุบาล หรือความดูแลของ ผู้ อนุบาล คาส่ังดังกล่าวให้ประกาศในราชกจิ จานุเบกษา คนไร้ความสามารถทานิติกรรมใด ๆ ถือเป็ นโมฆียะเสมอ

ความสามารถของบุคคล คนเสมือนไร้ความสามารถ คนเสมือนไร้ความสามารถ หมายถึง บุคคลทมี่ รี ่างกายพกิ าร หรือมีจติ ฟ่ันเฟื อนไม่สมประกอบ หรือประพฤตสิ ุรุ่ยสุร่ายเสเพลเป็ นอาจณิ หรือ ติดสุรายาเมา จนไม่สามารถจัดทาการงานโดยตนเองได้ และ ศาลสั่งให้เป็ นคนเสมือนไร้ความสามารถ ผู้เสมือนไร้ความสามารถ ต้องจดั ให้อยู่ในความดูแลของผู้พทิ กั ษ์ และต้องประกาศในราชกจิ จา นุเบกษา

ผู้เยาว์ บุคคลทถ่ี ูกจากดั ความสามารถได้แก่ ผู้เยาว์ ผู้ไร้ความสามารถ และคนเสมือนไร้ความสามารถ ผู้เยาว์ ผู้เยาว์ คือ ผู้ทย่ี งั ไม่บรรลนุ ิตภิ าวะ ผู้เยาว์จะบรรลุนิติภาวะต่อเม่ือ 1. อายุ 20 ปี บริบูรณ์ 2. สมรสแล้วถูกต้องตามกฎหมาย - หญงิ ชายจะสมรสได้ต่อเมื่ออายุครบ 17 ปี หรือ - เม่ือศาลอนุญาตให้สมรสในกรณอี ายุไม่ครบ 17 ปี

ผู้เยาว์ ความสามารถของผู้เยาว์ ผู้เยาว์สามารถใช้สิทธิหรือทาการใด ๆ ด้วยตนเองได้โดยไม่ ต้องขออนุญาตจาก ผู้แทนโดยชอบธรรม ดงั นี้ 1. เป็ นการท่ีทาเฉพาะตัว เช่น การสมคั รเรียนหนังสือ เป็ นต้น 2. การกระทาใด ๆ ได้ท้งั สิ้นเพ่ือเป็ นการได้สิทธิมาหรือเป็ นการ เพื่อให้หลดุ พ้น จากหน้าทอ่ี นั ใดอนั หน่ึง เช่น การรับมรดก เป็ นต้น

ผู้เยาว์ ความสามารถของผู้เยาว์ 3. ทาการใด ๆ ได้ท้งั สิ้นเพ่ือเป็ นการสมแก่ฐานานุรูปของตน และเป็ น การอนั จาเป็ นในการดารงชีพตามสมควร เช่น การซื้อหนังสือ เป็ นต้น 4. อาจทาพนิ ัยกรรมได้เม่ืออายุครบ 15 ปี 5. ผู้เยาว์ทไี่ ด้รับอนุญาตจากผู้แทนโดยชอบธรรม แล้วในความ เกย่ี วพนั ทเ่ี กยี่ วกบั กจิ การค้า กฎหมายถือว่าผู้เยาว์มีฐานะเหมือนผู้ บรรลนุ ิติภาวะแล้ว เช่น ซื้อของใช้ส่วนตวั เป็ นต้น

ผู้เยาว์ ผู้แทนโดยชอบธรรมของผู้เยาว์ คือ บิดามารดาซึ่งเป็ นผู้ใช้อานาจ ปกครองหรือบุคคลอ่ืน ซึ่งเป็ นผู้ปกครองตาม กฎหมาย ผู้เยาว์ทานิตกิ รรม ผู้เยาว์จะทานิติกรรมใด ๆ ต้องได้รับความยนิ ยอมของผู้แทนโดยชอบ ธรรมก่อน การใด ๆ ทผ่ี ู้เยาว์ทาลงไปโดยปราศจากความยนิ ยอมของ ผู้แทนโดยชอบธรรม ถือเป็ นโมฆยี ะ (โมฆยี ะ หมายถึงมคี วามสมบูรณ์ จนกว่าจะบอกล้าง)

ทรัพย์ ทรัพย์ หมายถึง วตั ถุทมี่ ีรูปร่าง เช่น บ้าน ทดี่ ิน และส่วนทไ่ี ม่มีรูปร่าง เช่น สิทธิ ลขิ สิทธ์ิ สิทธิบัตร เคร่ืองหมายการค้า เป็ นทรัพย์สินทางปัญญา ทรัพย์ แบ่งออกเป็ นประเภทของทรัพย์สิน 2 ประเภท คือ สังหาริมทรัพย์ และอสังหาริมทรัพย์ สังหาริมทรัพย์ ได้แก่ ทรัพย์ทีเ่ คลื่อนที่ได้ เช่น โต๊ะ เก้าอี้ รถยนต์ แรง ธรรมชาตทิ มี่ รี าคา เช่น กระแสไฟฟ้า พลงั นา้ ตก พลงั ไอนา้ และสิทธิใน สังหาริมทรัพย์ เช่น สิทธิบตั ร ลขิ สิทธ์ิ เป็ นต้น

ทรัพย์ อสังหาริมทรัพย์ ได้แก่ ทรัพย์ทเ่ี คล่ือนทไ่ี ม่ได้ เช่น ท่ดี นิ ทรัพย์ท่ี ตดิ อยู่กบั ดนิ เช่น สิ่งปลกู สร้าง ไม้ยืนต้น ทรัพย์ซึ่งประกอบเป็ นอนั เดยี วกบั ดิน เช่น กรวด ทราย และแร่ธาตุในดนิ รวมท้งั สิทธิอนั เกย่ี วกบั กรรมสิทธ์ในทดี่ ิน เช่น สิทธิครอบครองทีด่ นิ สิทธิอาศัย เป็ นต้น

ทรัพย์สิน ทรัพย์สิน หมายถึง วตั ถุไม่มีรูปร่างซ่ึงอาจมีราคา ทรัพยส์ ินมีความหมาย กวา้ งกวา่ ทรัพย์ การไดม้ าและสิ้นไปซ่ึงทรัพยส์ ินหมายถึงสิทธิเหนือทรัพยส์ ินหรือ เรียกวา่ ทรัพยส์ ินจะเกิดข้ึนไดก้ โ็ ดยอานาจแห่งกฎหมาย เช่น กรรมสิทธ์ิ สิทธิ ครอบครอง ภาวะจายอม สิทธิอาศยั สิทธิเหนือพ้ืนดิน สิทธิเกบ็ กิน ภาระติดพนั ใน อสังหาริมทรัพย์ ทางจาเป็น

สิทธิในทรัพย์สิน สิทธิในทรัพย์สิน สิทธิในทรัพย์สิน คือ ประโยชน์ทบ่ี ุคคลจะพงึ มพี งึ จะได้ใน ทรัพย์สินน้ัน แม้จะไม่มีรูปร่าง แต่กอ็ าจมรี าคาและยดึ ถือเอาได้ สิทธิในทรัพย์สินทส่ี าคญั ทส่ี ุด ได้แก่ กรรมสิทธ์ิ ในการเป็ นเจ้าของ ผู้ใดมีกรรมสิทธ์ิในทรัพย์สินใดผ้นู ้ันย่อมมสี ิทธิครอบครอง จาหน่าย จ่ายแจก หรือได้ดอกผลจากทรัพย์สินน้ัน หรือแม้กระท้งั การทาลาย ทรัพย์สินน้ันตามเง่ือนไขทกี่ ฎหมายกาหนดไว้ การได้มาซ่ึงสิทธิใน ทรัพย์สินมี 2 ประการ คือ ได้มาโดยบทบัญญตั ขิ องกฎหมายและ ได้มาโดยผลนิติกรรมและสัญญา

สิทธิในทรัพย์สิน 1. การได้ตามบทบัญญตั ขิ องกฎหมาย คือ การได้มาตาม บทบญั ญตั ขิ องกฎหมาย กฎกระทรวง กรมต่างๆ 2. การได้สิทธิมาโดยนิติกรรมและสัญญา เป็ นการได้สิทธมิ าตาม ข้อตกลง หรือการทาสัญญา เช่น สิทธิในการรับทรัพย์สินเป็ นมรดก ตกทอดตามพนิ ัยกรรม สิทธิในทรัพย์สินตามสัญญาซื้อขาย สิทธิใน ผลประโยชน์จากทรัพย์สินท่เี ช่าตามทก่ี าหนดไว้ในสัญญาเช่าทรัพย์ เป็ นต้น

กฎหมายทีเ่ กยี่ วกบั ตนเอง 1. กฎหมายเกยี่ วกบั ช่ือบุคคล - ชื่อบุคคล (Name) เป็นถอ้ ยคาที่ใชเ้ รียกบคุ คลเพอ่ื บ่ง บอกถึงตวั บคุ คลใด ประกอบดว้ ยชื่อตวั ช่ือรอง และชื่อสกลุ เพราะ เป็นส่ิงท่ีมีความสาคญั ในการจาแนกบุคคล ส่วนช่ือรองกฎหมาย ไม่ไดบ้ งั คบั - ชื่อตวั (First Name) เป็นช่ือประจาบุคคล เป็นชื่อ ประจาตวั ของบุคคลแต่ละบุคคล ซ่ึงไดร้ ับการแต่งต้งั จากบิดาหรือ มารดา

กฎหมายที่เกย่ี วกบั ตนเอง 1. กฎหมายเกยี่ วกบั ชื่อบุคคล - ช่ือรอง เป็นช่ือประกอบถดั จากชื่อตวั มุ่งหมายบอก ลกั ษณะหรือตวั บุคคลใหช้ ดั เจนยง่ิ ข้ึน เพราะเม่ือบุคคลเกิดข้ึนมากๆ อาจมีช่ือตวั ซ้ากนั - ช่ือสกลุ (Family Name) เป็นชื่อประจาวงศ์ สกลุ หรือประจาครอบครัวสืบเนื่องต่อมา ช่ือสุกลโดยปกติจึงเป็นชื่อ ท่ีสืบทอดกนั มาต้งั แต่บรรพบุรุษ

อารยา(ช่ือจริง) อลั เบอร์ตา้ (ช่ือกลาง) ฮาร์เกต็ (นามสกลุ ) คิมเบอร์ลีย(์ ชื่อจริง) แอน(ช่ือกลาง) โวลเทมสั เทียมศิริ (2นามสกลุ )

กฎหมายท่ีเกย่ี วกบั ตนเอง 2. กฎหมายเกยี่ วกบั บตั รประชาชน บตั รประจาตัวประชาชนเป็ นเอกสารทส่ี าคญั อย่างยิ่งที่ ประชาชนทุกคนต้องมี ซึ่งบตั รประจาตัวประชาชนจะเสดงภูมิลาเนา และทอี่ ยู่เพื่อความสะดวกในการติดต่อ ตดิ ตาม และการช่วยเหลือ ต่างๆ ได้ง่ายขนึ้

กฎหมายที่เกยี่ วกบั ตนเอง 2. กฎหมายเกยี่ วกบั บัตรประชาชน พระราชบัญญตั ิบัตรประจาตัวประชาชนพ.ศ 2526 แก้ไขเพม่ิ เตมิ (ฉบับท่ี 3) พ.ศ. 2554 กาหนดให้บุคคลสัญชาติ ไทยทมี่ ีอายุต้ังแต่ 7 ปี บริบูรณ์ขนึ้ ไปแต่ไม่เกนิ 70 ปี บริบูรณ์ต้อง มีบตั รประจาตวั ประชาชน เว้นแต่ได้รับการยกเว้นจากทางการ เช่น ภกิ ษุ สามเณร เป็ นต้น บุคคลใดไม่มบี ตั รประจาตวั ประชาชนแสดง ต่อเจ้าหน้าทจี่ ะมคี วามผดิ ระวังโทษปรับไม่เกนิ 200 บาท

กฎหมายทเี่ กย่ี วกบั ครอบครัว 1. การหม้นั การหม้นั เป็ นการทาสัญญาระหว่างชายกบั หญิงว่าต่อไปจะสมรสกัน โดย ฝ่ ายชายได้มอบของหม้นั ไว้ให้แก่ฝ่ ายหญิงเพื่อเป็ นประกนั ชายและหญงิ สามารถกระทาการหม้นั ได้เม่ือมอี ายุ 17 ปี บริบูรณ์ ถ้าฝ่ าย หน่ึงฝ่ ายใดอายยุ งั ไม่ถงึ 17 ปี การหม้นั ถือว่าเป็ นโมฆะ การหม้นั ต้องได้รับความ ยนิ ยอมของบุคคลดงั ต่อไปนี้ - บดิ าและมารดา - ผู้รับบุตรบุญธรรม - ผู้ปกครอง

กฎหมายทเ่ี กยี่ วกบั ครอบครัว 2. การสมรส การสมรส เป็ นการทาสัญญาตกลงเป็ นสามีภรรยากนั ระหว่างชายกบั หญิง การสมรสจะกระทาได้กต็ ่อเมื่อชายและหญงิ มอี ายุ 17 ปี บริบูรณ์ แต่กรณีทม่ี เี หตุอนั สมควรอาจจะขออนุญาตให้ทาการสมรสก่อนได้ บุคคลวกิ ลจริตหรือไร้ความสามารถ/ผู้ ซึ่งเป็ นญาตสิ ืบสายโลหิตกนั /ผู้รับบุตรบุญธรรมกบั บุตรบุญธรรมจะสมรสกนั ไม่ได้ ชายหรือหญงิ จะทาการสมรสในขณะทม่ี คี ู่สมรสอยู่แล้วไม่ได้ หญงิ ทเ่ี คยสมรสแล้วจะ สมรสใหม่ได้ต่อเม่ือการสมรสคร้ังก่อนสิ้นสุดลงไม่น้อยกว่า 310 วนั การสมรสจะต้อง จดทะเบยี นสมรส


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook