Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ฮีต ๑๒ คอง ๑๔

ฮีต ๑๒ คอง ๑๔

Published by 945sce00465, 2021-10-01 03:55:51

Description: ฮีต ๑๒ คอง ๑๔

Search

Read the Text Version

ฮตี สิบสอง คลองสบิ สี่ ฮีตสิบสอง คลองสิบส่ี เป็นขนบธรรมเนยี มประเพณีของชาติพันธ์ลาว ซงึ่ ร่วมถึงชาวลาวอีสานทปี่ ฏิบัติ สบื ต่อกันมาจนถงึ ปจั จุบนั ซึ่งเป็นวัฒนธรรมแสดงถงึ ความเป็นชาตเิ ก่าแก่และเจริญร่งุ เรอื งมานาน เป็น เอกลักษณ์ของชาติและท้องถ่ิน และมสี ่วนช่วยใหช้ าตดิ ารงความเป็นชาตขิ องตนอยู่ตลอดไป ฮตี สบิ สอง มาจากคาสองคา ไดแ้ ก่ ฮีต คอื คาวา่ จารีต ซ่งึ หมายถงึ ความประพฤติ ธรรมเนียม ประเพณี ความประพฤตทิ ด่ี ี และ สบิ สอง หมายถงึ สิบสองเดอื น ดงั น้ันฮีตสบิ สองจึงหมายถงึ ประเพณที ี่ ชาวลาวในภาคอีสานและประเทศลาวปฏิบัตกิ ันมาในโอกาสต่างๆทงั้ สบิ สองเดือนของแต่ละปี เปน็ การ ผสมผสานพิธกี รรมท่ีเกย่ี วกับเรอื่ งผีและพิธีกรรมทางการเกษตร เข้ากบั พิธกี รรมทางพุทธศาสนา นกั ปราชญ์ โบราณได้วางฮีตสบิ สองไว้ดงั นี้ เดือนอ้าย - บุญเขา้ กรรม เดือนย่ี - บุญคณู ลาน เดือนสาม - บุญขา้ วจี่ เดือนส่ี - บุญผะเหวด เดือนหา้ - บุญสงกรานต์ เดือนหก - บุญบงั้ ไฟ เดือนเจ็ด - บุญซาฮะ เดือนแปด - บุญเข้าพรรษา เดอื นเกา้ - บุญข้าวประดบั ดิน เดือนสิบ - บุญขา้ วสาก เดือนสิบเอ็ด - บุญออกพรรษา เดอื นสบิ สอง – บญุ กฐนิ งานบญุ ประเพณีทเี่ กี่ยวข้องกับฮตี สบิ สองท่ีสาคัญของชาวอีสาน ไดแ้ ก่ - บญุ เดือนสี่ จงั หวดั รอ้ ยเอ็ด (งานประเพณบี ุญผะเหวด) - บญุ เดอื นหก จงั หวัดยโสธร (งานประเพณบี ญุ บ้งั ไฟ) - บญุ เดือนแปด จงั หวัดอุบลราชธานี (งานประเพณแี ห่เทียนเขา้ พรรษา) - บญุ เดือนสบิ เอด็ จงั หวดั นครพนม (งานประเพณีออกพรรษาไหลเรอื ไฟ) และจังหวัดสกลนคร (งาน ประเพณีแหป่ ราสาทผึ้ง) คองสิบสี่ เป็นคาและข้อปฏิบัติคกู่ บั ฮตี สิบสอง คอง แปลวา่ แนวทาง หรอื ครรลอง ซ่งึ หมายถงึ ธรรมเนียมประเพณี หรอื แนวทาง และ สิบส่ี หมายถึง ข้อวัตรหรอื แนวทางปฏิบตั ิสิบสีข่ อ้ ดังนัน้ คองสิบสจ่ี งึ หมายถึง ข้อวัตรหรอื แนวทางท่ปี ระชาชนทกุ ระดับนบั ต้ังแต่พระมหากษตั ริย์ ผู้มีหน้าท่ีปกครองบ้านเมือง พระสงฆ์ และคนธรรมดาสามญั พึงปฏบิ ตั ิสิบสข่ี ้อ อาจสรุปได้หลายมุมมองดงั นี้ 1. เป็นหลักปฏบิ ัติกลา่ วถงึ ครอบครวั ในสังคม ตลอดจนผูป้ กครองบ้านเมือง 2. เปน็ หลกั ปฏิบัตขิ องพระมหากษตั ริย์ในการปกครองบา้ นเมอื ง และหลักปฏิบัตขิ องประชาชนต่อ พระมหากษัตรยิ ์ 3. เป็นหลักปฏิบตั ิทพี่ ระราชายึดถอื ปฏบิ ตั ิ เนน้ ให้ประชาชนปฏบิ ัติตามจารีตประเพณี และคนใน ครอบครวั ทีป่ ฏิบัตติ ่อกัน 4. เป็นหลักปฏิบัติในการปกครองบ้านเมืองให้อยูเ่ ปน็ สุขตามจารตี ประเพณี แต่ละข้อมีคาวา่ ฮีตนาหน้าดว้ ย (ทาให้เกดิ ความสบั สนกบั ฮีตสิบสอง) แต่ละคองจะมีสิบสฮี่ ีต ยกเว้น ฮตี ปีคลองเดอื น จะมีเพยี งสบิ สองฮีต ซ่ึงนนั่ ก็คือฮตี สบิ สองทก่ี ล่าวไว้แลว้ ขา้ งต้น คองประกอบดว้ ย

1. ฮีตเจา้ คองขุน 2. ฮตี ทา้ วคองเพยี 3. ฮตี ไพร่คองนาย 4. ฮตี บา้ นคองเมือง 5. ฮีตปคุู ลองย่า 6. ฮตี ตาคองยาย 7. ฮตี พ่อคองแม่ 8. ฮตี ใภค้ องเขย 9. ฮตี ปูาคองลงุ 10. ฮตี ลกู คองหลาน 11. ฮีตเถ้าคองแก่ 12. ฮตี ปีคองเดือน (ฮีตสิบสอง) 13. ฮีตไฮค่ องนา 14. ฮีตวัดคองสงฆ์ ขณะท่กี ารเปล่ยี นผ่านในวงรอบเล็กลงมาอย่างการเปลยี่ นผ่านของแต่ละเดือนน้ัน หลายประเทศอาจ ไมใ่ ห้ความสนใจ แตส่ าหรับชาวอสี านโบราณแล้วน่คี อื สว่ นหน่งึ ของวิถชี ีวิตวัฒนธรรม ซ่ึงชาวอีสานไดบ้ ม่ เพาะ ภูมปิ ญั ญา กอ่ กาเนดิ เปน็ ประเพณสี าคญั ๆขน้ึ มาและไดร้ ่วมสืบทอดกันมาอย่างยาวนาน โดยพวกเขาเรยี กขาน ประเพณเี หลา่ นีร้ วมกนั ว่า \"ฮีตสบิ สอง\" ฮีตสิบสอง หมายถงึ จารีตประเพณปี ระจาสิบสองเดือน ซึ่งถอื เป็นโอกาสดีท่ชี าวบา้ นจะได้มาร่วม ชมุ นมุ และทาบุญในทุกๆเดือนของรอบปี และถือเป็นจรรยาของสงั คม ผทู้ ี่ฝาุ ฝืนกจ็ ะเป็นผู้ท่ผี ดิ ฮตี หรือ ผดิ จารตี น่ันเอง (หลายคร้ังฮีตสิบสองมักจะกล่าวควบคู่ \"คลองสิบส่ี\" (คองสิบส่ี) ทเ่ี ป็นดงั แบบแผนหรือแนวทาง ดาเนินชีวติ (คลอง=ครรลอง) แตจ่ ะมุ่งเนน้ ไปทางศลี ธรรมมากกว่าด้านอาชีพ) สาหรับประเพณหี ลกั ๆ 12 เดือนตามฮีตสิบสองของชาวอีสานโบราณนน้ั ประกอบด้วย 1.เดือนเจียง (เดอื นอา้ ย) มกี ารประกอบพิธีบญุ เข้ากรรม ซงึ่ เปน็ เดอื นทีพ่ ระสงฆ์เขา้ กรรม (ปรวิ าสกรรม) เพอ่ื ให้พระสงฆผ์ ู้กระทาผดิ ได้สารภาพต่อหน้าคณะสงฆ์ เป็นการฝึกจติ สานึกถงึ ความบกพร่องของตน และมุ่ง ประพฤตติ นให้ถูกต้องตามพระธรรมวนิ ยั ตอ่ ไป ชาวบา้ นก็จะมีการทาบุญเล้ยี งผตี า่ งๆ บญุ เขา้ กรรม หรือ บุญเดือนเจยี ง ภกิ ษตุ อ้ งอาบตั ิสงั ฆาทิเสส ตอ้ งอยู่กรรมถึงจะพ้นจากอาบัติ ญาติ โยม พอ่ ออก แม่ออก ผู้อยากไดบ้ ุญกศุ ลก็จะให้ไปทาน รกั ษาศลี ฟงั ธรรมเกย่ี วกับการเขา้ กรรมของภิกษุ เรียกว่า บญุ เขา้ กรรม กาหนดเอาเดือนเจียงเป็นเวลาทา จะเปน็ ขา้ งขึน้ หรอื ข้างแรมก็ได้ วนั ที่นยิ มทาเป็น ส่วนมากคือวนั ขึ้น 15 คา่ เพราะเหตมุ ีกาหนดให้ทาในระหว่างเดือนเจียง จึงเรยี กว่าบญุ เดือนเจยี ง อันวา่ ประเพณีพุทธศาสนาเราไวเ้ ป็นธรรมประจาชาติ เป็นความประพฤตดิ ีเลิศลน้ พระสงฆ์สร้างก่อ บญุ คาวา่ กรรมคือกรรมของภกิ ษุสังฆาทเิ สท 13 ขอ้ นัน้ พระสงฆ์ต้องอยู่กรรม เพ่ือความบกพร่องของศีล ดงั กล่าว พระภิกษสุ งฆ์จงึ เขา้ กรรมเพื่อชาระความเศร้าหมองพวกน้ี แลว้ จะเจริญขึ้นกว่าเดมิ

ประเพณบี อกไว้ถือว่าเป็นสาคัญ ขึ้น 15 คา่ เดือน 3 กาหนดการไว้หรือวา่ วันเพญ็ เดือนอา้ ย ทาบญุ ตักบาตร เรยี กว่าบญุ เดือนอ้าย วิธีเข้ากรรมคือจดั เตรยี มเครื่องใช้ทจี่ าเป็น นา้ กินนา้ ใช้ให้เพียงพอ เลือกท่สี งดั บ่มภี ิกษมุ ากดว้ ยคน น้อยบ่หลาย ทาเป็นทีเ่ ขา้ เป็นศาลากลางป่า จดั เป็นกระทอ่ มน้อยสาหรับอยู่ผเู้ ดยี ว แล้วกเ็ ตรยี มห่มผ้าเฉลยี ง บา่ ทง้ั สอง ยอมือพบกล่าวยอมาลเี ว้าวา่ ปรวิ าสเขา้ กรรมปลดแอกครนั้ อยูป่ ริวาสครบแล้วขอมานัต ๖ ราตรี คร้นั ว่าราตรีครบก็จรงิ ขออพั ภาน ต่อสงฆ์องคเ์ จา้ คร้นั วา่ ขออพั ภาน แล้วเปน็ คนใสสะอาด หมดเวรกรรมมายตุ ้อ ใจนน้ั ซ่มุ เยน็ สาหรับฆราวาสนัน้ ให้ถวายจตุปจั จัย ไทยธรรม ครน้ั ว่าหมดกรรมแลว้ บุญกุศลกน็ าสง่ ให้ไดบ้ ุญ คน โบราณถอื วา่ เป็นส่ิงทนี่ ่ายกย่องสรรเสริญ 2.เดือนย่ี ในฤดหู ลังการเกบ็ เกีย่ วชาวบา้ นจะทาบญุ คณู ขา้ วหรอื บญุ คูณลาน โดยนิมนต์พระสวดมนต์เย็น เพ่ือ เปน็ มงคลแก่ขา้ วเปลอื ก รุง่ เช้าเมื่อพระฉนั เชา้ แลว้ จะมกี ารทาพธิ ีสู่ขวัญข้าว นอกจากนี้ชาวบา้ นจะเตรยี มเกบ็ สะสมฟนื ไว้หงุ ต้มทบ่ี ้าน บุญคนู ขา้ วหรอื บุญคูนลาน สาหรบั ตีหรอื นวดข้าว เรียกวา่ ลาน การเอาข้าวทต่ี แี ลว้ มากองให้สูงข้นึ เรียกว่าคนู ลานหรอื ที่เรยี กกันวา่ คนู ขา้ ว ชาวนาที่ทานาได้ผลดี อยากได้กศุ ล ใหท้ านรักษาศลี เป็นต้นกจ็ ัดเอา ลานขา้ วเป็นสถานท่ที าบุญ การทาบุญในสถานที่ดังกล่าวเรียกวา่ บุญคนู ลานกาหนดเอาช่วงเดือนยี่เป็นเวลา ทาบญุ จงึ เรียกว่าบญุ เดอื นยี่ อันวา่ การคูณลานน้นั คือ คูณข้าวเปลือก ทาบุญในลานข้าวเปลอื กเพื่อจัดเพมิ่ บญุ นน้ั ให้มากมลู เดอื น ปีท่ที าน้ันเปน็ สาคัญประจาชาติ เรยี กวา่ บุญเดอื นยี่ ตราบเท่าวนั นี้กล่าวเถงิ มลู เหตุนน้ั มปี ระวัติกลา่ วในคัมภรี ์ในสมัยองคก์ สั สษะโปรดคนคราวน้ัน ยงั มสี องพ่นี ้องเป็นพวกชาวนา รวมกนั ทาไรนาผาท้าง พอเม่ือเวลาขา้ วเป็นน้านมพอแก่ นอ้ งใคร่คดิ ทาข้าวมธปุ ายาสน้ันถวายใหแ้ ก่พระองค์ ชวนพีช่ ายเหลา่ ไดแ้ บ่งที่นากัน นอ้ งจึงมกี รรมสิทธ์ิทอดทานทาได้ มากท็ านานข้าวในนาขา้ ว เถิง ๙ เท่ือ คือ เวลาข้าวเป็นนา้ นมนั้น คร้ังหนึ่งเปน็ ขา้ วเหมา้ ก็จัดทานทอดให้พระสงฆ์เจา้ ดั่งเดิม ครงั้ ท่ีสามนนั้ เถิงเวลาเกบ็ เกีย่ ว ครงั้ ที่ ๔ จัดตอกมัดข้าวมาไวใ้ ส่ลาน คร้งั ที่เจด็ รวมเข้าเปน็ ลอมไวก้ ่อน ครงั้ ท่แี ปดทาการฟาดหรอื วา่ นวด ขา้ วกองไว้อย่ลู าน ครั้งทเ่ี ก้าขนเอาขึน้ ใสย่ ังปิดแจมประตูอัด การทาทานมาเถิงครบไปทง้ั ๙ ถวายใหอ้ งคเ์ จ้าสัพพญั ญูตนเองกสั สปะพระพุทธเจ้าคราวนน้ั เพยี งจริง น้องชายน้อยน้นั ปรารถนานายยอดอรหนั ต์ ผลบญุ กุศลสง่ ตามมาให้ในศาสนาพระโคดมน้เี ขาลงมาเกดิ พระโค ดมแตค่ ราวกาลน้นั ท้ังเป็นพารหมณ์ดีไดเ้ ฉลียวเปรียวฉลาด คาดการณ์ได้ลว่ งหน้าว่าเป็นเจา้ หนอ่ พุทธโธ ทา่ น ก็ไดร้ บั เอตทัคคะไดเ้ ป็นยอดรัตตัญญู ผลบุญกศุ ลนาปรางนั้น ส่วนวา่ พี่ชายนัน้ ได้ถวายขา้ วในนาครง้ั หน่ึง ผลก่อสร้างบุญนั้นต่อมา ในชาติน้ีได้มาเกดิ เปน็ สุภัททะ ปริพาชกบ่มีได้พบพุทธองค์เนินชา้ จนถงึ ปรนิ ิพพานแลว้ ได้เคยมาฟังเทศน์ จนไดเ้ ป็นพระอนาคามีองคส์ ดุ ทา้ ย แท้ๆ บญุ นน้ั สง่ นา การถวายทานนีถ้ อื วา่ มีอานิสงส์มาก จึงถือเป็นประเพณบี อกไว้เฮาได้อ่านดู อนั ว่าวธิ ีทานั้น จัดเอาลานเป็นทอ่ี ยู่ บอกกล่าวญาติพี่น้องมาร่วมก่อบุญ นมิ นตพ์ ระสงฆไ์ ดต้ าม ศรทั ธา สามารถจัดส่ิงของหม้อนา้ มนต์ ใส่น้าหอมตั้งไว้ตามไท้ธปู เทียน คร้นั ถวายทานเสรจ็ แล้วสงฆ์พรม น้ามนต์ ฝงู วัวควายและกุ้มข้าวพระซ้าสวดตาม บญุ คมุ้ ประจา หมบู่ ้านนัน้ จดั คุ้มใหญ่เปน็ ประจา แต่ละเรือนชานเหล่ารวมเปน็ คมุ้ พิธีทาบุญมัน้ จัดปราคนละแหง่ ตา่ ง กจ็ ดั ของทานมขี ้าว นา้ เอาไว้สู่เรอื น แลว้ ไปรวมกันเข้าทาบญุ ร่วมตลอด ในเวลากลางคืนจัดปราคนละแหง่ ตา่ งกจ็ ดั ของทานมีข้าวนา้ เอาไว้ส่เู รอื นแล้วไปรวมกันเข้าทาบญุ ร่วมตลอด ในเวลากลางคืนจดั ธูปเทียนดอกไม้ มาไหวท้ า่ นพระสงฆ์ แลว้ เหล่ามีใจพร้อมรวมกันฟงั เทศน์มีมหรสพพรา่ พรอ้ มงนั ซ้องสน่ันเมือง ตื่นฮงู เชา้ ตัก บาตรถือศลี ถวายอาหารพระสงฆจ์ บกระบวนถ้วน

บุญคุ้มขา้ วใหญ่ อันวา่ บุญแนวน้นี าเอาขา้ วเปลือกมารวมกันเข้าแล้วถอื ศีล ฟังเทศนท์ ีศ่ าลากลางหมูบ่ ้าน โรงกวา้ ง สะดวกดี กลางคืนนนั้ ถอื ศีลฟงั เทศนม์ มี หรสพพรา่ พรอ้ มเพยี รสรา้ งก่อบุญหลายครัวเรือนไดร้ วมกนั เอา ขา้ วเปลือก ถือวา่ เปน็ บญุ มากลน้ โบราณเจา้ เหล่าถือ ขา้ วเปลอื กน้ันเอาไปจา่ ยเป็นเงนิ มาทาสาธารณกุศล กอ่ การได้ไว้หลายประการลน้ บญุ มีเหลอื มาก ควรท่จี าจือไว้โบราณเจา้ กล่าวสอน 3.เดอื นสาม ในมื้อเพ็งหรอื วันเพญ็ เดือนสาม จะมีการทาบญุ ข้าวจีแ่ ละบุญมาฆบชู า การทาบุญขา้ วจจ่ี ะเร่มิ ตอนเช้า โดยใช้ข้าวเหนียวป้นั ใส่นา้ อ้อยนาไปจ่ีบนไฟอ่อนแล้วชบุ ด้วยไข่ เม่อื สุกแล้วนาไปถวายพระ บุญขา้ วจ่หี รอื บุญเดือนสาม ขา้ วเหนยี วป้นั โรยเกลอื ทาไข่ไก่แลว้ จีไ่ ฟใหส้ ุก เรียกวา่ ขา้ วจี่ การทาบุญให้ ทานมีขา้ วจี่เป็นตน้ เรยี กว่าบญุ ข้าวจี่ นยิ มทากันอยา่ งแพร่หลาย เพราะถือว่าได้กุศลเยอะ ทาในชว่ งเดือนสาม เรียกวา่ บญุ เดอื นสาม เอาขา้ วมาป้นั ทานา้ มันไข่ไก่ ไฟแดงๆอย่แู ล้วเอามาปน้ั จีลง บญุ ข้าวจีนเ้ี รยี กว่าบญุ เดือนสาม มีประวตั ิ มาแต่พุทธกาลคราวพุ้น ในพระธรรมมาเวา้ บาลมี ีบอกวา่ มนี างปุณณะทาสิเจา้ เป็นสาวใช้บา่ ว จดั แปง้ สาลีเป็น แป้งจี นงั่ เฝ้าเรือนเจ้าบา่ วนาย คดิ อยากจะถวายขา้ วสาลแี ปง้ จีก็กลวั ว่าพระพุทธเจา้ สโิ ยนทงิ้ บ่อยากฉัน พระ พุทธองคท์ รงไดโ้ ดยพระวรจิต จงึ ไดว้ านอานนทป์ ูอาสนะลงบนพืน้ พออานนท์ปูแล้วพระองค์เสด็จอาสน์ นาง ปณุ ณาทาสปิ ราบปลืม้ ดแี ท้มากหลายจึงถวายไทพ้ ุทธบาทโคดม พระองคจ์ ึงทรงเทศนาว่าเป็นทานเยยี่ ม จนกวา่ ปูณณะทาสีได้โสดาคุณพเิ ศษ เป็นพระอรยิ ะบคุ คลเพราะไดท้ านแปง้ จผ่ี ง เหตดุ ังน้ีเฮาพวกชาวนาจึงพา กนั มาทาบุญด่ังปุณณะทาสีสู่ปีบม่ เี วน้ มีพธิ ีทานัน้ บ่มีการลาบาก หาหลัวฟืนท่อนไมม้ าไวก้ ่อไฟ แลว้ เหนยี วมาปัน้ เป็นแผน่ ๆ เอาเกลือโรย หนอ่ ยแลว้ ทาด้วยไขไ่ ก่ นม เอานา้ ออ้ ยใส่ดว้ ยหวานอ่อยหนอ่ ยพอดี เอาลงไปอง่ั ไฟจ่ีพอสกุ ได้ท้ังนิมนตเ์ อาได้ พระสงฆ์มารวบสวดอาราธนาศลี รบั ศีลเสร็จเรยี บร้อยแลว้ ถวายข้าวจี ถามคาถวายขา้ วจ่นี ั้นมแี บบตามฉบบั แลว้ จึงนาไปถวายสงฆ์ใส่ลงในบาตร พระสงฆ์ท่านทาพธิ มี นตส์ ตู ร ฉนั เรยี บร้อยแล้วลงให้รดน้ามนต์ แล้วก็ฟงั เทศนไ์ ด้ฉลองขา้ วจี่ตามประเพณี ท้ังหนังสือลานทิ านท่ีญาตโิ ยมขอไว้ หนังสือลาน้นั เป็นการฉลองเทศน์ เรยี กว่าบญุ เดือนสามแท้ๆ บ่มีไดเ้ ปล่ยี นแปลง บญุ มาฆะบชู า คร้นั เมื่อมาฆะฤกษเ์ ดือนสามล่วงมาเถิง เป็นเวลาทาบุญมาฆาแตโ่ บราณนนั้ ฝงู เฮา ดอกไมฝ้ งู เทียนทั้งธปู เข้าวัดอยใู่ กลบ้ า้ นประสงคบ์ า้ นประสงคต์ งั้ ต่อบุญ ทามาฆะบูชาขึน้ ยอมือล้นเกษ ระลึก เถิงพระพุทธเจา้ คราวน้นั แต่เดิม มูลเหตขุ องมาฆะบชู า วนั เพญ็ เดอื นสามนนั้ เป็นวนั สาคัญพุทธศาสน์ เป็นวันที่พระภิกษุอรหันต์ 1,250 องค์ มาพรา่ พร้อมบ่ มไี ดน้ ัดหมาย ณ เวฬวุ ันมหาวหิ ารน้นั ประชุมสงฆ์หมู่ใหญ่แสดงโอวาทปาฏโิ มกข์ไวอ้ งค์ น้นั 4 ประการ องค์ 1 คอื 1. พระสัพพะปขปัสสะ อกรณัง อยา่ ทาชั่วหลายประการเปน็ บาป 2. กุสลสั สู่ปสมั ปทา ทาแตค่ วามดีไวเ้ ปน็ บุญอนั ประเสรฐิ 3. สจิตตปรโิ ยทปนัง ชาระหวั ใจสะอาดแลว้ คงไดอ้ ยู่เย็น องค์ 2 น้ันล้วนเป็นพระอุปสมบทจากพระพทุ ธเจา้ มาถ้วนคู่องค์ องค์ ๓ นัน้ บม่ กี ารนดั หมายไวม้ าเองทุกรปู องค์ 4 น้ัน มาพร่าพร้อมวนั นั้นสู่องค์ ทงั้ เปน็ วันเพญ็ เดือนสามแทบ้ ม่ ีเหลือเศษ แสงตะวันส่องแจ้งแสงเศร้า แมน่ บ่มี จัดเปน็ จาตรุ งค์สนั นิบาตไว้ประชุมใหญข่ องสงฆ์ โบราณถือวา่ เพ็ญเดือนสามกอ่ บญุ กศุ ล สรา้ ง ทา พธิ นี น้ั จัดเตรียมน้าด่ืมท้ังนาใช้ไว้อาสนะ ตอนเวลาเชา้ ทาบุญตกั บาตร องั คาสพระภกิ ษสุ งฆ์พร่าพร้อมฟงั เจ้าเทศนา ตอนเวลาเยน็ นั้นเวยี นเทียนรอบโบสถ์ จดุ เทยี นดอกไมบ้ ูชาแลว้ เหลา่ เดนิ เวลาเวียนเทยี นนนั้ คา

บชู าต่างๆตอ้ งกล่าว จะเอาอิตปิ ิโส สวขาโต สปุ ฏปิ ันโนกไ็ ด้ ตามแท้แตใ่ จ ก่อนจะเวยี นเทียนกับธปู ยนื ประณมมอื พร่าพร้อมฟงั เจ้าอ่านคา ปากก็ต้องเวา่ ต่อประธานสงฆ์ 4. เดอื นสี่ ทาบุญพระเวส ฟังเทศนม์ หาชาติ ในงานบุญน้ีมกั จะมผี ู้นาของมาถวายพระ ซ่งึ เรียกว่า \"กัณฑ์ หลอน\" หรือถ้าจะถวายเจาะจงเฉพาะพระนักเทศน์ทต่ี นนิมนต์มาก็จะเรียกว่า \"กณั ฑจ์ อบ\" เพราะต้องแอบซมุ่ ดู ให้แนเ่ สียกอ่ นวา่ ใช่พระรปู ท่จี ะถวายเฉพาะเจาะจงหรือไม่ บุญเผวสหรือบญุ เดอื นส่ี บญุ ที่มีการเทศน์พระเวส หรอื มหาชาติ เรียกวา่ บญุ เผวส (ผะ-เหวด) หนังสือมหาชาตหิ รอื พระเวสสนั ดรชาดกแสดงถงึ จริยวตั รของพระพุทธเจา้ คราวพระองค์เสวยพระชาตเิ ปน็ พระ เวสสนั ดร เปน็ หนงั สือเรอื่ งยาว 13 ผูก (13 กัณฑ)์ และนิยมบวชภิกษุใหมใ่ นเดือนนีด้ ว้ ยถือว่าได้กุศลแรงบุญ เผวสนิยมทากนั ในช่วงเดือนส่ี เวสสนั ดรชาดกนัน้ เรียกวา่ เพระเวสสันดร เคยทาประจาเดือนสี่ ภาคอีสานนยิ มไว้หรือวา่ บญุ เดือนสี่ แทม้ ีประจาไว้แตน่ าน เป็นชาดกกล่าวเร่ืองเทศชาติชาดกเปน็ บารมีสุดเพม่ิ มลู เอาไว้มีทั้งกาหนดใหท้ าบญุ มหาชาติ ไวใ้ นเดอื น 4 นัน้ เปน็ แทแ้ นน่ อน การบุญใหญ่นท้ี าระหวา่ งยามหนาว ยามบ่มกี ารงานก่อน แต่ ทาบุญไวเ้ ปน็ การได้ทาบุญคร้ังใหญ่ ทา่ นวา่ พบพระศรีอาริยะเมตไตร เพราะฟังลามหาชาติน้เี ปน็ ได้แน่นอน ท้ังเมื่อได้ฟังแล้วจาจือปฏบิ ตั ิศลี ทานธรรมด่ังพระองค์มีไว้ ก็จักเถิงหนทอ้ งนริ ะทานหมดชาติ บ่ต้องมาเวียนว่าย ตายเกิดแทเ้ มืองนั้นอยู่เกษม เหตุใดจงึ ทาบญุ พระเวส ในคมั ภีร์กล่าวอา้ งต้นเหตกุ ารณท์ าในกาลคร้ังหนง่ึ นั้น พระเถระเจา้ องคเ์ อกอรหันต์ขน้ึ ไปสวรรคพ์ ิภพ เขตพระอินทรอ์ งคล์ า้ ท่านก็ประสงค์ไปไหว้จุฬามณีองค์พระธาตุ ไดพ้ บองค์เอกเจา้ ศรีอารยิ ะทวยเทพ อยู่ สวรรค์ชัน้ ฟ้าคราวนน้ั ส่งั มาว่าบุคคลใดคดิ อยากพบยอดไทอ้ งคเ์ อกพระศรีอารย์ ใหพ้ ากันทาบุญเทศน์ เวสสันดรเอาไว้ฟงั ธรรม 13 กัณฑ์ ได้วนั เดยี วให้หมดผูก อยา่ พากนั ขี้ครา้ นจะเหน็ หนา้ แห่งเรา ทงั้ อย่าให้ทา อนันตรยิ ะกรรมรายอนั มีผลเปน็ บาป 1.) อย่าทาลายสงฆ์ใหแ้ ตกกันแท้หมุนวาย 2.) อยา่ ทาการฆ่าบิดา มารดา 3.) บไ่ ด้ทาโลหิตตุบาทแก่พระพุทธเจา้ องค์ใดบ่มี 4.) บไ่ ดม้ ีการฆา่ พระอรหันตต์ นแหง่ ประเสริฐ แล้ว ใหฟ้ ังธรรมเรอ่ื งพระเวสแลว้ บม่ ีแคลว้ คลาดเถิงทา่ นเอย ทาสลากนมิ นต์ พอเม่ือตกลงกันพร้อมสาธกุ ารทกุ ฝ่าย จัดแบ่งกัณฑเ์ รียบร้อย หามพี ักเชา้ พร้อมกนั จัดทาซุม้ สถาน เนาว์นอนนง่ั แล้วจงึ บตั รด้วยตดิ ใบลาน พร้อมพรา่ ว่าวุฒธิ รรมคาฝงู ขา้ ทง้ั หลาย ภายในมอี าชญธรรมเปน็ เค้า ภายนอกมผี ้ใู หญ่บา้ นเป็นประธาน พวกขา้ จดั การใหม้ กี ารฟังธรรมมหาชาติ ในวนั เดือน ปี กาหนดในห้ันสู่ แนว บอกวนั แสดงให้ฟงั ธรรมแจง้ เม่ือญาตโิ ยมจักไดม้ าพรา่ พร้อมสมสรา้ งก่อบุญปลูกปะราใหก้ วา้ งพออยู่ท้ัง โยม น้ีเป็นกจิ การบญุ หมูเ่ ราเคยสรา้ ง การเตรียมเคร่ืองสักการะ เครือ่ งสกั การะนน้ั มีข้าวตอกดอกไม้ธูปเทียนหอม อย่างละเปน็ 1,000 พนั ใส่ในศาลากว้าง มธี งอนั ใหญไ่ ว้ 7 อนั ประดับแต่งมีรปู ม้าลายเป็นประวตั ิพระเวสเจ้าคราวคร้ังแตห่ ลงั มที ง้ั หม้อน้ามนต์ 4 หน่วย ทั้ง หอพระอุปคกุ เฝา้ ไว้รักษาเจ้าหมมู่ าร เพราะงานบุญเฮาสร้างเป็นผลบุญใหญ่ มักจะมมี ารผจญเหตฮุ ้าย ทาให้ ผ่านฟังหออุปคุตน้ันปลกู สงู ได้ เพียงตายืนอยู่ เอาไม้ไผ่เปน็ ลามาตัดทอนด้ามทอ่ กัน ฝาขัดแตะแจ้มสามดา้ น ท่อกัน หาซองใสไว้เชน่ บาต กระโถน กานา้ ท้ังจวี รผืนหน่ึง ทงั้ ไมเ้ ท่าเอาไว้ท่ีหอพอเถิงเวลาลา้ สามโมงตอน

บ่าย จดั เครือ่ งสักการะพราพร้อมเชิญเจา้ สูห่ อ สมมติวา่ ท่านเนาว์อยูบ่ ่มิไกล ตามเร่ืองเดิมกล่าวมาเอาไว้ ตาม ประวตั ิได้เป็นเชื้อแถวแนวสค เป็นผมู้ ญี าณแก่กลา้ เนาวค์ ้างระหวา่ งมหาสมุทรพุ้น ตามตานานมกี ล่าว คราว อโศกมหาราชเจา้ รวม-กลาง สร้างก่อบุญ เกบ็ พระธาตุมารวมอยู่หนเดยี ว มาบรรจรุ วมกนั แหง่ เดยี วเอาไว้ จงึ เกรงกลัวไว้ศัตรูของพระพุทธบาท จงึ นิมนต์พระอปุ คุตอยู่ใตน้ า้ มาไว้ดงั่ หวงั ท่านอุปคุตนั้นจบั พระยามารไดเ้ อา หนังหมามาผูก หนงั หมาเนา่ ผกู คลอ้ งคอไวบ้ ่ปล่อยไป ไผกบ็ ่อาจไดห้ มดสามารถวชิ ามารจึงเอาหนีไปไกลยอด เขาสเุ มรพุ้น การบญุ เจ้าองค์พระยาอโศกราช จงึ สาเร็จลลุ ่วงไปได้ดั่งยาม คาเชิญพระเถรอปุ คตุ คาเช้ือเชญิ วา่ อกุ าสะ อุกาสะ ฝูงขา้ ท้งั หลายภายในมีพระสงฆเ์ ป็นเค้า ภายนอกมีออกตนเป็น ประธาน พากนั จัดเครอ่ื งสักการะมากราบไหว้ แก่ยอดให้พระอุปคุตเถร ตนมีฤทธิ์องอาจ นิรมติ รประสาท แกว้ กุฏิ กลางนทีแมน่ า้ ใหญ่ มกั ใครด่ ว้ ยพรหมจารี อยู่สขุ ีบ่โศกเศรา้ บัดนี้ฝูงขา้ พเจา้ ท้ังหลาย พร้อมกนั ฟัง ยงั ลาพระเวสในบว่ งเขตอาราม ขอเชิญเจา้ กุตทรงคุณธรรมมาก เปน็ อาชแพ้แก่ผิในจักรวาฬ ขอจงไปปราบ มารทง้ั 5 อนั จะมาเบยี ดเบียนฝูงข้าท้งั หลาย ใหห้ ายโพยภัยอนั ตรายทกุ ส่า พร้อมพรา่ ถว้ นทุกประการ กช็ า้ เทอญ พอแลว้ ตฆี ้องป่าวเดนิ ถือของไตรจวี รท้งั บาตรเวยี น 3 รอบแล้วลาล่าต่าวคืน เอาสิง่ ของถือนัน่ วางใน หอไวก้ ่อน เถงิ เวลาเพลจังหันกต็ อ้ งจดั พร่าพรอ้ มไปไว้ท่หี อครน้ั ว่าเสรจ็ สรรพแลว้ รวมกนั ไปแห่ กาลแห่พระเวสเข้าเมือง เวลาได้เถิงบ่าย 4 โมงเยน็ ทางอารามตกี ลองบอกเตือนโยมไว้ ทางวดั จัดเอาได้กลองตีธรรมมาสน์ ใส่ พระพทุ ธรูปดว้ ยพระสงฆ์ซ้าน่ังนาพระสงฆ์ เทศนาเชญิ พระเวส เทศน้อยบนธรรมมาสน์เสยี งระหอ้ ยอ่อนหู ว่า เชิญยอ เชญิ พระคืนเมื่อหอ้ งเสวยเมืองเก่า ทง้ั มะทีแจม่ เจ้ากุมารน้อย หน่อเมือง อยา่ ได้เคอื งคาร้อนนอนดง พงปา่ ทั้งกัณหาชาลีสองหน่อเจา้ เชิญเข้าสู่เมือง แต่เทอญ การเทศนาน้ันพอไปเถงิ พรอ้ มพรา่ พากนั รับศลี ก่อนแล้วพระสงฆ์ข้ึนเทศนา ขากลบั มาเถิงห้องอาราม หลวงวดั ใหญ่ เวยี นสามทรี อบศาลา จึงแลว้ ยอขน้ึ ส่โู รง เป็นอนั เสรจ็ กระบวน รอการฟงั เทศน์ตนื ฮู่งพระสงฆ์ ขน้ึ เป็นเทศนา ในวันเดือนเดียวแท้จบลามหาเวสส์ มกี ณั ฑ์หลอนแห่ลน้ หลายลา้ หลากกระตา ยถู า่ งทาบญุ สรา้ งศลี ทานเททอด ชาติหน้าพุ้นบญุ ลา้ มากมาย จกั ได้พบพระเจ้าตนเอกพระศรีอารย์ ข้าขอยอมือนบฮอด บุญของเจา้ ทาบุญขา้ วพันก้อน เอาขา้ วเหนียวมาปั้นเปน็ กอ้ นกลมๆ เอาไมเ้ สียบ ทาใหไ้ ด้มากลน้ พันก้อนจึงเซา แลว้ จึงเอาไปไหวค้ าถา พันอนั มีคา่ เรียกว่าคาถาข้าว พนั กอ้ นโบราณเคา้ เวา้ ต่อมา พอเม่ือการกระทาเสร็จแล้วเถงิ กลางคนื ตี 4 พรอ้ ม กนั โฮมแห่ไดไ้ ปเขา้ สู่อาราม พอเถงิ วัดจอมเจา้ ศาลาธรรมพักจอด หวั หน้าประณมมอื พรา่ พร้อมพาเวา้ กลา่ วจา ว่า นะโม นะโม จอมไตรปิฎกยกออกมาเทศนาธรรม ขันธีหมากเบงิ งามสะพาท ขา้ วพนั ก้อนอาจบูชา ข้า บูชาสามดวงยอดแกว้ ขา้ ไหว้ถวายอาตมบ์ ูชาสาธุ วนเวียนเว้าคาเดมิ 3 รอบ แลว้ จึงขึ้นศาลากวา้ งช่วงสงฆ์ คาอาราธนาพระเวสส์ ดังนี้ สณุ าตุ โภนโต เย สงั ฆา ดรู าเทพเจ้าทั้งหลายอันยายยังอยู่ ทกุ หมู่ไม้ไพรพะนอม ทุกเหวฮอมฮาว ป่า ทกุ ประเทศท่าฮาวเขา ทุกแถวเถาว์เถอื นก้า ทกุ ท่าน้าและวังปลา พรรณนาฝงู แผดและผอี นั มีใจโหดร้าย โทสา จงให้เจา้ ทง้ั หลายปะละใจอันเปน็ บาป ใหค้ ่อยโสภาพ เง่ยี โสตฟังธรรม เดาดาจาจอื ไวเ้ ปน็ ประทีปใต้ ฮอดหลผี ี ทางเหนือมผี าใดผาด่าง ทางข้างซ้ายกรุงศรีอยธุ ยา ทางฝา่ ยเหนือมีแดนแถวเปน็ เขตทุกประเทศดา้ ว อันอยหู่ ้องเทศพระสธุ า กับนางธรณที ง้ั แมน่ ้าเป็นผคู้ า้ ฝงู หมปู่ าณา ฝูงหมเู่ ทวดาเจา้ ท้ังหลาย ภายบนมีพระยา อินทร์พระยาพรหม จงลงมาโมทนาซ่ึงธรรมอนั ฝูงข้าทง้ั หลาย ภายในมมี หาราชครเู ป็นเค้า ภายนอกมีมหาราช ตนเปน็ อาชญ์ในเมืองแกว้ ราชอบุ ล กบั ท้งั กัลยาเมยี มิ่งลูกแกว้ ก่ิงชายา กบั ทงั้ ราชบิดามารดาพอ่ แม่ เฒ่าแก่ พรอ้ มกนั มาท้ังราชาและอปุ ราช ท้ังนักปราชญ์และอาจารยใ์ นคามชาวนิคมบ้านนอก อันอยยู่ งเขตเมืองแกว้ ราชอุบล ชวนกนั มาพร้อมแพง่ แตง่ เครื่องไหว้บชู า สหัสสาหลายปีมีมากดอกอบุ ลหลากพอพ้น บัวแดงบาน

ไขกาบ ดอกฝักตบอาจเขียวนีล ดอกกลางของหลายบน่ ้อย พันหนง่ึ ค่อยขวนขวาย ชอ่ ธมยายสะพาส ข้าว พันก้อนอาขบูชา 5. เดือนหา้ ประเพณีตรษุ สงกรานต์หรือบญุ สรงน้า หรือบุญเดือนหา้ ซ่งึ มีขึ้นในวนั ขนึ้ 15 ค่า เดอื นหา้ และ ถอื เป็นเดือนสาคัญ เพราะเป็นเดอื นเริ่มต้นปีใหมไ่ ทย การสรงนา้ จะมที ้งั การรดน้าพระพุทธรูป พระสงฆ์ และ ผ้หู ลกั ผู้ใหญ่ ดว้ ยน้าอบนา้ หอม เพื่อขอขมาและขอพรตลอดจนมีการทาบุญถวายทาน บุญสรงนา้ หรอื บุญเดือนหา้ เมอื่ เดือนหา้ มาถึงอากาศก็ร้อนอบอ้าวทาให้คนเจ็บไข้ได้ปุวย การอาบน้า ชาระเน้ือกายเป็นวธิ กี ารแก้ร้อนผอ่ นให้เปน็ เย็น ให้ไดร้ บั ความสขุ กายสบายใจ อีกอย่างหนงึ่ มเี ร่ืองเลา่ วา่ เศรษฐีคนหน่งึ ไมม่ ลี ูกจึงไปบะบน(บนบาน)พระอาทติ ย์และพระจนั ทร์เพื่อขอลูก เวลาลว่ งเลยมาสามปีกย็ ังไม่ได้ ลูกจึงไปขอลกู กบั ต้นไทรใหญ่ เทวดาประจาต้นไทรใหญ่มคี วามกรุณาได้ไปขอลูกนาพระยาอินทร์ พระยาอินทร์ ให้ธรรมะปาละกมุ าร (ทา้ วธรรมบาล) มาเกิดในท้องภรรยาเศรษฐี เม่อื ธรรมะปาละประสตู ิเจรญิ วัยวยั ใหญ่ขึน้ ไดเ้ รยี นจบไตรเภท เปน็ อาจารย์สอนการทามงคลแก่คนท้งั หลาย ครง้ั นัน้ ทา้ วกบิลพรหมลงมาถามปัญหา ธรรมะปาละกมุ าร (ถามปญั หาสามขอ้ คือ คนเราในวันหนึ่งๆ มีศรอี ยู่ที่ไหนบ้าง ถ้าธรรมบาลตอบไดจ้ ะตดั ศีรษะตนบูชา แตถ่ ้าตอบไม่ได้จะตดั ศีรษะธรรมบาลเสีย โดยผลดั ใหเ้ จ็ดวัน ในชั้นแรกธรรมบาลตอบไมไ่ ด้ ใน วันท่หี กธรรมบาลเดนิ เขา้ ไปในป่า บงั เอิญไดย้ ินนกอนิ ทรยี ์สองผัวเมียพดู คาตอบให้กนั ฟัง ตอนเชา้ ศรีอยู่ทีห่ นา้ คนจึงเอานา้ ลา้ งหนา้ ตอนเชา้ ตอนกลางวนั ศรีอยทู่ ี่อกคนจึงเอาน้าหมดประพรหมหน้าอก ตอนกลางวนั และ ตอนเย็นศรีอยทู่ เ่ี ท้า คนจึงเอาน้าลา้ งเทา้ ตอนเยน็ ธรรมบาลจงึ สามารถตอบคาถามน้ีได้) สญั ญาว่าถา้ ธรรม บาลตอบปญั หาจะตัดหวั ของตนบชู า ธรรมบาลแก้ไดเ้ พราะศีรษะของกบลิ พรหมมีความศกั ด์ิสทิ ธิม์ าก ถ้าตกใส่ แผน่ ดนิ จะเกิดไฟไหม้ ถ้าทงิ้ ขนึ้ ไปในอากาศฝนจะแลง้ ถา้ ท้ิงลงมหาสมทุ รน้าจะแห้ง ก่อนตดั ศีรษะกบิลพรหม เรียกลูกสาวทั้งเจด็ คนเอาขันมารองรบั แห่รอบเขาพระสเุ มรุหกสบิ นาที แลว้ นาไปไวท้ เี่ ขาไกรลาสเมื่อถงึ กาหนด ปนี างเทพธิดาทัง้ เจ็ดผลัดเปลี่ยนกันมาเชญิ เอาศีรษะท้าวกบลิ พรหมมาแหร่ อบเขาพระสุเมรุแลว้ กลบั ไปเทวโลก ๖. เดือนหก ประเพณบี ญุ บ้ังไฟและบุญวนั วสิ าขบชู า การทาบญุ บ้งั ไฟเปน็ การขอฝน พรอ้ มกับงานบวชนาค ซ่ึงการทาบุญเดอื นหกถือเปน็ งานสาคญั ก่อนการทานา หมู่บ้านใกล้เคียงจะนาเอาบัง้ ไฟมาจดุ ประชันขันแข่งกัน หมู่บ้านท่ีรบั เปน็ เจา้ ภาพจะจัดอาหาร เหล้ายามาเลยี้ ง เมื่อถึงเวลาก็จะต้ังขบวนแห่บง้ั ไฟและราเซงิ้ ออกไป ณ ลานท่จี ดุ บ้ังไฟดว้ ยความสนกุ สนาน คาเซ้งิ และการแสดงประกอบจะออกไปในเร่อื งเพศ แต่จะไม่คดิ เปน็ เร่ือง หยาบคายแต่อยา่ งใด ซึง่ ประเพณบี ญุ บั้งไฟจะจดั ข้ึนอย่างย่ิงใหญ่ทกุ ปีทจ่ี ังหวดั ยโสธร สว่ นการทาบุญวิสาขบู- ชานนั้ จะมีการทาบุญเลย้ี งพระ ฟังเทศน์ ชว่ งเย็นมีการเวยี นเทยี นเชน่ เดียวกับภาคอน่ื ๆ บญุ บ้ังไฟหรอื บุญเดือนหก การเอาข้เี จยี (ดนิ ประสวิ ) มาประสมคว่ั กบั ถา่ น โขลกให้แหลกเรียกว่าหมื่อ (ดนิ ปืน) เอาหม่ือใส่กระบอกไม้ไผ่อดั ใหแ้ นน่ แล้วเจาะรใู ส่หางเรยี กวา่ บั้งไฟ การทาบญุ มใี หท้ าน เปน็ ต้น เก่ียวกบั การทาบ้องไฟ เรียกว่า บญุ บ้ังไฟ กาหนดทากนั ในเดือนหกเรียกว่าบญุ เดือนหก เพ่อื ขอฟูาขอฝนจาก เทวดาเมือ่ ถงึ ฤดูแห่งการเพาะปลูก ทาไรท่ านา 7. เดือนเจ็ด ทาบุญซาฮะ (ล้าง) หรอื บญุ บูชาบรรพบุรษุ มกี ารเซ่นสรวงหลกั เมือง หลักบา้ น ปุตู า ผีตาแฮก ผีเมอื ง เปน็ การทาบุญเพอื่ ระลึกถงึ ผูม้ ีพระคณุ

บุญซาฮะ หรอื บญุ เดือนเจด็ การชาฮะ(ชาระ) สะสางส่ิงสกปรกโสโครกใหส้ ะอาดปราศจากมลทิน โทษหรอื ความมัวหมอง เรยี กว่า การซาฮะ ส่งิ ทตี่ อ้ งการทาให้สะอาดน้นั มี 2 อยา่ งคือ ความสกปรกภายนอก ไดแ้ ก่ ร่างกาย เสื้อผ้า อาหารการกนิ ท่ีอย่อู าศัย และความสกปรกภายใน ได้แก่ จิตใจเกดิ ความความโลภ โกรธ หลง เปน็ ต้น แต่สิ่งทจ่ี ะต้องชาระในทน่ี ี้คือเม่ือบา้ นเมืองเกิดขา้ ศึกมาราวีทาลาย เกิดผ้รู า้ ยโจรมาปลน้ เกดิ รบราฆ่าฟนั แยง่ กนั เปน็ ใหญ่ ผคู้ นชา้ งม้าวัวควายลม้ ตาย ถือกนั ว่าบ้านเดือดเมืองร้อน ชะตาบ้านชะตา เมืองขาด จาต้องซาฮะให้หายเสนียดจัญไร การทาบุญมีการรกั ษาศลี ให้ทานเป็นต้น เก่ียวกับการซาฮะนี้ เรยี กว่าบญุ ซาฮะ มีกาหนดทาใหร้ ะหวา่ งเดือนเจด็ จึงเรียกวา่ บญุ เดอื นเจ็ด 8. เดือนแปด ทาบุญเขา้ พรรษาซึง่ เป็นประเพณที างพทุ ธศาสนาโดยตรง ลกั ษณะการจัดงานจึงคล้ายกับทาง ภาคอนื่ ๆ ของประเทศไทย เช่น มกี ารทาบญุ ตักบาตร ถวายภัตตาหารแดพ่ ระภิกษุสงฆส์ ามเณร มกี ารฟัง ธรรมเทศนาตอนบ่าย ชาวบ้านหลอ่ เทยี นใหญ่ถวายเปน็ พทุ ธบชู าและเกบ็ ไวต้ ลอดพรรษา การนาไปถวายวัดจะ มีขบวนแหฟ่ ูอนราเพ่ือให้เกิดความคึกคักสนุกสนาน ประเพณีแหเ่ ทยี นพรรษาที่ยิง่ ใหญ่ที่สุดตอ้ งเปน็ ทีจ่ ังหวัด อุบลราชธานี บุญเขา้ วดั สา(เข้าพรรษา) หรือบญุ เดือนแปด การอยูป่ ระจาวดั วดั เดยี วตลอดสามเดือนในฤดฝู น เรียกว่าเข้าวัดสา โดยปกตกิ าหนดเอาวนั แรมหน่งึ คา่ เดือนแปดเป็นวันเริม่ ต้น เรียกว่าบุญเดือนแปด 9. เดือนเกา้ ประเพณีทาบุญขา้ วประดับดิน เปน็ การทาบุญเพ่อื อทุ ิศแก่ญาตผิ ู้ลว่ งลบั เพ่ือบชู าผีบรรพบรุ ุษ และผีไร้ญาติ โดยชาวบา้ นจะทาการจดั อาหาร ประกอบด้วยขา้ ว ของหวาน หมากพลู บหุ ร่ีหอ่ ดว้ ยใบตอง กล้วยร้อยเปน็ พวง เตรยี มไวถ้ วายพระช่วงเลีย้ งเพล บางพ้นื ที่อาจจะนาห่อข้าวน้อย เหล้า บหุ ร่ี แลว้ นาไป วางหรือแขวนไว้ตามตน้ ไม้ และกล่าวเชิญวญิ ญาณของบรรพบุรุษและญาติมิตรทลี่ ว่ งลับไปมารับสว่ นกุศลใน ครัง้ นี้ ต่อมาใช้วิธีการกรวดนา้ หลงั การถวายภตั ตาหารพระสงฆแ์ ทนการทาบญุ ขา้ วประดับดนิ นยิ มทากนั ในวนั แรม 14 คา่ เดือนเกา้ หรือทเ่ี รียกว่าบุญเดือนเก้า บญุ ข้าวห่อประดับดินหรือบญุ เดือนเกา้ การห่อขา้ วปลาอาหารและของเคยี้ วของกินเปน็ ห่อๆ แลว้ เอา ไปถวายทานบ้าง ไปแขวนตามก่ิงไม้ในวดั บ้าง เรยี กวา่ บุญขา้ วประดับดนิ เพราะมีกาหนดทาบญุ ในเดือนเก้า จึงเรยี กวา่ บุญเดือนเก้า

10. เดือนสิบ ประเพณีทาบุญขา้ วสากหรือข้าวสลาก (สลากภัตร) ตรงกบั วันเพญ็ เดือนสิบ ผู้ถวายจะเขยี นชือ่ ของตนลงในภาชนะท่ใี ส่ของทาน และเขยี นชื่อลงในบาตร ภิกษุสามเณรรูปใดจับไดส้ ลากของใคร ผ้นู น้ั จะเขา้ ไปถวายของ เมื่อพระฉนั เสร็จแลว้ จะมกี ารฟังเทศน์เพื่อเป็นการอทุ ิศใหแ้ กผ่ ู้ตาย บญุ ข้าวสากหรอื บุญเดอื นสบิ การเขียนช่ือใส่สลากให้พระภกิ ษุและสามเณรจับและเขยี นช่ือใสภ่ าชนะ ขา้ วถวายตามสลากนัน้ และทาบญุ อย่างอนื่ มีรักษาศีลฟังธรรม เปน็ ต้น เรยี กว่าบุญข้าสาก (สลาก ) เพราะ กาหนดให้ทาในเดอื นสบิ จงึ เรียกวา่ บญุ เดอื นสิบ 11. เดอื นสบิ เอด็ ประเพณที าบญุ ออกพรรษา ในวันข้ึน 15 คา่ เดอื นสบิ เอ็ด พระสงฆ์จะแสดงอาบตั ิ ทา การปวารณา คือการเปดิ โอกาสใหว้ ่ากลา่ วตกั เตอื นกนั ได้ ต่อมาเจ้าอาวาสหรือพระผู้ใหญจ่ ะให้โอวาทเตือน พระสงฆใ์ หป้ ฏิบัติตนอย่างผู้ทรงศลี พอตกกลางคืนจะมีการจุดประทปี โคมไฟ นาไปแขวนไวต้ ามต้นไม้ในวดั หรือตามริมร้วั วดั จึงเรยี กอกี อยา่ งหนึง่ วา่ บุญจดุ ประทปี ในจงั หวัดนครพนมจะมปี ระเพณีการไหลเหลือไฟ ซง่ึ ตกแต่งด้วยตะเกียงน้ามนั ก๊าดเปน็ รปู ตา่ งๆ สวยงามกลางลานา้ โขง และมีหลายจังหวดั ท่ีจดั งานแหป่ ราสาทผง้ึ ขึ้น แต่ที่นบั ว่าเป็นต้นตารับและมคี วามยง่ิ ใหญก่ ว่าทใ่ี ด ก็คือ จงั หวัดสกลนคร บุญออกวัดสา (ออกพรรษา) หรือบุญเดือนสบิ เอด็ การออกจากเขตจากัดไปพักแรมที่อ่ืนไดเ้ รียกวา่ ออกวัดสา คาว่าวัดสาหมายถงึ ฤดฝู น ในปหี น่ึงมี 4 เดือน คือตง้ั แตว่ ันแรมสี่คา่ เดือนแปดถึงขน้ึ 15 คา่ เดือน 12 ในระยะส่ีเดือนสามเดอื นต้นใหเ้ ข้าวดั ก่อน พอครบกาหนดสามเดอื นแล้วให้ออก อกี เดือนท่ีเหลือให้หาผ้าจวี ร มาผลดั เปลีย่ นการทาบญุ มใี ห้ทานเป็นต้น เรยี กวา่ การทาบุญเดือนสบิ เอ็ด และ 12. เดือนสบิ สอง เป็นเดอื นสง่ ทา้ ยปีเกา่ ซึง่ จะมีการทาบุญกองกฐนิ โดยเริม่ ต้งั แตว่ นั แรมหน่งึ ค่า เดือนสบิ เอ็ดถึงกลางเดือนสบิ สอง แต่ชาวอีสานในสมยั ก่อนนิยมเร่มิ ทาบุญทอดกฐนิ กันตง้ั แต่ข้างข้ึนเดือนสบิ สอง จึงมักจะเรยี กบุญกฐนิ ว่า บญุ เดอื นสบิ สอง สาหรบั ประชาชนที่อาศยั อยตู่ ามรมิ ฝ่ังแมน่ ้าใหญ่ เชน่ แม่นา้ โขง แมน่ า้ ชี และแม่น้ามูล จะมกี ารจัดส่วงเฮือ (แขง่ เรือ) เพื่อระลึกถึงอุสุพญานาค บางแหง่ จะมีการทาบุญ ดอกฝาู ยเพ่อื ใชท้ อเปน็ ผ้าห่มกันหนาวถวายพระเณร มกี ารจดุ พลุตะไล และบางแหง่ จะมีการทาบุญโกนจุกลูก สาว ซึ่งนิยมทากนั มากในสมัยก่อน บุญกฐนิ หรอื บญุ เดือนสิบสอง ผ้าทใี่ ช้ไม้สดึงทาเป็นขอบซึ่งเยบ็ จีวร เรียกว่าผา้ กฐนิ ผ้ากฐินนม้ี ี กาหนดเวลาในการถวายเพยี งหนึง่ เดือนคือตง้ั แตแ่ รมหนง่ึ ค่าเดอื นสบิ เอ็ดถึงวนั เพ็ญเดือนสบิ สอง เพราะ กาหนดเวลาทาในเดือน 12 จงึ เรียกว่าบญุ เดือนสิบสอง มลู เหตทุ ี่ทา

เพ่ือให้ภิกษสุ งฆ์มโี อกาสไดผ้ ลัดเปล่ียนไตรจีวรใหม่ เนื่องจากของเก่าใช้นงุ่ ห่มมาตลอดระยะเวลาสาม เดือนทีเ่ ข้าพรรษายอ่ มเกา่ มีเรอ่ื งเล่าว่าภิกษชุ าวเมืองปาฐา 30 รปู พากันไปเฝูาพระผ้มู ีพระภาคเจา้ ณ พระเชตวนั มหาวหิ าร ไปไมท่ นั วันเขา้ พรรษาจึงพักจาพรรษาทีเ่ มืองสาเกตุ พอออกพรรษาแลว้ พากันเดิน กราฝน จีวรเปียกช่มุ ด้วยนา้ ฝน พอไปถงึ แลว้ ก็เขา้ เฝูาพระองค์ทรงเห็นความลาบากของภิกษุเหล่านั้นจงึ อนญุ าตใหร้ ับผ้ากฐินได้ นางวิสาขาทราบความประสงค์จึงนาผา้ กฐนิ มาถวายเปน็ คนแรก จึงถอื เป็นประเพณี สบื ต่อกนั มาจนถึงทุกวนั น้ี ชนดิ ของกฐนิ ที่ทามี 2 ประเภท 1. กฐนิ เล็กหรอื ภาคกลางเรียกว่า \"จลุ กฐนิ \" ซึง่ เปน็ \"กฐินเล็ก\" เป็นกฐนิ ที่ตอ้ งทาใหเ้ สรจ็ ภายในวนั เดียว เรม่ิ ตงั้ แตป่ นั่ ด้าย ทอเปน็ ผนื ตดั เยบ็ เป็นผา้ ไตรจวี รพร้อมท้ังย้อมสี ซ่งึ กฐนิ ประเภทน้ีตอ้ งให้ความ ร่วมมือรว่ มแรงของผู้คนเปน็ จานวนมากจงึ จะเสร็จทันเวลา จงั หวัดอุบลราชธานีทาจลุ กฐนิ ท่ีวดั หนองปาุ พง ตาบลโนนผง้ึ อาเภอวารนิ ชาราบ จังหวดั อุบลราชธานี 2. มหากฐิน เปน็ กฐินท่มี ีบริวารมาก ใช้เวลาเตรยี มการนาน มีคนนยิ มทากันมากเพราะถอื วา่ ได้บญุ ได้ กุศลมาก ขนาดผา้ กฐินมีกาหนดขนาดผ้าท่ใี ชท้ าเป็นผา้ กฐิน ดังน้ี ผา้ สบง ยาว 6 ศอก กว้าง 2 ศอก ผา้ จีวรและสงั ฆาฏิ มีขนาดเท่ากัน คือ ยาว 6 ศอก กว้าง 4 ศอก ผ้ากฐนิ ทงั้ 3 ผืนนีเ้ รยี กวา่ \"ไตรจวี ร\" องคป์ ระกอบสาคัญของกฐินประกอบดว้ ย \"อฐั บริขาร\" สบง จวี ร สงั ฆาฏิ บาตร มดี โกน เขม็ เยบ็ ผา้ ประคตเอว (ผ้ารดั เอว) กระบอกกรองน้า องคป์ ระกอบทงั้ 8 อยา่ งน้จี ะขาดอย่างใดอย่างหน่ึงไมไ่ ด้ เพราะถือว่าเป็น \"หัวใจ\" ของกฐนิ หรือเป็น \"บรขิ ารกฐิน\" จะมหี รือไม่มีก็ได้ เช่น ผ้าปนู งั่ ผา้ อาบน้า ผา้ หม่ กนั หนาว เสอื่ หมอน ถ้วย จาน เป็นต้น พระสงฆ์ท่จี ะรบั กฐินได้ต้องเป็นผู้จาพรรษาครบ 3 เดอื น และมีจานวนรวมกันไม่น้อยกว่า 5 รูป ถ้า ไม่ถึง 5 รปู ถอื ว่าใชไ้ ม่ได้ แม้จะนมิ นต์ไปจากวดั อ่นื ให้ไปร่วมประชมุ สงฆเ์ พื่อรบั กฐินก็ไม่สามารถรบั กฐนิ ได้ พิธกี รรม ผูม้ ีศรัทธาประสงคจ์ ะทาบุญกฐินต้องไปติดตอ่ ของจองวัดท่ีจะนากฐินไปทอด เมื่อเจ้าอาวาสแจง้ ว่าวดั น้นั ยงั ไม่มผี ู้ใดมาจองกฐินผมู้ ีศรัทธาท่จี ะทาบญุ กฐนิ จะเขียนสลาก (ใบจอง) บอกช่ือต้น ช่อื สกุล ตาแหนง่ ท่ีอยู่ ของตนให้ชัดเจนเพ่ือประกาศใหค้ นทง้ั หลายร้วู ่าตนเปน็ ผูจ้ อง และจะนากฐนิ มาทอดท่วี ัดดงั กล่าว สลากต้อง ปดิ ไว้ในทเี่ ปิดเผย เชน่ ศาลาโรงธรรม โบสถ์ และตอ้ งบอกวัน เวลาที่จะทอดดว้ ย เพือ่ ไมใ่ ห้ผู้อน่ื ไปจองซ้า เพราะปหี นึ่งแต่ละวัดจะรบั กฐินได้เพยี งกองเดียว เมอ่ื จองแล้วก็จัดหาเคร่อื งบริขารและบริวารกฐนิ ไวบ้ อกญาติ และพี่น้องให้มารว่ มกันทาบุญ งานบุญกฐนิ ถือว่าเปน็ งานบุญอนั ย่ิงใหญ่ทีช่ าวอสี านมีความเชื่อวา่ ถ้าผ้ใู ดทาบุญ กฐนิ แล้วตายไปกจ็ ะไม่ตกนรก มแี ต่จะไดร้ ับผลบญุ ที่ตนเองกระทาสะสมไวใ้ นชาติน้ไี วเ้ กบ็ กินในชาติหน้า เม่ือถึงวนั รวมก็จะตั้งองค์กฐินทีบ่ ้านของตน โดยซือ้ เครื่องอัฐบริขารและเคร่ืองบริวารกฐิน ซึง่ เครื่อง บรวิ ารกฐนิ สว่ นมากจะเป็นเคร่ืองใชใ้ นครวั เรือนมาตงั้ วางไว้ในทีเ่ ปิดเผยเพ่ือใหญ้ าติพี่น้อง หรอื ชาวบา้ น ใกลเ้ คียงนาสงิ่ ของ เช่น เสอ่ื หมอน อาสนสงฆ์ ผ้าห่ม ถว้ ย จาน ฯลฯ มาร่วมสมทบกองกฐนิ เมือ่ ถึงวนั งานก็นิมนต์พระสงฆม์ าเจรญิ พระพุทธมนต์ ฟังเทศน์ ตอนกลางคนื อาจจัดใหม้ ีงานมหรสพต่างๆ เชน่ หมอ ลา ภาพยนตร์หรืออาจจดั เป็นงานเล้ียงฉลองบุญกฐนิ ก็แล้วแตเ่ จา้ ภาพ พอตอนรุ่งเชา้ ก็แห่กฐินจากบ้านไปถวายพระสงฆ์ท่วี ัด เมือ่ เดินทางไปถงึ วดั จงึ เร่มิ แหเ่ ครื่องกฐินท้ังหมด รอบศาลาโรงธรรม โดยแห่เวียนขวา 3 รอบ แล้วจึงนากฐินขนึ้ ตง้ั บนศาลาโรงธรรม จากนน้ั ก็จะนาข้าวปลา อาหารเล้ียงพระ ถา้ ถวายตอนเช้าก็เลี้ยงพระตอนฉนั เพล เม่ือพระสงฆ์สามเณรฉันเสร็จแลว้ ผู้เปน็ เจา้ ภาพ องค์กฐินจะจดุ ธูปเทียนบูชาพระรัตนตรัย รับศลี แล้วกลา่ วคาถวายกฐนิ เป็นการเสรจ็ พิธีของฝาุ ยญาติโยม ส่วนพระสงฆเ์ ม่ือมีกฐินมาทอดทว่ี ัดก็จะประชมุ สงฆ์ทงั้ วัด แลว้ ใหภ้ ิกษรุ ูปหนงึ่ ถามทป่ี ระชุมสงฆ์วา่ ผา้ กฐินและ เครอื่ งบรวิ ารจะมอบพระสงฆ์รูปใด จะมีภิกษรุ ปู หนึ่งเสนอต่อทปี่ ระชุมสงฆว์ ่าควรใหแ้ ก่ภกิ ษุรปู ใด โดยเอย่ นาม

ภกิ ษุทส่ี มควรจะได้รบั กฐนิ สว่ นมากกจ็ ะเป็นเจ้าอาวาสวัดน้นั ๆ เมือ่ ที่ประชุมสงฆ์เหน็ ชอบตามที่มผี เู้ สนอกจ็ ะ เปลง่ คาวา่ \"สาธุ\" พรอ้ มกนั จากนัน้ ญาตโิ ยมก็จะพากันถวายเครอ่ื งปัจจัยไทยทานแด่ภกิ ษสุ ามเณรอื่นๆท้งั วัด พระสงฆ์รับแล้วจะอนุโมทนาและให้พรเป็นการเสร็จพธิ ี มเี ร่ืองเล่าว่าในสมัยดกึ ดาบรรพ์ คร้งั พระศาสนาของพระกัสสปสมั มาสัมพทุ ธเจา้ บรุ ุษชาวเมือง พาราณสีคนหน่ึงเป็นคนเขญ็ ใจไรท้ พ่ี ึ่ง ไปอาศัยสริ ธิ รรมเศรษฐผี ูม้ งั่ ค่ังด้วยทรัพย์ นบั ได้ 80 โกฏิ โดยยอมตน เป็นคนรบั ใช้ อาศยั อยู่กนิ หลับนอนในบา้ นทา่ นเศรษฐี ท่านเศรษฐีถามว่า \"เธอมีความรู้อะไรบ้าง?\" เขาตอบ อยา่ งอ่อนน้อมวา่ \"กระผมไม่มีความรู้เลยขอรบั \" ท่านเศรษฐจี งึ ถามว่า \"ถ้าอยา่ งนน้ั เธอจะรกั ษาไรห่ ญ้าใหเ้ ราได้ ไหม? เราจะให้อาหารวนั ละหม้อ\" เพราะความท่เี ขายากจนบรุ ุษนน้ั จงึ ตอบตกลงทนั ที แลว้ เขา้ ประจาหน้าท่ีของ ตนต่อไป และมีชื่อว่า ติณบาล เพราะรักษาหญา้ ตั้งแตบ่ ดั น้ันเปน็ ตน้ ไป วนั หน่ึงเป็นวนั ว่างงาน เขาจึงคดิ วา่ \"ตัวเรานเ้ี ปน็ คนยากจนเช่นนเี้ พราะไมเ่ คยทาบุญอนั ใดไว้ในชาติ กอ่ นเลย มาชาตนิ ี้จงึ ตกอยู่ในฐานะผ้รู บั ใชค้ นอื่นไรญ้ าติขาดมติ ร ไม่มีสมบัติติดตวั แม้แต่น้อย\" เมือ่ คิดดังนี้แล้ว เขาได้แบ่งอาหารที่ทา่ นเศรษฐีให้ออกเป็น 2 ส่วน สว่ นหนงึ่ ถวายแก่พระสงฆ์ผูเ้ ที่ยวบณิ ฑบาต อกี สว่ นหนึง่ เอาไว้สาหรบั ตนเองรับประทาน ดว้ ยเดชกศุ ลผลบญุ อนั นัน้ ทาให้ทา่ นเศรษฐเี กดิ สงสารเขา แลว้ ให้อาหารเพ่มิ อีกเป็น 2 สว่ น เขาได้แบ่งอาหารเปน็ 3 สว่ น ถวายแก่พระสงฆ์สว่ นหนงึ่ อีกส่วนหนงึ่ ให้แกค่ นจนทั้งหลาย ส่วนท่สี ามเอาไวบ้ รโิ ภคสาหรับตนเอง เขาทาอยู่อย่างน้ีเป็นเวลาช้านาน ต่อมาเป็นวนั ออกพรรษา เหล่าชนผมู้ ศี รัทธาตา่ งพากนั ทาบญุ กฐนิ เป็นการใหญ่ แมท้ ่านเศรษฐีผเู้ ป็น นายของเขากเ็ ตรยี มจะถวายกฐิน จงึ ประกาศให้ประชาชนทั้งหลายทราบโดยทว่ั กันวา่ สิริธรรมเศรษฐีจะได้ ทาบุญกฐนิ เมื่อติณบาลไดย้ ินกเ็ กดิ ความเล่ือมใสขึ้นในใจทนั ทวี ่ากฐนิ ทานน้แี หละจะเป็นทานอันประเสรฐิ แล้ว เข้าไปหาทา่ นเศรษฐถี ามว่า \"กฐนิ ทานมีอานิสงฆ์อย่างไรบา้ ง?\" เศรษฐีตอบวา่ \"มอี านิสงฆม์ ากมายหนกั หนา สมเด็จพระบรมศาสดาทรงตรัสโถมนาการ สรรเสริญวา่ เปน็ ทานอนั ประเสริฐ\" เมื่อเขาได้ทราบดังนีแ้ ล้ว ก็มีความโสมนัสปลาบปล้ืมเป็นอันมาก จึงพูดกับเศรษฐีวา่ \"ผมมีความ ประสงคท์ จี่ ะรว่ มอนุโมทนาในการบาเพ็ญทานครั้งนด้ี ้วยท่านจะเริม่ งานเมื่อไรขอรับ?\" ทา่ นเศรษฐตี อบว่า \"เรา จะเริม่ งานเมือ่ ครบ 7 วนั นับจากวันนี้ไป\" ตณิ บาลได้ฟังดังนน้ั ก็ดีใจยิ่งนัก ได้กลบั ไปยงั ที่อยูข่ องตน แลว้ เกดิ ความคดิ ว่าเราไม่มีอะไรเลย แมผ้ ้า ผืนเดียว เราจะทาบุญรว่ มกบั ท่านเศรษฐีไดอ้ ยา่ งไร เขาครุ่นคดิ อย่เู ปน็ เวลานาน ยิ่งคดิ ไปก็ยิ่งอดั อ้นั ตนั ปัญญา หาสิง่ ทจ่ี ะรว่ มอนุโมทนากฐินกบั ทา่ นเศรษฐไี ม่ได้ ในท่สี ดุ เขาไดเ้ ปล้ืองผ้านงุ่ ของตนออกพับใหด้ ี แลว้ เยบ็ ใบไม้ นงุ่ แทน แล้วเอาผ้านนั้ ไปเร่ขายในตลาด ชาวตลาดทง้ั หลายเห็นอาการเชน่ นน้ั กพ็ ากนั หวั เราะกนั ออกลนั่ ไป เขาชมู ือข้นึ แถลงวา่ \"ท่านทง้ั หลาย หยุดกอ่ น อย่าหัวเราะข้าพเจ้าเลย ข้าพเจ้ายากจนไม่มีผา้ จะนงุ่ จะขอน่งุ ใบไม้แต่ในชาตินเ้ี ทา่ น้ัน ชาติหน้าจะ น่งุ ผา้ ทพิ ย์\" คร้นั พูดชี้แจงแกป่ ระชาชนชาวตลาดดังนแี้ ลว้ เขาไดอ้ อกเดินเรข่ ายเรอ่ื ยไป ในทสี่ ดุ เขาไดข้ ายผ้าน้ันใน ราคา 5 มาสก (1 บาท) แล้วนาไปมอบให้ท่านเศรษฐี ท่านเศรษฐไี ดใ้ ชซ้ ื้อดา้ ยสาหรับเย็บไตรจีวรในกาลครั้งน้นั ได้เกดิ โกลาหลทวั่ ไปในหมู่ชน ตลอดถึงเทวดาในฉกามาพจรสวรรค์

ฝ่ายพระเจา้ พาราณสีทรงทราบเหตผุ ล จึงรับส่งั ให้นาตณิ บาลเขา้ เฝา้ แตเ่ ขาไมย่ อมเข้าเฝ้าเพราะ ละอาย จงึ ได้ตรัสถามความเป็นไปของเขาโดยตลอดแลว้ ทรงใหร้ าชบรุ ุษนาผา้ สาฎกราคาแสนตาลงึ ไป พระราชทานแกเ่ ขา นอกจากน้นั ได้พระราชทานบ้านเรือน ทรัพย์สมบัติ ชา้ ง มา้ ววั ควาย ทาสี ทาสา เปน็ อนั มากแลว้ โปรดใหด้ ารงตาแหนง่ เศรษฐีในเมืองพาราณสี มชี อ่ื ว่าติณบาลเศรษฐี จาเดิมแตบ่ ัดนน้ั เป็นไป คร้ังต่อกาลนานมา ติณบาลเศรษฐีเมือ่ ดารงชวี ิตอยู่พอสมควรแก่อายุขยั แล้ว ก็ตายไปเกดิ เปน็ เทพบตุ รในดาวดึงส์พิภพ เสวยสมบัตทิ พิ ย์อยใู่ นวิมานแกว้ สงู ได้ 5 โยชน์ มีนางเทพอปั สรหมื่นหน่ึงเปน็ บรวิ าร สว่ นสิรธิ รรมเศรษฐีคร้นั ตายจากโลกมนุษยแ์ ล้วได้ไปเกิดในดาวดึงส์สวรรค์ มนี างฟ้าเป็นบรวิ ารเช่นเดยี วกนั กบั ตณิ บาลเศรษฐี ประเพณที ั้งสิบสองเดอื น ชาวอีสานโบราณถอื ว่าเป็นหนา้ ท่ีของทุกคนท่ีจะต้องร่วมมือกันอย่างจรงิ จงั ตัง้ แต่เดือนอ้ายจนถงึ เดือนสบิ สอง ใครท่ีไม่ไปช่วยงานบญุ ก็จะถูกสงั คมต้งั ขอ้ รังเกยี จ และไม่คบค้าสมาคมด้วย การรว่ มประชมุ ทาบุญเป็นประจาทาให้ชาวอีสานมคี วามสนิทสนมรกั ใครแ่ ละสามัคคีกนั ทัง้ ภายในหมบู่ ้านของ ตนและในหมูบ่ ้านใกลเ้ คียง


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook