Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แบบรายงานนวัตกรรมทางการศึกษา.docx

แบบรายงานนวัตกรรมทางการศึกษา.docx

Published by apechaya8, 2022-01-18 04:39:48

Description: แบบรายงานนวัตกรรมทางการศึกษา.docx

Search

Read the Text Version

แบบรายงานนวัตกรรมทางการศกึ ษา 1 ประเภทผลงาน ครูผูส้ อน : นวตั กรรมการจัดการเรยี นรู้ 2 ขนาดโรงเรยี น ขนาดกลาง : นักเรยี น ( 121 – 180) 3 ผเู้ สร้างหรอื พัฒนานวตั กรรม : นางสาวอฏิฬากรณ์ ไชยมี 4 โรงเรียนบ้านจนั ทัย กลุ่มเครือข่ายสถานศึกษาท่ี 9 สานักงานเขตพนื้ ทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษา อบุ ลราชธานี เขต 3 5 บทสรุป รูปแบบการสอนแบบ สุ-จิ-ปุ-ลิ เป็นรูปแบบการสอนรูปแบบหนึ่งท่ีครูควรนามาใช้ในการจัดการเรียน การสอนไดห้ ลายกรณี เช่น การสอนท่ีเรมิ่ ตน้ ดว้ ยการใหน้ กั เรียนทากจิ กรรมสารวจตรวจสอบ สืบค้นขอ้ มลู หรือ ฟังการบรรยาย เป็นการกระตุ้นให้นักเรียนคิด หรือส่งเสริมให้นักเรียนถามคาถามหรือข้อสงสัย นามาสู่การ อภิปรายหาคาตอบของคาถาม และลงข้อสรุปเป็นองค์ความรู้ โดยนักเรียนจะเป็นผู้บันทึกข้อสรุปลงในสมุดจด การสอนตามรูปแบบน้ีจะส่งเสริมให้นักเรียน คิด ถามคาถาม และจดบันทึกข้อสรุปเป็นใจความสาคัญ หรือ องคค์ วามรทู้ ่ไี ด้เรยี น 6 ความเปน็ มาและความสาคัญ การศึกษาเป็นองคป์ ระกอบสาคัญในการพฒั นาทรัพยากรมนุษย์ทางด้าน สติปัญญา ร่างกาย และจติ ใจ และยังเป็นเครื่องมือในการสร้างกาลังคนของประเทศให้มีคุณ ภาพและ ประสิทธิภาพ ทันต่อ ความเจรญิ ก้าวหน้าทางด้านต่าง ๆ ทั้งทางด้านการเมือง เศรษฐกิจและสังคม ดังนั้นการศึกษาจงึ มีความสาคัญ ต่อคนทุกเพศทุกวัย ทุกอาชีพ เพ่ือที่จะเป็นพื้นฐานในการประกอบ อาชีพ การพัฒนาคนในสังคม และการ พัฒนาให้ประเทศชาติเจริญก้าวหน้าต่อไป ในปัจจุบัน การศึกษาถือเป็นตัวเร่งที่สาคัญท่ีสุดในการก่อให้เกิด การเปล่ียนแปลงและการพัฒนาส่ิงต่าง ๆ ใน สังคม ไม่ว่าจะเป็นด้านการทางาน ด้านการแพทย์ การพาณิชย์ ธุรกิจ บันเทิง การส่ือสาร และการศึกษา ในด้านการศึกษานั้น โดยจะมุ่งเน้นไปท่ีเป้าหมายของการเรียนการ สอน คือ การท่ีนักเรียนเกิดการเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล แต่การที่จะทาให้ได้และดีนั้น ต้อง อาศัยเทคนิควิธีและปัจจัยหลายประการ ตามยุทธศาสตร์ที่ 3 : การพัฒนาศักยภาพคนทุกช่วงวัย และการ สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ ข้อ 3.4 ของแผนพัฒนาการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.-- 2579 เพื่อส่งเสริมกระบวนการ เรยี นให้กบั นักเรียนในสภาพแวดล้อมท่ีเสมอื นจริง ประกอบกับการใช้กระบวนการส่งเสริมให้นักเรยี นเกดิ ความ ร่วมมือในการเรียนรู้แบบ Collaborative Learning โดยนักเรียนสามารถมีปฏิสัมพันธ์กับครูผู้สอนหรือกลุ่ม นักเรียนด้วยกันเพื่อแลกเปลี่ยนความคิดหรือทางานร่วมกันได้ ผ่านการสร้างเน้ือหาการอ่านและการเขียน รวมท้ังการเกบ็ รวบรวมข้อมลู การแสวงหาและการนาเสนอความรู้ สาหรับการเรียนการสอนวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ในประเทศไทย ผู้สอนส่วนใหญ่สอน แบบบรรยายเน้ือหาตามหนังสือ ขาดเทคนิคและวิธีการสอนแบบใหม่ๆ ทาให้เด็กนักเรียนไม่กล้าแสดง ความคิดเห็นหรือฝึกแก้ปัญหาในห้องเรียน ทาให้ไม่มีส่วนร่วมในการเรียนการสอน เพราะเบื่อหน่ายท่ีต้อง

ท่องจา ทงั้ ในเน้ือหาวิชาทหี่ ลากหลาย และเนือ้ หาสาระบางอย่างก็ไม่ไดน้ าไปใช้จริงในชวี ติ ประจาวนั ครูผู้สอน จึงต้องปรับเปลี่ยน รูปแบบ เทคนิค วิธีการเรียนการสอนใหม่ ให้ทันกับยุคสมัย และจัดกิจกรรมให้เด็กเกิด การพัฒนาท้ังความคิด ความถนัด ความสนใจของแต่ละคน ครูต้องสอนวิธีแสวงหาความรู้มากกว่าสอนตัว ความรู้ สอนการคิดมากกว่าสอนให้ท่องจา เน้นผู้เรียนมากกว่าเน้นเน้ือหาวิชา เพ่ือนาไปส่กู ารเรียนรู้ตลอดชีวิต อนั เปน็ ทกั ษะสาคญั ของบคุ คลในยุคศตวรรษท่ี 21 จากความเป็นมาและความสาคัญของปัญหาดังกล่าวข้างต้น ข้าพเจ้าจึงสนใจและหาวิธีส่งเสริ ม ความสามารถในการเรียนวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมของนักเรียน โดยนาทฤษฎีการเรียนรู้และ หลักธรรมคาสอนมาประยกุ ต์ใช้เปน็ เครื่องมือท่ีนามาใช้ในเป็นรปู แบบการจัดการเรยี นรู้ เพือ่ ส่งเสริมให้นกั เรยี น เกิดความสนใจ เกิดการเรียนรู้ เกิดความเข้าใจในเนื้อหาและมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนดีขึ้น นาไปถึงสามารถ นาไปใช้ได้จริงในชีวิตประจาวัน ซึ่งผลท่ีได้จากการใช้นวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ ในคร้ังน้ีจะเป็นแนวทางมา ประยุกตใ์ ชเ้ ปน็ เครอื่ งมือในการจัดการเรยี นการสอนใหม้ ปี ระสทิ ธิภาพยง่ิ ขึ้นต่อไป 7 วัตถปุ ระสงค์ 7.1. เพอื่ เพิม่ ประสทิ ธภิ าพในการสอนของครผู สู้ อน 7.2. เพ่อื เพม่ิ ประสิทธิภาพในการเรียนรูข้ องผเู้ รยี นใหส้ ามารถเรียนร้ไู ด้งา่ ยและมีความเขา้ ใจในการศึกษา เรยี นรู้ 7.3. เพื่อทาให้ผลการจัดการเรียนรู้ทเี่ กิดกับผูเ้ รยี นบรรลุตามมาตรฐานการเรยี นรแู้ ละตวั ช้ีวัดของหลักสตู ร แกนกลางการศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน 8 กระบวนการพัฒนาผลงานนวตั กรรม 8.1. สภาพปัญหาก่อนการพฒั นา จากสภาพปัญหาในปัจจุบันการเรียนการสอนใน กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและ วัฒนธรรม ของโรงเรยี นบา้ นจันทยั พบอปุ สรรคในการสอนของครูดงั นี้ คอื 1.) ปัญหาเกี่ยวกับวิธีการจัดการเรียนรู้ ปัญหาท่ีมักพบอยู่เสมอคือ ครูส่วนใหญ่ยังคงยึดรูปแบบวิธี การสอนแบบบรรยายโดยครูเป็นศูนย์กลางท่ีเน้นการพูดบรรยายถ่ายทอดเน้ือหาสาระมากกว่าสอนในรูปแบบ อื่น การสอนด้วยวิธีการแบบนี้ทาให้นักเรียนเป็นฝ่ายรับรู้ (passive learner) ซ่ึงจะมีผลให้นักเรียน มีคุณลักษณะท่ีมีความสามารถในเชิงการคิด ประดิษฐ์สร้างสรรค์ผลงานได้น้อย(passive ability) มักเป็นคน ประเภทบริโภคนิยม บรรยากาศของการสอนแบบบรรยายนอกจากจะทาให้นักเรียนเกิดความเบ่ือหน่าย ขาด ความสนใจแล้ว ยังเป็นการปิดก้ันความคิดและสติปัญหาของนักเรียนให้อยู่ในขอบเขตจากัดอีกด้วย แต่ถ้า ครูผู้สอนได้ศึกษา คน้ หาวิธีการหรือนวัตกรรมจดั การเรียนรู้ท่ีเน้นผู้เป็นสาคัญ มาใชใ้ นการจัดการเรียนรู้ท่ีทาให้ นักเรียนมีบทบาทในการเรยี นรมู้ ากข้ึน และเป็นฝา่ ยลงมือปฏิบัติมากขึน้ (active learner) ก็จะทาให้นักเรียนมี

คุณลักษณะที่สามารถคิดประดิษฐ์สร้างสรรค์ผลงานได้มากข้ึน (active ability) ดังน้ัน การนานวัตกรรมมาใช้ ในการจดั การเรียนรู้จึงชว่ ยแก้ปญั หาเร่อื งวิธีการจัดการเรยี นรู้ 2.) ปัญหาเกี่ยวกับเนื้อหาวิชาซึ่งในบางรายวิชามีเนื้อหาสาระการเรียนรู้มากและบางวิชามีเน้ือหาเป็น นามธรรม ยากแก่การเข้าใจ โดยเฉพาะวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม “นักเรียนไม่เห็นประโยชน์และ ความสาคัญ นักเรียนไม่ชอบเรียนเพราะเนื้อหายาก ไม่สนุก ไม่น่าสนใจและปัญหาที่ประสบมากคือ การสอน เน้ือหาวิชาส่วนใหญ่จะเกิดจากการขาดแคลนอุปกรณ์การสอนรวมทั้งครูมีวิธีสอนที่ไม่เร้าความ สนใจ” จงึ จำเป็นจะตอ้ งนำนวตั กรรมเขำ้ มำชว่ ยในกำรจดั กำรเรียนรู้ เชน่ รูปแบบกำรจดั กำรเรยี นรู้ 3.) ปัญหาเกี่ยวกับสื่อ อุปกรณ์การจัดการเรียนรู้ ในบางเน้ือหามีส่ือ อุปกรณ์การจัดการเรียนรู้เป็น จานวนน้อย ไม่เพียงพอต่อการนาไปใช้ เพ่ือทาให้นักเรียนเกิดความรู้ความเข้าใจในเน้ือหาวิชาได้ง่ายข้ึน จึงจาเป็นต้องมีการพัฒนาคิดค้นหาเทคนิควิธีการจัดการเรียนรู้และผลิตสื่อการจัดการเรียนรู้ใหม่ ๆ เพื่อ นามาใช้ในการจัดการเรียนรู้ให้เพียงพอเหมาะสมกับสภาพของนักเรียนจึงจะทาให้การจัดการเรียนรู้ บรรลุ ตามจุดประสงค์การเรียนรู้ ในการจัดการเรียนรู้รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม จึงจาเป็นท่ีจะต้อง ใช้นวัตกรรมเพ่ือพัฒนาการจัดการเรียนรู้ให้มีประสิทธิภาพ ข้าพเจ้าจึงต้องแสวงหาและพัฒนานวัตกรรมเพ่ือ นามาใช้ในการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ให้มีประสิทธิภาพท่ีส่งผลต่อคุณภาพนักเรียน ส่งเสริมการเรียนรู้ของ นักเรียนท่ีมีความแตกต่างกันในหลายลักษณะ บางคนมีความสนใจในการเรยี นและเรียนรู้ได้เร็ว ในขณะท่ีบาง คนขาดแรงจูงใจในการเรียน จึงไม่ให้ความสนใจต่อการเรียนและเรียนรู้ได้ช้า ดังนั้น ข้าพเจ้าจึงพยายามศึกษา หาวิธีการจัดการเรียนร้ทู ี่ส่งเสริมการเรียนรู้ของนักเรียนให้สอดคล้องกับความสนใจ ความถนัดของนักเรียน ให้ สามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพซ่ึงจะต้องใช้นวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ มาช่วยให้นักเรียน เกิดการเรียนรทู้ ีด่ ีและมีคุณภาพ 8.2. การออกแบบนวัตกรรมเพ่ือการพัฒนา ข้าพเจ้าจงึ ได้ออกแบบนวตั กรรมรูปแบบการเรียนการสอนด้วย หลกั ธรรมคาสอนทางพระพุทธศาสนา แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้องมาช่วยในการพัฒนา เพ่ือแก้ปัญหาในการสอนวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและ วัฒนธรรม ช่วยให้การนาเสนอเน้ือหาการเรียนการสอนที่มีความน่าสนใจมากขึ้น เปลี่ยนเนื้อหาการเรียนรู้ ท่ีซับซ้อน ยุ่งยากน่าเบื่อ ให้เป็นเร่ืองง่ายที่สนุก และน่าสนใจ ให้นักเรียนสามารถเรียนรู้ได้อย่างต่อเนื่อง ออก จากกรอบของการเรียนรู้ที่จากัดเฉพาะในห้องเรียน และสร้างการมีส่วนร่วมระหว่างนักเรียนและครูได้มากข้ึน ดังนี้ กระทรวงศึกษาธิการ(2544,หน้า38) ได้กล่าวถึงเรื่องการจัดการศึกษาท่ียึดผู้เรียนเป็นสาคัญ ตาม พระราชบัญญัตกิ ารศึกษาแหง่ ชาติ พุทธศักราช 2542 นั้น สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดา สยามบรมราชกุมารี ได้ ทรงบรรยายในงานสัมมนาทางวิชาการ เรื่อง ‘เทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือการเรียนรู้ในทศวรรษหน้า “เมื่อวันที่ 23 กนั ยายน 2542 ได้เสนอแนวคาสอนของพระพุทธศาสนาแนวหนง่ึ คือ สุ-จ-ิ ปุ-ลิ สุ เป็นทักษะการรับเข้ามา อาทิ ฟัง สังเกต อ่าน สัมผัสต่างๆนี่คือประตูด่านแรกของการเรียนรู้ จิ คิดไตร่ตรอง คิดเชงิ บวก คดิ แบบเป็นกลาง คดิ แบบสร้างสรรคไ์ มต่ ิดหลม่ เก่าๆ เปน็ ช่วงทเี่ รยี บเรียง หรือเกดิ การเรียงตัวทางความคดิ

ปุ การต้งั คาถาม การตง้ั โจทยว์ จิ ัย การถามอะไรกไ็ ด้ อาจจะยังไมต่ อ้ งกังวลในการหาคาตอบการสร้าง โมเดล การร่างต้นแบบทางความคิด สงิ่ เหลา่ น้ี เปน็ นยั ของการถามท้ังน้นั คนท่ที างานก็อาจจะถาม งา่ ยๆแคว่ า่ มันยังมีวิธีทที่ าไดด้ กี ว่านอ้ี กี หรือไม่ ลิ เมอื่ เราลงมอื ทา แลว้ เขา้ ใจอะไรบางอย่าง เกิดภาวะเขา้ ถึงใจในบางเร่อื ง แลว้ เราจดจาจะดว้ ยความ ทรงจา หรือบนั ทึกเกบ็ ไว้ในรปู แบบใดก็ได้ ชัยวัฒน์ สุทธิรัตน์ (2552,หน้า 21-23) สรุปเกี่ยวกับทฤษฎีการเรียนรู้ตามทฤษฎีเกสตัลท์และการ ประยุกต์ใช้ดังน้ี การเรียนรู้เป็นกระบวนการทางความคิด ซึ่งเป็นกระบวนการภายในตัวมนุษย์ โดยบุคคลจะ เรียนรู้จากสงิ่ เรา้ ที่เป็นส่วนรวมไดด้ กี ว่าส่วนยอ่ ย การเรยี นรเู้ กิดข้นึ ได้ 2 ลกั ษณะ คอื การรับรู้ (Perception) และ การหย่งั เห็น (Insight) การรบั รู้ เป็นกระบวนการท่บี คุ คลใช้ประสาทสัมผัสรับสงิ่ เร้าแล้วถา่ ยโยงความรเู้ ขา้ สูส่ มองเพือ่ ผ่านเข้า สู่กระบวนการคิด ตคี วามหมาย และตอบสนองออกไป การหยั่งเห็น เป็นการค้นพบหรือเกิดความเข้าใจในช่องทางการแก้ปัญหาอย่างฉับพลันทันที อันเน่ืองมาจากผลการพิจารณาปัญหาโดยส่วนรวม และการใช้กระบวนการทางความคิดและสติปัญญาของ บคุ คลนน้ั กฎการจัดระเบียบการรับรมู้ ี 8 ขอ้ คือการรับรูส้ ว่ นรวมและส่วนยอ่ ย กฎแห่งความคล้ายคลึง กฎแห่ง ความใกล้เคียง กฎแห่งความสมบูรณ์ กฎแห่งความต่อเน่ือง ความคงท่ีในความหมายของสิ่งที่รับรู้ตามความ เป็นจริง การรับรู้ของบุคคลอาจผิดพลาดบิดเบือนไปจากความเป็นจริงได้ และการเรียนรู้แบบหย่ังเห็น การประยุกต์ใช้ในการจัดการเรียนรู้ จัดทาได้ดังน้ี ผู้สอนควรส่งเสริมกระบวนการคิดให้แก่ผู้เรียน ผู้สอนควร เสนอภาพรวมให้ผู้เรยี นเห็นและเข้าใจก่อนการเสนอส่วนย่อย ผู้สอนควรส่งเสรมิ ให้ผเู้ รยี นมีประสบการณ์มากๆ ได้รบั ประสบการณ์ที่หลากหลายเพื่อช่วยให้เกิดการเรียนรู้ที่หย่ังเห็นได้มากขึ้น ผู้สอนควรจัดประสบการณ์ใหม่ ให้มีความสัมพันธก์ ับประสบการณ์เดิม ผู้สอนควรมีการจัดระเบียบส่ิงเร้าท่ีต้องการให้ผูเ้ รียนเกิดการเรียนร้ไู ด้ดี ผู้สอนไม่จาเป็นต้องนาเสนอเน้ือหาทั้งหมดที่สมบูรณ์แก่ผู้เรียน ควรนาเสนอเฉพาะเน้ือหาบางส่วน ซ่ึงผู้เรียน สามารถใช้ประสบการณ์เดิมมาเติมให้สมบูรณ์ได้ และผู้สอนควรเสนอบทเรียนหรือจัดเน้ือหาให้มีความ ต่อเนื่องกัน ทิศนา แขมมณี (2545) ได้กลา่ วถึงทฤษฎีการสรา้ งความรู้ดว้ ยตนเองดงั น้ี Vygotsky เป็นนักจิตวิทยา ชาวรัสเซียที่ได้ศึกษาวิจัยเกี่ยวกับพัฒนาการทางเชาว์ปัญญา ผลงานของเขาเป็นที่ยอมรับกันมาก ในประเทศรัสเซีย และเร่ิมเผยแพร่สู่ประเทศสหรัฐอเมริกาและประเทศต่างๆ ในยุโรปเม่ือได้รับการแปลเป็น ภาษาองั กฤษ ในปี ค.ศ. 1962 ทฤษฎีพัฒนาการทางเชาวน์ปัญญาของ Paijet และVygotsky เป็นรากฐานที่สาคัญของทฤษฎี การสร้างความรู้ด้วยตนเอง โดย Paijet อธิบายว่า การพัฒนาการทางเชาวน์ปัญญาของบุคคลมีการปรับตัว

ผ่านทางกระบวนการซึมซาบหรือดูดซึม (Assimilation) และกระบวนการปรับโครงสร้างทางปัญญา (Accommodation) พัฒนาการเกิดข้ึนเมื่อบุคคลรับและซึมซาบข้อมูลหรือประสบการณ์ใหม่เข้าไปสัมพันธ์กับ ความรู้หรือโครงสร้างทางปัญญาท่ีมีอยู่เดิม หากไม่สัมพันธ์กันจะเกิดภาวะไม่สมดุลข้ึน บุคคลจะพยายามปรับ สภาวะให้อยู่ในสภาวะสมดุล โดยใช้กระบวนการปรับโครงสร้างทางปัญญา ส่วนVygotsky ให้ความสาคัญกับ วัฒนธรรมและสังคมมาก เขาอธิบายว่ามนุษย์ได้รับอิทธิพลจากสิ่งแวดล้อมตั้งแต่แรกเกิดซึ่งนอกจาก ส่ิงแวดล้อมทางธรรมชาติแล้ว ก็ยังมีส่ิงแวดล้อมทางสังคมซึ่งก็คือวัฒนธรรมที่แต่ละสังคมสร้างข้ึน ดังน้ัน สถาบันสังคมต่างๆ เริ่มตั้งแต่สถาบันครอบครัวจะมีอิทธิพลต่อพัฒนาการทางเชาวน์ปัญญาของแต่ละบุคคล นอกจากน้ัน ภาษายังเป็นเคร่ืองมือสาคัญของการคิดและพัฒนาปัญญาขั้นสูง พัฒนาการทางภาษาและ ทางความคดิ ของเด็กเรม่ิ ด้วยการพฒั นาที่แยกจากกัน แต่เมื่ออายุมากขึน้ พัฒนาทงั้ สองดา้ นจะไปรว่ มกัน นกั ทฤษฎีกลุ่มการสร้างความรูม้ ีความเห็นว่า แม้โลกน้ีจะมอี ยู่จรงิ และส่ิงต่างๆมีอยใู่ นโลกจริง โดยแตล่ ะ คนจะให้ความหมายของส่ิงเดียวกันแตกต่างกันไปอย่างหลากหลาย ดังนั้นสิ่งต่างๆในโลกไม่มีความหมาย ที่ถูกต้องหรือเป็นจริงที่สุด แต่ข้ึนกับการให้ความหมายของคนในโลก คนแต่ละคนเกิดความคิดจาก ประสบการณ์ ดังนั้น สิ่งแวดล้อมท่ีอยู่ในประสบการณ์น้ันย่อมเป็นส่วนหน่ึงของความคิดน้ัน ด้วยเหตุนี้ Vygotsky จึงเน้นความสาคัญของความแตกต่างระหว่างบุคคล และการให้ความช่วยเหลือผู้เรียนเพื่อให้ ก้าวหน้าจากระดับพัฒนาการทีเ่ ปน็ อยู่ ไปถงึ ระดับพัฒนาการท่ีเด็กมีศกั ยภาพจะไปถึงได้ Vygotsky จึงได้เสนอ แนวคิดเกี่ยวกบั “Zone of proximal development” ซง่ึ เปน็ แนวคิดใหม่ทส่ี ่งผลต่อการเปล่ียนแปลงในด้าน การจัดการเรียนการสอน Vygotsky อธิบายว่า ปกติเมื่อมีการวัดพัฒนาการทางสติปัญญาของเด็ก เรามักจะใช้ แบบทดสอบมาตรฐานในการวดั เพื่อดวู ่าเด็กอยู่ในระดับใด โดยดูว่าสง่ิ ท่เี ด็กทาได้นั้น เป็นสิง่ ที่เด็กระดับอายใุ ด โดยท่ัวไปสามารถทาได้ ดังนั้น ผลจากการวัด จึงเป็นการบ่งบอกถึงสิ่งที่เด็กทาได้อยู่แล้ว คือ เป็นระดับ พฒั นาการที่เด็กบรรลุหรือไปถึงแล้ว ดังน้นั ข้อปฏบิ ัติที่ทากันอยกู่ ็คือ การสอนให้สอดคล้องกับระดับพัฒนาการ ของเด็ก จึงทาให้เด็กอยู่ในระดับสติปัญญาเดิม ไม่ได้ช่วยให้เด็กพัฒนาข้ึน เนื่องจากเด็กทุกคนที่ระดับพัฒนา เชาวน์ปัญญาที่ตนมีอยู่ และมีระดับพัฒนาการที่ตนมีศักยภาพจะไปให้ถึงช่วงห่างระหว่างระดับท่ีเด็กเป็นอยู่ใน ปัจจุบันกับระดับที่เด็กมีศักยภาพจะเจริญเติบโตน้ีเองที่เรียกว่า “Zone of proximal development” ช่วง ห่างจะมีความแตกต่างกันระหว่างบุคคล แนวคิดน้ีส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงแนวคิดเก่ียวกับการสอน ท่ีเคยมี ลักษณะเปน็ เส้นตรงเปลย่ี นแปลงไปส่ลู ักษณะท่ีเหล่ือมกนั โดยการสอนจะตอ้ งนาหน้าระดบั พัฒนาการเสมอ Jonassen กล่าวย้าทฤษฎีการสร้างความรู้จะให้ความสาคัญกับกระบวนการและวิธีการของบุคคลใน การสร้างความรู้ความเข้าใจจากประสบการณ์ รวมทั้งโครงสร้างทางสติปัญญา และ ความเชื่อที่ใช้ในการ แปลความหมายเหตุการณแ์ ละส่ิงตา่ งๆ เขาเชือ่ วา่ ทุกคนมีโลกของตวั เอง ซ่ึงเป็นโลกทสี่ ร้างขึ้นด้วยความคิดของ ตนเอง และคงไม่มีใครกล่าวได้ว่าโลกไหนจะเป็นจริงไปกว่ากัน เพราะโลกของใครก็เป็นจริงสาหรับคนนั้น ทฤษฎีการเรียนรู้ของกลุ่มน้ีถือว่าสมองเป็นเครื่องมือที่สาคัญท่ีสุดท่ีเราสามารถใช้ในการแปลความหมายของ ปรากฏการณ์ เหตุการณ์ และสิ่งต่างๆในโลกนี้ ซึง่ การแปลความหมายดงั กลา่ วเป็นเรือ่ งทเ่ี ปน็ ส่วนตัว สรุปได้ว่า การเรียนรู้ตามทฤษฎีการสร้างความรู้เป็นกระบวนการในการ “acting on” ไม่ใช่ “taking in” กล่าวคือ เป็น กระบวนการท่ีผู้เรียนจะตอ้ งจัดกระทากับขอ้ มูล ไม่ใช่เพียงรับข้อมูลเข้ามา และนอกจากกระบวนการเรียนรู้จะ

เป็นกระบวนการปฏิสัมพันธ์ภายในสมอง แล้วยังเป็นกระบวนการทางสังคมอีกด้วย การสร้างความรู้จึงเป็น กระบวนการท้งั ทางสติปัญญาและสังคมควบค่กู นั ไป 1. ตามทฤษฎีการสร้างความรู้ ผลการเรียนรู้จะมุ่งเน้นไปท่ีกระบวนการสร้างความรู้ และการ ตระหนักรู้ในกระบวนการนั้น เป้าหมายการเรียนรู้จะต้องมาจากการปฏิบัติงานจริง ครูต้องเป็นตัวอย่างและ ฝกึ ฝนกระบวนการเรยี นรูใ้ ห้ผ้เู รยี นได้เห็น ผู้เรยี นจะต้องฝึกฝนการสร้างความร้ดู ว้ ยตนเอง 2. เป้าหมายของการสอนจะเปลี่ยนแปลงจากการถ่ายทอดความรู้ท่ีแน่นอนตายตัว ไปสู่การสาธิต กระบวนการแปลและสร้างความหมายที่หลากหลาย การเรียนรู้ทักษะต่างๆจะต้องมีประสิทธิภาพถึงขึ้นทาได้ ปญั ญาจรงิ ได้ 3. ในการเรยี นการสอน ผู้เรียนจะเป็นผู้มีบทบาทในการเรียนร้อู ย่างตืน่ ตวั ผเู้ รียนจะเปน็ ผู้จัดกระทากับ ข้อมูลหรือประสบการณ์ต่างๆ และจะต้องสร้างความหมายให้กับสิ่งนั้นด้วยตนเอง โดยให้ผู้เรียนอยู่ในบริบท จริงๆซ่ึงไม่ได้หมายความว่าผู้เรียนจะต้องออกไปยังสถานที่จริงเสมอ แต่อาจจัดเป็นกิจกรรมท่ีเรียกว่า “physical knowledge activities” ซ่ึงเป็นกิจกรรมที่เปิดโอกาสให้ผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์กับส่ือ วัสดุ อุปกรณ์ สิ่งของหรือข้อมูลต่างๆท่ีเป็นของจริง และมีความสอดคล้องกับความสนใจของผู้เรียนโดยผู้เรียนสามารถ จัดกระทา ศึกษา สารวจ วิเคราะห์ ทดลอง ลองผดิ ลองถูกกับสิง่ นน้ั ๆจนเกดิ เป็นความรู้ความขา้ ใจขน้ึ 4. ในการจัดการเรียนการสอนครูจะต้องพยายามสร้างบรรยากาศทางสังคม จริยธรรม ให้เกิดขึ้น กล่าวคือผู้เรยี นตอ้ งมโี อกาสเรียนรใู้ นบรรยากาศทเี่ อื้อต่อการปฏสิ ัมพันธท์ างสังคม ซึ่งทางสงั คมถอื ว่าเป็นปัจจัย สาคัญของการสร้างความรู้เพราะลาพังกิจกรรมกับวัสดุอุปกรณ์ท้ังหลายท่ีครูจัดให้ หรือผู้เรียนแสวงหามาเพื่อ การเรียนรู้ไม่เป็นการเพียงพอ ปฏิสัมพันธ์ทางสังคม การร่วมมือ และการแลกเปลี่ยนความรู้ความคิดและ ประสบการณ์ระหว่างผู้เรียนกับผู้เรียนและบุคคลอ่ืนๆจะช่วยให้การเรียนรู้ของผู้เรียนและบุคคลอื่นๆจะช่วยให้ การเรยี นรู้ของผู้เรียนกว้างขน้ึ ซบั ซ้อนขนึ้ และหลากหลายขนึ้ 5. ในการเรียนการสอน ผู้เรียนมีบทบาทในการเรียนรอู้ ย่างเต็มที่ โดยผู้เรียนจะนาตนเองและควบคุม ตนเองในการเรียนรู้ เช่น ผู้เรียนจะเป็นผู้เลือกสิ่งที่ต้องการเรียนเอง ต้ังกฎระเบียบเอง แก้ปัญหาที่เกิดขึ้นเอง ตกลงกันองเมื่อเกิดความขัดแย้ง หรือมีความคิดเห็นที่แตกต่างกัน เลือกผู้ร่วมงานได้เอง และรับผิดชอบในการ ดูแลรักษาห้องเรยี นร่วมกนั 6. ในการเรียนการสอนแบบสร้างความรู้ ครูจะมีบทบาทแตกต่างไปจากเดิม คือ จากการเป็นผู้ ถ่ายทอดความรู้และควบคุมการเรียนรู้เปล่ียนไปเป็นการให้ความร่วมมืออานวยความสะดวก และช่วยเหลือ ผู้เรียนในการเรียนรู้ คือการเรียนการสอนจะต้องเปล่ียนจาก “Instruction” ไปเป็น “Construction” คือ เปลี่ยนจาก “การให้ความรู้” ไปเป็น “การให้ผู้เรียนสร้างความรู้” บทบาทของครูก็คือ จะต้องทาหน้าที่ช่วย สร้างแรงจูงใจภายในให้เกิดแก่ผู้เรียนจัดตรียมกิจกรรมการเรียนรู้ท่ีตรงตามความสนใจของผู้เรียน ดาเนิน กิจกรรมให้เป็นไปในทางที่ส่งเสริมพัฒนาการของผู้เรียน ให้คาปรึกษาแนะนาทั้งทางวิชาการและด้านสังคมแก่ ผ้เู รยี นดูแลให้ความช่วยเหลือผู้เรยี นท่ีมีปัญหา และประเมินการเรยี นรู้ของผู้เรียนนอกจากน้ันครูยงั ต้องมีความ เป็นประชาธปิ ไตยและมเี หตุผลในการสมั พนั ธ์กบั ผู้เรยี นดว้ ย

7. ในการประเมินผลการเรียนการสอน เน่ืองจากการเรียนรู้ตามทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเองน้ี ขึ้นกับความสนใจและการสร้างความหมายท่ีแตกต่างกันของบุคคลผลการเรียนรู้ที่เกิดขึ้นจึงมีลักษณะท่ี หลากหลาย ดังน้ัน การประเมินผลจึงจาเป็นต้องมีลักษณะเป็น “goal free evaluation” ซ่ึงหมายถึงการ ประเมินตามจุดหมายในลกั ษณะทีย่ ดื หยุน่ กันไปในแต่ละบุคคล หรืออาจใช้วธิ ีท่ีเรยี กว่า “socially negotiated goal” และการประเมินควรใช้วิธีการหลากหลาย ซ่ึงอาจเป็นการประเมินจากเพ่ือน แฟ้มผลงาน รวมท้ังการ ประเมินตนเองด้วย นอกจากนั้นการวัดผลจาเป็นต้องอาศัยบริบทจริงที่มีความซับซ้อนเช่นเดียวกับการจัดการ เรียนการสอนท่ีตอ้ งอาศัยบริบท กิจกรรม และงานที่เป็นจริง การวัดผลจะต้องใช้กิจกรรมหรืองานในบรบิ ทจริง ด้วย ซ่ึงในกรณีที่จาเป็นต้องจาลองของจริงมาก็สามารถทาได้แต่เกณฑ์ท่ีใช้ควรเป็นเกณฑ์ท่ีใช้ในโลกของความ เปน็ จริงดว้ ย ชัยวัฒน์ สุทธิรัตน์ (2552, หน้า 33-36) ได้สรุปเก่ียวกับทฤษฎีพหุปัญญาดังนี้ Gardner เช่ือว่าเชาว์ ปัญญาของบุคคลมีอยู่หลากหลายถึง 8 ประการหรืออาจมากกว่านี้ซึ่งแต่ละคนจะมีความสามารถในด้านต่างๆ ไม่เท่ากัน ความสามารถที่ผสมผสานกันออกมาทาให้บุคคลแต่ละคนมีแบบแผน ซ่ึงเป็นเอกลักษณ์เฉพาะตน และเชาว์ปัญญาของแต่ละบุคคลจะไม่อยู่คงท่ี ที่ระดับท่ีตนมีตอนเกิดแต่สามารถเปล่ียนแปลงได้ หากได้รับ สง่ เสริมทเ่ี หมาะสม เชาวป์ ญั ญาที่ Gardner แบ่งไว้ 8 ด้านมดี ังน้ี 1. ด้านภาษา (Linguistic intelligence) แสดงออกทางความสามารถในการอ่าน การเขียน การพูด การอภิปราย การสือ่ สารกับผู้อนื่ การใชค้ าศัพท์ การแสดงออกของความคดิ การเล่าเรอ่ื ง เปน็ ตน้ 2. ด้านคณิตศาสตร์ หรือการใช้เหตุผลเชิงตรรกะ (Logical mathematical intelligence) ผู้มี อัจฉริยภาพด้านน้ีมักจะคิดโดยใช้สัญลักษณ์ มีระบบ ระเบียบในการคิดชอบคิดวิเคราะห์ แยกแยะส่ิงต่างๆ ให้เหน็ ชัดเจน ชอบคดิ และทาอะไรตามเหตผุ ล เข้าใจสิง่ ที่เป็นนามธรรมไดง้ า่ ย ชอบและทาคณิตศาสตร์ไดด้ ี 3. ด้านมิติสัมพันธ์ (Spatial intelligence) แสดงออกทางด้านศิลปะ การวาดภาพ การเห็น รายละเอียด การใช้สี การสร้างสรรค์งานต่างๆ มักจะเห็นวิธีแก้ปัญหาในมโนภาพ เป็นต้น ปัญหาด้านน้ีถูก ควบคมุ โดยสมองซกี ขวา 4. ด้านดนตรี (Musical intelligence) แสดงออกทางความสามารถในด้านการร้องเพลง แต่งเพลง ไวตอ่ การรบั รู้เสียงและจงั หวาต่างๆปัญญาดา้ นนีถ้ กู ควบคมุ โดยสมองซีกขวาเช่นกนั 5. ด้านการเคลื่อนไหวร่างกายและกล้ามเน้ือ (Bodily kinesthetic intelligence) สมองส่วน คอร์เท็กซ์คุมปัญญาด้านน้ี โดยด้านซ้ายคุมการเคล่ือนไหวของร่างกายซีกขวาด้านขวาคุมการเคล่ือนไหวของ รา่ งกายซีกซา้ ย ซึ่งจะแสดงออกด้านการเล่นกีฬา เล่นเกมต่างๆ การแสดง การเตน้ รา เปน็ ตน้ 6. ด้านการสัมพันธ์กับผู้อ่ืน (Interpersonal intelligence) สมองส่วนหน้าเป็นส่วนที่ควบคุมปัญญา ด้านนี้ ซึ่งแสดงออกโดยการมีปฏิสัมพันธ์กับผู้อ่ืน การทางานกับผู้อื่น การเข้าใจและเคารพผู้อ่ืน การแก้ปัญหา ความขดั แยง้ และการจัดระเบยี บ เป็นตน้ ผูม้ ปี ัญญาดา้ นนีม้ กั จะชอบชว่ ยเหลือ และให้คาปรึกษาแก่ผอู้ ่นื 7. ด้านการเข้าใจตนเอง (Intrapersonal intelligence) ปัญญาด้านนี้มักเกิดร่วมกับสติปัญญา ด้านอ่ืน มีลักษณะปฏิสัมพันธ์ระหว่างเชาว์ปัญญา อย่างน้อย 2 ด้าน ซึ่งจะแสดงออกด้วยการเข้าใจตนเอง มกั เปน็ คนทีช่ อบคิด ชอบความเงียบสงบ เปน็ ต้น

8. ด้านธรรมชาติ (Naturalist intelligence) เป็นความสามารถในการสังเกตสิ่งแวดล้อม ทางธรรมชาติ การจาแนกแยกแยะ จัดหมวดหมู่ส่ิงต่างๆรอบตัว คนท่ีมีความสามารถด้านนี้มักเป็นผู้ รักธรรมชาติ ชอบ และสนใจสัตว์ เป็นต้น การประยุกต์ใช้ทฤษฎีในการจัดการเรียนรู้ ผู้สอนควรจัดกิจกรรมที่หลากหลายท่ีสามารถส่งเสริม เชาว์ปญั ญาหลายๆดา้ น ผู้สอนควรจดั การเรียนรู้ใหเ้ หมาะสมกับขน้ั พัฒนาการในแต่ละด้านของผู้เรยี นเนื่องจาก ผู้เรียนมีระดับพัฒนาการในเชาว์ปัญญาแต่ละด้านไม่เท่ากัน การสอนควรเน้นการส่งเสริมความเป็นเอกลักษณ์ ของผู้เรียน ผู้สอนควรสอนโดยเน้นให้ผู้เรียนค้นหาเอกลักษณ์ของตน ภาคภูมิใจในเอกลักษณ์ของตน และ เคารพในเอกลักษณ์ของผู้อื่น รวมทั้งเห็นคุณค่าและเรียนรู้ที่จะใช้ความแตกต่างของแต่ละบุคคลให้เป็น ประโยชน์ต่อส่วนรวม ทั้งน้ีเพราะผู้เรียนแต่ละคนมีเชาว์ปัญญาแต่ละด้านไม่เหมือนกันการผสมผสาน ความสามารถด้านต่างๆท่ีมีอยู่ไม่เท่ากัน ทาให้เกิดเป็นเอกลักษณ์ หรือลักษณะเฉพาะของแต่ละคน ซ่ึงไม่เหมือนกัน หรืออีกนัยหนึ่งเอกลักษณ์ของแต่ละบุคคลทาให้แต่ละคนแตกต่างกัน และความแตกต่าง ที่หลากหลายนี้สามารถนามาใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อส่วนรวมได้ ระบบการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ควรประเมินหลายๆด้าน และในแต่ละด้านควรเป็นการประเมินในสภาพการณ์ของปัญหา ท่ีสามารถแก้ปัญหา ได้ด้วยอปุ กรณ์ทสี่ ัมพันธ์กับเชาวป์ ญั ญาดา้ นนน้ั

8.3. ขนั้ ตอนการดาเนนิ งานพฒั นา Ploblem ระบุปญั หา Objective ไมผ่ า่ น กาหนดจดุ ม่งุ หมาย Innovation คิดคน้ นวตั กรรม ข้อ กำหนดจดุ มงุ่ หมำย Experimentation ทดลองใช้ ผลกาผลการทดลอง ใช้ ผ่าน Dissemination เผยแพร่ ขอ้ กำหนดจดุ มงุ่ หมำย ภาพที่ 1 แผนภาพแสดงขนั้ ตอนการดาเนนิ การสรา้ งนวตั กรรม สุ-จ-ิ ปุ-ลิ (ฟัง-คดิ -ถาม-เขยี น)

ขน้ั ตอนการระบปุ ญั หา (Ploblem) ระบุปัญหา ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมการเรียนรู้ของผู้เรียนในห้องเรียน พบว่า นักเรียนขาดความ กระตือรือรน้ ในการเรียนรู้ ไมก่ ล้าคิด ไม่กล้าแสดงออก และไม่สนใจในการเรียนทาให้นาไปสผู่ ลสัมฤทธ์ทิ างการ เรยี นทีต่ ่า ข้นั ตอนการกาหนดจดุ มุ่งหมาย (Objective) กาหนดวัตถุประสงค์ นาปัญหาท่ีพบในห้องเรียนมาวิเคราะห์และกาหนดวัตถุประสงค์ เพ่ือเป็น แนวทางในการพัฒนาผู้เรียน โดยมุ่งเน้นที่ตัวผู้เรียนเป็นสาคัญ เพ่ือพัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิชา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีให้ดีมากขึ้น ตลอดจนประเมินความพึงพอใจจากการเรียนรู้ของผู้เรียนในการเรียน โดยใช้รปู แบบการจดั การเรียนการสอนแบบ สุ-จ-ิ ป-ุ ลิ (ฟัง-คดิ -ถาม-เขยี น) ขน้ั ตอนการคดิ ค้นนวัตกรรม (Innovation) 1 สร้างนวัตกรรม มีการกาหนดขัน้ ตอนวิธกี ารดว้ ยรูปแบบการเรียนการสอน แบบ สุ-จิ-ปุ-ลิ (ฟงั -คดิ -ถาม-เขียน) ภาพที่ 2 แผนภาพแสดงนวตั กรรม สุ-จ-ิ ป-ุ ลิ (ฟัง-คิด-ถาม-เขียน) การจัดการเรยี นการสอน โดยใช้รูปแบบการสอน แบบ สุ-จ-ิ ปุ-ลิ (ฟงั -คิด-ถาม-เขยี น) ซ่งึ ประกอบดว้ ย 4 กระบวนการคือ กระบวนการที่ 1 การสรา้ งบรรยากาศภายในห้องเรียนใหเ้ กิดการฟงั เพื่อนาไปสลู่ าดบั ของ การคิดไตร่ตรองตามมา โดยครูผู้สอนนาสภาพแวดล้อมรอบตวั ผเู้ รยี นมาเป็นส่ิงในการนาสู่คาถามเพ่ือให้ผู้เรียน ทราบในสิ่งท่ีจะเรียนรู้ โดยผู้เรียนจะมีบทบาทในการคิดค้นหาคาตอบ โดยนาเรื่องราวใกล้ตัวหรือสิ่งแวดล้อม รอบตวั มาเป็นคาตอบ ซึง่ จะส่งผลให้ผ้เู รยี นทราบถงึ เนือ้ หาสาระการเรยี นทีช่ ัดเจนข้ึน

กระบวนการท่ี 2 การกระตุ้นให้เกิดคาถามจากผู้เรียน เพ่ือที่ผู้เรียนจะได้ถ่ายทอดผ่านการ เขียนออกมาได้ถูกต้อง โดยผู้สอนแจ้งวัตถุประสงค์การเรยี นให้ผู้เรียนทราบวา่ ในการเรียนครัง้ ท่ีมีเปา้ หมายเพ่ือ ส่ิงใด เม่ือผู้เรียนเกิดอุปสรรคก็จะมีคาถามท่ีตามมาว่าจะต้องดาเนินการอย่างไรจึงจะบรรลุเป้าหมาย ผู้เรียน ตอ้ งออกแบบเขียนแผนการทางานของตนเอง นาไปสู่กรอบความคิดที่เป็นระบบ นาไปสู่เป้าหมายในการลงมือ ทาท่ชี ัดเจน กระบวนการท่ี 3 การเรียนรู้ลงมือทา ผู้สอนนาผู้เรียนเข้าสู่การปฏิบัติ โดยครูเป็นผู้ให้คา ช้ีแนะสนับสนุน แนะนา หรอื ทาให้ดูเป็นตัวอย่าง จากน้ันผู้เรยี นดาเนนิ การลงมือปฏิบัติเพื่อให้เกิดความรู้ความ เข้าใจทีแ่ ทจ้ รงิ จนสามารถปฏบิ ัติงานออกมาไดอ้ ยา่ งถูกต้องและสร้างสรรค์ กระบวนการที่ 4 การย้าเตือนความเข้าใจ กาหนดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้แสดงออก หรือ ถ่ายทอดความรู้นั้นสู่ผู้อื่น โดยกิจกรรมดังกล่าว อาจให้ผู้เรียน นาเสนอหน้าชั้นเรียน หรือถ่ายทอดความรู้นั้น ด้วยวิธีการต่างๆ ตามท่นี ักเรียนถนัดและสนใจ เพ่ือเป็นการสร้างความรู้ความเข้าใจที่หย่ังลึกหยั่งถึงเป็นความรู้ ความเข้าใจทแี่ ท้จรงิ 2 ข้ันตอนการวิเคราะห์เน้อื หาและออกแบบบทเรียน ข้าพเจ้าได้ศึกษาหลักสตู ร วิเคราะห์หลักสตู ร วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้ วเิ คราะห์ผู้เรียน จดั หน่วยการเรียนรู้ เพอื่ นาไปใชใ้ นการวางแผนการจดั การเรยี นรู้ และจัดทาแผนการจดั การเรียนรู้ ดังนี้ ภาพท่ี 3 ภาพแผนการจัดการเรยี นร้โู ดยใชน้ วตั กรรม สุ-จ-ิ ปุ-ลิ (ฟัง-คิด-ถาม-เขียน) แบบหนา้ เดยี ว

ขนั้ ตอนการทดลองใช้ (Experimentation) เม่ือดาเนินการศึกษาหลักสูตร วิเคราะห์หลักสูตร วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้ วิเคราะห์ผู้เรียนจัด หน่วยการเรยี นรู้ เพ่อื นาไปใช้ในการวางแผนการจัดการเรยี นรู้ และจดั ทาแผนการจดั การเรยี นรู้ แล้วผู้สอนก็ นานวัตกรรมรูปแบบการจัดการเรียนรู้ แบบ สุ-จิ-ปุ-ลิ (ฟัง-คิด-ถาม-เขียน) ไปใช้จริงกับผู้เรียน โดยกลุ่ม ตัวอยา่ งทีน่ าไปใชค้ อื นักเรยี นโรงเรียนบา้ นจนั ทัย ในระดบั ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี 6 จานวน 22 คน

ขนั้ ตอนการเผยแพร่ (Dissemination) จดั ทาวารสารประชาสัมพันธ์เผ่ยแพร่ผ่านทางสื่อสังคมออนไลน์ แอปพลเิ คชน่ั facebook ภาพที่ 3 แผนภาพประชาสัมพันธ์แสดงสรปุ กระบวนการนวตั กรรม สุ-จ-ิ ปุ-ลิ (ฟัง-คดิ -ถาม-เขยี น) 8.4.ผลงานทเ่ี กิดขนึ้ จากการดาเนินงาน ดา้ นผเู้ รียน 1 ผู้เรยี นไดค้ วามรแู้ ละทกั ษะกระบวนการคดิ ท่หี ลากหลายอย่างเต็มความสามารถ 2 ผเู้ รยี นไดเ้ รยี นรู้ผ่านประสบการณ์และมีส่วนรว่ มในการทากจิ กรรมตา่ งๆ 3 ผู้เรียนไดส้ ร้างช้นิ งานและมีการนาเสนองานอยา่ งสรา้ งสรรค์ 4 ผู้เรยี นมีสว่ นรว่ มในการสนทนาและมีการถามตอบเพ่ือให้เกิดกระบวนการเรียนรู้ทีห่ ลากหลาย 5 ผเู้ รยี นสามารถถ่ายทอดความรู้จากเพ่ือนส่เู พ่ือนและจากพี่สู่น้องเพ่ือให้เกิดเปน็ เครือขา่ ย ความรรู้ ่วมกัน ด้านครผู ้สู อน 1 ครผู ู้สอนส่งเสริมสนับสนุนให้ผเู้ รยี นได้เกิดการเรยี นรแู้ ละพัฒนาทักษะการเรยี นรู้อยา่ งเต็ม ความสามารถ 2 ครูผสู้ อนได้พัฒนาการจัดการเรียนรทู้ ่นี ่าสนใจและมีความหลากหลาย 3 ครผู ้สู อนสรา้ งบรรยากาศการเรยี นรแู้ ละกระตุ้นใหผ้ ู้เรยี นเกิดความกระตือรือร้นในการเรียน มากยง่ิ ขึ้น 4 ครูผสู้ อนส่งเสรมิ สนบั สนนุ ในการจดั ทาแหล่งเรยี นร้ภู ายในสถานศกึ ษาให้มีความ หลากหลาย

8.5.สรปุ ส่ิงทเ่ี รียนร้แู ละการปรับปรงุ ให้ดีขึ้น 1.) วิธีการหรือนวัตกรรมจัดการเรียนรู้ท่ีเน้นผู้เป็นสาคัญ ในการจัดการเรียนรู้ทาให้นักเรียนมีบทบาท ในการเรียนรมู้ ากขนึ้ และเป็นฝา่ ยลงมือปฏบิ ัติมากข้ึน (active learner) ทาให้นักเรยี นมีคุณลักษณะท่ีสามารถ คิดประดิษฐ์สร้างสรรค์ผลงานได้มากขึ้น (active ability) ดังนั้น การนานวัตกรรมมาใช้ในการจัดการเรยี นรู้จึง ช่วยแก้ปญั หาเรอื่ งวิธกี ารจดั การเรียนรู้ 2.) นวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ เชน่ รูปแบบกำรจดั กำรเรยี นรู้ ช่วยให้นกั เรียนเกิดการเข้าใจ โดยเห็น ประโยชน์และความสาคัญ รวมท้ังให้ความสนใจและชอบเรียนในรายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม เพมิ่ ข้ึน 3.) การพัฒนาคิดค้นหาเทคนิควิธีการจัดการเรียนรู้และผลิตส่ือการจัดการเรียนรู้ใหม่ ๆ เพ่ือนามาใช้ ใน การจัดการเรียน รู้ให้ เพียงพอเหมาะสมกับ สภ าพของนั กเรียน จึงจะทาให้ การจัดการเรียน รู้บ รรลุ ตาม จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ ในการจดั การเรียนรูร้ ายวิชาสงั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 8.6.การขยายผลและการเผยแพร่ผลการพัฒนา ขยายผลนวัตกรรมรูปแบบการจดั การเรยี นรู้ แบบ สุ-จ-ิ ปุ-ลิ (ฟงั -คดิ -ถาม-เขียน) สูร่ ะดบั เขตพื้นที่ การศึกษา เพ่ือเผยแพร่ไปยังกล่มุ เครือข่ายสถานศึกษาอ่นื ๆ 9.ข้อเสนอแนะและแนวทางการพัฒนาอย่างต่อเนอื่ ง ภาพท่ี 4 เผยแพร่ผลการนิเทศตดิ ตามการใช้นวตั กรรมทางการศึกษา

ภาพที่ 5 ภาพแสดงเอกสารการเผยแพร่และขยายผลการใช้นวัตกรรมในระดับเขตพน้ื ที่การศกึ ษา 10.จุดเด่นหรือลกั ษณะพิเศษของผลงานนวตั กรรม นักเรียนเกดิ ความสนใจ เกิดการเรียนรู้ เกิดความเข้าใจในเนื้อหาและมผี ลสัมฤทธ์ิทางการเรียนดีข้นึ นาไปถึงสามารถนาไปใช้ไดจ้ ริงในชีวิตประจาวัน ซึง่ ผลทไ่ี ด้จากการใชน้ วัตกรรมการจดั การเรียนรู้ ในครงั้ น้ีจะ เป็นแนวทางมาประยุกต์ใชเ้ ป็นเครือ่ งมือในการจัดการเรียนการสอนใหม้ ีประสทิ ธิภาพย่ิงขึ้น 11.บรรณานกุ รม  ทิศนา แขมมณี. (2548). ศาสตรก์ ารสอน. (การพิมพค์ รง้ั ท่ี 4) กรุงเทพฯ: ดา่ นสุทธา การพิมพจ์ ากดั  กระทรวงศึกษาธิการ.(2544).ชดุ ฝกึ อบรมวทิ ยากรแกนนา หลักสตู รการศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐานพทุ ธศักราช 2544 ชุดท่ี 11 เรื่อง กระบวนการเรียนรู้. กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พ์ องค์การรับส่งสินค้าและพสั ดุภณั ฑ์ (ร.ส.พ.)  ชัยวฒั น์ สทุ ธิรตั น.์ (2552). 80 นวตั กรรมการจดั การเรียนรู้ทีเ่ น้นผเู้ รยี นเป็นสาคัญ. กรุงเทพฯ: บรษิ ัท แดเน็กซ์ อินเตอรค์ อร์ปปอเรชน่ั .


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook