Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore บทที่ 1ความหมายของกราฟิก

บทที่ 1ความหมายของกราฟิก

Published by SUPHATTRA, 2021-02-09 06:05:55

Description: กราฟิกเบื้องต้น

Search

Read the Text Version

1 กราฟกิ เบ้อื งตน้ ความหมายของกราฟิก กราฟิก (Graphic) มกั เขยี นผิดเปน็ กราฟกิ ส์ กราฟฟิกส์ กราฟฟิก คาวา่ “กราฟิก” มาจากภาษากรีก ซึ่งหมายถึง การวาดเขียน (Graphikos) และการเขียน (Graphein) ต่อมามผี ู้ใหค้ วามหมายของคาว่า “กราฟิก” ไว้หลายประการซง่ึ สรปุ ไดด้ ังนี้ กราฟิก หมายถึง ศิลปะแขนงหน่ึงซ่ึงใช้สื่อความหมายด้วยเส้น สัญลักษณ์ รูปวาด ภาพถ่าย กราฟ แผนภูมิ การ์ตูน ฯลฯ เพ่ือให้สามารถส่ือความหมายข้อมูลได้ถูกต้อง ตรงตามทผี่ ู้ส่อื สารต้องการ ความหมายของคอมพวิ เตอร์กราฟกิ คอมพิวเตอรก์ ราฟกิ หมายถงึ การสร้าง การตกแตง่ แก้ไข หรอื การจัดการเกยี่ วกับ รูปภาพ โดยใช้เคร่ืองคอมพิวเตอร์ในการจัดการ ยกตัวอย่างเช่น การทา Image Retouching ภาพคนแก่ให้มีวัยท่ีเด็กข้ึน การสร้างภาพตามจินตนาการและการใช้ภาพกราฟิกในการ นาเสนอข้อมลู ตา่ ง ๆ เพื่อให้สามารถสื่อความหมายได้ตรงตามท่ีผสู้ ่ือสารตอ้ งการและนา่ สนใจ ยิง่ ขนึ้ ด้วยกราฟ แผนภมู ิ แผนภาพ เป็นต้น

2 ภาพกราฟกิ แบง่ เป็น 2 ประเภท คอื ภาพกราฟกิ แบบ 2 มติ ิ แบบ 3 มติ ิ และแบบ 4 มติ ิ ภาพกราฟิกแบบ 2 มิติ เป็นภาพท่ีพบเห็นโดยท่ัวไป เช่น ภาพถ่าย รูปวาด ภาพลายเส้น สญั ลกั ษณ์ กราฟ รวมถงึ การ์ตูนต่าง ๆ ในโทรทัศน์ ยกตัวอย่างเชน่ การ์ตูนเร่อื งพภิ พยมราช ชินจัง และโดเรมอน เป็นต้น ซ่งึ การ์ตูนจะเป็นภาพกราฟิกเคล่ือนไหว (Animation) โดยจะมี กระบวนการสรา้ งทีซ่ บั ซอ้ นกว่าภาพวาดปกติ ภาพกราฟกิ แบบ 3 มิติ เปน็ ภาพกราฟกิ ทใี่ ชโ้ ปรแกรมสรา้ งภาพ 3 มติ โิ ดยเฉพาะ เช่น โปรแกรม 3 Ds max โปรแกรม Maya เปน็ ตน้ ซึง่ จะทาใหไ้ ด้ภาพมีสแี ละแสงเงาเหมอื น จรงิ เหมาะกบั งานด้านสถาปตั ย์และการออกแบบตา่ ง ๆ รวมถงึ การสร้างเป็นภาพยนตร์ การต์ ูนหรือโฆษณาสินคา้ ต่าง ๆ เช่น การต์ ูน เรื่อง Nemo The Bug และปังปอนดแ์ อนิเมชัน เปน็ ตน้

3 หลกั การทางานและการแสดงผลของภาพคอมพิวเตอรก์ ราฟิก ภาพทีเ่ กดิ บนจอคอมพิวเตอร์ เกดิ จากการทางานของโหมดสี RGB ซง่ึ ประกอบดว้ ยสีแดง (Red) สีเขยี ว (Green) และสนี ้าเงนิ (Blue) โดยใช้หลกั การยิงประจุ ไฟฟ้าใหเ้ กดิ การเปลง่ แสงของสที ั้ง 3 สมี าผสมกันทาใหเ้ กิดเปน็ จดุ สีสเี่ หลยี่ มเลก็ ๆ ทเี่ รียกวา่ พิกเซล (Pixel) ซึง่ มาจากคาวา่ Picture กับ Element โดยพกิ เซลจะมีหลากหลายสี เม่ือ นามาวางตอ่ กนั จะเกดิ เปน็ รปู ภาพ ซึ่งภาพทีใ่ ช้กับเครื่องคอมพวิ เตอรม์ ี 2 ประเภท คอื แบบ Raster และแบบ Vector หลักการของกราฟกิ แบบ Raster หลกั การของภาพกราฟิกแบบ Raster หรือแบบ Bitmap เปน็ ภาพกราฟกิ ท่ีเกดิ จากการเรียงตวั กันของจุดส่เี หลย่ี มเล็ก ๆ หลากหลายสี ซ่งึ เรยี กจดุ สีเหลยี่ มเลก็ ๆ น้วี า่ พิกเซล (Pixel) ในการสรา้ งภาพกราฟกิ แบบ Raster จะตอ้ งกาหนดจานวนของพิกเซลให้กบั ภาพที่ตอ้ งการสรา้ ง ถ้ากาหนดจานวนพกิ เซลนอ้ ย เม่ือขยายภาพให้มขี นาดใหญข่ ึ้นจะทาให้ แฟม้ ภาพมีขนาดใหญ่ ดงั นั้นการกาหนดพกิ เซลจงึ ควรกาหนดใหเ้ หมาะกบั งานทสี่ ร้างคือ ถา้ ตอ้ งการใชง้ านทวั่ ๆ ไปจะกาหนดจานวนพิกเซลประมาณ 100-150 ppi (Pixel/inch) “จานวนพกิ เซลตอ่ 1 ตารางน้ิว” ถา้ เปน็ งานทีต่ อ้ งการความละเอียดน้อยและแฟม้ ภาพมี ขนาดเลก็ เชน่ ภาพสาหรบั ใชก้ ับเว็บไซตจ์ ะกาหนดจานวนพิกเซลประมาณ 72 ppi และถา้ เป็นแบบงานพิมพ์ เชน่ นติ ยสาร โปสเตอร์ขนาดใหญ่ จะกาหนดจานวนพิกเซลประมาณ 300-350 เปน็ ต้น ข้อดขี องภาพกราฟิกแบบ Raster คือ สามารถแก้ไขปรับแต่งสี ตกแต่ง ภาพไดง้ ่ายและสวยงาม ซ่ึงโปรแกรมท่นี ิยมใช้สร้างภาพกราฟกิ แบบ Raster คือ Adobe Photoshop , Adobe Photoshop CS, Paint เปน็ ต้น หลักการของกราฟกิ แบบ Vector หลกั การของกราฟกิ แบบ Vector เป็นภาพกราฟิกทเ่ี กดิ จากการอ้างองิ ความสัมพันธ์ทางคณิตศาสตร์ หรือการคานวณ ซง่ึ ภาพจะมีความเป็นอสิ ระตอ่ กนั โดยแยก ชน้ิ สว่ นของภาพท้งั หมดออกเปน็ เสน้ ตรง เส้นโคง้ รปู ทรง เม่ือมีการขยายภาพความละเอยี ด ของภาพไม่ลดลง แฟ้มมขี นาดเลก็ กว่าแบบ Raster ภาพกราฟิกแบบ Vector นยิ มใช้เพ่ือ งานสถาปัยตต์ กแต่งภายในและการออกแบบต่าง ๆ เชน่ การออกแบบอาคาร การออกแบบ รถยนต์ การสร้างโลโก การสรา้ งการ์ตนู เป็นตน้ ซงึ่ โปรแกรมท่นี ยิ มใชส้ รา้ งภาพแบบ

4 Vector คือ โปรแกรม Illustrator, Core Draw, Auto CAD, 3Ds max เป็นตน้ แต่อุปกรณท์ ี่ ใช้แสดงผลภาพ เชน่ จอคอมพวิ เตอรจ์ ะเปน็ การแสดงผลภาพเป็นแบบ Raster ความแตกต่างของกราฟิกแบบ 2 มติ ิ ภาพกราฟิก 2 มติ แิ บบ Raster และ แบบ Vector มคี วามแตกต่างกันดังนี้ ภาพกราฟกิ แบบ Raster ภาพกราฟิกแบบ Vector 1. ภาพกราฟิกเกิดจากจดุ ส่ีเหลีย่ มเล็กๆ 1. ภาพเกิดจากการอ้างอิงความสัมพันธท์ าง หลากหลายสี (Pixels) มาเรียงตอ่ กนั จน คณิตศาสตร์หรือการคานวณ โดย กลายเป็นรปู ภาพ องคป์ ระกอบของภาพมอี สิ ระตอ่ กนั 2. การขยายภาพกราฟิกใหม้ ีขนาดใหญ่ข้ึน 2. การขยายภาพกราฟิกให้มขี นาดใหญ่ขน้ึ จะทาให้ความละเอียดของภาพเลก็ ลง ทาให้ ภาพยงั คงความละเอียดคมชัดเหมอื นเดิม มองเหน็ ภาพเปน็ จดุ สีเ่ หลย่ี มเล็ก 3. การตกแต่งและแก้ไขภาพ สามารถทาได้ 3. เหมาะกับงานออกแบบตา่ ง ๆ เช่น งาน ง่ายและสวยงาม เช่น การ Retouching สถาปัตย์ ออกแบบโลโก เปน็ ต้น ภาพคนแกใ่ หห้ นมุ่ ข้นึ การปรับสผี ิวกายให้ ขาวเนยี นข้นึ เปน็ ตน้ 4. การประมวลผลภาพสามารถทาได้ 4. การประมวลผลภาพจะใชเ้ วลานาน รวดเร็ว เนอื่ งจากใช้คาส่งั ในการทางานมาก หลกั การสร้างภาพ ขัน้ ตอนการสร้างภาพ กอ่ นอน่ื เราตอ้ งทาการวางแนวทางของช้นิ งานกอ่ นวา่ จะนาเสนอเรอ่ื งอะไร ใชส้ ี ภาพ และข้อความ ท่ีทาให้ทราบถึงแนวทางการสร้างช้ินงานกนั ตอ่ ซึง่ อาจจะไม่ตายตวั เสมอไปแต่ ก็พอเป็นแนวทางสรปุ โดยรวมของขน้ั ตอนได้ดงั น้ี 1. การกาหนดพ้ืนหลังของภาพ เป็นการกาหนดภาพ หรือสีพ้นื หลัง โดยภาพหรอื สพี ื้น หลังที่ใชน้ นั้ ควรมโี ทนสีใหอ้ ารมณ์และส่อื ความหมายไดถ้ กู ตอ้ งตามจุดประสงค์ของชน้ิ งาน 2. การเลอื กพน้ื ที่ภาพที่ใช้งาน เป็นการตัด หรอื คดั ลอกบางสว่ นของภาพต่างๆ ท่ีเรา จะนามาใชใ้ นช้นิ งานของเรา

5 3. การจดั วางภาพใหเ้ หมาะสม การนาภาพส่วนประกอบมารวมกันเป็นชน้ิ งาน อาจมี บางภาพทมี่ ีขนาดและมุมการจดั วางไม่ลงตวั เรากส็ ามารถขยาย หมุน และบิดภาพใหเ้ ข้า กนั หลกั การออกแบบภาพ การออกแบบ (Design). ความพงึ พอใจน้ันมองหลกั ๆ มอี ยทู่ งั้ หมด 3 ประเด็นสาคัญ คอื . 1. ความสวยงาม (Aesthetic) เปน็ ความพงึ พอใจแรกท่คี นเราสมั ผัสไดก้ ่อน มนุษยเ์ รา แตล่ ะคนต่างมีการรบั รูเ้ รื่องความสวยงามและความพงึ พอใจในเรือ่ งของความงามได้ไมเ่ ท่ากัน ขึน้ อยู่กับความพง่ึ พอใจแต่ละบุคคล. 2. มปี ระโยชนใ์ ช้สอยท่ดี ี (Function) การมีประโยชนใ์ ช้สอยทีด่ นี นั้ เปน็ เรอื่ งสาคญั มาก ในงานออกแบบทุกประเภท . 3. มแี นวความคดิ ในการออกแบบท่ีดี (Concept) แนวความคดิ ในการออกแบบทด่ี ีนัน้ คอื หนทางความคดิ ทีท่ าใหง้ านออกแบบทีไ่ ด้ ตอบสนองต่อความรู้สกึ พอใจ ช่นื ชม ความรเู้ กยี่ วกบั สี โดยทว่ั ไปแล้วสตี ่าง ๆ ในธรรมชาติและสีทถ่ี กู สรา้ งขน้ึ จะมรี ปู แบบการมองเห็นสที ่ี แตกต่างกัน ซึง่ รปู แบบการ มองเห็นสีเรยี กว่า “โมเดล (Model)” ดังนัน้ จงึ ทาให้มีโมเดล หลายแบบดังที่เราจะไดศ้ กึ ษาต่อไปน้ี - โมเดล HSB ตามหลกั การมองเหน็ สีของสายตามนุษย์. - โมเดล RGB ตามหลักการแสดงสขี องเคร่ืองคอมพวิ เตอร.์ - โมเดล CMYK ตามหลักการแสดงสีของเครอื่ งพมิ พ์. - โมเดล Lab ตามมาตรฐานของ CIE โมเดล HSB ตามหลกั การมองเหน็ สีของสายตามนุษย์ เป็นลักษณะพ้นื ฐานการมองเหน็ สีด้วยสายตาของมนุษย์ โมเดล HSB จะประกอบดว้ ย ลกั ษณะของสี 3 ลกั ษณะ 1.Hue เป็นสีของวัตถุที่สะท้อนเข้ามายงั ตาของเราทาให้เราสามารถมองเหน็ เป็นวตั ถุ สไี ดซ้ ง่ึ แต่ละสีจะแตกตา่ งกันตามความ ยาวของคลืน่ แสงทม่ี ากระทบวตั ถแุ ละสะทอ้ นกลับมาที่ตาของเรา Hue ถูกวดั โดยตาแหน่งการ แสดงสีบน Standard Color Wheel ซ่งึ ถูกแทนด้วยองศา คือ 0 ถงึ 360 องศา แต่โดยท่วั ๆ ไปแลว้ มกั เรยี กการแสดงสีน้ันๆ เปน็ ชือ่ ของสเี ลย เชน่ สีแดง สมี ่วง สเี หลือง

6 2. Saturation คอื สัดส่วนของสเี ทาทีม่ อี ยู่ในสีน้ัน โดยวัดคา่ สเี ทาในสหี ลักเป็นเปอร์เซน็ ต์ ดงั น้ีคือ จาก 0% (สเี ทาผสมอยู่ มาก) จนถงึ 100% (สเี ทาไม่มีเลย หรือเรยี กว่า “Full Saturation” คือสมี คี วามอม่ิ ตวั เต็มที่) โดยค่า Saturation นี้จะบ่งบอกถงึ ความ เขม้ ขน้ และความจางของสี ถ้าถูกวดั โดยตาแหน่งบน Standard Color Wheel ค่า Saturation จะเพิม่ ขนึ้ จากจุดกง่ึ กลางจนถึงเส้นขอบ โดยคา่ ท่ีเสน้ ขอบจะมีสที ่ชี ดั เจน และอ่ิมตัวที่สุด 3.Brightness เปน็ เรอ่ื งราวของความสว่างและความมืดของสี ซง่ึ ถกู กาหนดค่าเปน็ เปอร์เซน็ ต์ จาก0 % (สีดา) ถึง 100% (สขี าว) ยง่ิ มีเปอรเ์ ซน็ ตม์ ากจะทาใหส้ ีน้ันสว่างมากขึ้น ประเภทของไฟล์ภาพกราฟิก การสรา้ งภาพกราฟิกหรอื การตกแตง่ ภาพกราฟกิ ประเภทของไฟลภ์ าพกราฟิกเป็น อีกปัจจยั หน่งึ ทม่ี ี ความสาคัญ เพราะความละเอยี ดของไฟลภ์ าพจะสง่ ผลกับขนาดของภาพ เช่น ภาพทน่ี ามาใชง้ าน บนเวบ็ เพจควรจะต้องมขี นาดเลก็ เพื่อนาไปเรยี กใช้งานบนเวบ็ เพจได้ อย่างรวดเร็ว ประเภทของไฟลภ์ าพกราฟกิ ท่ีนยิ มใช้โดยทัว่ ไป ไดแ้ ก ่ 1. JPEG หรือ JPG (Join Photographic Export Group) เปน็ รูปแบบไฟล์ทีเ่ กบ็ ภาพแบบราสเตอรท์ ี่ไม่ตอ้ งการคณุ ภาพสงู มากนกั เชน่ ภาพถา่ ยจากกลอ้ งดจิ ิตอล ภาพถ่ายจาโทรศพั ทม์ อื ถอื และภาพกราฟิกสาหรบั แสดงบน อนิ เทอร์เนต็ สามารถแสดงสีไดถ้ งึ 16.7 ลา้ นสี เป็นไฟลภ์ าพชนดิ หนง่ึ ที่ไดร้ บั ความนิยม เพราะ ไฟลม์ ีขนาดเล็กสามารถบบี อดั ขอ้ มูลได้หลายระดบั จุดเดน่ 1. สนับสนุนสไี ด้ถึง 24 bit 2. แสดงสไี ดถ้ งึ 16.7 ลา้ นสี 3. สามารถกาหนดคา่ การบบี อัดไฟล์ไดต้ ามท่ีตอ้ งการ 4. มรี ะบบแสดงผลแบบหยาบและค่อย ๆ ขยายไปสู่ละเอียดในระบบโพรเกรสซีฟ (Progressive) 5. มโี ปรแกรมสนบั สนุนการสร้างจานวนมาก 6. เรียกดูไดก้ บั บราวเซอร์ (Browser) ทกุ ตัว จดุ ดอ้ ย 1. ไม่สามารถทาภาพใหม้ ีพนื้ หลังแบบโปร่งใส (Transparent) ได้ 2. ทาภาพเคล่ือนไหว (Animation) ไม่ได้ 2. GIF (Graphic Interchange Format)

7 เปน็ ไฟลภ์ าพท่ีสามารถบบี อัดข้อมูลให้มขี นาดเล็กได้ส่วนมากจะนาไปใช้บนั ทึกเปน็ ไฟล์ภาพ เคลอื่ นไหวและนยิ มมากในการใช้งานบนเว็บเพจ จดุ เดน่ 1. สามารถใชง้ านข้ามระบบไม่ว่าจะเปน็ ระบบปฏบิ ัติการวนิ โดวส์ (Windows) หรือ ระบบปฏิบตั ิการยูนิกซ์ (Unix) กส็ ามารถเรยี กใช้ไฟล์ภาพสกลุ น้ไี ด้ 2. ภาพมขี นาดไฟลต์ า่ จากเทคโนโลยกี ารบีบอดั ภาพทาใหส้ ามารถสง่ ไฟล์ภาพได้ อย่างรวดเรว็ 3. สามารถทาภาพพ้นื หลังแบบโปร่งใสได้ 4. มีโปรแกรมสนบั สนนุ การสร้างจานวนมาก 5. เรียกดไู ดก้ บั บราวเซอรท์ กุ ตัว 6. สามารถนาเสนอแบบภาพเคลื่อนไหวได้ จดุ ดอ้ ย 1. แสดงสีได้เพยี ง 256 สี 2. ไมเ่ หมาะกับภาพทีต่ อ้ งการความคมชัดหรือความสดใส 3. PNG (Portable Network Graphics) เป็นชนิดของไฟลภ์ าพที่นาจุดเด่นของไฟลภ์ าพแบบ GIF และแบบ JPG มาพัฒนา ร่วมกนั ทาให้ไฟลภ์ าพชนิดนี้แสดงสไี ดม้ ากกวา่ 256 สี และยงั สามารถทาพ้ืนหลังภาพให้ โปรง่ ใสได้ จึงเป็นไฟลภ์ าพท่ไี ด้รับความนิยมมากในปจั จุบัน จดุ เดน่ 1. สนับสนุนสไี ดต้ ามคา่ True color (16 bit, 32 bit หรือ 64 bit) 2. สามารถกาหนดค่าการบีบอดั ไฟลไ์ ด้ตามท่ตี อ้ งการ 3. ทาภาพพนื้ หลังแบบโปรง่ ใสได้ จุดด้อย 1. หากกาหนดคา่ การบีบอัดไฟล์ไว้สูงจะใชเ้ วลาในการคลายไฟล์ภาพสูงตามไปด้วย 2. ไม่สนับสนนุ กบั บราวเซอร์ร่นุ เก่า 3. โปรแกรมสนบั สนนุ ในการสรา้ งมีน้อย 4. BMP (Bitmap) เปน็ รปู แบบของไฟลภ์ าพมาตรฐานทใี่ ชไ้ ด้ในระบบปฏบิ ัติการวนิ โดวสโ์ ดยมีลกั ษณะ การจัดเก็บ ไฟลภ์ าพเปน็ จดุ สีทีละจุดจึงทาให้ภาพดเู สมอื นจริง จดุ เด่น 1. แสดงรายละเอียดสไี ด้ 24 บิต 2. ไม่มีการสญู เสยี ขอ้ มูลใด ๆ เมื่อมกี ารย่อหรอื ขยายภาพ 3. นาไปใชง้ านไดก้ ับทกุ โปรแกรมในระบบปฏิบตั กิ ารวนิ โดวส์

8 จดุ ดอ้ ย 1. ภาพมีขนาดใหญม่ ากจงึ ใชเ้ น้ือทีใ่ นการจัดเกบ็ ค่อนข้างมาก 2. ความละเอียดของภาพอาจจะไม่ชัดเจนเหมือนตน้ ฉบับ 5. TIF หรอื TIFF (Tagged Image File) เป็นไฟลท์ ่ีใช้เกบ็ ภาพแบบราสเตอร์คุณภาพสูง เช่น ภาพกราฟิกที่นาไปทางานดา้ น สง่ิ พมิ พ์ (Artwork) สามารถเก็บขอ้ มขู องภาพไวไ้ ดค้ รบถว้ น ทาให้คุณภาพของสเี หมอื น ตน้ ฉบับ จุดเด่น 1. สามารถใช้งานขา้ มระบบ ไม่ว่าจะเปน็ ระบบปฏบิ ัติการวนิ โดวสห์ รือ ระบบปฏิบัติการยูนิกซ์ กส็ ามารถเรียกใชไ้ ฟลภ์ าพชนดิ นี้ได้ 2. แสดงรายละเอียดสไี ด้ 48 บิต 3. ไฟล์มคี วามยืดหยุ่นสงู สามารถเปล่ียนแปลงแกไ้ ขได้ 4. เมอ่ื มกี ารบบี อดั ไฟล์จะมีการสญู เสยี ขอ้ มลู น้อยมาก 5. มีโปรแกรมสนบั สนนุ การสร้างจานวนมาก จดุ ดอ้ ย 1. ไฟลภ์ าพมีขนาดคอ่ นข้างใหญ่ 2. ใช้พ้ืนทีใ่ นการจัดเก็บไฟล์ภาพสงู 6. PSD (Photoshop Document) เป็นไฟล์ภาพเฉพาะโปรแกรม Adobe Photoshop จะทาการบนั ทึกแบบแยกเล เยอร์ (Layer) โดยเก็บประวัติการทางานและรายละเอียดการตกแตง่ ภาพ เอาไว้ เพือ่ งา่ ยต่อ การแก้ไขในภายหลัง จุดเดน่ 1. มกี ารบนั ทกึ แบบแยกเลเยอร์และเกบ็ ประวตั ิการทางานทุกขั้นตอน 2. สามารถนาไฟล์ภาพมาแก้ไขได้ในภายหลงั จุดด้อย 1. ไฟล์ภาพมขี นาดใหญเ่ มือ่ เทยี บกบั ไฟล์ภาพประเภทอืน่ 2. ไมส่ ามารถเปิดใชง้ านในโปรแกรมอื่นได้ คอมพิวเตอร์กราฟกิ กบั การประยกุ ต์ใช้ในงานด้านต่าง ๆ งานด้านกราฟกิ มีการพัฒนาอยา่ งรวดเร็วและแพรห่ ลาย คอมพิวเตอรก์ ราฟิกกับการ ประยุกต์ ใชใ้ นงานด้านต่าง ๆ ไดแ้ ก่ 1. คอมพิวเตอรก์ ราฟกิ กบั งานออกแบบ (Computer – Aided Design)

9 คอมพิวเตอร์กราฟกิ ได้เขา้ มามบี ทบาทกับงานด้านออกแบบในสาขาต่าง ๆ เป็น จานวนมาก เช่น การออกแบบรถยนต์ การออกแบบเคร่อื งจักร การออกแบบผลิตภณั ฑ์ การ ออกแบบตกแต่งภายใน และการออกแบบเครอื่ งประดับ เปน็ ต้น CAD (Computer – Aided Design) เป็นโปรแกรมชว่ ยในการออกแบบทางวศิ วกรรม ซง่ึ จะชว่ ยให้ผู้ออกแบบ หรอื วศิ วกรออกแบบงานได้ง่ายและสะดวกยิ่งขนึ้ เมือ่ ต้องการแก้ไขก็ สามารถทาได้ง่ายกวา่ การทางานในกระดาษ สามารถออกแบบลักษณะลายเส้น ใสส่ ี แสงเงา เพื่อให้ดูคล้าย ของจริง สาหรับงานด้านวศิ วกรรมไฟฟ้าและอเิ ล็กทรอนกิ ส์ ได้ถูกนามาใช้ใน การออกแบบวงจรตา่ ง ๆ โดยใช้สญั ลักษณท์ รี่ ะบบมีให้ แลว้ ทาการประกอบ เป็นวงจรท่ี ต้องการ ผู้ออกแบบสามารถแกไ้ ขตัดตอ่ เพม่ิ เติมวงจรได้ เชน่ การออกแบบรถยนต์ เครอ่ื งบนิ หรือเครื่องจกั รต่าง ๆ นกั ออกแบบจะใช้ CAD ออกแบบสว่ นย่อย ๆ แตล่ ะสว่ นก่อน แล้วจึง ประกอบกันเป็นสว่ นใหญ่ ซ่งึ บางระบบสามารถทดสอบแบบจาลองท่อี อกแบบไว้ เช่น การ ออกแบบรถยนต์ แลว้ นาโครงสรา้ งของรถท่ีออกแบบมาจาลอง การวิง่ แล้วเกบ็ ผลมา ตรวจสอบค่า หรือการออกแบบโครงสรา้ งตึก บา้ น สะพาน และสถาปตั ยกรรม เพ่ือแสดงภาพ ในมมุ มองตา่ ง ๆ ตามทผี่ อู้ อกแบบตอ้ งการ ตวั อย่างการใช้คอมพวิ เตอรก์ ราฟกิ กับงาน ออกแบบโครงสรา้ งภาพคน 2. คอมพิวเตอร์กราฟกิ กับงานนาเสนอ (Presentation) ในการนาเสนอผลงานโดยใชโ้ ปรแกรมคอมพวิ เตอรก์ ราฟิก สามารถแสดงผลทาง หน้าจอโปรเจคเตอร์ (Projector) หรือพมิ พง์ านลงในโปรแกรมคอมพิวเตอร์ เชน่ โปรแกรม Microsoft Office PowerPoint ใชส้ าหรับการนาเสนองาน การนาเสนอสนิ คา้ สว่ นมากนยิ ม จัดทาเปน็ รายงานในรปู แบบตา่ ง ๆ เชน่ รายงานสรปุ งบการเงนิ รายงานข้อมูลลกู ค้า เป็นตน้ นยิ มแสดงในรูปแบบของกราฟหรือรปู ภาพ เพื่อใหง้ ่ายต่อการทาความเข้าใจ 3. คอมพิวเตอรก์ ราฟกิ กับงานบนั เทิง (Entertainment) คอมพวิ เตอร์กราฟิกกับงานบนั เทงิ โดยเฉพาะงานดา้ นมัลติมเี ดยี ได้รบั ความ แพร่หลาย ในวงการบันเทิงเป็นอย่างมาก เชน่ การโฆษณาสินค้าทางโทรทศั น์ รายการขา่ ว ละคร เกมออนไลน์ การสร้างภาพการต์ ูน การสร้างภาพเคลื่อนไหว การสร้างภาพวิดีโอ การ สร้างฉากภาพยนตร์ เปน็ ต้น 4. คอมพวิ เตอรก์ ราฟิกกับงานเว็บไซต์ (Web Site) ได้มกี ารนาคอมพิวเตอรก์ ราฟกิ มาใชใ้ นการจัดทาเวบ็ ไซต์ เพอ่ื ประชาสัมพันธห์ นว่ ยงาน หรอื องคก์ รหรอื เผยแพร่ ขอ้ มูลขา่ วสารตา่ ง ๆ สสู่ าธารณะ 5. คอมพวิ เตอรก์ ราฟกิ กบั งานด้านการศึกษาและฝึกอบรม (Education and Training)

10 คอมพวิ เตอร์กราฟิกเข้ามามีบทบาทกบั วงการศึกษา และวงการฝกึ อบรมอยา่ ง แพรห่ ลาย ทาให้เกิดเคร่ืองมือสาหรบั ช่วยสอนต่าง ๆ มากมาย รวมทงั้ เกดิ สอื่ อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ ช่วยสอนในรูปแบบ ต่าง ๆ เพอื่ สนบั สนนุ และสง่ เสริมการศึกษา เชน่ คอมพิวเตอร์ชว่ ยสอนใน ลกั ษณะมลั ตมิ ีเดีย การเรียนการสอนบนเว็บ (e-Learning) ส่วนการนา คอมพวิ เตอร์ กราฟกิ ในงานด้านการฝึกอบรม เช่น การใช้คอมพิวเตอร์ในการฝึกอบรมที่เรียกว่า e-Training ปัจจบุ นั มกี ารพัฒนาเว็บไซต์สาหรับฝกึ อบรมของสถาบนั ฝกึ อบรมหลายแห่ง ตัวอยา่ งคอมพวิ เตอร์กราฟิกกบั งานดา้ นการศึกษา สรปุ ความรู้เบ้อื งต้นเก่ียวกับคอมพวิ เตอร์กราฟิก เร่มิ จากการทาความเขา้ ใจความหมายของ กราฟิก ซึ่งเป็นศลิ ปะหรอื ศาสตรแ์ ขนงหนึ่งทสี่ ่ือความหมายโดยใช้เสน้ ภาพเขยี น ภาพถ่าย ภาพวาดหรอื สญั ลกั ษณ์ สว่ นความหมายของคอมพวิ เตอรก์ ราฟิก เป็นการสร้างและการ จัดการภาพกราฟกิ โดยใช้คอมพิวเตอร์ หลกั การทางานของภาพกราฟกิ แบบราสเตอร์ เกิดจาก การเรียงตัวของจดุ ส่เี หลย่ี มทเ่ี รยี กวา่ พิกเซล และภาพกราฟกิ แบบเวคเตอร์ เกดิ จากการ ประมวลผลโดยอาศยั หลักการคานวณทางคณติ ศาสตร์ ประเภทของภาพกราฟิกแบบ 2 มิติ จะมีแตค่ วามกวา้ งและความยาว ส่วนภาพกราฟกิ แบบ 3 มิติ ประกอบไปด้วยสว่ นโคง้ เวา้ มุม แสงและความลกึ ระบบสีทใ่ี ช้กบั ภาพกราฟกิ ไดแ้ ก่ RGB CMYK HSB และ LAB ประเภทของ ไฟล์ภาพกราฟิกท่ีใช้สาหรบั จดั เกบ็ ภาพ จะมีผลกับขนาดของไฟล์ภาพ ตลอดจนปจั จุบันมีการ ประยุกต์คอมพิวเตอร์กราฟิกไปใช้กบั งานดา้ นต่าง ๆ ได้อยา่ งหลากหลาย เชน่ งานบันเทงิ งานการเรียนการสอนและการฝึกอบรม งานออกแบบ งานเวบ็ ไซต์ หรืองานนาเสนอขอ้ มูล เปน็ ตน้


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook