Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ความรู้เบื้องต้นนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศการศึกษา

ความรู้เบื้องต้นนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศการศึกษา

Published by Peerasit baingern, 2021-10-29 08:36:43

Description: นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศการศึกษา

Search

Read the Text Version

GROUP 3 นวตั กรรมและเทคโนโลยี สารสนเทศการศึกษา รหัสวิชา 1031702 Section 15

ความหมายของนวตั กรรม นวัตกรรม” หมายถงึ ความคิด การปฏิบตั ิหรือสิง ประดิษฐ์ใหม่ ๆ ทียังไมเ่ คยมใี ชม้ าก่อน หรอื เปนการ พัฒนาดัด แปลงมาจากของเดมิ ทีมีอยู่แล้วใหม้ นั ทนั สมัย และใชไ้ ดผ้ ลดียงิ ขนึ เมอื นวัตกรรมมาใช้จะช่วยให้การ ทาํ งานนันไดผ้ ลดมี ีประสิทธภิ าพและประสิทธผิ ลสูงกว่า เดิม ทังยงั ช่วยประหยัดเวลาและแรงงาน นวตั กรรม มีรากศัพท์มาจาก innovate ในภาษาละตนิ แปลวา่ ทําสิงใหมข่ ึนมา

นวตั กรรม เปนการนาวธิ ีการใหม่ ๆ มาปฏิบตั หิ ลังจากได้ผ่านการทดลองหรอื ได้รบั การ พัฒนามาแลว้ โดย แบง่ ออกเปน 3 ระยะ คือ ระยะที 1 ระยะที 2 ระยะที 3 มกี ารประดิษฐ์ พัฒนาการ (Development) การนาํ เอาไปปฏิบัติใน คดิ คน้ (Innovation)หรือ มีการทดลองในแหล่งทดลอง สถานการณ์ทัวไปซึงจัดวา่ เปน เปนการปรงุ แตง่ ของเก่า จัด ทําอยู่ในลกั ษณะของ นวัตกรรมขนั สมบูรณ์ ใหเห้ มาะสมกับกาลสมัย โครงการทดลองปฏบิ ตั กิ ่อน

กระบวนการตัดสนิ ใจนวตั กรรม 1. ขนั ความรู้ (knowledge) เปนขนั ตอนทรี ับทราบว่า (Innovation decision process) มนี วตั กรรมเกิดขึนและหาข่าวสารจนเขา้ ใจใน นวตั กรรมนนั ๆ Rogers และ Shoemaker จงึ ได้เสนอโครงสร้างใหม่ เรียกว่า กระบวนการตดั สิน 2. ขันชกั ชวน (persuasion) เปนขนั ตอนทผี ูร้ บั ใจนวตั กรรม (Innovation decision process) ซึง นวัตกรรมมที ัศนคตติ ่อสิงใหม่ ๆ ในทางทเี ห็น ดว้ ย หรือไม่เห็นดว้ ยตอ่ \"นวัตกรรม\" นนั ๆ ประกอบไปดว้ ย 4 ขนั ตอน คอื 3. ขนั ตัดสินใจ (decision) เปนขันทผี ู้รบั นวตั กรรม สนใจเขา้ รว่ มกจิ กรรมทีนาํ ไปสู่การ เปลยี นแปลง พฤตกิ รรมแลว้ และตัดสินใจวา่ จะรับนวตั กรรมนัน หรือไม่ แต่การตัดสินใจนันยังไมถ่ าวร อาจมกี าร เปลยี นแปลงไดภ้ ายหลงั 4. ขนั ยืนยัน (confirmation) เปนขันตอนสุดท้าย ของกระบวนการซึงเปนการหาข้อมูลมาสนับสนนุ การ ตัดสินใจของเขา อาจมีระยะเวลายาวนาน จนกระทัง ยอมรบั แนวความคดิ ใหม่ๆไปปฏบิ ตั ิ เปนการถาวร จรงิ ๆ

ความสําคญั ของ นวัตกรรมการศึกษา นวัตกรรมมคี วามสาคัญตอ่ การศึกษาหลายประการ ทังนนั เนืองจากในโลกยคุ โลกาภวิ ัตน์ (Globalization) มกี าร เปลยี นแปลงในทุกดา้ นอย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะอยา่ งยงิ ความกา้ วหน้าทง้ั ด้าน เทคโนโลยแี ละสารสนเทศ การศึกษา จึงจาํ เปนต้องมกี ารพฒนั าเปลยี นแปลงจากระบบการศึกษา ทมี อี ยู่เดิม เพือใหท้ ันตอ่ การเปลยี นแปลงของเทคโนโลยแี ละ สภาพสังคมทีเปลียนแปลงไป อีกทงั เพือแก้ไขปญหา ทางด้านการศึกษาบางอย่างทีเกดิ ขึนอยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ

ประเภทของ พระราชบญั ญัตกิ ารศึกษาแห่งชาตพิ .ศ.2542 นวตั กรรมการศึกษา ไดม้ ีบทบัญญตั ทิ เี กียวข้องกับเทคโนโลยีการศึกษาและ นวตั กรรมการศึกษา มาตราทีสําคัญ คือ มาตรา 67รฐั ตอ้ ง มที งั หมดดว้ ยกัน 5ประเภทดังนี ส่งเสรมิ ใหม้ ีการวจิ ัยและพัฒนาการผลติ และการพัฒนา เทคโนโลยีเพือการศึกษารวมทงั การตดิ ตามตรวจสอบและ ประเมินผลการใชเ้ ทคโนโลยีเพือการศึกษาเพือใหเ้ กิดการ ใช้ทีคุ้มคา่ และเหมาะสมกบั กระบวนการเรยี นรขู้ องคนไทย และในมาตรา22\"การจัดการศึกษาตอ้ งยดึ หลกั วา่ ผ้เู รยี นทกุ คนมีความสามารถเรยี นรู้และพัฒนาตนเองไดแ้ ละถอื ว่าผู้ เรยี นมคี วามสําคญั ทีสุด ทีนจี ะขอกล่าวคือ นวตั กรรม5ประเภทมีดงั นี 1. นวัตกรรมทางด้านหลักสูตร 2. นวตั กรรมการเรียนการสอน 3. นวตั กรรมสือการสอน 4. นวัตกรรมการประเมนิ ผล 5. นวัตกรรมการบริหาจดั การ

1.นวตั กรรมทางด้านหลักสูตร 2.นวัตกรรมการเรียนการสอน นวัตกรรมทางดา้ นหลกั สูตรในประเทศไทยไดแ้ ก่การ นวัตกรรมการเรยี นการสอน ใชว้ ธิ ีระบบในการปรับปรงุ พัฒนาหลกั สูตรดังตอ่ ไปนี และคดิ ค้นพัฒนาวิธสี อนแบบใหมๆ่ ทีสามารถตอบสนอง 1. หลักสูตรบรู ณาการเปนการบูรณาการส่วนประกอบ การเรียนรายบคุ คลการสอนแบบผ้เู รียนเปนศูนย์กลาง ของหลักสูตรเข้าด้วยกนั ทางด้านวิทยาการในสาขา ต่างๆม่งุ ใหผ้ ู้เรียนเปนคนดสี ามารถใชป้ ระโยชนจ์ าก การเรยี นแบบมสี ่วนร่วมการเรียนรู้แบบแกป้ ญหาการ องค์ความรใู้ นสาขาต่างๆให้สอดคล้องกับสภาพสังคม พัฒนาวธิ สี อนจาํ เปนต้องอาศัยวิธีการและเทคโนโลยี อย่างมีจริยธรรม ใหมๆ่ เข้ามาจดั การและสนับสนุนการเรียนการสอน 2. หลกั สูตรรายบุคคล เปนแนวทางในการพัฒนา หลักสูตรเพือการศึกษาตามอัตภาพ เพือตอบสนอง แนวความคิดในการจัดการศึกษารายบคุ คล 3. หลกั สูตรกิจกรรมและประสบการณ์เปนหลกั สูตรที มงุ่ เนน้ กระบวนการในการจดั กจิ กรรมและ ประสบการณ์ให้กับผเู้ รยี นเพือนาํ ไปสู่ความสาเร็จ 4. หลักสูตรทอ้ งถินเปนการพัฒนาหลกั สูตรทีตอ้ งการ กระจายการบริหารจดั การออกสู่ทอ้ งถนิ

3.นวตั กรรมสอื การสอน 4.นวัตกรรมทางด้านการประเมนิ ผล นวตั กรรมสือการสอนได้แก่ นวัตกรรมทางดา้ นการประเมนิ ผล สนับสนุนการ -คอมพิวเตอร์ช่วยสอน(CAI) วัดผลประเมินผลของสถานศึกษา ครู อาจารย์ -มลั ติมเี ดีย (Multimedia) -การพัฒนาคลงั ขอ้ สอบ -การประชมุ ทางไกล (Teleconference) - การลงทะเบียนผ่านทางเครอื ข่ายคอมพิวเตอร์ -ชดุ การสอน (Instructional Module) และอินเตอรเ์ น็ต -วีดิทัศนแ์ บบมปี ฎสิ ัมพันธ์ (Interactive Video) -การใชบ้ ัตรสมารท์ การด์ เพือการใชบ้ ริการของ สถาบันศึกษา - การใช้คอมพิวเตอรใ์ นการตดั เกรด

5.นวตั กรรมการบรหิ ารจัดการ เปนการใช้นวัตกรรมทีเกียวข้อการใชส้ ารสนเทศ มาช่วยในการบริหารจดั การ เพือการตัดสินใจ ของผู้บรหิ ารการศึกษาใหม้ คี วามรวดเรว็ ทัน เหตุการณ์ นวตั กรรมการศึกษาทีนาํ มาใชท้ างด้าน บริหาร เช่น ฐานข้อมูล นกั เรยี น นักศึกษา ฐาน ขอ้ มูล คณะอาจารย์และบุคลากร ในสถานศึกษา เปนตน้

สาเหตขุ องการเกดิ นวัตกรรมการศกึ ษา 1.การเปลียนแปลงของ 2.การเรียนรู้ของผู้เรียน 3.ความก้าวหน้าของ เทคโนโลยเี ปนไปอย่าง มีแนวโนม้ ในกีเรียนรู้ เทคโนโลยีสารสนเทศ รวดเรว็ การเรียนการ ด้วยตนเองมากขึน ตาม และเทคโนโลยี สอนจึงต้องตอบสนอง แนวปรชั ญาสมัยใหมท่ ี โทรคมนาคม มสี ่วน การเรียนการสอนแบบ ยดึ ผู้เรียนเปนศุนย์กลาง ผลกั ดันให้มกี ารใช้ ใหม่ๆ ทชี ่วยให้ผ้เู รยี น นวัตกรรมการศึกษา นวตั กรรมการศึกษา สามารถเรยี นรไู้ ด้เรว็ สามารถชว่ ยตอบสนอง เพิมขึน และเรยี นรู้ได้มากใน การเรยี นรตู้ ามอัตภาพ เวลาจํากัด

ปจจัยสําคญั ทีมอี ทิ ธิพลทําใหเ้ กดิ นวัตกรรม 1.ความแตกตา่ งระหว่างบุคคล (Individual Different) การจัดการศึกษาของไทยไดใ้ ห้ความสําคัญ ในเรือง ความแตกต่างระหวา่ งบุคคล เชน่ -การเรียนแบบไมแ่ บง่ ชัน -แบบเรียนสําเรจ็ รูป - เครอื งสอน - เครอื ง คอมพิวเตอร์ชว่ ยสอน 2.ความพร้อม (Readiness) ในปจจบุ นั การวิจยั ทางดา้ นจติ วทิ ยาการเรยี นรชู้ ใี หเ้ ห็นว่าความพรอ้ มในการ เรียน เปนสิงทสี รา้ งขึนได้ เช่น -ศูนย์การเรยี น -การจัดโรงเรยี นในโรงเรยี น-การปรับปรุงการสอนสามชนั 3.การใชเ้ วลาเพือการศึกษา ในปจจุบัน ไดม้ ีความคดิ ในการจัดเปนหนว่ ยเวลาสอนให้สัมพันธ์กับ ลกั ษณะของ แต่ละวชิ าซงึ จะใช้เวลาไม่เท่ากัน บางวิชาอาจใชช้ ่วงสันๆ แตส่ อนบอ่ ยครัง การเรียนกไ็ ม่จํากัด เชน่ -การจัด ตารางสอนแบบยืดหยุน่ - มหาวิทยาลยั เปด-แบบเรียนสําเร็จรูป-การเรยี นทางไปรษณยี ์ 4.ประสิทธิภาพในการเรียน การขยายตวั ทางวิชาการและการเปลียนแปลงของสังคม ทําให้มีสิงตา่ งๆ ทคี นจะต้อง เรยี นรเู้ พิมขึนมากแต่การจดั ระบบการศึกษาในปจจบุ ัน ยังไม่มีประสิทธภิ าพเพียงพอจงึ จาํ เปนตอ้ งแสวงหาวิธีการ ใหม่ทมี ปี ระสิทธิภาพสูงขนึ นวัตกรรมในดา้ นนีทเี กิดขึน เชน่ - มหาวิทยาลยั เปด การเรยี นทางโทรทัศน์

จดั ทําโดย section15 1.นางสาวกลั ยา บญุ ยนื (63031030130) 2.นายพีรศิษฎ ใบเงิน (63031030136) 3.นายณัฐวฒุ ิ มะโนโฮง (63031030141) 4.นายสรุ พัศ. จาํ ปีขาว (63031030144) 5.นางสาวสุมิตตา. ชมภทู ะนะ (63031030154)