Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore บรูพมหากษัตรย์แห่งอุทยานราชภักดิ์

บรูพมหากษัตรย์แห่งอุทยานราชภักดิ์

Description: บรูพมหากษัตรย์แห่งอุทยานราชภักดิ์

Search

Read the Text Version

1







2

พอ่ ขนุ รามคำ�แหงมหาราช 1. พระราชประวตั ิ พอ่ ขนุ รามคำ�แหงมหาราช เป็นพระราชโอรสองคท์ สี่ ามของ พ่อขนุ ศรอี ินทราทติ ย์กับพระนางเสือง และเปน็ พระมหากษตั รยิ ์พระองค์ ทสี่ ามในราชวงศพ์ ระร่วงแหง่ ราชอาณาจักรสุโขทัย ครองราชยป์ ระมาณ พ.ศ. ๑๘๒๒ ถึง พ.ศ. ๑๘๔๑ ตอ่ จากพ่อขุนบานเมอื ง ซ่งึ เปน็ พระเชษฐา พระองคท์ รงเป็นกษัตรยิ น์ ักรบทม่ี พี ระปรีชาสามารถในการทำ�ศึกสงคราม เมื่อมพี ระชนมายุ ๑๙ พรรษา ไดเ้ สดจ็ ตามพระราชบิดาไปท�ำ สงครามชิง เมอื งตาก ทรงทำ�ยุทธหตั ถีมีชัยต่อขุนสามชน เจ้าเมืองฉอด พระราชบดิ า จงึ ทรงขนานพระนามว่า “พระรามคำ�แหง” ซง่ึ แปลว่า “พระรามผกู้ ลา้ หาญ” นอกจากน้พี ระองค์ยังทรงทำ�สงครามขยายอาณาเขตออกไป อย่างกวา้ งขวางมากกว่าพระมหากษัตริยพ์ ระองค์ใดในสมัยสุโขทยั พ่อขนุ รามค�ำ แหงทรงเปน็ พระมหากษัตริยท์ ่ที รงมีพระอัจฉริยภาพทงั้ ด้านการ ปกครอง เศรษฐกจิ ศาสนาและศิลปวิทยาต่างๆ พระองค์ทรงบำ�เพ็ญ พระราชกรณยี กิจอันทรงคณุ ประโยชนแ์ กแ่ ผน่ ดนิ จนไดร้ ับการยกย่องเป็น “มหาราช” พระองคแ์ รกของไทย 3

2. วีรกรรมสำ�คัญ ในสมัยของพอ่ ขุนรามคำ�แหงมหาราช ทรงใชร้ ปู แบบการปกครองแบบ พ่อปกครองลูก สืบตอ่ จากพ่อขุนศรีอินทราทิตย์ ทรงเอาพระทัยใสใ่ นทุกข์สขุ ของ ไพร่ฟ้า โดยใหม้ ีการสร้างกระดิ่งแขวนไวท้ ีห่ น้าประตพู ระราชวัง เพอ่ื ให้ราษฎรท่ี มีเรอ่ื งเดอื ดร้อนมาสัน่ กระด่งิ ร้องเรยี น และจะทรงไตส่ วนคดีความดว้ ยพระองค์ เอง นอกจากน้ยี ังทรงโปรดใหส้ รา้ งทำ�นบกกั เกบ็ น้�ำ ทเี่ รียกว่า ทำ�นบพระร่วง หรือ สรีดภงส์ เพอ่ื กกั เกบ็ น�้ำ ไวใ้ ช้ในฤดูแล้ง ทรงใหเ้ สรีภาพแกป่ ระชาชนในการค้าขาย ได้อยา่ งอสิ รเสรี ไมม่ ีการเกบ็ ภาษีผ่านด่านจากราษฎร ทำ�ใหก้ ารค้าขายขยาย ออกไปอย่างกว้างขวาง ทรงโปรดให้สรา้ งเตาเผาเคร่ืองสังคโลกเปน็ จำ�นวนมาก เพอ่ื ผลิตสินค้าออกไปขายยงั ดินแดนใกลเ้ คียงพระองค์ทรงนิมนต์พระสงฆน์ กิ าย เถรวาท ลัทธิลงั กาวงศ์ จากเมืองนครศรีธรรมราชทกี่ ลับมาจากลังกามาเผยแผ่ พระพทุ ธศาสนาใหป้ ระชาชนเลื่อมใส ดงั จะเห็นจากหลักฐานในศิลปกรรมด้าน ต่างๆ เช่น การสรา้ งพระพุทธรปู วัด เจดีย์ เป็นต้น ท�ำ ให้พระพุทธศาสนาวาง รากฐานมั่นคงในอาณาจกั รสุโขทัย จนกระทง่ั กลายเปน็ ศาสนาประจ�ำ ชาตไิ ทยมา จนถึงปจั จบุ นั นอกจากน้ยี งั มีสิง่ ทเ่ี ปน็ ความภาคภมู ิใจของคนไทยทั้งชาติ คือ พอ่ ขนุ รามค�ำ แหงมหาราชไดท้ รงประดิษฐต์ วั อักษรไทยข้นึ เรียกว่า “ลายสอื ไทย” ซึง่ ดัดแปลงมาจากตวั อกั ษรขอม อนั มีต้นแบบมาจากอกั ษรคฤนถ์ของอนิ เดียใต้ โดย ให้ลักษณะของตวั อกั ษรเขยี นไดง้ ่ายขน้ึ มีการวางรูปสระใหอ้ ยูใ่ นบรรทดั รวมกับ ตัวพยัญชนะทง้ั หมดเชน่ เดียวกบั แบบอย่างตัวอักษรโรมัน และให้มวี รรณยุกต์ ก�ำ กับเสยี งอนั เปน็ เอกลักษณ์ท่โี ดดเดน่ ของภาษาไทย ลายสอื ไทยนีไ้ ดม้ ีการพัฒนา มาเป็นลำ�ดับจนถงึ อักษรไทยทค่ี นไทยใชก้ ันในปจั จุบนั โดยโปรดใหจ้ ารึกเรื่องราว เหตกุ ารณต์ า่ งๆ สมยั สโุ ขทัยลงบนหลกั ศิลาจารกึ 4

5

6

พระนเรศวรมหาราช 1. พระราชประวตั ิ สมเดจ็ พระนเรศวรมหาราช หรอื สมเดจ็ พระสรรเพชญท์ ่ี ๒ เปน็ พระ มหากษตั รยิ ์องคท์ ี่ ๑๘ แหง่ ราชอาณาจักรกรงุ ศรอี ยุธยา ในราชวงศ์สโุ ขทยั (ครองราชย์ พ.ศ. ๒๑๓๓ - พ.ศ. ๒๑๔๘) ทรงมพี ระนามเดิมว่า พระองค์ด�ำ พระราชสมภพเม่อื พทุ ธศักราช ๒๐๙๘ ทรงเป็นพระราชโอรสของสมเดจ็ พระมหา ธรรมราชาและพระวสิ ุทธิกษตั ริย์ (พระธดิ าในพระมหาจักรพรรดกิ ับพระสุริโยทยั ) ทรงมีพระเชษฐภคินี คอื พระสุพรรณกัลยา และพระอนชุ า คือ สมเด็จพระเอกา ทศรถ (พระองค์ขาว) ใน พ.ศ. ๒๑๐๗ พระเจ้าบเุ รงนอง แหง่ กรงุ หงสาวดี ยกทพั มาตีเมือง พษิ ณโุ ลกในสงครามชา้ งเผือก สมเด็จพระมหาธรรมราชา เจา้ เมืองพิษณโุ ลก จ�ำ ต้องยอมออ่ นน้อมต่อหงสาวดี ทำ�ใหเ้ มืองพิษณโุ ลกต้องตกเป็นประเทศราชของ หงสาวดีและไม่ขน้ึ ต่อกรงุ ศรอี ยุธยา พระเจ้าบเุ รงนองทรงขอพระสุพรรณกัลยา และพระนเรศวรไปเปน็ องคป์ ระกันที่หงสาวดี ทำ�ให้พระองคต์ ้องไปประทับอย่กู รุง หงสาวดตี ัง้ แต่พระชนมายุประมาณ ๘ พรรษา ในระหวา่ งทปี่ ระทับอยทู่ ี่กรุงหง สาวดีกไ็ ดท้ รงศกึ ษาศลิ ปศาสตรแ์ ละวิชาพชิ ยั สงคราม ทรงนยิ มการรบทพั จับศึก พระองค์ทรงมีโอกาสศึกษาทั้งภายในราชสำ�นักไทยและราชสำ�นกั พม่า มอญ และ ได้ทราบยทุ ธวิธขี องชาตติ ่างๆ ท่มี ารวมกนั อยใู่ นกรงุ หงสาวดีเป็นอย่างดี ทรงนำ� หลักวิชามาประยุกต์ใชใ้ หเ้ หมาะกับสถานการณ์ได้อย่างดเี ยยี่ ม หลังจากพระเจ้าบเุ รงนองตีกรุงศรีอยธุ ยาแตก เมอื่ พ.ศ. ๒๑๑๒ และได้ สถาปนาสมเดจ็ พระมหาธรรมราชาข้ึนครองกรงุ ศรอี ยุธยาในฐานะประเทศราชของ หงสาวดแี ลว้ จนกระท่งั ถงึ ปี พ.ศ. ๒๑๑๕ พระนเรศวรได้เสดจ็ หนกี ลับมายังกรุง ศรีอยธุ ยา โดยมพี ระสพุ รรณกัลยาคอยชว่ ยทูลขอพระเจ้าบเุ รงนองเอาไว้จนทรง ยินยอมไมต่ ิดตามมา สมเด็จพระมหาธรรมราชาจงึ ทรงโปรดเกล้าฯ สถาปนาให้ พระนเรศวรข้นึ เป็น มหาอปุ ราช ปกครองเมืองพษิ ณุโลก 7

ราชการสงครามในสมเดจ็ พระนเรศวรมหาราช เปน็ เหตกุ ารณ์ทย่ี ิ่งใหญแ่ ละสำ�คญั ยงิ่ ของชาติไทย พระองคท์ รงกอบกู้อิสรภาพจากการเสยี กรุงศรีอยุธยาครงั้ แรก ได้ส�ำ เรจ็ และไดท้ ำ�สงครามปราบปรามขา้ ศึกโดยรอบ จนกรุงศรีอยุธยาร่งุ เรอื ง ปราศจากศกึ สงครามต่อมาอีกเปน็ ระยะเวลายาวนาน นอกจากนพ้ี ระองค์ยังทรง ประกอบพระราชกรณียกจิ อีกมากมาย ซงึ่ ล้วนเปน็ ไปเพื่อประโยชนข์ องบา้ นเมอื ง ตลอดพระชนม์ชพี ของพระองค์ 2. วรี กรรมสำ�คญั ในชว่ งรัชกาลของสมเด็จพระนเรศวรมหาราช และกอ่ นท่ีพระองค์จะทรง ข้ึนครองราชยน์ ้ันเต็มไปด้วยราชการสงคราม นบั วา่ ทรงเปน็ พระมหากษัตรยิ น์ ักรบ ทีย่ งิ่ ใหญข่ องไทย หลงั จากกรุงหงสาวดมี ีการผลดั เปล่ียนแผ่นดนิ ใหม่ โดยพระเจา้ นนั ทบุเรงได้ขนึ้ ครองราชสมบตั สิ บื ต่อจากพระเจ้าบเุ รงนอง พระเจ้านนั ทบุเรงทรงมคี วามหวาดระแวงในกำ�ลงั ของกรงุ ศรอี ยุธยา เพราะทรงทราบถงึ พระปรีชาสามารถในการรบของสมเด็จพระนเรศวร จากชยั ชนะ ในการตเี มืองคงั และเขมรทย่ี กทพั มากวาดตอ้ นชาวเมืองนครราชสีมาและหัวเมือง ชั้นใน จงึ ทรงคิดหาทางก�ำ จดั สมเด็จพระนเรศวร แต่อบุ ายน้นั ลว่ งรูถ้ ึงพระนเรศวร เสยี กอ่ น พระองค์จงึ มรี ับสั่งใหเ้ รยี กประชุมแมท่ พั นายกอง และนมิ นตพ์ ระมหา เถรคันฉอ่ งและพระสงฆ์มาเป็นสักขพี ยาน ทรงแจง้ เรอื่ งใหค้ นทัง้ ปวงที่มาชุมนุม ณ ที่นน้ั ทราบวา่ พระเจ้าหงสาวดีคิดประทุษรา้ ยต่อพระองค์ ก่อนจะทรงทำ�พิธี หล่งั ทักษโิ ณทกตดั สมั พันธไมตรีกับหงสาวดี ประกาศอิสรภาพไมข่ ้ึนตอ่ กรุงหงสาว ดอี ีกต่อไป และทรงกวาดต้อนครัวไทย ครัวมอญ ขา้ มแม่น้ำ�สะโตง กลับคืนกรงุ ศรีอยุธยา ในปี พ.ศ. ๒๑๒๗ ฝ่ายพระมหาอุปราชาแหง่ กรงุ หงสาวดีทรงทราบข่าว จงึ ให้สุรกรรมาเป็น เป็นแม่ทพั กองหน้าตดิ ตามไปถงึ รมิ ฝง่ั แม่นำ้�สะโตง ได้มกี ารต่อสู้กนั ที่รมิ ฝั่งแมน่ ำ�้ นนั้ สมเดจ็ พระนเรศวรทรงใช้พระแสงปนื คาบชดุ ยาวเก้าคืบ ยงิ ถูกสรุ กรรมาตาย บนคอชา้ ง กองทัพของหงสาวดจี ึงต้องเลิกทพั กลับไป พระแสงปืนทใ่ี ช้ยงิ สรุ กรร มาตายบนคอชา้ งน้ี ได้นามปรากฏต่อมาวา่ “พระแสงปืนต้นข้ามแมน่ ำ�้ สะโตง” 8

นบั ตงั้ แตส่ มเด็จพระนเรศวรทรงประกาศอสิ รภาพเปน็ ตน้ มา หงสาวดี ได้ส่งกองทพั มาอีกหลายครงั้ แต่กถ็ กู ตีแตกพ่ายไปทกุ คร้ัง เมื่อสมเด็จพระมหา ธรรมราชาเสด็จสวรรคตเมอื่ ปี พ.ศ. ๒๑๓๓ สมเดจ็ พระนเรศวรไดเ้ สด็จขน้ึ ครอง ราชยเ์ มื่อวนั อาทติ ย์ที่ ๒๙ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๑๓๓ เม่ือพระชนมายุได้ ๓๕ พรรษา ทรงพระนามว่า สมเดจ็ พระสรรเพชญ์ท่ี ๒ และโปรดเกลา้ ฯ ใหพ้ ระ เอกาทศรถ พระอนุชา ข้นึ เป็นพระมหาอุปราช แต่มศี กั ดเ์ิ สมอพระมหากษัตรยิ ์อีก พระองค์ หลังทรงครองราชย์ไดเ้ พียง ๒ ปี ในพ.ศ. ๒๑๓๕ พระเจา้ นนั ทบุเรงก็ ทรงใหพ้ ระมหาอปุ ราชาจดั ทัพเขา้ ตกี รงุ ศรอี ยธุ ยา เกดิ เปน็ “สงครามยุทธหตั ถ”ี พระมหาอุปราชาได้เข้าต่อส้บู นหลังช้างกับสมเด็จพระนเรศวรอย่างดุเดอื ด และ ในทส่ี ุดก็ถกู พระแสงของา้ วของสมเด็จพระนเรศวรฟันพระองั สาขาดสะพายแล่ง สน้ิ พระชนม์อยู่บนคอชา้ ง ศกึ ครง้ั สุดท้าย ปี พ.ศ.๒๑๔๗ สมเด็จพระนเรศวรทรงยกทัพไปตี “เมือง นาย” “เมอื งองั วะ” ผา่ นทางเมอื งเชียงใหม่ เมือ่ เสดจ็ ไปถงึ “เมืองหลวง” ต�ำ บล”ทงุ่ ดอนแก้ว” ซึง่ ตง้ั อยรู่ ะหว่างเชียงใหมก่ ับแม่นำ้�สาสะวนิ ทรงพระ ประชวรเป็นฝีละลอกขึ้นทพ่ี ระพกั ตร์ และเสด็จสวรรคตท่เี มืองนน้ั ในปี พ.ศ. ๒๑๔๘ ขณะพระชนมายุได้ ๕๐ พรรษา เสวยราชสมบตั ไิ ด้ ๑๕ ปี 9

10

11

พระนารายณม์ หาราช 1. พระราชประวตั ิ สมเดจ็ พระนารายณ์มหาราช เป็นพระมหากษตั ริยอ์ งค์ที่ ๒๗ แห่งราชอาณาจกั ร กรงุ ศรีอยธุ ยาตอนปลาย ราชวงศป์ ราสาททอง (ครองราชย์ พ.ศ. ๒๑๙๙ - พ.ศ. ๒๒๓๑) เปน็ พระราชโอรสของพระเจา้ ปราสาททองกบั พระนางศริ ธิ ดิ าพระราชเทวี สำ�หรับพระนามของพระนารายณน์ ้ัน ในพระราชพงศาวดารกรงุ ศรีอยธุ ยาเลา่ วา่ เม่ือแรกเสด็จพระบรมราชสมภพน้ัน พระญาตเิ หน็ พระโอรสมสี ีก่ ร พระเจา้ ปราสาททองจงึ โปรดเกลา้ ฯ พระราชทานนามวา่ “พระนารายณร์ าชกุมาร” ส่วน คำ�ใหก้ ารชาวกรุงเกา่ และค�ำ ให้การขุนหลวงหาวัดเลา่ วา่ เม่อื เพลงิ ไหมพ้ ระที่ นงั่ มังคลาภิเษก พระโอรสเสด็จไปช่วยดับไฟ ผคู้ นเห็นเปน็ ส่กี ร จึงพากันขนาน พระนามว่า พระนารายณ์ พระราชประวัตขิ องสมเด็จพระนารายณ์นน้ั มคี วาม เก่ียวกับเร่อื งปาฏหิ ารยิ ์อยมู่ าก แสดงใหเ้ หน็ ถงึ อิทธพิ ลของศาสนาพราหมณ์ท่ีมี มากขน้ึ เม่อื เทียบกับกษัตรยิ ์องคก์ ่อนๆ สมเดจ็ พระนารายณม์ หาราชทรงเป็นพระมหากษตั ริย์ผู้ยงิ่ ใหญพ่ ระองค์ หนง่ึ ในประวตั ิศาสตร์ไทย ทรงมพี ระราชกรณยี กจิ ทสี่ ำ�คญั ตลอดรัชกาล ท้ังดา้ น การทหาร วรรณคดี และการทูต โดยเฉพาะการส่งคณะราชทตู เดนิ ทางไปเช่ือม สมั พันธไมตรีกับประเทศฝร่งั เศส 2. วรี กรรมส�ำ คญั สมเดจ็ พระนารายณ์มหาราช ทรงยกทพั ไปตเี มอื งเชยี งใหม่ และยดึ หวั เมือง พม่าได้อีกหลายเมอื ง แตส่ ง่ิ ทีเ่ ป็นที่เล่อื งลอื ในพระเกยี รติยศและสรา้ งความ เจริญร่งุ เรืองมากข้นึ คือ พระราโชบายทางดา้ นการคบค้าสมาคมกับชาวต่าง ประเทศ โดยมีการตดิ ต่อท้ังดา้ นการค้าและการทตู กับประเทศต่างๆ เช่น จีน ญีป่ ่นุ อหิ รา่ น อังกฤษ ฝร่ังเศส และฮอลนั ดา มีชาวตา่ งชาตเิ ขา้ มาในพระราช อาณาจักรเป็นจำ�นวนมาก ซึ่งในรชั สมัยของพระองคน์ นั้ ก็มปี ัญหาที่ชาวฮอลันดา กดี กนั การเดินเรือค้าขายของไทย และส่งเรอื รบมาปดิ ปากแมน่ �้ำ เจา้ พระยา 12

ขู่จะระดมยิง จนไทยตอ้ งผอ่ นผันยอมท�ำ สัญญายกประโยชนก์ ารคา้ ใหต้ ามที่ ต้องการ และเพอ่ื ปอ้ งกันมิให้ฮอลันดาข่มเหงไทยได้อีก สมเดจ็ พระนารายณจ์ งึ ทรงสร้างเมืองลพบรุ ไี วเ้ ป็นเมืองหลวงส�ำ รอง อยู่เหนอื ข้ึนไปจากกรุงศรีอยธุ ยา และเตรยี มสรา้ งป้อมปราการไว้คอยตอ่ ต้านข้าศึก เจ้าพระยาวชิ เยนทร์ ชาวกรีกทรี่ บั ราชการตำ�แหนง่ สมหุ นายก ได้เปน็ คนกลางสนับสนุนไมตรีระหว่างสมเด็จพระนารายณ์กบั ทางราชการฝรัง่ เศส ซ่งึ เปน็ รชั สมยั ของพระเจ้าหลุยส์ที่ ๑๔ แหง่ ราชวงศ์บูรบ์ ง เพ่ือให้ฮอลันดาเกรง ขาม ดว้ ยเหตนุ ้ีในรัชกาลสมเดจ็ พระ นารายณ์ จงึ ได้มกี ารส่งคณะทตู ไปยัง พระราชสำ�นกั ฝร่งั เศส พระเจ้าหลยุ ส์ ที่ ๑๔ ทรงต้องการทีจ่ ะใหส้ มเดจ็ พระ นารายณแ์ ละประชาชนชาวไทยนบั ถือ คริสตศ์ าสนา จึงส่งพระราชสาสน์มา ทลู เชิญสมเด็จพระนารายณ์ให้เขา้ รตี ในคริสต์ศาสนา พร้อมท้ังสง่ บาทหลวง มาถวายศลี แต่สมเด็จพระนารายณ์ ทรงใช้พระปรีชาญาณตอบปฏเิ สธ อย่างถนอมไมตรี ทรงขอบพระทัย พระเจา้ หลุยสท์ ี่ ๑๔ ท่มี พี ระทยั รักใคร่ พระองค์จึงทรงปรารถนาให้ร่วมศาสนา ด้วย แต่เนื่องจากพระองค์ยังไม่เกิด ศรัทธาในพระทัย ซ่ึงอาจเป็นเพราะพระเป็นเจ้าประสงค์ทจี่ ะใหน้ ับถือศาสนาคนละ แบบแผนวธิ ี เชน่ เดยี วกบั ท่พี ระเปน็ เจา้ ทรงสร้างมนษุ ย์ให้ผดิ แผกเชือ้ ชาติเผ่า พนั ธุ์ หรือสรา้ งสตั ว์ให้มีหลายชนิดหลายประเภท หากพระเป็นเจ้ามพี ระประสงค์ จะใหพ้ ระองคน์ ับถอื ศาสนาตามแบบแผนที่พระเจา้ หลุยส์ที่ ๑๔ ทรงนบั ถือแล้ว พระองค์กค็ งเกดิ ศรัทธาขึ้นในพระทยั และเม่อื นั้นพระองค์กไ็ ม่รังเกยี จท่ีจะทำ�พิธี รับศลี รว่ มศาสนาเดยี วกนั 13

สมเดจ็ พระนารายณ์มิใช่เพียงทรงพระปรชี าสามารถทางด้านการทูต เท่าน้นั หากทรงเปน็ กวีท่ที รงพระราชนพิ นธ์วรรณคดอี ีกหลายเร่ือง เช่น ทศรถ สอนพระราม พาลสี อนน้อง ค�ำ ฉันท์กล่อมชา้ ง และตอนหน่งึ ของสมุทโฆษค�ำ ฉนั ท์ ทรงอปุ ถัมภ์กวใี นยุคของพระองค์อย่างมากมาย ไดแ้ ก่ พระยาโหราธบิ ดี ผู้ ประพนั ธห์ นังสอื จินดามณี ซ่งึ เปน็ ตำ�ราเรียนภาษาไทยเลม่ แรก และ ศรปี ราชญ์ กวผี ู้ประพนั ธ์กำ�ศรวลศรปี ราชญ์ และอนุรุทรค�ำ ฉนั ท์ นอกจากนพ้ี ระองคย์ ังทรง รับเอาวทิ ยาการสมยั ใหมม่ าใช้ เช่น กล้องดูดาว และยุทโธปกรณ์บางประการ รวมท้งั เทคโนโลยกี ารสร้างนำ�้ พุจากชาวยุโรป และวางระบบทอ่ ประปาภายใน พระราชวงั ด้วยพระปรชี าสามารถดงั ไดก้ ลา่ วมาแลว้ สมเดจ็ พระนารายณจ์ ึงได้ รบั การถวายพระเกยี รตเิ ป็น มหาราช พระองค์หนึง่ ของไทย 14

15

16

พระเจา้ ตากสินมหาราช 1. พระราชประวตั ิ สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช หรือ พระเจา้ กรุงธนบุรี มพี ระนาม เดมิ วา่ “สนิ ” เป็นบตุ รของขุนพฒั น์ (นายหยง หรือ ไหฮอง) เปน็ ชาวจีนแตจ้ ว๋ิ และ นางนกเอี้ยง (ตอ่ มาไดด้ ำ�รงพระอสิ ริยยศเป็น กรมพระเทพามาตย์) สมเด็จ พระเจา้ ตากสินทรงพระราชสมภพเม่อื วันอาทิตย์ที่ ๑๗ เมษายน พ.ศ. ๒๒๗๗ ในชว่ งรัชสมยั พระเจา้ อยหู่ ัวบรมโกศ ซงึ่ เจ้าพระยาจักรีได้ขอไปอปุ การะเปน็ บุตร บญุ ธรรมตัง้ แต่เยาว์วยั และไดน้ ำ�ไปฝากเรียนกับพระอาจารยท์ องดี วดั โกษาวาส (วดั คลงั ) ทรงศึกษาหนงั สอื ขอมและหนังสือไทยจนจบบรบิ ูรณ์ ตลอดจนศึกษา พระไตรปิฎกจนแตกฉาน ต่อมาเม่ืออายคุ รบ ๑๓ ปี เจา้ พระยาจักรีได้นำ�ตวั เด็ก ชายสิน ไปถวายตวั เปน็ มหาดเลก็ ในสมเดจ็ พระเจ้าอยูห่ วั บรมโกศ เมือ่ มเี วลาวา่ ง จะศึกษาหาความรกู้ ับอาจารย์ชาวจนี อาจารย์ชาวญวน และ อาจารยช์ าวแขก จน เช่ยี วชาญและสอ่ื สารไดอ้ ยา่ งคลอ่ งแคล่วทั้ง ๓ ภาษา พออายุครบ ๒๑ ปี ได้อปุ สมบท ณ วัดโกษาวาส ด�ำ รงอยู่ในสมณเพศ ได้ ๓ พรรษา จึงลาสกิ ขา และกลับมารบั ราชการตามเดมิ ดว้ ยความฉลาดรอบรู้ ขนบธรรมเนยี มตลอดจนภารกิจตา่ งๆ เป็นอยา่ งดี สามารถทำ�งานตา่ งพระเนตร พระกรรณได้ จนไดร้ ับพระกรุณาโปรดเกลา้ ฯ ใหร้ ายงานราชการทัง้ หลายในกรม มหาดไทย และ กรมวงั ศาลหลวง ตอ่ มาในแผ่นดินพระเจา้ อยู่หวั พระท่นี ่ังสรุ ิ ยาศนอ์ มรินทร์ (พระเจา้ เอกทศั น)์ จึงได้รับบรรดาศกั ด์ิเปน็ หลวงยกกระบตั ร เมืองตากจนไดเ้ ปน็ พระยาตาก พระราชกรณยี กจิ ทส่ี ำ�คญั ในรัชสมัยของพระองค์ คอื การกอบกเู้ อกราชจากพมา่ ภายหลงั การเสยี กรุงศรอี ยธุ ยาครงั้ ท่ีสอง โดยขบั ไล่ทหารพมา่ ออกจากราชอาณาจกั รจนหมดสิ้น และยังทรงท�ำ สงครามตลอดรชั สมัยเพือ่ รวบรวมแผน่ ดินซ่ึงอยภู่ ายใต้การปกครองของขุนศึกก๊กต่างๆ ใหก้ ลบั มา เปน็ ปกึ แผน่ นอกจากนี้ยังทรงม่งุ มั่นท่ีจะฟน้ื ฟูประเทศในดา้ นต่างๆ ใหก้ ลับคืนสู่ สภาวะปกตหิ ลังสงคราม ทรงส่งเสรมิ ทางดา้ นเศรษฐกิจ ศาสนา ศลิ ปวัฒนธรรม วรรณกรรม และการศกึ ษา 17

2. วรี กรรมสำ�คัญ ในรัชสมยั สมเดจ็ พระทีน่ ่ังสุรยิ าศน์อัมรนิ ทร์ กรงุ ศรอี ยธุ ยาอย่ใู นภาวะ ระสำ�่ ระสาย (พศ. ๒๓๐๘ – ๒๓๐๙) พระเจ้าตากสินซึง่ ทรงดำ�รงตำ�แหน่ง พระยาตากอยูใ่ นขณะน้นั ไดน้ ำ�ไพร่พลลงมาสมทบเพือ่ ป้องกันกรงุ ศรอี ยุธยา ระหว่างท่พี มา่ ล้อมกรงุ อยู่ ไดต้ ่อสูอ้ ย่างกลา้ หาญเปน็ ทเี่ ลอื่ งลือและไดร้ บั การแตง่ ตง้ั ให้เปน็ พระยาวชริ ปราการ เจ้าเมอื งกำ�แพงเพชร ในวนั ที่ ๔ มกราคม พ.ศ. ๒๓๑๐ กอ่ นเสยี กรุงศรีอยธุ ยาใหแ้ ก่พม่า ประมาณ ๓ เดอื น พระยาตากไดร้ วบรวมกำ�ลังตฝี ่าวงลอ้ มของพม่าออกไป เพื่อ ท่ีจะยอ้ นกลับมากเู้ อกราช โดยรวบรวมไพรพ่ ลประมาณ ๕๐๐ คนและอาวธุ ยทุ โธปกรณ์ มุ่งไปทางฝง่ั ทะเลทิศตะวนั ออก ระหวา่ งเสน้ ทางทผี่ ่านไปนั้นได้ ปะทะกับกองกำ�ลงั ของพมา่ หลายครั้ง แต่ก็สามารถตฝี า่ ไปไดท้ กุ คร้งั จนสามารถ ยดึ เมืองจนั ทบรุ ไี ด้ ขณะท่ีพมา่ เขา้ ตีกรุงศรอี ยธุ ยาแตกในวนั ที่ ๗ เมษายน พ.ศ. ๒๓๑๐ พระยาตากจึงประกาศต้งั ตวั เป็นอิสระและจัดต้ังกองทพั ขน้ึ ท่ีเมืองจันทบุรี โดยมผี ูค้ นสมคั รใจเขา้ มาร่วมด้วยเปน็ จ�ำ นวนมาก ในเดือนตลุ าคม พ.ศ. ๒๓๑๐ พระยาตากยกกองทัพเรือออกจากจันทบรุ ี ลอ่ งมาตามฝ่งั ทะเลอา่ วไทย จนถงึ ปากแม่นำ�้ เจา้ พระยา และได้ต่อสจู้ นยดึ กรงุ ธนบรุ ีคืนจากพม่าได้ ต่อจากน้นั จึงยกกองทัพเรือตอ่ ไปถึงกรงุ ศรอี ยธุ ยา เขา้ โจมตีคา่ ยโพธสิ์ ามตน้ เม่ือวันที่ ๗ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๓๑๐ และสามารถกอบกู้ เอกราชให้ชาติไทยไดเ้ ป็นผลสำ�เร็จ โดยใช้เวลาเพียง ๗ เดือนนับตั้งแต่เสยี กรงุ ศรอี ยุธยา กอ่ นจะทรงปราบดาภิเษกขน้ึ เป็นพระมหากษตั รยิ แ์ หง่ กรุงศรอี ยธุ ยา เมื่อวันที่ ๒๘ ธนั วาคม พ.ศ. ๒๓๑๐ แต่กรุงศรอี ยุธยาเสียหายหนกั จนยากแก่การ บูรณะ จงึ ทรงเลือกกรงุ ธนบรุ เี ป็นราชธานใี หม่ เนอื่ งจากมชี ยั ภมู ดิ ี และอัญเชญิ พระบรมวงศานวุ งศใ์ นสมัยอยธุ ยาตอนปลายจากเมืองลพบรุ ีมายังกรงุ ธนบรุ ี และ ถวายพระเพลิงพระบรมศพสมเดจ็ พระเจ้าเอกทัศตามโบราณราชประเพณี 18

ในรชั สมัยของพระองค์ได้มีการท�ำ ศกึ สงครามอยู่ตลอดเวลา ท้ังน้เี พอ่ื รวบรวมแผ่นดนิ ใหเ้ ป็นปึกแผน่ ขับไล่พมา่ ออกจากราชอาณาจกั ร ทรงยกกองทัพ ไปปราบปรามก๊กต่างๆ จนราบคาบ ทรงใชเ้ วลารวบรวมอาณาเขตอยู่ ๓ ปี คอื ตงั้ แต่ พ.ศ. ๒๓๑๑ – พ.ศ. ๒๓๑๓ ถึงแม้ว่าบ้านเมอื งจะอย่ใู นภาวะสงคราม เป็นส่วนใหญ่ แตส่ มเดจ็ พระเจา้ ตากสินกย็ ังทรงม่งุ ม่นั ท่จี ะฟน้ื ฟปู ระเทศ โดย ทรงท�ำ นุบำ�รงุ การค้าขายทาง เรอื อยา่ งเต็มที่ ทรงแตง่ ส�ำ เภา หลวงออกไปค้าขายทางด้าน ตะวนั ออกไปถงึ เมืองจีน ทางดา้ น ตะวนั ตกเฉียงเหนือไปถงึ อนิ เดีย ตอนใต้ สมเดจ็ พระเจ้าตากสิน ทรงปกครองบา้ นเมอื งคล้ายคลึง กบั พระราโชบายของพ่อขนุ รามค�ำ แหงมหาราช คอื ระบบ พ่อปกครองลกู ทรงเป็นพระมหา กษตั ริยไ์ ทยเพียงพระองค์เดียว ท่ไี ม่ถือพระองค์ มักปรากฏพระ วรกายให้พสกนกิ รเหน็ และถาม สารทกุ ขส์ ุขดบิ ของพสกนกิ รท่วั ไป สมเด็จพระเจ้าตากสนิ มหาราช ทรงครองราชยเ์ ป็น เวลา ๑๕ ปี กอ่ นทรงสวรรคตเมื่อ วนั ท่ี ๖ เมษายน พ.ศ. ๒๓๒๕ สิริรวมพระ ชนมายไุ ด้ ๔๘ พรรษา พระองคท์ รงเป็นพระมหากษตั ริย์ท่ีทรงกอบกปู้ ระเทศ ชาตใิ ห้เปน็ เอกราชตราบจนถึงทกุ วนั นี้ เป็นพระมหากรณุ าธคิ ุณตอ่ แผน่ ดนิ ไทย เป็นอย่างมาก รฐั บาลจงึ ได้ประกาศให้ วนั ที่ ๒๘ ธนั วาคม ของทุกปี ซ่งึ ตรงกบั วันข้นึ ครองราชย์ เปน็ “วันสมเด็จพระเจ้าตากสิน” 19

20

21

พระพทุ ธยอดฟ้าจฬุ าโลกมหาราช 1. พระราชประวตั ิ พระบาทสมเดจ็ พระพุทธยอดฟา้ จฬุ าโลกมหาราช (รชั กาลท่ี ๑) ทรงพระราช สมภพ วันท่ี ๒๐ มีนาคม พ.ศ.๒๒๗๙ พระนามเดิมว่า ทองดว้ ง เป็นบุตรของ พระอกั ษรสุนทร ขา้ ราชการในกรมอาลกั ษณ์ มีพระอัครชายา พระนามว่า หยก หรอื ดาวเรอื ง เปน็ ธดิ าของเศรษฐที ่สี ืบเช้อื สายมาจากเจา้ พระยาโกษาธิบดี (ปาน) เสนาบดกี รมพระคลงั ในสมยั พระบาทสมเด็จพระนารายณ์มหาราช พระองค์ทรง เข้ารับราชการครงั้ แรกโดยถวายตวั เขา้ เป็นมหาดเลก็ ในสมเด็จเจา้ ฟ้าอทุ มุ พร จน ได้รับบรรดาศักด์ิเปน็ หลวงยกกระบัตร เมอื งราชบุรี และได้เปน็ เจา้ พระยา จักรี ตอ่ มาในสมยั กรงุ ธนบรุ ีไดด้ �ำ รงต�ำ แหนง่ สมเดจ็ เจ้าพระยามหากษตั ริย์ศึก สมหุ นายกและแมท่ ัพใหญ่ พระองค์ทรงปราบดาภิเษกขน้ึ ครองราชยเ์ ปน็ พระเจา้ แผน่ ดนิ แหง่ กรุงรัตนโกสนิ ทร์ เม่อื วันท่ี ๖ เมษายน พ.ศ. ๒๓๒๕ พระองคท์ รงเปน็ ปฐมกษัตริย์ แหง่ ราชวงศ์จกั รี และเปล่ียน ราชธานีจากกรงุ ธนบุรีมาเปน็ กรุงเทพมหานคร ทรงกระท�ำ ศกึ สงครามกับพมา่ หลายคร้ัง ขยายอาณาเขตออกไปอยา่ งกวา้ ง ขวาง ทรงสร้างปราสาทราชวงั และอญั เชิญพระแก้วมรกตจาก เวยี งจนั ทรม์ าประดษิ ฐาน ณ วดั พระศรีรัตนศาสดาราม ทรง สงั คยานาพระไตรปิฎก รวบรวม กฎหมายตราสามดวง และโปรด ใหแ้ ตง่ บทละครตา่ งๆ ข้นึ แทน ของเกา่ ทีถ่ กู พม่าเผาท�ำ ลายไป 22

2. วรี กรรมส�ำ คญั หลงั จากเสยี กรงุ ศรอี ยธุ ยาแก่พม่าได้ ๑ ปี พระองค์ไดเ้ ข้ารบั ราชการใน กรงุ ธนบุรี ตำ�แหนง่ พระราชวรินทร์ ในกรมพระต�ำ รวจหลวง ทรงเปน็ ก�ำ ลัง สำ�คัญในการกอบกบู้ า้ นเมืองและท�ำ ศกึ สงครามมากมาย พระองค์ไดต้ ามเสดจ็ สมเด็จพระเจ้าตากสนิ มหาราชไปปราบชุมนุมเจา้ พิมาย และทรงเป็นแมท่ ัพไปตี เมอื งเขมร สามารถตไี ดเ้ มอื งพระตะบองและเสยี มราฐ ทรงพระปรชี าสามารถใน การรบเปน็ ทโ่ี ปรดปรานจนได้รบั แตง่ ตั้งให้เป็นแมท่ พั ในสงครามครงั้ สำ�คัญหลาย ครัง้ นับเปน็ ขนุ พลค่พู ระทัยฝ่ายขวาของสมเด็จพระเจ้าตากสนิ มหาราช พระองค์ ทรงไดร้ ับพระกรณุ าโปรดเกล้าฯ ใหเ้ ลือ่ นยศเปน็ พระยายมราช เจา้ พระยาจักรี และสมเดจ็ เจ้าพระยามหากษตั ริย์ศึก ตามล�ำ ดับ เมื่อถงึ ปลายรชั สมัยสมเด็จพระเจ้าตากสนิ มหาราช ราวปี พ.ศ.๒๓๒๔ ขณะสมเด็จเจา้ พระยามหากษัตริย์ศกึ ก�ำ ลงั ไปราชการทัพอยู่ทเ่ี ขมร (กมั พูชา) ได้ เกดิ เหตกุ ารณ์จลาจลขน้ึ ในกรงุ ธนบุรี เกิดความขดั แย้งกันอยา่ งรนุ แรงระหว่าง ฝ่ายกบฏที่ตอ้ งการควบคมุ องค์สมเดจ็ พระเจา้ ตากสนิ มหาราช และออกวา่ ราชการแทน กับฝา่ ยตอ่ ตา้ นกบฏ ก่อความเดือดรอ้ นใหแ้ ก่ประชาชนเป็นอยา่ ง มาก สมเด็จเจ้าพระยามหากษัตริยศ์ ึกจงึ ยกทพั กลบั กรงุ ธนบรุ ีและปราบปราม ฝา่ ยกบฏได้ส�ำ เร็จ ขา้ ราชการและราษฎรจงึ ได้อญั เชิญพระองคป์ ราบดาภิเษกขนึ้ เปน็ ปฐมกษัตรยิ ์แหง่ ราชวงศ์จกั รี พระราชกรณียกจิ ส่วนใหญใ่ นรัชกาลของพระบาทสมเดจ็ พระพุทธยอดฟา้ จฬุ าโลกมหาราช ได้แก่ การสงครามเพอื่ รักษาอธิปไตยของชาติ ครั้งสำ�คัญทส่ี ุด คือ สงครามเกา้ ทพั ในปี พ.ศ. ๒๓๒๗ การปกครองประเทศทรงใช้ตามแบบ กรุงศรีอยธุ ยา และโปรดใหช้ ำ�ระกฎหมายบทตา่ งๆ ใหถ้ กู ตอ้ ง ทางด้านศาสนา โปรดใหส้ งั คายนาพระไตรปฎิ ก พ.ศ. ๒๓๓๑ และจารฉบบั ทองประดิษฐานไว้ ในหอพระมณเฑยี รธรรม วัดพระศรีรตั นศาสดาราม นอกจากนี้ยงั ทรงสรา้ งและ บรู ณะปฏสิ ังขรณ์พระอารามและพระพุทธรูปใหง้ ดงามข้ึนอกี มากมาย ทรงฟ้นื ฟู วรรณคดไี ทยจากสมัยกรุงศรอี ยุธยา และส่งเสรมิ การกวใี นราชสำ�นัก บทพระ ราชนพิ นธท์ ส่ี ำ�คัญ เชน่ บทละครเรอื่ ง รามเกียรต์ิ เปน็ ตน้ 23

24

25

พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกล้าเจ้าอยหู่ ัว 1. พระราชประวัติ พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหามงกฎุ พระจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ ัว ทรงเป็นพระมหากษัตริย์ ลำ�ดับท่ี ๔ แหง่ ราชวงศ์จักรี เสด็จพระราชสมภพ วันท่ี ๑๘ ตุลาคม พ.ศ. ๒๓๔๗ ทรงเปน็ พระ ราชโอรสองค์ที่ ๔๓ ในพระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธ เลศิ หลา้ นภาลัย (รัชกาลที่ ๒) กบั สมเดจ็ พระศรี สรุ เิ ยนทราบรมราชินี ทรงมพี ระนามเดิมว่า เจา้ ฟา้ มงกฎุ สมมตุ ิเทววงศ์พงศอ์ สิ รค์กษตั ริย์ ขัตตยิ ราชกมุ าร เมอื่ มพี ระชนมายุ ๒๑ พรรษา ทรง ผนวชเปน็ พระภกิ ษุ ณ วดั พระศรีรตั นศาสดาราม ไดร้ ับพระนามฉายาว่า “วชิร ญาณภกิ ข”ุ ในขณะทผี่ นวชอยูน่ ้นั พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลยั เสดจ็ สวรรคต พระเจ้าลกู ยาเธอ กรมหมน่ื เจษฎาบดินทร์ พระเจา้ ลกู ยาเธอพระองค์ ใหญใ่ นพระบาทสมเดจ็ พระพุทธเลิศหลา้ นภาลัยเสดจ็ ขน้ึ ครองราชย์สมบัติเป็น พระบาทสมเดจ็ พระนง่ั เกลา้ เจ้าอยูห่ วั พระองค์จึงทรงตดั สนิ พระทัยดำ�รงสมณ เพศตอ่ ไป ในระหวา่ งทผ่ี นวชอยู่นนั้ ได้เสด็จออกธดุ งคไ์ ปยังหวั เมืองต่างๆ ทำ�ให้ ทรงคุน้ เคยกบั สภาพความเปน็ อยขู่ องอาณาประชาราษฎร์ ทรงพระราชอตุ สาหะ วริ ยิ ะเรียนภาษาองั กฤษจนทรงเขยี นได้ ตรัสได้ ทรงเป็นนักปราชญร์ อบรู้เท่าทัน ต่อเหตุการณ์ของโลกตะวนั ตกเป็นอยา่ งดี เมอ่ื พระบาทสมเดจ็ พระนั่งเกลา้ เจา้ อยู่หวั เสดจ็ สวรรคต เม่อื วันท่ี ๒ เมษายน พ.ศ. ๒๓๙๔ พระบรมวงศานุวงศแ์ ละข้าราชการผ้ใู หญ่กราบบังคม ทูลอัญเชิญ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยหู่ ัว ให้ลาสกิ ขาบทขึน้ ครองราช สมบัติ มพี ระนามว่า “พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหามกฎุ พระจอมเกลา้ เจ้า อยู่หัว” เมอื่ ได้เสดจ็ ขึ้นครองราชย์แล้วกท็ รงโปรดเกล้าฯ สถาปนาสมเด็จพระเจ้า น้องยาเธอเจ้าฟ้ากรมขุนอิศเรศรงั สรรค์ (เจา้ ฟา้ จฑุ ามณี) โอรสองค์ที่ ๕๐ ของ 26

พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจา้ อยหู่ วั ทรงเป็นทงั้ พระเจา้ แผ่นดินและ ผู้นำ�ความกา้ วหนา้ ท�ำ ใหก้ ล่มุ ชาวต่างประเทศนยิ มเรียกขานพระองค์ว่า “คงิ มงกฎุ ” พระองคท์ รงเปน็ พระมหากษัตรยิ ์ทที่ รงไวซ้ งึ่ ทศพิธราชธรรม ทรงบรหิ าร แผ่นดิน บ�ำ เพ็ญพระราชกรณยี กิจใหญ่นอ้ ย ทรงท�ำ นบุ �ำ รุงบ้านเมืองให้เจริญ ก้าวหน้าเป็นประโยชน์ต่อประเทศชาตมิ ากมาย พระองคท์ รงครองราชสมบตั ิ ๑๖ ปี ๖ เดือน กอ่ นจะเสดจ็ สวรรคตเม่ือวนั ที่ ๑ ตลุ าคม พ.ศ. ๒๔๑๑ สริ ริ วมพระ ชนมายุ ๖๔ พรรษา 2. วรี กรรมสำ�คญั รัชสมยั ของพระบาทสมเด็จพระจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ ัว เปน็ สมัยแรกของการ เปล่ียนแปลงบา้ นเมอื งเพื่อใหเ้ ป็นที่ยอมรบั ของนานาประเทศ ไม่ให้ถูกคกุ คาม จากการล่าอาณานิคม พระองค์จึงจ�ำ เปน็ ตอ้ งปรบั ปรุงการปกครอง เปล่ยี นแปลง ประเพณีบางประการ ทรงใชพ้ ระบรมราโชบายเปน็ การผสมผสานระหวา่ งตะวนั ตกและตะวันออก ยอมทำ�การค้ากับต่างประเทศและรบั ความคดิ เหน็ ใหมจ่ าก ตะวันตก ให้สอดคล้องกับสถานการณภ์ ายนอกประเทศ พระองคท์ รงใชน้ โยบายทางการทตู ยอมเสียสละผลประโยชน์ส่วนน้อย เพ่ือรกั ษาเอกราชของประเทศ ทรงท�ำ สนธสิ ัญญาเบาว์รงิ กับประเทศอังกฤษ มี สาระสำ�คญั ในการเปดิ การคา้ เสรกี ับต่างประเทศ ทำ�ให้ไทยมีโอกาสได้รับวทิ ยาการ อันทนั สมัยเขา้ มาใชพ้ ัฒนาประเทศให้มคี วามเจรญิ กา้ วหนา้ ยงิ่ ขนึ้ ทรงพระกรณุ า โปรดเกลา้ ฯ ใหส้ ร้างถนนขึ้นอกี หลายสาย เช่น ถนนเจรญิ กรุง ถนนบำ�รงุ เมือง จดั ตงั้ ต�ำ รวจนครบาลข้นึ เพ่ือรกั ษาความสงบเรยี บร้อยของบา้ นเมอื ง จดั ตงั้ ศาล ยุตธิ รรม จัดสร้างโรงพิมพ์ โรงกษาปณ์ ขุดคลอง ทรงรเิ ร่มิ ใหม้ กี ารจัดต้ังนกิ าย ใหมท่ างพทุ ธศาสนา ชื่อวา่ ธรรมยตุ ิกนกิ าย รวมถงึ โปรดเกลา้ ฯ ให้สร้างและ ปฏสิ ังขรณ์วัดวาอารามขึน้ มาใหม่ ทรงโปรดเกล้าฯ ให้กอ่ สร้างพระทน่ี ัง่ ภวู ดล ทัศไนย เพ่ือใชเ้ ปน็ หอนาฬิกาหลวงบอกเวลามาตรฐานของไทย 27

ในปพี .ศ. ๒๓๙๘ พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกล้าเจา้ อย่หู วั ทรงมพี ระ ราชด�ำ รใิ หเ้ ปลย่ี นชือ่ ประเทศจากกรุงรัตนโกสินทร์เปน็ สยาม และโปรดเกล้าฯ ให้พระองค์เจ้าประดิษฐ์วรการ ปน้ั หลอ่ เทวรปู สมมติข้ึน ถวายพระนามวา่ “พระ สยามเทวาธริ าช” ประดษิ ฐาน ณ พระที่นัง่ ทรงธรรมในหมู่พระที่นัง่ พุทธมณเฑียร พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจา้ อยู่หัวทรงเชีย่ วชาญในวิชาโหราศาสตร์และ ดาราศาสตร์ ทรงสามารถค�ำ นวณวันเวลาที่จะเกดิ สุรยิ ปุ ราคาล่วงหน้าถึง ๒ ปี ไดอ้ ย่างถกู ต้องและแม่นย�ำ ปวงชนชาวไทยจงึ ได้ถวายพระราชสมัญญานาม ให้พระองค์เปน็ พระบดิ าแหง่ วทิ ยาศาสตรไ์ ทย โดยกำ�หนดให้วนั ทพี่ ระองค์ ทรงค�ำ นวณการ เกดิ สุรยิ ุปราคา (๑๘ ตลุ าคม พ.ศ. ๒๔๑๑) เป็นวนั วทิ ยาศาสตร์ แห่งชาติ ดว้ ยพระ มหากรุณาธคิ ณุ ทที่ รงมี ต่อแผน่ ดินไทย ทง้ั ด้าน วทิ ยาศาสตร์ ด้านการ พัฒนาเศรษฐกิจ และ ทรงรกั ษาเอกราชของ ชาติในยคุ ล่าอาณานิคมของชาติตะวนั ตก ตลอดจนทำ�นบุ �ำ รุงพระพุทธศาสนาให้ เจรญิ รุง่ เรอื ง ถอื เปน็ พระมหากษตั ริยไ์ ทยอีกพระองค์ทท่ี รงคณุ ปู การอย่างหาที่สดุ มิได้ 28

29

30

พระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกล้าเจา้ อยหู่ ัว 1. พระราชประวตั ิ พระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหาจฬุ าลงกรณ์ พระจุลจอมเกลา้ เจ้าอยู่ หัว ทรงเปน็ พระมหากษตั รยิ ์ล�ำ ดับที่ ๕ แหง่ ราชวงศจ์ กั รี เสด็จพระราชสมภพวัน ที่ ๒๐ กันยายน พ.ศ. ๒๓๙๖ เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ ัว และ สมเด็จพระเทพศริ นิ ทราบรมราชินี ทรงมีพระนามเดมิ วา่ สมเด็จ เจ้าฟ้าชายจฬุ าลงกรณ์ ซง่ึ แปลวา่ เคร่อื งประดบั ผม หรอื พระเกย้ี ว พระบาท สมเดจ็ พระจุลจอมเกลา้ เจ้าอยหู่ ัว ทรงได้รบั การศกึ ษาทั้งในด้านอกั ษรศาสตร์ ภาษาองั กฤษ ภาษาบาลี โบราณราชประเพณี วชิ าการสงคราม การปกครอง และวิชาวศิ วกรรม ตลอดจนศิลปวิทยาแขนงตา่ งๆ นอกจากนี้พระองคย์ งั ทรง ศึกษาพระธรรมวนิ ยั ทรงผนวชเปน็ สามเณรและเปน็ พระภกิ ษ ุ พระองคท์ รงครองราชย์ เมอื่ วันที่ ๑ ตลุ าคม พ.ศ. ๒๔๑๑ และเขา้ พธิ ี บรมราชาภิเษก ๒ คร้งั ครงั้ แรกเมอื่ พ.ศ. ๒๔๑๑ ขณะทรงมพี ระชนมายเุ พียง ๑๕ พรรษา โดยมีสมเดจ็ เจา้ พระยาบรมมหาศรีสรุ ยิ วงศ์ (ชว่ ง บุนนาค) เปน็ ผู้ ส�ำ เรจ็ ราชการแทนพระองค์ เมื่อทรงบรรลนุ ิติภาวะแลว้ จงึ เสดจ็ เถลงิ ถวลั ยราช สมบัตอิ ีกครัง้ เม่ือ พ.ศ. ๒๔๑๖ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจา้ อย่หู ัว ได้รับการถวายพระราช สมญั ญานามวา่ “สมเดจ็ พระปิยมหาราช” ซึ่งมคี วามหมายว่า “พระมหากษตั ริย์ ผทู้ รงเปน็ ท่ีรักยงิ่ ของปวงชน” เนื่องจากพระองคท์ รงเปน็ ทร่ี ักของพสกนิกรทงั้ ชาว ไทยและชาวต่างชาติ ตลอดระยะเวลาที่ทรงครองสิริราชสมบตั ิ ทรงปกครองพระ ราชอาณาจกั รใหม้ ง่ั คั่งสมบรู ณ์ ดัวยรัฐสมบัติ พทิ กั ษ์พสกนกิ รใหอ้ ย่เู ยน็ เปน็ สุข บ�ำ บดั ภัยอนั ตรายทงั้ ภายในภายนอกประเทศ ทรงบ�ำ เพ็ญพระราชกรณียกจิ อัน กอ่ ให้เกดิ คุณประโยชนแ์ ก่ประเทศชาติ ใหร้ อดพ้นจากวกิ ฤตการณ์ และสามารถ ธำ�รงเอกราชไวต้ ราบจนทกุ วันนี้ พระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ ัวเสด็จ สวรรคตเม่ือวันที่ ๒๓ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๕๓ ซึ่งถอื เปน็ วนั ปิยมหาราชในปัจจุบัน รวมพระชนมายุได้ ๕๘ พรรษา ทรงครองราชสมบตั ิมานานถึง ๔๒ ปี 31

2. วรี กรรมสำ�คญั พระราชกรณียกิจทสี่ ำ�คัญในสมัยพระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกล้าเจา้ อยู่ หัว ไดแ้ ก่ ทรงพระกรณุ าโปรดเกล้าฯ ให้มีการเลกิ ทาสและไพรใ่ นประเทศไทย เริ่มจากออกกฎหมายใหล้ กู ทาสอายุครบ ๒๐ ปี เปน็ อิสระ จนกระทั่งออกพระราช บญั ญตั ิเลิกทาส ร.ศ. ๑๒๔ (พ.ศ. ๒๔๔๘) ได้สำ�เร็จ ปลอ่ ยทาสทุกคนให้เปน็ อสิ ระและหา้ มมกี ารซื้อขายทาสอกี พระองคท์ รงป้องกันประเทศมิให้ตกเปน็ อาณานิคมของ จักรวรรดิ ฝรัง่ เศส และ จกั รวรรดิองั กฤษ ทรงยอมเสียดนิ แดนสว่ นนอ้ ยเพ่อื รกั ษาดนิ แดน ส่วนใหญไ่ ว้ พระบาทสมเด็จพระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยูห่ วั ไดเ้ สดจ็ ประพาสยังต่าง ประเทศท้งั สงิ คโปร์ ชวา พม่า อินเดีย และอกี หลายประเทศในยุโรปถงึ ๒ คร้ัง ด้วยกัน เพ่ือเจรญิ สมั พันธไมตรดี ้วยการทูต ทำ�ใหเ้ ป็นทีย่ อมรบั จากนานาประเทศ ท่ัวยุโรป ทรงประกาศให้มีการนบั ถือศาสนาอย่างเสรีในประเทศ โดยผู้ทน่ี ับถือ ศาสนาครสิ ตแ์ ละศาสนาอสิ ลามสามารถปฏบิ ัติศาสนกิจไดอ้ ยา่ งอสิ ระ นอกจากน้ีไดม้ ีการนำ�ระบบการอปุ โภคจากทางยุโรปมาใช้ในประเทศไทย ได้แก่ ระบบการใชธ้ นบตั รและเหรยี ญบาท ใชร้ ะบบเขตการปกครองใหม่ เชน่ มณฑลเทศาภิบาล จงั หวดั และอ�ำ เภอ ได้มีการสรา้ งรถไฟสายแรก คอื กรงุ เทพฯ ถงึ เมืองนครราชสีมา ก่อตัง้ การประปา การไฟฟา้ ไปรษณยี ์โทรเลข โทรศพั ท์ การสือ่ สาร การรถไฟ ใหม้ กี ารขดุ คลองเพ่ิมหลายแห่ง ทรงพัฒนา ความเจรญิ ก้าวหน้าในแขนงวิชาการการศกึ ษา การปกครอง การศาล การต่าง ประเทศ การสาธารณปู โภค โปรดใหส้ รา้ งโรงเรยี นหลวงขึ้นในพระบรมมหาราช วังเพราะเหน็ ความสำ�คญั ของการศึกษา คอื “โรงเรียนนายทหารมหาดเลก็ ” กอ่ น จะเปลี่ยนชือ่ เปน็ “โรงเรยี นพระต�ำ หนกั สวนกุหลาบ” ตอ่ มาโปรดใหต้ ้ังโรงเรยี น หลวงสำ�หรับราษฎรขนึ้ เปน็ แห่งแรก คอื “โรงเรยี นวดั มหรรณพาราม” และ โปรดให้จัดต้ังกระทรวงธรรมการขึน้ เมือ่ ปี พ.ศ.๒๔๓๕ (ปจั จุบันคอื กระทรวง ศึกษาธิการ) เพื่อดแู ลเรอ่ื งการศกึ ษาและการศาสนา 32

พระปรชี าสามารถในดา้ นวรรณกรรมก็ไมย่ งิ่ หยอ่ นไปกว่าด้านอ่นื พระองคท์ รงเปน็ ท้ังกวี และนกั ประพันธ์ มีการแตง่ โคลง ฉนั ท์ บทละครกาพย์ ร้อยแกว้ ร้อยกรอง ทัง้ ยงั ทรงสนพระทัยถงึ ความเปน็ อย่ขู องประชาชน ทรงออก เยีย่ มเยยี นราษฎรอยเู่ ปน็ นิจ พระองค์จงึ เปน็ ที่จงรักภักดีของปวงชนชาวไทยทง้ั แผน่ ดิน ด้วยพระมหากรณุ าธิคุณของพระบาทสมเด็จพระจลุ จอมเกล้าเจา้ อยู่ หวั พระบรมวงศานุวงศ์ ข้าราชการ พอ่ ค้า คหบดี ปวงชนชาวไทยทกุ หมู่ เหล่าผสู้ �ำ นึกในพระมหากรณุ าธิคณุ ไดร้ ว่ มใจกันรวบรวมเงนิ จดั สรา้ งอนุสาวรีย์ พระบรมรปู ทรงม้า ถวายเพ่ือเป็นสัญลักษณแ์ หง่ พระเกียรตคิ ณุ ของพระองค์ 33

ลำ�ดบั พระมหากษัตริย์ กรุงสุโขทัย กรงุ ศรอี ยธุ ยา กรงุ ธนบรุ ี กรุงรตั นโกสินทร์ กรุงสโุ ขทยั ( พ.ศ. 1792 - 1981) ราชวงศ์พระร่วง 1. พอ่ ขนุ ศรีอินทราทิตย์ 2. พอ่ ขุนบานเมือง 3. พ่อขุนรามคำ�แหงมหาราช 4. พระยาเลอไทย 5. พระยาง่วั นำ�ถม 6. พระมหาธรรมราชาที่ 1 (ลไิ ทย) 7. พระมหาธรรมราชาท่ี 2 (ลือไทย) ภายใตก้ ารปกครองของอาณาจกั รอยธุ ยา 8. พระมหาธรรมราชาท่ี 3 (ไสลือไทย) ภายใต้การปกครองของอาณาจกั รอยุธยา 9. พระมหาธรรมราชาท่ี 4(บรมปาล) ภายใต้การปกครองของอาณาจกั รอยุธยา กรุงศรอี ยธุ ยา ( พ.ศ. 1893– พ.ศ.2310) ราชวงศ์อู่ทอง (ครัง้ ที1่ ) 1.พระรามาธบิ ดที ่ี 1 (พระเจา้ อ่ทู อง) 2.พระราเมศวร ราชวงศส์ พุ รรณภูมิ (ครง้ั ท่ี 1) 3.พระบรมราชาธริ าชท่ี 1 (ขนุ หลวงพะง่ัว) 4.พระเจา้ ทองลัน ราชวงศ์อู่ทอง (ครัง้ ท่2ี ) 2(2)สมเดจ็ พระราเมศวร 5.พระรามราชาธริ าช 34

กรุงศรีอยุธยา(ต่อ) ราชวงศ์สพุ รรณภมู ิ (ครั้งท่ี 2) 6.พระอนิ ทาชาธริ าชที่ 1 (พระนครอนิ ทร)์ 7.พระบรมราชาท่ี 2 (เจ้าสามพระยา) 8.พระบรมไตรโลกนาถ 9.พระบรมราชาธริ าชท่ี 3 (อินทราชาธริ าชที่ 2) 10.พระรามาธิบดีท่ี 2 11.พระบรมราชาหนอ่ พุทธางกูร 12.พระรฏั ฐาธริ าชกมุ าร (พระรัษฎาฯ) 13.พระไชยราชาธิราช 14.พระยอดฟ้า (พระแกว้ ฟา้ ) 15.ขนุ วรวงศาธิราช (บางตำ�ราไม่นับ) 16.พระมหาจักรพรรดิ 17.พระมหนิ ทราธริ าช 18.พระมหาธรรมราชา ราชวงศ์สโุ ขทัย 19.พระนเรศวรมหาราช ราชวงศป์ ราสาททอง 20.พระเอกาทศรถ 21.พระศรีเสาวภาคย์ 22.พระเจา้ ทรงธรรม 23.พระเชษฐาธิราช 24.พระอาทติ ยวงศ์ 25.พระเจ้าปราสาททอง 26.เจา้ ฟา้ ไชย 35

ราชวงศ์ปราสาททอง 27.พระศรีสุธรรมราชา 28.พระนารายณ์มหาราช ราชวงศบ์ ้านพลหู ลวง 29.พระเพทราชา 30.พระเจา้ เสอื 31.พระเจา้ ท้ายสระ 32.พระเจา้ อยู่หัวบรมโกศ 33.พระเจา้ อุทมุ พร (ขุนหลวงหาวดั ) 34.พระเจา้ เอกทศั กรุงธนบรุ ี ( พ.ศ. 2310 - พ.ศ.2325 ) ราชวงศธ์ นบรุ ี 1. สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช กรงุ รัตนโกสินทร์ ( พ.ศ. 2325 - ปัจจุบนั ) ราชวงศ์จักรี รัชกาลท่ี 1 พระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช รชั กาลท่ี 2 พระพุทธเลิศหลา้ นภาลยั รัชกาลท่ี 3 พระนั่งเกลา้ เจา้ อยู่หัว รชั กาลท่ี 4 พระจอมเกลา้ เจ้าอยหู่ วั รชั กาลท่ี 5 พระจุลจอมเกลา้ เจ้าอยูห่ วั รัชกาลท่ี 6 พระมงกุฏเกลา้ เจา้ อยหู่ วั รชั กาลที่ 7 พระปกเกล้าเจา้ อย่หู วั รัชกาลท่ี 8 พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล รัชกาลท่ี 9 พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช 36

ชื่อเต็มของกรงุ เทพฯ กรุงเทพมหานคร อมรรัตนโกสินทร์ มหนิ ทรายธุ ยา มหาดิลก ภพ นพรตั น์ราชธานบี รุ รี มย์ อุดมราชนิเวศน์ มหาสถาน อมรพิมานอวตารสถติ ย์ สกั กะทัตตยิ ะ วศิ นุกรรมประสทิ ธิ์ กรุงเทพมหานคร อมรรตั รโกสนิ ทร์ มหนิ ทรายุธยา แปลอังกฤษ : City of Angels, Great City of Immortals, แปลไทย : พระนครอันกว้างใหญด่ จุ เทพนคร เปน็ ทส่ี ถิตของพระแก้วมรกต เป็น นครทไี่ ม่มีใครรบชนะได้ มหาดิลกภพ นพรตั นราชธานีบูรรี มย์ แปลองั กฤษ : Magnificent City of the Nine Gems, Seat of the King, แปลไทย : มีความงามอันม่ันคงและเจรญิ ยิง่ เป็นเมอื งหลวงที่บริบูรณด์ ้วยแก้ว เกา้ ประการ นา่ ร่ืนรมยย์ งิ่ อุดมราชนเิ วศน์มหาสถาน อมรพมิ านอวตารสถติ แปลอังกฤษ : City of Royal Palaces, Home of the Gods Incarnate, แปลไทย : มีพระราชนเิ วศใหญ่โตมากมาย เปน็ วมิ านเทพทปี่ ระทบั ของพระราชา ผูอ้ วตารลงมา สักกะทตั ติยวิษณุกรรมประสทิ ธ์ิ แปลองั กฤษ : Erected by Visvakarman at Indra’s Behest. แปลไทย : ซ่งึ ทา้ วสักกเทวราชพระราชทานให้พระวษิ ณกุ รรมลงมาเนรมิตไว้ สืบคน้ จาก : https://blog.eduzones.com/kmitl/2057 37

อทุ ยานราชภกั ดิ์เป็นอทุ ยานประวัติศาสตร์ ต้ังอยู่ทอ่ี ำ�เภอ หวั หิน จงั หวัดประจวบครี ีขนั ธ์ ท่ตี ง้ั พระบรมราชานสุ าวรีย์ของ พระมหากษัตริย์ไทยในอดตี หลายพระองค์ โดยปัจจบุ ันมี ๗ พระองค์ โดยพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หวั ฯ พระราชทานชอื่ ว่า “อทุ ยานราชภกั ดิ์” ซึ่งเปน็ อุทยานท่สี ร้างขน้ึ ด้วยความจงรักภักดตี ่อ พระมหากษัตรยิ ์ และเพื่อเปน็ การเทดิ ทนู และประกาศเกยี รตคิ ุณ สมเด็จพระมหากษัตริย์แหง่ สยาม โดยสมเดจ็ พระบรมโอรสาธริ าชฯ สยามมกุฎราชกุมาร เสดจ็ พระราชดำ�เนินพร้อมดว้ ยพระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าพชั รกิติยาภา ทรงเปิดอทุ ยาน เมื่อวนั ที่ ๒๖ กันยายน ๒๕๕๘ 38

อทุ ยานราชภักด์ิ ประกอบดว้ ย 3 สว่ นหลัก ไดแ้ ก่ ๑. พระบรมราชานสุ าวรีย์ของพระมหากษตั ริย์ไทย ๗ พระองค์ ประกอบดว้ ย พอ่ ขนุ รามค�ำ แหงมหาราช สมเดจ็ พระนเรศวรมหาราช สมเดจ็ พระนารายณม์ หาราช สมเดจ็ พระเจา้ ตากสนิ มหาราช พระบาทสมเด็จพระพทุ ธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หวั พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ เจ้าอยหู่ วั ๒. ลานอเนกประสงค์ ดา้ นหนา้ พระบรมราชานุสาวรยี ์ ส�ำ หรบั กระท�ำ พิธสี �ำ คัญของกองทัพ และรับรองบุคคลส�ำ คัญจากต่างประเทศ ๓. พิพธิ ภัณฑ์ จัดแสดงพระราชประวัตแิ ละพระราชกรณียกจิ ของพระ มหากษัตรยิ ไ์ ทยทั้ง ๗ พระองค์ โดยพืน้ ท่ีสว่ นทเี่ หลือจะเปน็ สภาพภมู ิ ทศั น์โดยรอบ และการจดั สร้างระบบสาธารณูปโภคเพ่ืออ�ำ นวยความ สะดวกแก่ผูม้ าเยี่ยมชม 39

ประมวลภาพ การอัญเชิญพระบรมราชานุสาวรยี ์ สมเด็จพระบูรพกษัตริยแ์ หง่ สยาม ๗ พระองค์ ที่จัดสรา้ งโดยกองทพั บก ข้ึนแท่นประดษิ ฐานภายในอุทยานราชภักดิ์ ใน อ.หัวหิน จ.ประจวบคีรขี นั ธ์ 40

41

42

43

พระเจ้าตากสนิ มหาราช [ออนไลน]์ . สบื คน้ จาก: www.wangdermpalace.com http://guru.sanook.com/2674/, http://www.lib.ru.ac.th/journal/taksin.html http://www.baanjomyut.com/library/2552/taksin/index.html www.pattaya.go.th/history/ประวตั สิ มเด-จพระเจา้ ตาก/ พระพทุ ธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช [ออนไลน]์ . สืบคน้ จาก: http://guru.sanook.com/2340/ http://www.myfirstbrain.com/student_view.aspx?id=26660 พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจา้ อยู่หวั [ออนไลน์]. สืบค้นจาก: http://digital.lib.kmutt. ac.th/king4/bodyr.html กับ http://witchudathailand.blogspot.com/p/4.html www.chaoprayanews.comราชวงศจ์ ักร,ี https://www.l3nr.org/posts/407306 พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั [ออนไลน์]. สบื ค้นจาก: http://www.lib.ru.ac.th/ journal/oct/oct23_ck_index.html, http://digital.lib.kmutt.ac.th/king4/, http://guru. sanook.com/4175/, http://hilight.kapook.com/view/29980 รายพระนามพระมหากษัตรยิ ไ์ ทย สมัยกรงุ สโุ ขทัย กรุงศรีอยุธยา กรงุ ธนบรุ ี กรุง รัตนโกสินทร์ สบื ค้นจาก: http://www.photoontour.com/SpecialPhotos_HTML/data_ king_family/List_king_of_Thai/list_king_of_Thai.htm https://th.wikipedia.org/wiki/อทุ ยานราชภกั ด์ิ ขอขอบคุณภาพประกอบ https://sites.google.com/a/dsc.ac.th/prawati-sukhothay/home/prawati-sukhothay/ karmeuxng-kar-pkkhrxng-smay-sukhothay http://www.spdr80.com/background.php amulet24.lnwshop.com › ... › # ของเก่าของสะสม เครอื่ งป้ันด…ิ http://www.bloggang.com/mainblog.php?id=wild- birds&month=28-08-2007&group=1&gblog=5 http://www.scg.co.th/100th/ebook-100y/m/page_012.html http://www.bloggang.com/data/n/nokhouktato/picture/1283162897.jpg https://upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/7/75/Jean-Leon_Gerome_001.JPG http://www.oknation.net/blog/theerapongbh/2007/12/28/entry-1 http://www.trueplookpanya.com/data/product/uploads/other4/15484.jpg http://www.apjnews.com/?p=21190 44

ขอขอบคณุ ภาพประกอบ (ตอ่ ) http://www.su-usedbook.com/product-th-42810-3860843-%E0%B8%9B ประวตั แิ ละ โคลงก�ำ ศรวลศรีปราชญ์ พร้อมดว้ ยบนั ทึกสอบทานและหมายเหตุ https://th.wikipedia.org/wiki/ https://th.wikipedia.org/wiki/ http://www.druthit.com/268/ http://pr.prd.go.th/nakhonratchasima/ewt_news.php?nid=2819&filename=index http://www.skn.ac.th/skl/project/maharad/men2.jpg http://www.clipmass.com/story/78714 http://www.manager.co.th/Travel/ViewNews.aspx?NewsID=9580000118424 http://www.thaidphoto.com/forums/attachment.php?attachmen- tid=1698307376&d=1365596479 http://travel.mthai.com/news/100521.html http://www.chaoprayanews.com/2012/04/05/ พระบรมมหาราชวงั http://www.bloggang.com/m/viewdiary.php?id=goirish2011&month=12-2011&date =13&group=23&gblog=15 http://www.thailandexhibition.com/Event-77/3710 http://static.tlcdn2.com/data/8/pictures/0213/12-06-2011/p16g8n9ppf13rsp8ie- h1o151hkk3.jpg http://i1.wp.com/9choke.com/wp-content/uploads/2015/10/aaIMG_2239.jpg http://9choke.com/2015/10/14/hua-hin-/ อทุ ยานราชภกั ด์ิ ใครๆก/ http://www.manager.co.th/Travel/ViewNews.aspx?NewsID=9580000118424 http://www.brighttv.co.th/sites/default/files/styles/web_news_image_slide/public/ videos/1/webnews/318388/200913.jpg?itok=ftimkv5l http://hilight.kapook.com/view/123952 http://hilight.kapook.com/view/124227 http://www.tnamcot.com/content/243321 http://hilight.kapook.com/img_cms2/user/surattana/28_7/pic7.jpg http://www.manager.co.th/Local/ViewNews.aspx?NewsID=9580000083470 ขอขอบคณุ อทุ ยานราชภักดิ์ 45

ขอขอบคณุ แหลง่ ข้อมูล ประเสริฐ ณ นคร. (2534) “ประวตั ิศาสตร์สุโขทยั จากจารกึ .” งานจารึกและประวตั ิศาสตร์ ของประเสริฐ ณ นคร. มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ กำ�แพงแสน. ประเสริฐ ณ นคร. (2544) “รามค�ำ แหงมหาราช, พอ่ ขุน”. สารานกุ รมไทยฉบับ ราชบัณฑิตยสถาน, (เล่ม 25 : ราชบณั ฑิตยสถาน-โลกธรรม). กรุงเทพฯ : สหมติ รพรน้ิ ติง้ . หน้า 15887-15892. สทุ ธิ ภบิ าลแทน และ สุวัฒน์ แกว้ สังข์ทอง. (2552) “เปิดโลกประวัติศาสตร์อยุธยา - ธนบรุ ี” . กรงุ เทพฯ : อักษรเจริญทัศน์ อจท. บจก. กนกวลี ชชู ยั ยะ “ประวตั ิศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทรเ์ ลม่ ” (2546) กรงุ เทพมหานคร : เมธที ปิ ส์ พอ่ ขุนรามค�ำ แหงมหาราช [ออนไลน]์ . สบื คน้ จาก: https://th.wikipedia.org/wiki/พอ่ ขุน รามคำ�แหงมหาราช (วนั ทส่ี บื คน้ 12 ธันวาคม 2558). สมเดจ็ พระนเรศวรมหาราช [ออนไลน]์ . สืบค้นจาก: https://th.wikipedia.org/wiki/สมเดจ็ พระนเรศวรมหาราช (วนั ทสี่ บื ค้น 12 ธนั วาคม 2558). สมเดจ็ พระนารายณ์มหาราช[ออนไลน]์ . สืบค้นจาก: https://th.wikipedia.org/wiki/สมเด็จ พระนารายณ์มหาราช (วนั ทส่ี บื ค้น 12 ธนั วาคม 2558). สมเด็จพระเจ้ากรงุ ธนบุรี [ออนไลน์]. สืบค้นจาก: https://th.wikipedia.org/wiki/สมเดจ็ พระเจ้ากรงุ ธนบุรี (วนั ทส่ี ืบค้น 12 ธันวาคม 2558). สมเดจ็ พระพุทธยอดฟ้าจฬุ าโลกมหาราช [ออนไลน]์ . สบื คน้ จาก: https://th.wikipedia. org/.../พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟา้ จฬุ าโลกมหาราช (วันทีส่ บื คน้ 12 ธนั วาคม 2558). (วนั ทีส่ บื ค้น 12 ธันวาคม 2558). (วันที่สบื ค้น 12 ธนั วาคม 2558). พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจา้ อย่หู วั [ออนไลน]์ . สืบคน้ จาก: https://th.wikipedia.org/ wiki/พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจา้ อยู่หวั (วันทสี่ ืบค้น 12 ธันวาคม 2558). พระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกลา้ เจา้ อยู่หัว [ออนไลน]์ . สบื ค้นจาก: https://th.wikipedia. org/.../พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (วันท่สี บื ค้น 12 ธนั วาคม 2558). พอ่ ขุนรามค�ำ แหงมหาราช [ออนไลน]์ . สบื ค้นจาก: http://guru.sanook.com/9342/ สมเดจ็ พระนเรศวรมหาราช [ออนไลน]์ . สบื ค้นจาก: http://guru.sanook.com/11745/ และ http://guru.sanook.com/2285/ สมเด็จพระนารายณม์ หาราช[ออนไลน์]. สืบค้นจาก: http://guru.sanook.com/2353/ และ http://www.druthit.com/268/ 46