Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เศรษฐศิลป์ ผู้นำแห่งโลกวัตถุในปรัชญาตะวันออก

เศรษฐศิลป์ ผู้นำแห่งโลกวัตถุในปรัชญาตะวันออก

Description: เศรษฐศิลป์ ผู้นำแห่งโลกวัตถุในปรัชญาตะวันออก

Search

Read the Text Version

ผู้นาํ กบั โลกแห่งวตั ถุในปรชั ญาตะวนั ออก บทน�ำ การศกึ ษาภายใต้โครงการ “ผนู้ ำ�กบั โลกแหง่ วตั ถุ” เป็นการศกึ ษาภาวะ ผู้นำาจากประเด็นการจัดการทรัพย์สินผ่านมุมมองปรัชญาจีนและพุทธปรัชญา โดยมสี มมตุ ฐิ านวา่ ‘ความสามารถในการมองเหน็ ปฏสิ มั พนั ธอ์ นั ซบั ซอ้ นระหวา่ ง โลกของวัตถุหรือทรัพย์สินกับผลกระทบต่อความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์ ชุมชน และสงิ่ แวดลอ้ ม เปน็ เครอื่ งแสดงภาวะผนู้ าำ ทส่ี าำ คญั ’ เพราะความสามารถดงั กลา่ ว ‘ชว่ ยจดั การโลกแหง่ วตั ถใุ หเ้ กดิ คณุ คา่ ตอ่ ชวี ติ ทดี่ ขี องมนษุ ย์ รวมทง้ั ปอ้ งกนั ไมใ่ ห้ โลกแหง่ วตั ถกุ ลายเปน็ สาเหตขุ องความขดั แยง้ ความรนุ แรงและความเดอื ดรอ้ น ของสงั คม’ 1

ผนู้ าํ กับโลกแห่งวตั ถุในปรัชญาตะวนั ออก หนังสือ เศรษฐศิลป์ เป็นผลของการวิจัยที่นำาเสนอผ่านบทความจากนักวิชาการ ผู้เช่ยี วชาญดา้ นพทุ ธปรัชญา 1 บทความ และปรัชญาจีน 3 บทความ ซง่ึ ส่วนปรชั ญาจนี สะท้อนพัฒนาการทางความคิดของปรัชญาจีนในยุคชุนชิว-จ้ันกั๋ว เร่ิมจากแนวคิดที่ให้ ความสาำ คญั ตอ่ การปรบั เปลย่ี นความปรารถนาภายในตนเองของปรชั ญาสาำ นกั เตา๋ ตามดว้ ย หลักการและแนวปฏิบัติที่ให้ความสำาคัญกับจารีตวัฒนธรรมของสำานักขงจื่อ แนวปฏิบัติที่ เป็นรูปธรรมจากระบบกฎหมายท่ีตราข้ึนโดยรัฐในปรัชญานิตินิยมของหานเฟยจ่ือ และ บทความจากมมุ มองพทุ ธศาสนาเถรวาท ซงึ่ สะทอ้ นความเชอื่ ทที่ รงอทิ ธพิ ลตอ่ เนอ่ื งยาวนาน ในประเทศไทย โดยคณะผวู้ จิ ยั หวงั วา่ บทความทง้ั 4 เรอ่ื งจะเปน็ กระจกสะทอ้ นและเปดิ มมุ มอง ใหผ้ สู้ นใจไดเ้ หน็ แงม่ มุ ของปญั หาทส่ี งั คมไทยเผชญิ อยู่ ซง่ึ คาำ ตอบอาจแฝงอยใู่ นระดบั ปรชั ญา ความคิดที่หยั่งรากลึกในสังคมไทย ในตอนท้ายบทความแต่ละเร่ือง คณะวิจัยได้เชื่อมโยง บทเรียนจากข้อค้นพบในงานวิจัยกับประเด็นปัญหาในสังคมไทย เช่น ปัญหาคนจนเมือง ปญั หาการเบยี ดบงั ทรพั ยากร 2

ผนู้ าํ กบั โลกแหง่ วตั ถุในปรชั ญาตะวันออก การใหค้ วามสาำ คญั แกร่ ะบบทนุ นยิ มทเี่ นน้ ตวั เลขการเตบิ โตทางเศรษฐกจิ สรา้ งปญั หา ความขัดแย้งในสังคมท้ังในโลกของคนท่ัวไปและนักบวช โดยเฉพาะกรณีพระสงฆ์กับ ความม่ังคั่งในสังคมไทย ซึ่งขัดแย้งกับคำาสอนของพระพุทธเจ้า พระองค์ไม่ประสงค์ให้ พระสงฆ์ในฐานะผ้นู ำาทางจิตวิญญาณและจริยธรรมมเี งินทองของมีคา่ เปน็ ทรัพยส์ ินส่วนตวั ใหพ้ ระสงฆม์ เี พยี งปจั จยั 4 ทจ่ี าำ เปน็ แกก่ ารดาำ รงชพี อนั ไดร้ บั การสนบั สนนุ จากผศู้ รทั ธาเทา่ นน้ั ในสมยั หลงั พทุ ธกาล เกดิ ความเหน็ ทต่ี า่ งกนั ตอ่ การครอบครองทรพั ยส์ นิ ของพระสงฆ์ สืบเนื่องจากคำาสอนเร่ือง “บุญกริย�วัตถุ” ท่ีอนุญาตให้ชุมชนมีส่วนร่วมในบุญกุศลทาง ศาสนา โดยเฉพาะเร่ืองทานท่ีให้คุณค่าต่อการถวายสิ่งของหรือปัจจัยท่ีดีเลิศแก่พระสงฆ์ ทำาให้การรับทานวัตถุจากผู้ศรัทธาสร้างความม่ังค่ังแก่วัดหรือพระสงฆ์ตามลำาดับ จนเกิด แนวคดิ แบง่ ออกเปน็ 2 ฝา่ ย คอื ‘เถรวาท’ ทย่ี ดึ ถอื วา่ การดาำ รงตนอยา่ งนกั บวชไมม่ ที รพั ยส์ นิ เป็นวิถซี ่ือตรงและเป็นไปตามพระธรรมวนิ ัย และ ‘สาำ นกั อ่นื ’ ท่ีเห็นว่านักบวชควรดำารงตน อยา่ งสมถะและสนั โดษ แตก่ ม็ ที า่ ทยี อมรบั วา่ เงนิ หรอื วตั ถปุ จั จยั มคี วามจาำ เปน็ ตอ่ การเผยแผ่ ศาสนา ปัจจุบัน ท่าทีของพระสงฆ์เถรวาทต่อทรัพย์สินเปลี่ยนแปลงไปเมื่อเทียบกับสมัย 100 ปหี ลงั พทุ ธกาล พระสงฆเ์ ถรวาทไมไ่ ดย้ นื หยดั วถิ กี ารบาำ เพญ็ ตนเพยี งอยา่ งเดยี วอกี ตอ่ ไป แตก่ ลบั เอนเอียงไปในทางการสะสมทรัพย์สนิ และความมั่งค่งั เช่น พระสงฆใ์ นประเทศไทย และศรีลังกาทาำ ใหเ้ กดิ การตีความพระธรรมวนิ ยั ใหมเ่ ป็น 2 แนวทาง คอื ฝา่ ยแรกตคี วามวา่ 3

ผู้นาํ กับโลกแห่งวัตถุในปรชั ญาตะวนั ออก ทรัพย์สินของวัดเมื่อใช้อย่างถูกต้องตามจารีตตามพระวินัย จะช่วยให้เกิด ประโยชนแ์ ก่ชุมชนและเปน็ ประโยชน์ต่อพทุ ธศาสนา อกี ฝา่ ยหน่ึงไม่เหน็ ด้วย เพราะมองว่าเป็นการตีความที่ไม่ซ่ือตรงต่อพระไตรปิฎก เพราะการที่วัดมี ทรัพย์สินมากขึ้นและมีกิจกรรมเชิงเศรษฐกิจ เป็นการกระตุ้นให้พระสงฆ์เกิด กเิ ลสตณั หา ซง่ึ ขดั ขวางการพฒั นาตนสคู่ วามหลดุ พน้ และการทาำ หนา้ ทท่ี ถ่ี กู ตอ้ ง ตามพระธรรมวินยั ความขัดแย้งนี้เป็นกรณีตัวอย่างของโลกของวัตถุล่วงลำ้าไปพัวพันกับ โลกศาสนาและวิถีชีวิตของผู้นำาทางจิตวิญญาณจวบจนปัจจุบัน ในขณะท่ี สังคมโลกและประเทศไทยซ่ึงขับเคล่ือนด้วยพลังของของทุนนิยมได้พัฒนา ก้าวหน้าทั้งทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีท่ีทำาให้คุณภาพชีวิตของคน ดีข้ึน แต่ในอีกดา้ นหนงึ่ ก็เกดิ ปัญหาตา่ ง ๆ มากมาย เช่น ปัญหาความรนุ แรง การก่อการร้าย การเอารดั เอาเปรียบ ธรรมชาติเสอ่ื มโทรม ภยั พบิ ัติรนุ แรง จงึ นาำ ไปสกู่ ารพยายามหาทางออกใหมผ่ า่ นโครงการ “ผนู้ �ำ กบั โลกแหง่ วตั ถ”ุ โดยมเี ปา้ หมายเพอ่ื สบื คน้ แสวงหาวธิ คี ดิ เกย่ี วกบั ผนู้ าำ หรอื การนาำ มวลชน หรือการเห็นความเป็นผู้นำาของมวลชนในภูมิปัญญาตะวันออก ท่ีอาจเป็น ทางออกของปญั หาทสี่ งั คมไทยประสบอย่ใู นปัจจุบัน 4

ความปรารถนาท่ีไมน่ า่ ปรารถนา: ผูน้ ำ� แบบสำ� นักเต๋ำ1กับกำรสรำ้ งอิสรภำพ ในโลกแห่งวัตถุ 1 “เต�๋ ” แปลวา่ “วิถ”ี แต่สาำ นกั เตา๋ ใช้ในความหมายเชิงอภปิ รชั ญาเพอื่ สือ่ ถึงความเปน็ จริงทเี่ ปน็ ต้นกาำ เนดิ ของสรรพสิ่งและกฎเกณฑ์ แห่งวถิ ีธรรมชาตแิ ละจกั รวาล สว่ นคาำ ว่า “คว�มเป็นธรรมช�ติ (จื้อหร�น)” หรอื “คว�มเปน็ ไปด้วยตนเอง” หมายถงึ ความเปน็ ปรกติ ตามธรรมดาหรอื วถิ ธี รรมชาตทิ เ่ี กดิ ขนึ้ อยา่ งเปน็ ไปเอง โดยปราศจากสาเหตหุ รอื ผกู้ ระทาำ ความเปน็ ธรรมชาตนิ น้ั อาจปรากฏในสงั คมมนษุ ย์ ได้เช่นกัน ซ่ึงสะท้อนผ่านการที่โลกมนุษย์และวิถีธรรมชาติน้ันกลมกลืนกันโดยปราศจากความขัดแย้งหรือไร้ระเบียบ อันเป็นคุณค่าและ เป้าหมายสงู สุดตามอุดมคติชีวติ ทีด่ ีแบบสำานกั เต๋า 5

ผูน้ ํากับโลกแหง่ วัตถใุ นปรัชญาตะวันออก ในสมยั ชนุ ชวิ -จน้ั กว๋ั ของจนี เปน็ ยคุ ทแ่ี ควน้ ตา่ งๆ สรู้ บแยง่ ชงิ ทรพั ยากร ความทกุ ขย์ าก ของประชาชนจึงสะท้อนผ่านปัญหาความอดอยาก ความยากจน การละเมิดในทรัพย์สิน เชน่ การลักขโมย การฉอ้ โกง การแยง่ ชิงผลประโยชน์ ฯลฯ จากสภาพการณ์ดงั กล่าวจงึ เกิด มุมมองของแต่ละสำานักที่มคี วามคิดต่างกัน ‘สาำ นกั ขงจอื่ ’ มองวา่ สภาพดงั กลา่ วเปน็ เพราะความเสอ่ื มของศลี ธรรมในสงั คม ‘สาำ นกั นิตินิยม’ มองว่าเป็นเพราะความไร้ประสิทธิภาพและความอ่อนแอของรัฐในการจัดการ ทรพั ยากร สว่ น ‘สาำ นกั เตา๋ ’ มองวา่ สภาพดงั กลา่ วมาจากการทค่ี นไมเ่ ขา้ ใจความเปน็ จรงิ ของ วิถธี รรมชาติ และมกี ารดำาเนนิ ชีวิตทอี่ อกห่างจากวถิ ีแท้ท่ีเรียกว่า “เต�๋ ” ในทัศนะของสำานักเต๋า มองว่าการเชิดชูจารีตและคุณธรรมต่างๆ เช่นที่สำานักขงจื่อ เสนอการออกกฎระเบียบ การลงโทษอย่างเข้มงวดในการจัดการทรัพยากร การถือครอง ทรพั ยส์ นิ ตามขอ้ เสนอของสาำ นกั นติ นิ ยิ ม ลว้ นเปน็ ความไมเ่ ขา้ ใจความเปน็ จรงิ ในวถิ ธี รรมชาติ กลา่ วคอื หากไมม่ ีการลักขโมยหรอื การแยง่ ชงิ ผลประโยชน์ ก็ไม่จาำ เป็นตอ้ งเรียกร้องใหผ้ คู้ น เหน็ คณุ ค่าของความซ่อื สัตยแ์ ละความเทีย่ งธรรม และไม่ตอ้ งออกกฎระเบียบรวมถึงใชก้ าร ลงโทษท่รี ุนแรงเพ่อื ใหค้ นหวาดกลวั “คัมภีรเ์ ต๋�เต๋อจงิ ” มองว่าการทส่ี งั คมถอยหา่ งจากเตา๋ เปน็ เพราะผปู้ กครองเขา้ ไป แทรกแซงจดั การวถิ ชี วี ติ ของประชาชนมากเกนิ เชน่ การเกบ็ ภาษอี ยา่ งหนกั การเกณฑแ์ รงงาน ในฤดูเพาะปลกู การกันพน้ื ทท่ี ำากินไวเ้ ปน็ ของหลวง รวมทง้ั การท่ีผูป้ กครองกำาหนดนโยบาย ทกี่ ระตนุ้ ความอยากใหค้ ณุ คา่ อยากครอบครองของมคี า่ ชอื่ เสยี งและลาภยศ โดยไมจ่ าำ เปน็ รวมถงึ การคดิ ถงึ ผลประโยชนม์ ากเกนิ ไปจนทาำ ใหเ้ กดิ การแกง่ แยง่ เพอ่ื ผลประโยชน์ ‘สาำ นกั เตา๋ ’ จึงปฏิเสธความโลภของผู้ปกครองและนโยบายกระตุ้นความปรารถนาเพ่ือใช้เป็นเคร่ืองมือ ในการปกครอง แตไ่ มไ่ ดป้ ฏเิ สธความอยากในการมวี ตั ถสุ ง่ิ ของ ทรพั ยส์ นิ แตอ่ ยา่ งใด หากความ อยากในสง่ิ ของวตั ถนุ น้ั เปน็ ไปเพอ่ื การดาำ รงชพี อยา่ งเรยี บงา่ ย เชน่ การมอี าหารพอเพยี ง การ มีสุขภาวะทแ่ี ขง็ แรง 6

ผ้นู ํากบั โลกแห่งวตั ถใุ นปรชั ญาตะวนั ออก 7

ผูน้ ํากับโลกแห่งวตั ถุในปรชั ญาตะวันออก ในส่วนของ “คัมภีร์จวงจื่อ” แม้ไม่ได้ปฏิเสธว่าผู้ปกครองหรืออำานาจรัฐเป็นสาเหตุ สาำ คญั ท่ที ำาให้เกิดปญั หาความขดั แยง้ ในโลกวตั ถุ แตก่ ย็ งั มองวา่ ปญหา วา ั แ ง้ ในโลกแหง่ วัตถุ ว่ ่าระ บั ใ ลว้ น า ากการ นุ ่ ้าใ วา ปน รง องวถ รร ชาต ต กับการแบง่ แ ก ุ า่ นุ อุปโลกน น า น ่ า ารถ าํ นนชวต ้อ ่างอ ระและ ร้าง รร สำาหรบั จวงจื่อแล้ว ‘มนุษยท์ แ่ี ท้’ คอื ผ้ทู ่เี ขา้ ใจว่า ชีวติ ความตาย การถนอมรักษา ความสญู เสีย ความลม้ เหลว ความสาำ เรจ็ ความยากไร้ ความม่งั ค่งั ความมีคณุ ค่า ความไร้ คุณคา่ การปรามาสใส่รา้ ย ชือ่ เสียง ความหวิ โหย ความกระหาย ความหนาว ความร้อน ส่ิงเหล่าน้ีล้วนเป็นการแปรเปล่ียนของสรรพส่ิงในโลก เป็นการกระทำาของชะตา ดังน้ัน ข้อเสนอในการลดความปรารถนาจึงไม่ใช่เฉพาะผู้ปกครองและการลดอำานาจของรัฐในการ กระตุน้ ความอยากของประชาชนเทา่ นน้ั แตร่ วมถงึ การปรบั เปลยี่ นของปัจเจกบุคคลดว้ ย คำาถามเก่ียวกับผู้นำากับการจัดการโลกแห่งวัตถุ จึงไม่ใช่การจัดการทรัพยากรและ ผลประโยชนอ์ ยา่ งไรเพอื่ ใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพและเกดิ ความเปน็ ธรรม ไมใ่ หเ้ กดิ ความขดั แยง้ ใน สังคม แตเ่ ปน็ คำาถามว่ามนุษยจ์ ะดาำ เนนิ ชีวิตในโลกแห่งวัตถไุ ด้อยา่ งเป็นอิสระและเรยี บง่าย ได้อยา่ งไรโดยไม่เป็นทาสแหง่ วตั ถุ ‘โลกแห่งวัตถุ’ ในนัยของสำานักเต๋าหมายถึงส่ิงของวัตถุหรือทรัพย์สินท่ีสัมพันธ์กับ มนุษย์หรือสงั คม ทง้ั ท่เี ปน็ ทรัพยากรธรรมชาติและสงิ่ ที่มนษุ ยส์ รา้ ง เชน่ ทรพั ยส์ ิน เงนิ ทอง ยศ อำานาจ ชื่อเสียง โดยมนษุ ย์เปน็ ผู้ใหค้ ณุ ค่าและให้ความหมาย สว่ นการเป็น ‘อิสระใน โลกแหง่ วัตถุ’ ท่ีสำานกั เตา๋ ให้ความหมาย คือ การเป็นอิสระจากการจัดรูป โดยการให้คณุ คา่ และความหมาย ซงึ่ คำาว่าอิสระในทีน่ ม้ี สี องความหมาย คือ หนึ่ง อสิ ระของบคุ คลและชมุ ชน 8

ผู้นาํ กบั โลกแห่งวัตถใุ นปรชั ญาตะวนั ออก ในการจัดการกับโลกแห่งวัตถุในพื้นที่ชีวิตของตนเองให้สอดคล้องกลมกลืนกับความเป็น ธรรมชาติ สอง อสิ ระจากพันธนาการทางกรอบความคิด ทศั นคติ และความอยากได้ใครม่ ี การใหค้ ุณค่าแก่ส่งิ ตา่ งๆ ในโลกแห่งวัตถุ แก่นคิดสำาคัญในเร่ืองการสร้างภาวะผู้นำาของปรัชญาสำานักเต๋ามองว่า เครื่องบ่งชี้ ความมภี าวะผู้นาำ ในแงก่ ารจัดการโลกแหง่ วตั ถุ อย่ทู กี่ ารสรา้ งอสิ ระในการตอบสนองตอ่ โลก แห่งวัตถุในสองความหมายข้างต้น เพราะสำานักเต๋ามีหลักคิดว่า การขับเคล่ือนสังคมหรือ ชมุ ชนควรมาจากการรเิ ร่มิ สรา้ งสรรค์ และดำาเนนิ ไปเองจากพลงั ของปัจเจกชนคนสามญั ใน ระดับรากหญา้ เพราะผนู้ าำ ที่สำาคญั ท่ีสดุ ไมใ่ ชผ่ ู้ปกครองหรือผนู้ าำ ท่มี าจากการแตง่ ตัง้ แต่เปน็ ‘ทุกคนในชมุ ชน’ การ าํ ให้ป กชน า ารถ ปนผู้นํา โ การ ร้าง ลังแห่งตน อง อนาํ ตน อง นใกล้ช และชุ ชน ะ าํ ให้ า ารถ ผชญและ ั การกับ วา ปล นแปลง หรอโช ชะตาใน น ชวตตน อง อ้ ่าง ปนอ ระ และ า ารถ ํารงชวตต่อ ป ้ 9

ผู้นํากบั โลกแห่งวัตถใุ นปรชั ญาตะวนั ออก การสรา้ งความเปน็ อสิ ระในการตอบสนองตอ่ โลกแหง่ วตั ถุ เปน็ โจทยส์ าำ คญั ของผนู้ าำ ในการจดั การโลกแหง่ วตั ถขุ องสาำ นกั เตา๋ เมอื่ เปรยี บเทยี บกบั สาำ นกั อน่ื ซงึ่ ไมไ่ ดป้ ฏเิ สธการครอบครองทรพั ยส์ นิ และการดาำ เนนิ ชวี ติ ในโลกแหง่ วตั ถุ ขอ้ เสนอ ของสาำ นกั เตา๋ จงึ นอกเหนอื ไปจากการอาศยั กฎหมาย การใหค้ วามหมายกบั คณุ คา่ การจัดระเบียบคุณค่า และการให้ลดละเลิกกิเลสหรือดำาเนินตามหลักแห่ง ความพอเพยี ง ดงั เชน่ หลักปฏิบตั ทิ างศาสนา กรอบของบทความวิจัยช้ินน้ีมุ่งศึกษาข้อเสนอของสำานักเต๋าเรื่องการสร้าง ความเปน็ อสิ ระ ทา่ มกลางโลกแหง่ วตั ถุ โดยศกึ ษาจากคมั ภรี เ์ ตา๋ เตอ๋ จงิ และคมั ภรี ์ จวงจอ่ื เปน็ หลกั แบ่งออกเป็น 3 สว่ น คือ ส่วนแรก การพิจารณาข้อโต้แย้งและข้อวิพากย์ของสำานักเต๋าที่มีต่อ สำานักขงจ่ือ และการใช้อำานาจรัฐในการแก้ปัญหาความขัดแย้งใน โลกแหง่ วัตถุ ส่วนท่ีสอง การศึกษาแนวคิดเรื่องอู๋เหวยและการลดความปรารถนา ในเตา๋ เตอ๋ จงิ ส่วนท่ีส�ม การศึกษาแนวคิดเรื่องการลดความปรารถนาในจวงจ่ือ ซงึ่ เน้นทีก่ ารปรับเปล่ียนทัศนคติและท่าทตี อ่ โลกแหง่ วัตถุ 10

ผู้นาํ กับโลกแห่งวัตถุในปรชั ญาตะวันออก วา ั แ ง้ ในโลกแห่งวัตถุกับตรรกะแห่ง วา อ สาำ นักเตา๋ มฐี านคดิ สาำ คญั ว่า นุ ปน ่วน ลกน้อ อง รร ชาตหรอ ักรวาล ง รร ชาตหรอ กั รวาลนัน ก ก หรอวถ ปน ป ร กว่า ‘เตา๋ ’ การเข้าไปจัดการกับโลกเพ่ือตอบสนองต่อความปรารถนาในรูปแบบต่างๆ ท่ี ไมส่ อดคล้องกบั วิถธี รรมชาตดิ ังกล่าว ย่อมนาำ มาซงึ่ ความเสือ่ มสลายหรือความสญู เสีย การดำาเนินชีวิตได้อย่างเป็นปรกติสุขจึงต้องตระหนักรู้ความเป็นจริงเกี่ยวกับ วถิ ธี รรมชาติ และมองสรรพสงิ่ จากกรอบคดิ ทสี่ มั พนั ธก์ บั วถิ ธี รรมชาติ ดว้ ยเหตนุ เี้ มอ่ื เกดิ ปญั หาความขดั แยง้ ในโลกแหง่ วตั ถุ เชน่ การลกั ขโมย การแยง่ ชงิ ทรพั ยากร และการฉอ้ โกง 11

ผู้นํากบั โลกแห่งวตั ถุในปรัชญาตะวันออก คมั ภรี เ์ ตา๋ เตอ๋ จงิ มองวา่ การเกดิ ปญั หาดงั กลา่ วไมใ่ ชเ่ พราะการไรป้ ระสทิ ธภิ าพของบรรทดั ฐาน ในการจดั ระเบยี บของสงั คม แตม่ องวา่ บรรทดั ฐานและการใหค้ วามหมายทมี่ นษุ ยก์ าำ หนดขน้ึ ในการจัดการ เป็นอาการของความเสื่อมถอยจากการละท้ิงเต๋าหรือวิถีธรรมชาติ เพราะ หากทุกสิ่งดำาเนินตามวิถีดังกล่าวแล้วไม่จำาเป็นท่ีต้องมีกฎระเบียบและการลงโทษที่รุนแรง เพ่ือควบคุมให้คนทำาตามกฎหรือเรียกร้องให้สังคมหันมายึดถือจารีตและคุณธรรมอย่างที่ ขงจื่อเสนอ 12

ผู้นํากับโลกแหง่ วัตถใุ นปรชั ญาตะวนั ออก ทั้ง ‘คมั ภรี เ์ ต๋าเต๋อจงิ ’ และ ‘คมั ภีร์จวงจื่อ’ ต่างวิพากยว์ า่ การท่ีสำานักขงจือ่ ใหค้ ณุ ค่า และความสาำ คญั กบั ดนตรี จารตี คณุ ธรรม และปญั ญาความรู้ เปน็ การกาำ หนดและใหค้ วามหมาย กับคุณค่าและแบบแผนปฏิบัติบางอย่างโดยปรับแต่งรูปลักษณ์ให้กับโลก จนความเป็น ธรรมชาติดงั้ เดมิ ในการดำาเนนิ ชีวติ ของมนษุ ยถ์ กู ทาำ ลาย ดงั นน้ั ยง่ิ มกี ารเชดิ ชหู รอื ชน่ื ชมความรู้ การมมี นษุ ยธรรม และครรลองธรรม ผา่ นการใหร้ างวลั เกยี รตยิ ศ หรอื ความมชี อ่ื เสยี ง ยงิ่ ทาำ ให้ ผคู้ นต่อสแู้ ยง่ ชิงเพื่อใหไ้ ดม้ าซ่ึงเกยี รตยิ ศชอ่ื เสียงนน้ั อยา่ งไรกต็ ามการวพิ ากยส์ าำ นกั ขงจอ่ื ไมไ่ ดห้ มายความวา่ สาำ นกั เตา๋ ปฏเิ สธการทม่ี นษุ ย์ ปฏบิ ตั ติ อ่ กนั อยา่ งมจี รยิ ธรรม หรอื ดาำ เนนิ ชวี ติ ตามวถิ ธี รรมชาตไิ มเ่ กยี่ วขอ้ งกบั การมศี ลี ธรรม แตไ่ มเ่ หน็ ดว้ ยเพราะสาำ นกั ขงจอ่ื ยกยอ่ งความรเู้ ปน็ การสรา้ งอารยธรรมและปรงุ แตง่ วฒั นธรรม ของมนษุ ย์ ทาำ ใหธ้ รรมชาตเิ ดมิ แทส้ ญู หาย และเปน็ การยกยอ่ งคณุ คา่ บางชดุ เหนอื กวา่ ชดุ อน่ื ซ่ึงไม่รองรับความเปน็ จริงของธรรมชาติท่สี รรพสงิ่ เป็นหนง่ึ เดียวกนั 13

ผู้นาํ กับโลกแห่งวัตถุในปรชั ญาตะวันออก ‘สาำ นักเต๋า’ มองว่ายิง่ พฒั นาความร้หู รือเครอื่ งมอื ตา่ งๆ เพอ่ื จัดการกบั โลก ยิง่ ทาำ ให้ ตอ้ งดน้ิ รนตอ่ สกู้ บั การดาำ รงอยใู่ นโลกแหง่ วตั ถุ บน่ั ทอนอสิ รภาพในการดาำ เนนิ ชวี ติ ทเ่ี รยี บงา่ ย นาำ ไปสคู่ วามยงุ่ ยากมากขน้ึ หรอื ทาำ ใหเ้ กดิ ปญั หาอน่ื ตามมาอยา่ งไมร่ จู้ บ เชน่ ยง่ิ ออกกฎหมาย เพื่อปราบปรามทุจริตหรือการฉ้อโกง ก็ย่ิงทำาให้มีการใช้เล่ห์เหลี่ยมเพ่ือหลีกเล่ียงกฎหมาย มากขน้ึ การใหค้ า่ กบั การครอบครองวตั ถมุ คี า่ ทาำ ใหโ้ จรผรู้ า้ ยยงิ่ ชกุ ชมุ และยง่ิ ทาำ ใหต้ อ้ งสรา้ ง เครอ่ื งมอื เพอ่ื ปอ้ งกนั มากขน้ึ ยิ่งรัฐเขา้ ไปจัดการทรัพยากรเพื่อสร้างผลประโยชน์ ก็ยิง่ ทำาให้ ประชาชนยากลาำ บาก เนอ่ื งจากถูกจำากดั การเข้าถึงทรพั ยากร เป็นต้น ง ั นา วา รหู้ รอ รอง อต่าง อ ั การกบั โลก ง าํ ใหต้ อ้ ง นรนตอ่ กู้ บั การ าํ รงอ ่ใู นโลกแห่งวัตถุ บนั อนอ ร า ในการ าํ นนชวต ร บงา่ นาํ ป ู่ วา ่งุ าก าก น 14

ผ้นู ํากบั โลกแหง่ วตั ถใุ นปรัชญาตะวนั ออก คัมภรี เ์ ตา๋ เตอ๋ จงิ มองวา่ การพฒั นาความรแู้ ละเครื่องมือเพอ่ื จดั การกบั โลกส่วนใหญ่ มาจากนโยบายของรฐั ยิ่งรฐั หรือผปู้ กครองออกนโยบายให้กบั โลกมากเท่าไร ยง่ิ เป็นตัวเรง่ ปัญหาความขัดแยง้ ในโลกแหง่ วัตถใุ หม้ คี วามรุนแรงและยุ่งเหยงิ มากขนึ้ ทาำ ลายความอสิ ระ ของประชาชนในการจดั การโลกแห่งวตั ถใุ นพ้นื ทช่ี ีวติ ของตนเอง ขอ้ เสนอของเตา๋ เตอ๋ จิง คอื ให้พิจารณาถงึ สาเหตุหรือที่มาของปญั หา จากกรอบคิด ทม่ี ีธรรมชาติเป็นบรรทัดฐานวา่ วา ุ่ง ห ง องปญหา า ากการใช้อาํ นา รั แ รกแ ง หรอ ุ่ง ก ว ั การ วา ปน รร ชาต แ ้ การทรี่ ฐั หรอื ผปู้ กครองออกนโยบายนนั้ เพราะตอ้ งการสงั่ สมความมง่ั คงั่ อาำ นาจ และ ผลประโยชน์ เพอ่ื ตอบสนองความปรารถนาของตน ในขณะทค่ี วามยากจนและความอดอยาก ของประชาชนทเ่ี กดิ จากภยั ธรรมชาตแิ ละความแปรปรวนของสภาพอากาศ กลบั เปน็ สาเหตุ ทีน่ ่ากังวลน้อยกว่าการเก็บภาษีมากเกนิ เพ่อื สะสมความมัง่ ค่งั ให้แกร่ ัฐ ในคัมภีร์เต๋าเต๋อจิงได้เปรียบเทียบผู้ปกครองท่ีละโมบมุ่งส่ังสมความม่ังค่ังและ ทรัพย์สมบัติว่าเป็น ‘ผู้นำามหาโจร’ กล่าวคือ ผู้นำามหาโจรปล้นทำาลายความเป็นธรรมชาติ เดิมแท้ และครอบครองทรัพย์สนิ ที่จำาเปน็ ในการดาำ เนินชวี ิตตามวิถีธรรมชาตขิ องประชาชน 15

ผนู้ าํ กบั โลกแหง่ วตั ถุในปรชั ญาตะวนั ออก การเปรยี บเทยี บดงั กลา่ วมนี ยั ของการวพิ ากษว์ จิ ารณค์ วามไมช่ อบธรรมในการ ครอบครองทรัพย์สินของผู้ปกครองในยุคสมัยน้ันด้วย กล่าวคือทรัพย์สินที่เป็น ของหลวงหรอื ของสาธารณะไม่ใช่สิ่งที่ไมช่ อบธรรมดว้ ยตัวเองแต่ วา ่ชอบ รร ก น อผูป้ ก รองหรอรั นํา รั น ว่ นกลางนนั าใช้ อผลประโ ชน ว่ นตน ใน ‘คมั ภีรจ์ วงจื่อ’ มีการเปรยี บเทยี บผู้ปกครองเป็นมหาโจรเชน่ กนั แตเ่ น้นการ วิพากย์วิจารณ์ความไม่ชอบธรรมของผู้ปกครองที่ทำาสงครามแล้วยึดแผ่นดินในรัฐอื่น มาเป็นของตน มากกว่าประเด็นเร่ืองความไม่ชอบธรรมของการนำาทรัพย์สินของ ประชาชนมาเป็นของหลวง และยังวิพากษ์วิจารณ์ปราชญ์สำานักขงจื่อท่ีมุ่งหวังการ รับราชการเพอ่ื เป็นผรู้ ับใชผ้ ปู้ กครองวา่ เปรียบไดก้ บั การชว่ ยส่งั สมผลประโยชน์ใหก้ บั มหาโจร ซึ่งเป็นท่าทีปฏิเสธการรับราชการอันเป็นค่านิยมของคนทั่วไปตามวิธีคิด ของสำานักขงจ่ือ เป็นความต่างจากคัมภีร์เต๋าเต๋อจิงที่มองว่า ให้รัฐหรือผู้ปกครองลด การใชอ้ าำ นาจแทรกแซงการจดั การ นา่ จะเปน็ วธิ เี ลย่ี งภยั จากมหาโจรไดด้ ที ส่ี ดุ แตค่ มั ภรี ์ จวงจ่ือมองว่าการไม่มีผู้ปกครองหรือการใช้อำานาจรัฐเลยต่างหาก เป็นการหลีกเล่ียง อนั ตรายจากความฉ้อฉลของผูป้ กครองได้ดที ่สี ุด 16

ผู้นาํ กบั โลกแหง่ วตั ถใุ นปรัชญาตะวันออก จดุ ร่วมของ ‘คัมภีรเ์ ตา๋ เตอ๋ จงิ ’ และ ‘คมั ภีร์จวงจ่ือ’ คือ ต่างมองวา่ สาเหตุของ ความวุ่นวายในโลกแห่งวัตถุมาจากการแย่งชิงผลประโยชน์ จากการท่ีผู้ปกครองและ ผู้คนในสังคมมีความโลภหรือความปรารถนาในผลประโยชน์และอำานาจ ด้วยเหตุน้ี ข้อเสนอของสำานักเต๋าในคัมภีร์เต๋าเต๋อจิงเร่ืองการจัดการโลกแห่งวัตถุ จึงมุ่งเน้นไปท่ี การจัดการกับความปรารถนา ‘ลดความปรารถนาของผู้ปกครองกับการใช้อำานาจรัฐ’ ส่วนคัมภีร์จวงจื่อเน้นการจัดการกับ ‘ความปรารถนาที่ติดอยู่กับพันธนาการของ กรอบคดิ ในการแบง่ แยกคณุ คา่ ’ ซง่ึ การลดความปรารถนาในทง้ั สองลกั ษณะตา่ งมงุ่ เพอ่ื ให้ ป กชนและชุ ชน า ารถ รา้ ง ลังแห่งตน อง และ วา ปนอ ระในการ ั การโลกแห่งวัตถุ ้ อง ตา วถ รร ชาต 17

ผู้นาํ กบั โลกแหง่ วตั ถใุ นปรัชญาตะวนั ออก แนว รองอู หว กับการล วา ปรารถนา แนวคดิ ของสาำ นกั เตา๋ มองวา่ การแกป้ ญั หาความขดั แยง้ ในโลกแหง่ วตั ถุ ตอ้ งใชว้ ธิ กี าร จดั การกบั ความปรารถนาท้ังในระดับการเมอื ง การปกครอง และระดับปัจเจกชน ซง่ึ แนวคดิ นี้สาำ นกั คิดอื่นต่างมองเช่นเดยี วกนั แตใ่ นมุมท่ีต่างกนั เชน่ ‘สำ�นักขงจ่ือ’ มีมุมมองปัญหาความขัดแย้งในโลกแห่งวัตถุเก่ียวกับการท่ีมนุษย์ ไมร่ จู้ กั การลาำ ดบั คณุ คา่ และความปรารถนาวา่ ความรน่ื รมยใ์ ดควรใหล้ าำ ดบั ความ สาำ คญั มากน้อยกว่ากันเพื่อการมีชีวิตท่ีดี อีกทั้งไม่ได้ใช้มนุษยธรรมและจารีตใน การขัดเกลาและชน้ี ำาความปรารถนาเพื่อใหเ้ ปน็ แรงขบั ทางศีลธรรมท่ีถกู ต้อง ‘ส�ำ นกั มว่ั จอ่ื ’ มมี มุ มองวา่ ความวนุ่ วายในโลกแหง่ วตั ถุ มาจากการทม่ี นษุ ยร์ กั ตวั เอง และตอบสนองความพงึ พอใจของตนเองเปน็ อนั ดบั ตน้ การแกป้ ญั หาจงึ ควรคาำ นงึ ถงึ ผลประโยชน์ส่วนรวม และใสใ่ จอาทรผอู้ ืน่ อย่างเทา่ เทียม ‘สำ�นักนิตินิยม’ มีมุมมองว่าธรรมชาติของมนุษย์มีความปรารถนาตาม สญั ชาตญาณ และมุ่งตอบสนองความปรารถนาของตนเปน็ หลกั การปกครองจงึ ต้องอาศยั การใหร้ างวัล การลงโทษดว้ ยเครื่องมือทางกฎหมายเปน็ แรงจงู ใจ และ ควบคุมความปรารถนาของประชาชน นักวิชาการตะวันตกได้ตีความว่าวัตถุของความปรารถนาเป็น ‘ความรื่นรมย์’ โดย นักปรชั ญาจนี ต่างเสนอวธิ ีการแสวงหาความรืน่ รมยแ์ ตกตา่ งกนั 3 วิธี คอื หนึ่ง ‘ลดคว�ม ปร�รถน�’ ทง้ั แงป่ รมิ าณและความเขม้ ขน้ ของความปรารถนา เชน่ ‘แนวคดิ ไมก่ ระท�ำ ’ ของ สาำ นกั เตา๋ คอื รฐั เตา๋ จะไมก่ ระตนุ้ ความปรารถนาในสง่ิ ของทฟี่ งุ้ เฟอ้ หรอื ขดั ตอ่ การดาำ รงชวี ติ อย่างเรยี บง่าย สอง ปรับเปล่ียนหรอื แปรเปลีย่ นความปรารถนาใหล้ ะเมียดละไม แลว้ ทำาให้ ความปรารถนานนั้ ไดร้ บั การชนี้ าำ ดว้ ยบรรทดั ฐานทมี่ รี สนยิ มสงู ขนึ้ เชน่ ก�รใชห้ ลหี่ รอื จ�รตี 18

ผู้นํากบั โลกแหง่ วตั ถุในปรัชญาตะวันออก ในก�รแปรเปลยี่ นคว�มปร�รถน�ทช่ี ว่ั ร�้ ยของมนษุ ย ์ ใหก้ ล�ยเปน็ คว�มปร�รถน�ท�ง ศีลธรรม รวมท้ังการใช้หล่ีจัดระเบียบคุณค่าและความรื่นรมย์เพ่ือประกันความพึงพอใจ ท่ีทุกคนในสังคมจะได้รับจากการปฏิบัติตามจารีตน้ัน สาม แบ่งปันความปรารถนาและ ความร่ืนรมย์ เช่น ‘แนวคิดของเมิ่งจ่ือ’ รัฐที่ปกครองด้วยจิตใจแห่งมนุษยธรรมและ ครรลองธรรม จะเน้นการแบ่งปันส่ิงของที่ก่อให้เกิดความร่ืนรมย์เพื่อจะได้มีประสบการณ์ รื่นรมยไ์ ปดว้ ยกัน ทั้งน้ีนักวิชาการตะวันตกให้ข้อสังเกตว่าปรัชญาจีนมอง ‘คำาคู่ตรงข้ามความร่ืนรมย์’ คอื ‘ความรสู้ กึ ไมม่ น่ั คงปลอดภยั ’ ซง่ึ ความกงั วลคอื อารมณส์ ะทอ้ นความรสู้ กึ นน้ั ‘สาำ นกั ขงจอ่ื ’ มองว่าความรื่นรมย์มีท่ีมาจากการมีความสัมพันธ์งอกเงยกับผู้อื่น อาศัยการลงแรงและ ก่อร่างมายาวนาน อาศัยเคร่ืองมือหรือเคร่ืองชี้นำาทางจารีตและมนุษยธรรม ในขณะท่ี ‘สำานักเต๋า’ มองว่าความรื่นรมย์มาจากการสามารถผดุงชีวิตในสังคมได้อย่างปรกติสุข ตามอายุขัยและดาำ เนนิ ชีวิตสัมพนั ธ์กบั สรรพส่ิงอยา่ งอสิ ระ 19

ผู้นาํ กบั โลกแหง่ วัตถใุ นปรชั ญาตะวันออก แม้ว่าการอยู่ในโลกแห่งวัตถุจะต้องเผชิญกับความเปล่ียนแปลงท่ีเป็นโชคชะตา แต่ก็สามารถมีความรื่นรมย์ได้จากการขัดเกลาตนตาม “แนวท�งแห่งก�รไม่กระทำ�” ซ่ึงเน้นการลดความปรารถนาเพื่อความเป็นธรรมชาติเดิมแท้ท้ังในตัวปัจเจกบุคคล และสังคม เน้นการปรับเปลี่ยนทัศนคติและท่าทีที่ตอบสนองต่อสิ่งต่างๆ ในโลกแห่งวัตถุ มากกว่าการหลกี ล้หี รือลดความปรารถนาในแงข่ องการลดละเลิกกเิ ลส การไม่กระทบหรือการกระทำาในลักษณะเชิงอ่อน เป็นฐานคิดสำาคัญของจริยศาสตร์ และหลกั การปกครองของสาำ นกั เตา๋ โดยเนน้ การปรบั เปลย่ี นตามแนวทางดงั กลา่ ว 3 ประการ คือ การปฏิบัติ ความปรารถนา และความรู้ ในคัมภีร์เต๋าเต๋อจิง การลดความปรารถนา มี 2 ความหมาย คือ 1) การลดความปรารถนาไม่ใช่การละเลิกความปรารถนาทางผัสสะ เพราะเป็นส่ิงท่ี เลยี่ งไมไ่ ด้ เชน่ หวิ ตอ้ งกนิ แตป่ ญั หาคอื การปรงุ แตง่ การตอบสนองความปรารถนา ทางผัสสะจนเกินพอดี 2) การลดความปรารถนาไม่ใช่การขัดเกลาตนจนไร้ความปรารถนาโดยสิ้นเชิง แตห่ มายถงึ การ ลด ละ อ�ก�รคว�มปร�รถน�ที่มลี กั ษณะของก�รจัดก�รหรือ จัดรูปใหก้ บั โลก ในลักษณะของการครอบครอง การเป็นเจา้ ของและการควบคมุ จัดการ การล วา ปรารถนา ่ใช่ าะการ ั กลา ตใ องปราชญ และผปู้ ก รอง แตผ่ ้ปู ก รอง ป บัตตา แนว างแหง่ อู หว ะ ่ ่ง ร ให้ประชาชน วา ปรารถนาใน ง นํา ป ู่ปญหา หรอ วา ั แ ้งในโลกแห่งวัตถุ 20

ผู้นาํ กบั โลกแหง่ วัตถใุ นปรชั ญาตะวันออก ประโ ชนใน วา รป้ ระโ ชน การ รา้ ง ลังแหง่ ตน าก วา ร้ คมั ภีรจ์ วงจื่อ มองว่า ปัญหาความขดั แย้งในโลกแหง่ วัตถุมาจากการที่มนษุ ยไ์ ม่เข้าใจ ในความเป็นจริงของวิถีธรรมชาติ แล้วจัดรปู ใหก้ บั โลกด้วยกรอบเกณฑต์ า่ งๆ ตดิ ยดึ กบั การ แบง่ แยกคุณคา่ และความหมายที่มนุษย์สร้างข้นึ ดงั นนั้ การจัดการกบั โลกแห่งวัตถจุ ึงมงุ่ เนน้ ให้ ‘ปจั เจกชนสรา้ งพลงั แหง่ ตน ตอบสนองตอ่ โลกแหง่ วตั ถอุ ยา่ งเปน็ อสิ ระและสอดคลอ้ งกบั วิถีธรรมชาติ’ เพ่ือนำาตนและผู้อ่ืนในแวดวงและชุมชน ให้สามารถเผชิญและจัดการกับ ความเปลย่ี นแปลงในพน้ื ทช่ี วี ติ ของตนไดอ้ ยา่ งเปน็ อสิ ระและสามารถดาำ รงชวี ติ ได้ ความเปน็ จรงิ ของวถิ ธี รรมชาติทมี่ นษุ ยม์ กั จดั รปู ดว้ ยกรอบเกณฑม์ ีอยู่ 3 ประการ คือ สรรพสิ่งในโลกแม้มีความแตกต่างหลากหลาย แต่สภาวะธรรมชาติเดิมแท้ของ สรรพสงิ่ ดาำ รงอยเู่ ปน็ องคร์ วมหรอื เปน็ หนง่ึ เดยี ว ก�รแบง่ แยกสงิ่ ต�่ งๆ เกดิ จ�ก มนุษย์เป็นผู้กระทำ� เม่ือมนุษย์ได้สร้างภาษาและความหมายข้ึนมาชุดหน่ึงเพ่ือ ใช้กล่าวถึงคณุ สมบตั แิ ละการดาำ รงอยูข่ องส่ิงน้ัน ทกุ สรรพสงิ่ ตา่ งมวี ิถีชวี ติ หรอื วิถีธรรมชาตทิ ่ดี าำ เนนิ ไป ทำาให้มกี รอบคิดและเกณฑ์ ตดั สนิ บางอยา่ งทส่ี อดคลอ้ งกบั วถิ ชี วี ติ ตามธรรมชาตนิ น้ั เชน่ คนกนิ เนอ้ื สตั วน์ านา ชนดิ กวางกนิ หญา้ ตะขาบกนิ เนอื้ งู นกเคา้ แมวและเหยย่ี วตา่ งกนิ หนู สตั วโ์ ลกทง้ั ส่นี ้ีใครคอื ผู้รู้ว่าอาหารควรมรี สชาตเิ ช่นไร การ นุ รา้ ง วา ห า และกําหน ก ก ั รูปให้กบั โลก ําให้ องโลกอ า่ งแบ่งแ กโ ต กับ วา ห า และ ักใช้ วา ห า นนั ปน ก ตั นละ ผู้อน 21

ผู้นํากับโลกแหง่ วัตถุในปรัชญาตะวนั ออก สรรพสิ่งในวิถีธรรมชาติท่ีเปลี่ยนแปลงและอิงอาศัยสัมพันธ์กันและกันจนเป็น กระแสการเปลย่ี นทล่ี น่ื ไหล ไมส่ �ม�รถแบง่ แยกขอบเขตไดว้ �่ มจี ดุ เรม่ิ ตน้ หรอื จุดสิ้นสุดอยู่ท่ีใด การที่มนุษย์เข้าใจโลกผ่านกลไกทางภาษา ทำาให้มนุษย์เข้าใจ วา่ โลกเปน็ อยา่ งทีภ่ าษาสือ่ มลี ักษณะนง่ิ ตายตัวและสามารถแบ่งแยกขอบเขตได้ ชัดเจนวา่ ‘ใช’่ หรือ ‘ไมใ่ ช’่ และ ‘ถูก’ หรอื ‘ผิด’ 22

ผ้นู ํากับโลกแหง่ วัตถุในปรัชญาตะวนั ออก ในบรรดากรอบเกณฑ์ท่ีมนุษย์ใช้ในการจัดรูปให้กับโลก จวงจ่ือเน้นถึงกรอบคิดและ เกณฑก์ ารแบง่ แยกระหวา่ ง ‘ประโยชน’์ กบั ‘ไร้ประโยชน์’ เปน็ สำาคญั ส่ิงใดท่ีมนษุ ย์มองวา่ มีประโยชน์มักได้รับความสนใจและตอบสนองในบางลักษณะ เช่น การไขว่คว้า แย่งชิง หรือละเมิดผู้อ่ืน เพื่อให้ได้มาในทางตรงกันข้าม ส่ิงที่ใดท่ีมนุษย์มองว่าไร้ประโยชน์ ส่ิงน้ัน จะไม่ได้รับความสนใจหรือมองว่าไร้ค่า จนแทบจะหลงลืมว่ามีของเหล่าน้ันอยู่บนโลก สาำ นกั คดิ อื่นๆ มีมมุ มองการใช้กรอบเกณฑ์ ‘ประโยชน’์ และ ‘ไรป้ ระโยชน’์ เช่นกัน กล่าวคือ ‘เมง่ิ จอื่ ’ มองวา่ หากผปู้ กครองคาำ นงึ ถงึ ผลประโยชนเ์ ปน็ หลกั ผใู้ ตป้ กครองกย็ อ่ มคาำ นงึ ถึงผลประโยชน์เช่นกัน ผลที่ตามมาคือ การแย่งชิงผลประโยชน์ในทุกระดับช้ัน ดังน้ันการ จัดการโลกแห่งวตั ถจุ ะตอ้ งใชม้ นุษยธรรมและครรลองธรรมช้ีนาำ ‘มั่วจื่อ’ มองวา่ ขอ้ เสนอของสำานักขงจือ่ ทใ่ี ห้คำานึงถึงมนษุ ยธรรมจะนาำ ไปสกู่ ารเหน็ แก่ประโยชน์ในพวกพ้องของตนเอง การปกครองโดยใช้แนวคิดหลักสากลซึ่งคำานึงถึง ประโยชน์ส่วนร่วมจึงเปน็ แนวทางท่ีดกี ว่า ทั้งน้ี ‘จวงจ่ือ’ มองว่า ทั้งสองแนวคิดต่างอยู่บนกรอบคิดการแบ่งแยกระหว่าง ‘ประโยชน์’ กับ ‘ไร้ประโยชน์’ ซึ่งเป็นท่าทีไม่สอดคล้องกับความจริงตามวิถีธรรมชาติ 3 ประการข้างต้น จึงเสนอการ ‘ถอดถอนการติดยึดกับกรอบคิดที่แบ่งแยกประโยชน์กับ ความไร้ประโยชน์’ ซ่ึงการถอดถอนน้ีจะนำาไปสู่การสร้างพลังแห่งตนเพ่ือตอบสนองต่อ โลกแหง่ วัตถอุ ยา่ งเป็นอิสระด้วยการไมก่ ระทาำ ตอ่ ไป โดยจวงจอ่ื ถอดถอนกรอบคิดดงั กล่าว ด้วยการชี้ให้เห็นประโยชน์ในความไร้ประโยชน์ เพื่อให้เราตอบสนองต่อทุกเกณฑ์และ ทุกความหมายอย่างเป็นอสิ ระมากกว่าจะติดยึดอยู่กบั เกณฑใ์ ดเกณฑ์เดยี ว 23

ผนู้ าํ กบั โลกแห่งวตั ถุในปรัชญาตะวนั ออก ผูน้ ํากับการ ั การโลกแหง่ วัตถุใน ั ร ตา ตอ งและ ั ร วง อ เต�๋ เต๋อจิง จวงจื่อ เน้นเร่ืองการออ่ นน้อมและ เน้นการไมแ่ บ่งแยกระหวา่ งอัตวสิ ยั และวตั ถวุ สิ ัย ประเด็น การไม่กระทาำ การตอบสนองตอ่ โลกอย่างเปน็ อิสระและล่นื ไหล และการมปี ระสบการณท์ างสุนทรยี ะ ข้อเสนอ ในระดับการเมืองการปกครอง เนน้ การถอดถอนกรอบคดิ และปรับเปลย่ี นทา่ ทีและทัศนคติ ผู้นาำ ในระดบั การเมืองการปกครอง มุ่งเนน้ ใหเ้ ปน็ ผูน้ าำ มคี วามเป็นอสิ ระในการค้นหาและดึงพลงั เป็นเงอื่ นไขท่ีจะช่วยสง่ เสริม แหง่ ตนจากความเป็นธรรมชาตเิ ดิมแทข้ องเราได้ สามารถ ความเป็นอิสระในชวี ติ ของประชาชน สร้างความรน่ื รมย์และความพงึ พอใจในการอยู่ท่ามกลาง โลกแหง่ วัตถุทม่ี าจากการกาำ หนดของตนเอง รฐั หรอื ผู้ปกครองเป็นอุปสรรคสำาคญั อุปสรรคสำาคญั ทจ่ี ำากัดความเป็นอสิ ระ คอื การยึดติด ในการแทรกแซงความเปน็ อสิ ระ กรอบความคดิ และเกณฑก์ ารแบง่ แยก โดยเฉพาะ การลดความ จึงเนน้ การลดความปรารถนาของ การแบง่ แยกระหวา่ งประโยชน์กับไรป้ ระโยชน์ จึงเน้น ปรารถนา ผปู้ กครองและการกำาหนดนโยบายรัฐ การถอดถอนการยึดติดนัน้ ปรบั เปลย่ี นทัศนคติและท่าที ท่ีจะเป็นอปุ สรรค เพอื่ ลดความปรารถนาทีม่ าจากการติดยดึ อยกู่ บั กรอบเกณฑ์อย่างตายตัว การจดั การต้องไม่ทาำ ลายความเปน็ ธรรมชาติเดิมแท้ และเนน้ ให้เกิด ความยง่ั ยืนในการดำารงชวี ิต จดุ รว่ ม สร้างความเปน็ อิสระใหป้ จั เจกชน ได้ดาำ เนนิ ชวี ิตในพนื้ ที่ชวี ติ ของตนเอง ดว้ ยการลดความปรารถนา ตามแนวทางแหง่ การไมก่ ระทำา 24

ผูน้ าํ กบั โลกแหง่ วตั ถุในปรชั ญาตะวันออก บ น นา าก ุ อง องปรชั ญา ํานัก ตาตอ่ กร ก า ในบรบ งั รว่ ั ขอ้ เสนอของสาำ นกั เตา๋ มลี กั ษณะของการใหแ้ นวทางปฏบิ ตั ใิ นเชงิ รบั และในเชงิ การปรบั ท่าทีและทัศนคติ ต่อการจัดการส่ิงต่างๆ ในโลกแห่งวัตถุ มากกว่าการให้แนวทางปฏิบัติท่ี เอาไวใ้ ช้อย่างสาำ เรจ็ รูป บทเรยี นสำาคญั เม่ือพิจารณาในบริบทของสังคมไทยรว่ มสมัย คือ วิถีการดำาเนินชีวิตของคนไทยที่ให้ความสำาคัญต่อการป้องกันระวังทรัพย์สิน เปน็ อนั ดับตน้ และมวี ิธีการทซ่ี บั ซ้อนยงุ่ ยากมากข้ึนเรอ่ื ยๆ สอดคลอ้ งกับตัวเลข สถิติ และ ปรากฎการณ์ เชน่ สถติ กิ ารโจรกรรมและอาชญากรรมจากการละเมดิ ทรพั ยส์ นิ มอี ตั ราสงู ขน้ึ อตั ราการเตบิ โตของธรุ กจิ บรกิ ารปอ้ งกนั ภยั อปุ กรณป์ อ้ งกนั ภยั รวมถงึ การประดษิ ฐเ์ ทคโนโลยี และนโยบายรัฐเพอ่ื เนน้ การป้องกนั ภัยในชีวติ และทรัพย์สนิ ก็มากขึ้นตาม โดยลดการพ่ึงพา คนหรอื ความสมั พนั ธท์ ีไ่ วเ้ น้อื เชอื่ ใจกนั ของคนในชุมชน หากมองจากแงม่ มุ มองตรรกะแห่งความเสอื่ มของสาำ นักเตา๋ อาจกล่าวได้ว่าย่ิงพง่ึ พา และพฒั นาเทคโนโลยปี อ้ งกนั มากเทา่ ไร ยงิ่ สะทอ้ นการใหค้ า่ กบั สงิ่ ของวตั ถุ เลห่ เ์ หลยี่ ม และ ความซับซ้อนของภัยจากการละเมิดทรัพย์สินมากข้ึน รวมท้ังเป็นความเส่ือมของสังคมท่ี ห่างไกลจากวิถีธรรมชาติ จึงไม่สามารถพึ่งพาพลังของชุมชนและความสัมพันธ์ท่ีเกื้อกูล ไวว้ างใจกนั ซึ่งเปน็ รปู แบบของการป้องกันภัยอย่างสามัญเรียบง่ายแบบเดมิ ได้ กรณีศึกษาพลังของคนจนเมืองหรือกลุ่มผู้ด้อยโอกาสทางเศรษฐกิจและสังคมท่ี อาศยั อยใู่ นเมอื ง ซงึ่ มกั ประกอบอาชพี และมรี ายไดไ้ มแ่ นน่ อน ขาดความมน่ั คงในทอ่ี ยอู่ าศยั และการเขา้ ถงึ ทรพั ยากร และขาดโอกาสในการเขา้ ถงึ บริการพื้นฐานตา่ งๆ แต่บคุ คลเหล่าน้ี กลับเป็นส่วนหนึ่งในการประกอบอาชีพสัมพันธ์กับแทบทุกวงการและทุกมิติของเศรษฐกิจ เมือง เชน่ อำานวยความสะดวกคนเมอื งในการเดนิ ทางผ่านอาชพี คนขับแท็กซ่ี คนขบั รถเมล์ ดแู ลความสะอาดใหก้ บั เมอื งในฐานะพนกั งานกวาดถนน ใหบ้ รกิ ารอาหารราคาถกู ผา่ นอาชพี หาบเรแ่ ผงลอย สรา้ งและซอ่ มแซมเมืองผ่านอาชีพกอ่ สร้างและช่าง เปน็ ตน้ 25

ผูน้ าํ กบั โลกแหง่ วตั ถใุ นปรชั ญาตะวันออก หากมองผ่านมุมมองประโยชน์และไร้ประโยชน์แล้ว กรณีคนจนเมืองเป็นตัวอย่างที่ สะท้อนถึงความด้อยโอกาสในการเข้าถึงทรัพยากร แต่เป็นคนตัวเล็กที่เป็นฟันเฟืองสำาคัญ ในการขับเคล่ือนการใช้ชีวิต เศรษฐกิจ สังคมเมือง แต่มักถูกมองข้ามหรือถูกมองว่าไร้ค่า ในมุมมองของสำานักเต๋าการดึงพลังจากความไร้ค่าเป็นสิ่งสำาคัญ โดยใช้วิธีลดเงื่อนไขและ ปจั จยั ทเี่ ปน็ อปุ สรรคขดั ขวางการสรา้ งพลงั แหง่ ตนเองของคนตวั เลก็ ตวั นอ้ ยในสงั คม จงึ เปน็ สง่ิ ทนี่ า่ สนใจวา่ รฐั คนในสงั คม และกลมุ่ คนดอ้ ยโอกาสเหลา่ นี้ ไดต้ ระหนกั และเหน็ พลงั ของ ความไร้มากน้อยเพียงใด และแทนที่จะกำาหนดนโยบายกำาจัดความยากจน หรือแก้ปัญหา ความยากจนโดยเนน้ การใหส้ วัสดกิ าร เช่น แจกเงนิ ลดค่านำา้ คา่ ไฟ ค่าโดยสารสาธารณะ เพือ่ ให้คนจนลดคา่ ใชจ้ า่ ย รัฐควรตระหนักถงึ พลังของความไร้ทม่ี าจากกลมุ่ คนดังกลา่ ว และ ออกมาตรการส่งเสริมการดึงพลังขับเคล่ือนท่ีเป็นไปเองท้ังด้านเศรษฐกิจและสังคมจาก คนกลุ่มน้ีเป็นหลัก เพื่อให้พวกเขาได้ใช้ศักยภาพในวิถีชีวิตดั้งเดิมของคนตัวเล็กตัวน้อยใน สงั คมอยา่ งแท้จริง 26

ฉ้อฉล จนยาก ภาษี พิธศี พ : เศรษฐศลิ ป์ 1แหง่ ควำมกลมเกลียวสมดุล ในผู้น�ำแบบขงจ่ือ 1 ‘เศรษฐศลิ ป’์ เปน็ คาำ ทผ่ี วู้ จิ ยั ประดษิ ฐข์ น้ึ เพอ่ื สอ่ื นยั วา่ ‘โลกแหง่ วตั ถ’ุ โดยในปรชั ญาขงจอื่ หมายถงึ การใชว้ ตั ถใุ นฐานะสญั ลกั ษณ์ สาำ หรบั กาำ กบั ตาำ แหนง่ แหง่ บทบาทของมนษุ ยใ์ นความสมั พนั ธช์ ดุ ตา่ งๆ ถอื เปน็ ศลิ ปะแหง่ การจดั ระบบความหมาย จดั รปู ความสมั พนั ธ์ ระหวา่ งมนุษยใ์ หร้ าบรืน่ 27

ผ้นู ํากบั โลกแหง่ วตั ถใุ นปรชั ญาตะวนั ออก ้อ ล น าก า ร ลปแหง่ วา กล กล ว ลุ ในผู้นาํ แบบ ง อ โลกแห่งวัตถุในสังคมจีนโบราณ โดยเฉพาะในปรัชญาขงจ่ือไม่ได้เน้นวัตถุในแง่ สสารวัตถุ โลกแห่งวัตถุท่ีผู้ปกครองในยุคจีนโบราณให้ความสำาคัญ คือ โลกแห่งวัตถุ วฒั นธรรมทรี่ องรบั การจดั ระเบยี บความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งผคู้ นในสงั คมใหก้ ลมเกลยี วสมดลุ หรอื ทเ่ี รียกวา่ ‘เศรษฐศลิ ป’์ ขงจื่อและศษิ ยม์ องว่าความเสอ่ื มของโลกแห่งวัฒนธรรมใน สมัยราชวงศ์โจวในยุคปลายชุนชิวนั้น มีสาเหตุสำาคัญมาจากการฉ้อฉลสัญลักษณ์แห่ง ความชอบธรรมของผนู้ าำ รฐั โดยขนุ นาง การแกป้ ญั หาตอ้ งเรม่ิ จากการจดั ระเบยี บโลกแหง่ วฒั นธรรม คอื การฟน้ื คนื จารตี การปกครองทม่ี คี วามเทย่ี งธรรม ชอบธรรม และมเี ปา้ หมาย เพอ่ื สรา้ งชมุ ชนทม่ี มี นษุ ยธรรม โดยบทความนเ้ี สนอการวเิ คราะหใ์ น 3 ประเดน็ หลกั คอื การพัฒนา ‘เศรษฐศิลป์แห่งความกลมเกลียวสมดุล’ เป็นกลไกในการแก้ปัญหา ความยากจน เพราะการแกป้ ญั หาความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งคนใหถ้ กู ตอ้ งชอบธรรมจะนาำ มา สคู่ วามมง่ั คง่ั ทย่ี ง่ั ยนื ได้ แตก่ ารแยง่ ชงิ เขน่ ฆา่ เพอ่ื ความมง่ั คง่ั ไมอ่ าจแกป้ ญั หา แตย่ ง่ิ กอ่ ปญั หา ความยากจนให้บานปลายและหนักหนาสาหัสยิง่ ขึน้ ความสับสนเกยี่ วกบั การมอง ‘เกียรต’ิ ตาม ‘ยศ’ เพือ่ การ ‘สรรเสรญิ ’ เปน็ ปัญหา ที่อาจขัดขวางหรือทำาลายความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์ ต้องอาศัยการแสดงออกด้วย วัตถุวัฒนธรรมที่เหมาะสมแก่คุณธรรมและความชอบธรรม ซ่ึงอาจไม่ได้มาพร้อมกับ ยศ ศักดิ์ หรอื ตำาแหนง่ ใดในสถาบนั หรอื กลไกของรฐั เทคโนโลยที ผ่ี นู้ าำ พงึ พฒั นา คอื ‘เทคโนโลยหี รอื สงิ่ ประดษิ ฐท์ างวฒั นธรรม ทเี่ กอ้ื กลู ต่อการจดั ระเบียบสงั คมและการเมืองทช่ี อบธรรม’ เอือ้ ตอ่ ความกลมเกลยี วงดงาม 28

ผ้นู ํากับโลกแห่งวัตถุในปรัชญาตะวนั ออก ผวู้ จิ ยั ศกึ ษาวเิ คราะหท์ ง้ั 3 ประเดน็ ดงั กลา่ วในหวั ขอ้ ความฉอ้ ฉล ความยากจน ภาษี และพิธีศพ ซ่ึงมีนัยเก่ียวข้องกับเร่ือง เศรษฐกิจ อาหาร ปากท้อง ความยากจน และ ความม่ังคั่ง ด้วยการนำาเสนอความคิดจากปรัชญาขงจ่ือคัมภีร์หลุนอ่ีว์ และปรัชญาจีน สำานักอื่น เทียบเคียงประสบการณ์ร่วมสมัยในสังคมไทย โดยหวังว่าบทศึกษาน้ีจะเป็น กระจกเงาทใ่ี ชส้ อ่ งดตู นเอง เพอื่ กาำ หนดทศิ ทางการเดนิ ทางรว่ มกนั ตอ่ ไปในอนาคตทส่ี ามารถ เกื้อกูลต่อมนุษยธรรมได้มากข้ึน ก่อนที่บางส่วนของสังคมจะมั่งค่ังร่ำารวยท่ามกลาง ความเสอื่ มสลายของสงั คมโดยรวม 29

ผ้นู ํากับโลกแหง่ วัตถใุ นปรัชญาตะวันออก วา ห า อง โลกแหง่ วตั ถุ ในขณะทช่ี าติตะวันตกมีระบบคดิ ตอ่ โลกแหง่ วัตถุในสงั คมสมัยใหม่ในลกั ษณะวงจรท่ี ประกอบดว้ ยการมองธรรมชาตเิ ชงิ เรขาคณติ คนเปน็ นายเหนอื ธรรมชาติ และสรา้ งความมง่ั คง่ั โดยใหเ้ ครดติ ตอ่ ความสาำ เรจ็ สว่ นบคุ คล แตใ่ นยคุ โบราณหลายอารยธรรมมองวา่ สง่ิ ทป่ี รากฏ แก่ประสาทสัมผัสไม่ได้มีความหมายเพียงแค่วัตถุในแง่ที่เป็นสสารที่ไร้ชีวิต ไร้วิญญาณ สามารถศึกษาและควบคุมด้วยเครื่องมือสำาหรับช่ัง ตวง วัด หากแต่ ‘มีความหมายในเชิง จิตวิญญาณเปน็ ส่งิ ศกั ด์สิ ิทธ์ทิ ่คี วรคา่ แกก่ ารเคารพบชู า’ เช่น แมน่ ำ้าไมไ่ ดเ้ ปน็ เพียงสสารท่ีมี องคป์ ระกอบคือ ไฮโดรเจน 2 ส่วน ออกซิเจน 1 สว่ น ดังเชน่ ความหมายในวิทยาศาสตร์ สมัยใหม่ แต่แม่น้ำาคือสายเลือดบรรพชนท่ีไหลให้เราได้ใช้เพ่ือกินด่ืม เพาะปลูกเลี้ยงชีวิต นา้ำ ในโลกยุคโบราณจึงเปน็ สง่ิ มีชวี ติ ที่ศักด์ิสทิ ธค์ิ วรค่าแก่การเคารพบชู า ในบรบิ ทของจนี โบราณ ขอบเขตความรขู้ องขงจอ่ื ไมไ่ ดเ้ นน้ โลกแหง่ วตั ถใุ นแงก่ ายภาพ หรือในแง่ของสสารอยา่ งมนี ัยสาำ คญั ดังเชน่ ทจ่ี ่ือกง้ ผ้เู ป็นศษิ ยบ์ อกว่าอาจารย์สอน 4 อย่าง คอื วรรณคดี จรยิ ธรรม ความสตั ยซ์ ื่อภกั ดี และความนา่ เชอื่ ถือ ทั้งสว่ี ิชานีเ้ ปน็ สง่ิ ประดษิ ฐ์ ทางวัฒนธรรม เป็นบรรทัดฐานและกติกาเชิงปฏิบัติท่ีช่วยให้ความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์ ในสังคมราบรนื่ โลกแหง่ วตั ถใุ นปรชั ญาขงจอ่ื ไมไ่ ดเ้ นน้ ทโ่ี ลกกายภาพ แตเ่ ปน็ วตั ถใุ นฐานะองคป์ ระกอบ ทางวฒั นธรรมทส่ี งั คมกาำ หนดและยอมรบั ความหมายรว่ มกนั วา่ เปน็ เรอ่ื งคณุ คา่ และความหมาย ทางวัฒนธรรม ไม่ใช่เร่ืองราคาของวัตถุในฐานะสิ่งของ ตัวอย่างในสังคมไทยน่าจะเป็น ‘พระแก้วมรกต’ ชนิดแร่ธาตุและสารเคมีในฐานะมรกตเป็นวัตถุแห่งการศึกษาทาง วิทยาศาสตร์ แต่ขงจอ่ื จะให้ความสำาคญั ในฐานะสญั ลักษณใ์ นทางวัฒนธรรมแหง่ รัฐไทย 30

ผ้นู ํากบั โลกแห่งวตั ถใุ นปรชั ญาตะวนั ออก 31

ผ้นู าํ กับโลกแหง่ วตั ถใุ นปรชั ญาตะวนั ออก าวะผู้นาํ กับโลกแห่งวตั ถุ ผู้วิจัยได้วิเคราะห์ ‘คัมภีร์หลุนอ่ีว์’ บทหนึ่งท่ีสะท้อนวิธีคิดเกี่ยวกับการจัดลำาดับ ความสำาคัญ องค์ประกอบและปัจจัยด้านเก่ียวกับรัฐจากคำาตอบและปฏิกิริยาของขงจื่อ ทมี่ ตี อ่ คาำ ตอบของลกู ศษิ ย์ 4 คน ทาำ ใหเ้ หน็ วา่ ผนู้ าำ พงึ ใหค้ วามสาำ คญั แกก่ ารบรหิ ารบา้ นเมอื ง ในแงใ่ ดบ้าง ดงั น้ี การเป็นผู้นำาในการบริหารบ้านเมือง แม้กำาลังแก้ปัญหาเร่ืองปากท้องของประชาชน ซง่ึ เปน็ ปญั หาพนื้ ฐานเบอ้ื งตน้ ทตี่ อ้ งแกไ้ ข กย็ งั ตอ้ งตระหนกั วา่ ประเดน็ เรอื่ ง ‘หล’่ี และ ‘ดนตร’ี เปน็ เรอื่ งทสี่ าำ คัญ เชน่ เดียวกบั พิธกี รรมในวิหารบรรพชน ซึง่ เป็นพิธีกรรมสาำ คัญที่สุดในการ แสดงออกถึงความถูกต้องชอบธรรมของรัฐ การบริหารท่ีประสบความสำาเร็จมากสุด คือ การบริหารโดยกลไกในเชิงการจัดการไม่ปรากฏเด่นชัด สะท้อนให้เห็นจากการที่ผู้คนมีแต่ ความสบายใจ รื่นรมย์กับกิจกรรมง่ายๆ สามัญธรรมดา โดยไม่ต้องถูกเกณฑ์แรงงานไป ทาำ สงครามให้เกิดความอดอยาก พลดั พราก ผู้นาำ ที่แทต้ ้องใชก้ ลไกการบรหิ ารจดั การเพื่อให้ ชวี ติ ดมี ีคุณภาพแกป่ ระชาชน 32

ผนู้ ํากับโลกแห่งวัตถุในปรัชญาตะวันออก อ้ ล น าก า ผู้วิจัยได้เลือกประเด็นท้ัง 4 เร่ืองมาศึกษา เพราะเป็นประเด็นที่ยังไม่มีการศึกษา วิเคราะห์อย่างจรงิ จงั และยงั เป็นประเดน็ ท่ีจะแสดงให้เหน็ ว่า ปญหาการ นอ้ หรอ ปญหา วา าก น ่ใช่ รองการ า แ ลน รั ากร หรอว รา้ ง ูล ่าใหแ้ ก่ รั ากร แต่ ปนปญหา วา อ้ ล องผนู้ าํ ปนหลกั ส่วนเรื่องภาษีเป็นกรณีตัวอย่างบทบาทของขุนนางฉ้อฉลที่ไม่อาจคัดค้านเจ้านาย นำาไปสู่การฉ้อฉลที่ร้ายแรงขึ้นไปอีก ส่วนกรณีพิธีศพของเหยียนหุย ที่ขงจ่ือปฏิเสธการใช้ วสั ดฟุ มุ่ เฟอื ยในพธิ ศี พเพอื่ แสดงความอาลยั แกก่ ารสญู เสยี ศษิ ยร์ กั เพราะการใชว้ สั ดฟุ มุ่ เฟอื ย ในพิธีศพเป็นการทำาลายความหมายแห่งการไว้อาลัยคนอย่างเหยียนหุยซ่ึงดำารงชีวิตด้วย ความสมถะ การวิเคราะห์ดังกล่าวชี้ให้เห็นว่าขงจื่อให้ความสำาคัญแก่ ‘เศรษฐศิลป์แห่ง ความสมั พนั ธ’์ เปน็ อนั ดบั แรก เพอ่ื ใชเ้ ปน็ พนื้ ฐานการตดั สนิ วธิ ใี ชโ้ ลกแหง่ วตั ถุ ไมใ่ ชก่ ารสรา้ ง ระบบเศรษฐศาสตร์หลบเลยี่ งปัญหาความฉ้อฉลของผู้นำา 33

ผู้นํากับโลกแห่งวตั ถุในปรชั ญาตะวันออก ปัญหาความยากจนเป็นปัญหาที่ผู้ปกครองต้องเผชิญและแก้ไข เพราะเป็นปัญหา พ้ืนฐานในเชิงวัตถุที่เป็นแก่นแกนของการต่อสู้ทางการเมือง แต่ขงจ่ือเสนอให้มองปัญหา อีกแงม่ ุมซง่ึ ขงจื่อเช่ือว่าเป็นทม่ี าและทางออกของปญั หา การแย่งชิงดินแดนและโภคทรพั ย์ ซึ่งผู้วิจัยเรียกว่า “เศรษฐศิลป์แห่งคว�มกลมเกลียว” โดยขงจ่ือมีมุมมองต่อการจัดการ ปัญหาดงั นี้ ขนุ นางมหี นา้ ท่ที ัดทานคัดคา้ นเจา้ นายเม่อื เจ้านายกระทาำ ผิด การสรา้ งความสงบตอ้ งอาศยั เครอ่ื งมอื ชนดิ อน่ื ทไ่ี มใ่ ชอ่ าวธุ แตเ่ ปน็ เครอื่ งมอื ทาง วัฒนธรรมท่ีจะช่วยจัดลำาดับความสัมพันธ์ระหว่างผู้คนในรัฐ อาศัยกลไกทาง วฒั นธรรมและคณุ ธรรมสรา้ งความปรองดองกลมเกลียว เพราะความกลมเกลยี ว จะนำาพาบ้านเมืองออกจากความยากจน ไม่ใช่การใช้กำาลังอาวุธเพ่ือบังคับให้ สยบยอม กรณีนี้อธิบายได้จากปรากฏการณ์เม่ือรัฐเอาชนะความจนในแง่ปัจจัย ทางวตั ถุทีจ่ ำาเป็นตอ่ การอยู่รอด แตค่ วามมั่งคั่งทีไ่ ด้มานัน้ ย่งิ นาำ ไปสคู่ วามไมส่ งบ ในสังคม เช่น ความม่ังคั่งของประเทศนำาไปสู่ความเหล่ือมลำ้าไม่เท่าเทียมทาง เศรษฐกิจของผู้คนในสังคมท้ังในระดับประเทศและระดับโลก เป็นพื้นฐานของ ความสน่ั คลอนและความไรเ้ สถียรภาพของสังคมและรฐั 34

ผู้นาํ กบั โลกแหง่ วตั ถใุ นปรชั ญาตะวนั ออก ‘การจัดระเบียบโลกแห่งวัฒนธรรม’ เป็นเร่ืองพื้นฐานมากกว่า ‘การใช้อาวุธเพื่อ ขยายดนิ แดนหรอื แกป้ ญั หาความยากจนหรอื การมนี อ้ ย’ โลกวฒั นธรรมของขงจอ่ื ครอบคลมุ ไปถงึ การพฒั นาคณุ ธรรมและจรยิ ธรรมเพอ่ื ดงึ ดดู ผคู้ นใหอ้ ยากมาอยใู่ กล้ เมื่ออยู่ใกล้แล้วจึงทำาให้สงบ ในยุคโบราณเม่ือเกิดสงครามย่อมส่งผลกระทบ ต่อประชาชนในแง่การถูกเกณฑ์ไปเป็นทหาร สัตว์ใช้งานในไร่นาก็ถูกนำาไปเป็น สตั วพ์ าหนะขนอาวุธและเสบยี งสงคราม ผคู้ นตอ้ งพลดั พรากจากทอี่ ยู่ หากผูน้ ำา คนใดนาำ แนวคดิ แบบขงจอ่ื ไปสรา้ งสงั คมทมี่ มี นษุ ยธรรม นา่ จะสามารถพฒั นาเปน็ รฐั ทผ่ี คู้ นอยากอพยพมาอาศยั เพราะเปน็ ผนู้ าำ ทร่ี กั มนษุ ยแ์ ละรจู้ กั มนษุ ย์ ปฏบิ ตั ติ น เป็นคนซ่อื ตรง ไมฉ่ อ้ ฉล และสามารถทำาให้คนทฉี่ ้อฉลเปน็ คนซอื่ ตรงได้ ความรกั 3 ประการของผ้นู าำ คือ ‘รักหลี่ รักความถกู ตอ้ ง และรักสัจจะ’ เป็นเคร่ือง ดึงดูดประชาชน เพราะความรักท้ัง 3 ประการจะสามารถสร้าง ‘ความสัมพันธ์ ทร่ี าบรน่ื ระหวา่ งผปู้ กครองกบั ประชาชน’ ความสมั พนั ธท์ รี่ าบรนื่ ทาำ ใหส้ งั คมนา่ อยู่ มีความเจริญร่งุ เรืองอย่างมีเสถียรภาพ ขงจื่อให้ความสำาคัญอันดับแรกแก่โลกแห่งวัฒนธรรม ท่ีการจัดสรรแบ่งปัน การจัด ระบบระเบียบสัญลักษณ์แห่งความถูกต้องชอบธรรมเป็นภารกิจหลักของผู้ปกครอง ปัญหาความยากจนเป็นผลจากความฉ้อฉลในระดับผู้นำา ความบกพร่องทางศีลธรรมของ ประชาชนมาจากความลม้ เหลวทางศลี ธรรมของผนู้ าำ 35

ผู้นํากับโลกแหง่ วัตถใุ นปรัชญาตะวนั ออก วา าก น อง ห นหุ กับ วา หวงั องปรชั ญา ง อ เหยียนหุยศิษย์รักของขงจ่ือเป็นคนยากจน แต่มีปัญญาและความแช่มชื่น เบกิ บาน ทง้ั ยงั เปน็ คนใฝเ่ รยี นรู้ เหยยี นหยุ สามารถสบื ทอดคาำ สอนของขงจอ่ื ไดอ้ ยา่ ง แมน่ ยาำ การดาำ รงชวี ติ ของเหยยี นหยุ ทาำ ใหเ้ หน็ ถงึ ความไรส้ าระของการแกง่ แยง่ แขง่ ขนั เพ่ือผลประโยชน์เชิงโภคทรัพย์ เพราะหากคนเราสามารถมีความแช่มชื่นเบิกบาน แมย้ ากจนแสนเขญ็ ได้ การอา้ งความชอบธรรมเพื่อใชก้ าำ ลงั เพอ่ื ยดึ ครองดนิ แดนอื่น ท้ังภายในและภายนอกรัฐเพื่อแก้ปัญหาความยากจน ก็ฟังดูไร้แก่นสารโดยสิ้นเชิง วิถีชีวิตของเหยียนหุยสามารถทำาลายล้างข้ออ้างความชอบธรรมของการใช้กำาลัง ระหวา่ งรฐั ได้ ปรัชญาของขงจ่อื ม่งุ สร้างชุมชนให้มีมนุษยธรรมงดงาม เน้นว่าปรัชญาขงจ่อื สามารถมอบชวี ติ ทด่ี แี กผ่ ทู้ สี่ มาทานความคดิ นไี้ ด้ ชวี ติ อนั แชม่ ชนื่ เบกิ บานทา่ มกลาง ความขาดแคลนทางโภคทรัพย์ของเหยียนหุยเป็นเคร่ืองยืนยันของความเป็นไปได้ ของชวี ิตทีด่ ีนัน้ ชีวติ ของเหยียนหนุ จึงเปน็ ความหวงั ของปรัชญาขงจ่ือในแงก่ ารเป็น ภาพอุดมคติสำาหรับชีวิตที่เป็นจริงได้ ชีวิตของเหยียนหุยทำาให้เห็นว่า โลกแห่งวัตถุ ในแงก่ ายภาพ โภคทรพั ย์ ผลประโยชน์ ความมง่ั คงั่ เปน็ เรอ่ื งสาำ คญั อนั ดบั รองในการ เปลี่ยนแปลงโลกแห่งความฉ้อฉลมาเป็นโลกแหง่ มนษุ ยธรรม เมอื่ เหยยี นหยุ ถามขงจอ่ื เกย่ี วกบั การปกครอง ขงจอ่ื ไดใ้ หค้ าำ ตอบทส่ี ะทอ้ นวา่ การปกครองเปน็ เรอ่ื งของการบรหิ ารจดั การสญั ญะทางวฒั นธรรมทเ่ี หมาะสม ถกู ตอ้ ง ชอบธรรม มีความมั่นคงยั่งยืน เป็น “เศรษฐศิลป์แห่งความกลมเกลียวสมดุล” อนั สามารถเปน็ โครงสรา้ งแหง่ ความหมายทจ่ี ดั ระบบระเบยี บแกค่ ณุ คา่ ในตา่ งวฒั นธรรม และความสมั พนั ธช์ ดุ ตา่ งๆ รวมทงั้ การควบคมุ จดั การโลกแหง่ วตั ถใุ นแงก่ ายภาพและ โภคทรพั ย์ สาำ หรบั ขงจือ่ ‘โลกวฒั นธรรมนาำ โลกแห่งวตั ถ’ุ 36

ผ้นู าํ กับโลกแห่งวตั ถุในปรชั ญาตะวนั ออก หาก น รา า ารถ วา แช่ ชน บกบาน แ ้ าก นแ น ญ ้ การอ้าง วา ชอบ รร อใชก้ าํ ลงั อ รอง นแ นอน ัง า ในและ า นอกรั อ่ แก้ปญหา วา าก น ก ง ู ร้แกน่ ารโ น ชง 37

ผู้นาํ กับโลกแหง่ วัตถุในปรัชญาตะวันออก การปก รอง ปน รอง อง การบรหาร ั การ ัญญะ างวั น รร ห าะ ถกู ตอ้ ง ชอบ รร วา นั ง ัง น ปน ร ลปแหง่ วา กล กล ว ุล 38

ผนู้ ํากับโลกแห่งวตั ถใุ นปรัชญาตะวันออก า ร ลปแห่ง วา ั นั ในวธิ คี ดิ แบบขงจอ่ื ‘ภาษ’ี เปน็ ประเดน็ เรอ่ื งมนษุ ยธรรมของรฐั ปญั หาเรอ่ื งความยากจน ของประชาชนในสายตาของผู้ปกครองที่ไร้มนุษยธรรม อาจไม่ใช่ความกังวลห่วงใยต่อ ความลำาบากทุกข์ยากของราษฎร์ แต่อาจเป็นปัญหาการเก็บภาษีได้น้อย ไม่เพียงพอแก่ ค่าใชจ้ ่ายของรฐั และผปู้ กครอง สำานักขงจือ่ มีขอ้ เสนอเกยี่ วกบั เศรษฐศิลป์แหง่ ความสมั พันธ์ ว่า ‘ค่าใช้จ่ายของรัฐควรแปรตามความเป็นอยู่ของประชาชน’ กล่าวคือถ้าประชาชนมี พอเพียง ผู้ปกครองจะไม่พอได้อย่างไร แต่ถ้าประชาชนไม่พอผู้ปกครองจะพอได้อย่างไร การเกบ็ ภาษที เี่ พมิ่ ความเดอื ดรอ้ นแกป่ ระชาชน แตก่ ลบั เพม่ิ อาำ นาจแกข่ นุ นางทฉี่ อ้ ฉล เปน็ การ ละเมดิ กฎเกณฑแ์ หง่ ความหมายโลกแหง่ วฒั นธรรมทข่ี งจอื่ มองวา่ เปน็ รากฐานและเครอ่ื งชนี้ าำ วธิ ีให้ได้มาซง่ึ ‘วิถโี ลกแห่งวัตถ’ุ ท่ถี กู ต้องชอบธรรม 39

ผนู้ ํากับโลกแห่งวตั ถุในปรชั ญาตะวันออก อง ห นหุ ร ลปแหง่ การ วอ้ าลั หน่ึงในข้อวิพากย์แนวคิดสำานักขงจ่ือท่ีมาจากมุมมองแบบมั่วจื่อ (479 - 438 ปีก่อนคริสต์ศักราช) คือ ความฟุ่มเฟือยสิ้นเปลืองในการจัด พิธีศพ ม่ัวจื่อมองว่าพวกขงจ่ือหากินกับความตายของผู้มีอันจะกิน ในแง่น้ี วิธีปฏิบัติเก่ียวกับพิธีศพท่ีใหญ่โต เป็นการทำาให้ชาวบ้านผู้ยากจนต้องหา ค่าใช้จ่ายมาประกอบพิธีศพของบิดามารดาให้เหมาะสม ทำาให้ประสบ ความเดอื ดรอ้ นและเปน็ หนสี้ นิ เพมิ่ ขนึ้ แตใ่ น ‘คมั ภรี ห์ ลนุ อวี่ ’์ มเี นอื้ หาบางบท สะท้อนในทางตรงกันข้าม คือ ขงจ่ือตอบเมื่อมีผู้ถามถึงพื้นฐานของหล่ีว่า “หลแ่ี ทนทจี่ ะสรุ ยุ่ สรุ า่ ย ยอมประหยดั ดกี วา่ ฟมุ่ เฟอื ย ในพธิ ศี พแทนทจ่ี ะ ถีถ่ ้วน ยอมอาดรู ดีกวา่ ” 40

ผู้นํากบั โลกแหง่ วตั ถใุ นปรชั ญาตะวนั ออก ความคดิ พ้นื ฐานดงั กลา่ ว สะท้อนผา่ นการปฏบิ ตั ใิ น 2 กรณี คอื กรณแี รกเมือ่ ขงจื่อป่วยหนัก ศิษย์เตรียมจัดงานศพอย่างใหญ่โตเทียบเท่าขุนนางที่มีตำาแหน่ง บรหิ ารบา้ นเมอื ง เมอ่ื ขงจอ่ื หายปว่ ยกลบั ตาำ หนศิ ษิ ยว์ า่ ทาำ ในสงิ่ ทไี่ มเ่ หมาะสมเพราะ ตนเองไมไ่ ดม้ ตี าำ แหนง่ ใหญโ่ ตแตอ่ ยา่ งใด กรณที สี่ องคอื การจดั งานศพของเหยยี นหยุ ทเี่ หลา่ ศษิ ยต์ อ้ งการจดั งานศพใหญโ่ ต แตข่ งจอื่ ไมเ่ หน็ ดว้ ย เพราะการจดั งานศพอยา่ ง เรียบง่ายเหมาะสมกับวิถีชีวิตของเหยียนหุยที่แช่มชื่นเบิกบานแม้ยากจนแสนเข็ญ การจัดพิธีศพอย่างใหญ่โตให้แก่คนท่ีเรียบง่ายยากจนน่าจะเป็นเรื่องผิดฝาผิดตัว ทาำ ใหไ้ มเ่ หน็ ความเปน็ เหยยี นหยุ หลงเหลอื อยเู่ ลย และทาำ ลายโอกาสในการรว่ มราำ ลกึ ถงึ เหยยี นหยุ อย่างท่ีเหมาะสมแก่ความเปน็ เหยียนหยุ 41

ผ้นู าํ กบั โลกแหง่ วตั ถุในปรชั ญาตะวันออก ร า ตรแหง่ ก รต ร ลปแห่ง วา กล กล ว ฉอ้ ฉล จนยาก ภาษี พธิ ศี พ กบั ประเดน็ ในสงั คมไทย ทมี วจิ ยั เลอื กหวั ขอ้ ‘เศรษฐศ�สตร์ แห่งเกียรติยศ’ โดยยกตัวอย่างการใช้รางวัลเชิดชูเกียรติแก่บุคคลในสายอาชีพ 15 สาขา การใช้คำาว่า ‘เศรษฐศาสตร์แห่งเกียรติยศ’ เพราะเป็นวิธีที่สังคมไทยแปรคุณค่าบางอย่าง ออกเปน็ ตวั เลข คอื รางวลั ตอบแทนเปน็ เงนิ หรอื วตั ถวุ ฒั นธรรม เช่น ใบประกาศเกียรติคุณ สายสะพาย โล่เชิดชูเกียรติ ถ้วยรางวัล มงกุฎ เหรียญตรา เข็มฝังเพชรหรืออัญมณีมีค่า เป็นต้น การแปรเกียรติเป็นตัวเงิน นับว่าเป็นความสำาเร็จของมนุษย์ที่สามารถแปลคุณค่า ออกมาเปน็ มลู คา่ แตใ่ นขณะเดยี วกนั การใหร้ างวลั ไมใ่ ชแ่ คต่ วั เงนิ แตเ่ ปน็ วตั ถวุ ฒั นธรรมดว้ ย ซึ่งสะท้อนให้เห็นว่าเงินช่วยบ่งบอกเกียรติคุณได้ แต่เงินอย่างเดียวดูจะไม่พอเพียงและ ไม่เหมาะสม ในมมุ มองแบบขงจอื่ ผ้นู ำามคี ุณสมบัตสิ ำาคัญ 2 ประการ คอื รกั ‘มนษุ ย’์ และ ‘หล’่ี การรกั มนษุ ยใ์ นฐานะมนษุ ย์ คอื การมชี วี ติ ทดี่ ใี นฐานะมนษุ ย์ เปน็ เปา้ หมายสดุ ทา้ ยของสงั คม การเมอื ง สว่ นการรกั หล่ี คอื การใฝศ่ กึ ษาหาวธิ กี ารจดั รปู จดั ระเบยี บเศรษฐศลิ ปใ์ หก้ ลมเกลยี ว สมดุลและงดงาม ผูน้ ำาเป็นผกู้ าำ กับบทเพลงแห่งเกียรติยศ ศักด์ศิ รี สทิ ธิ ความอาทร ห่วงใย ความเอาใจใส่ โดยแสดงออกดว้ ยกระบวนการจดั รปู แบบกจิ กรรมตา่ งๆ ทร่ี มุ่ รวยดว้ ยสญั ลกั ษณ์ ทางวัฒนธรรม เช่น พิธีเซ่นไหว้บรรพชน พิธีมอบรางวัล พิธีแต่งงาน พิธีศพ ฯลฯ ให้มี ความเหมาะสมพอดพี องาม ซงึ่ การประกอบพธิ กี รรมเหลา่ นจี้ ะมกี ตกิ า แนวปฏบิ ตั ิ การลงทนุ ทางทรัพยากร มีค่าใช้จ่าย รวมท้ังแรงงานแรงใจผู้มีส่วนร่วม ซ่ึงมนุษย์ได้ใช้ทรัพยากรไป ไมน่ ้อยเพ่อื พฤตกิ รรมเชิงสัญลักษณ์เหลา่ นี้ ซ่งึ ผวู้ จิ ยั เขา้ ใจว่าขงจอ่ื มองเห็นความสาำ คญั ของ เศรษฐศลิ ป์เหล่านเี้ ปน็ ประเดน็ หลักของการทำางานของผู้นาำ 42

ผนู้ าํ กบั โลกแหง่ วตั ถุในปรชั ญาตะวันออก ตวั อยา่ งการใหร้ างวลั ตอบแทนความสาำ เรจ็ ตามวชิ าชพี ทยี่ กตวั อยา่ ง เปิดให้เห็นระบบและวิธีการให้เกียรติในสังคมไทยร่วมสมัย ซึ่งเป็นเพียง เส้ียวหนึ่งของภาพใหญ่เกี่ยวกับการจัดความสัมพันธ์ทางวัฒนธรรมและ การจัดลำาดับคุณค่าในสังคมไทย อันควรได้รับการใคร่ครวญอย่างต่อเน่ือง ตอ่ ไป ทง้ั ในฐานะกตกิ าทางสังคม วฒั นธรรม และในฐานะบทบาทสำาคัญ ของผนู้ ำา 43

ถกเถียงเรือ่ ง “ของหลวง” กับ “ของสว่ นตวั ” ในปรัชญำจีนโบรำณสำยนิตนิ ยิ ม 44

ผนู้ าํ กับโลกแห่งวัตถใุ นปรัชญาตะวันออก ขณะที่สำานักคิดจีนโบราณอื่นมีท่าทีต่อการครอบครองทรัพย์สินในระดับ สว่ นตวั ของปจั เจกชนในสงั คมเปน็ หลกั นกั ปรชั ญาสายนติ นิ ยิ มเปน็ กลมุ่ แรกทยี่ า้ำ ให้เห็นว่า ‘การครอบครองทรัพย์สินส่วนตัวมีนัยสำาคัญต่อกระบวนการบริหาร ปกครองบา้ นเมอื ง อาจเป็นเหตุปจั จัยทชี่ ข้ี าดความอยรู่ อดของบา้ นเมอื งได’้ จงึ เสนอใหม้ ี ‘การแยกแยะของหลวงอย่างชดั เจน ไม่ให้ปนกบั ของส่วนตวั ’ ผทู้ ่ที ำา หนา้ ทป่ี กครองบา้ นเมอื งมหี นา้ ทตี่ อ้ งดแู ลรกั ษาของหลวงใหอ้ ยใู่ นสภาพพรอ้ มจะ อาำ นวยประโยชนแ์ กป่ ระชาชน และสรา้ งเสถยี รภาพใหแ้ กบ่ า้ นเมอื ง โดยตอ้ งดแู ล สอดส่องผู้ใต้บังคับบัญชาไม่ให้แสวงประโยชน์จากของหลวง เครื่องมือสำาคัญ ท่ีสุดของผู้ปกครอง คือ การกำาหนดกฎบัญญัติให้ชัดเจน และถือปฏิบัติอย่าง เคร่งครัดโดยไม่เหน็ แกผ่ ้ใู ดหรือแมแ้ ตต่ นเอง 45

ผูน้ ํากับโลกแห่งวตั ถุในปรชั ญาตะวนั ออก บทน�ำ เพอื่ การเขา้ ใจในปรชั ญาจนี โบราณ จาำ เปน็ ตอ้ งเขา้ ใจถงึ คตคิ วามคดิ ของวฒั นธรรมจนี ซึ่งมีมโนทัศน์เก่ียวกับแหล่งทรัพยากรว่า ‘ไม่ควรเป็นกรรมสิทธิ์ของใครโดยเฉพ�ะ’ เน่ืองจากขุมทรัพย์ส่วนกลางเป็นทรัพย์สินท่ีสามารถอำานวยประโยชน์ให้แก่ส่วนรวมหรือ แก่ใครก็ได้โดยเสมอกัน มีคำาศัพท์ที่เรียกกันทั่วไปว่า “กง” เป็นมโนทัศน์แห่งจิตสำานึกใน ทรัพย์ส่วนกลาง และยงั มคี วามหมายครอบคลุมถึงความเป็นสาธารณะ ความเปน็ ทางการ ความเปน็ เพศชาย ความเป็นราชการ ความยุติธรรม ความเปน็ ธรรม ความเป็นมาตรฐาน สากล และความเห็นพอ้ งรว่ มกัน น โน ั น ก วกับแหลง่ รั ากรว่า ่ วร ปนกรร องใ รโ าะ นอง าก ุ รั ่วนกลาง ปน รั น า ารถอํานว ประโ ชนให้แก่ ว่ นรว หรอแก่ใ รก ้โ อกัน ในขณะสงั คมไทย มคี าำ วา่ “ของหลวง” มนี ยั ถงึ ทรพั ยห์ รอื กจิ อนั กอ่ ใหเ้ กดิ ผลประโยชน์ โดยไมใ่ ช่กรรมสทิ ธ์ขิ องใครคนใดคนหนง่ึ แต่คาำ ว่าของหลวงในสังคมไทยไม่ได้ครอบคลุมถึง ความหมายเชิงจริยธรรม เชน่ ความยุตธิ รรม ความเสมอภาค ฯลฯ ดงั เชน่ คาำ วา่ “กง” ทีม่ ี ความหมายครอบคลุมกว้างขวาง 46

ผู้นํากบั โลกแห่งวตั ถุในปรัชญาตะวนั ออก อย่างไรก็ตาม เมื่อพิจารณาถึงพัฒนาการของคำาท้ังสองคำาในสมัยโบราณพบว่า มคี วามหมายสอดคลอ้ งกนั ในหลายมิติ เชน่ ทง้ั “กง” และ “หลวง” เป็นชือ่ เรยี กสถานภาพ ทางสงั คมของชนชัน้ สูง คือ เปน็ นามบรรดาศักด์ชิ ้ันสูงของทางราชการในการใช้เรียกบุคคล ทง้ั ยงั ขยายนยั ถงึ สนิ ทรพั ยห์ รอื ประโยชนส์ ว่ นกลาง ความหมายดง้ั เดมิ ของคาำ วา่ กงทห่ี มายถงึ ตัวบุคคล ยังครอบคลุมถึงส่ิงของเครื่องใช้ในครอบครอง กิจธุระ พฤติกรรม หรือกิจวัตร บางบริบทก็หมายถึงกิจการงานหลวงอีกด้วย ดังนั้นในความรู้สึกของประชาชนท้ังหลาย จึงมักรับรู้ว่า กิจกรรมและกิจการท้ังปวงของกงแม้จะถือเป็นกิจส่วนตัวของผู้มีศักดิ์สูง แต่ในขณะเดียวกันก็เป็นกิจที่อาจพัวพันและกระทบกระเทือนถึงการดำาเนินชีวิตของคนอ่ืน ในวงกว้างทั้งในเชิงเศรษฐกิจและเชิงสวัสดิการ โดยเฉพาะในบริบทของสังคมจีนโบราณ ท่ีปกครองด้วยระบบศักดินาเผด็จการ ทรัพยากรและ “ อ งั นใ กจิ ทง้ั ปวงในแผน่ ดนิ ทหี่ ลวงเปน็ ใหญย่ อ่ มเปน็ เอกสทิ ธ์ิ ของหลวง จนถึงขั้นเป็นเจ้าชีวิตของคนในสังกัดด้วย ประโ ชน ่วนตัว าก น ด้วยเหตุน้ีชาวจีนโบราณจึงมักมีสัญชาตญาณท่ีจะ วา อาใ ใ ต่ ่อ รั เอาใจใสร่ ะแวดระวงั ตอ่ ทรพั ยแ์ ละกจิ ของหลวงอยเู่ สมอ และก องหลวง แม้จะไม่มีอำานาจหน้าที่เก่ียวข้องในการดูแลโดยตรง อ่ น้อ ลง ก็ตาม ความตระหนักและเอาใจใส่ต่อของหลวงดังกล่าว ได้พัฒนาจนกลายเป็นมโนทัศน์ ท่ีสำาคัญและมีความซับซ้อนมากขึ้นหลังจากท่ีสังคมจีนยุคหลังเข้าสู่สภาวะที่จำาเป็นต้องมี การกระจายทรัพย์สินและกิจการบางอย่างที่เคยเปน็ ของหลวง ใหป้ ระชาชนระดบั ล่างลงมา ไดก้ รรมสิทธิ์ในการครอบครองด้วย จึงเป็นทีม่ าของการมีทรพั ย์และกิจทีเ่ ปน็ “ของส่วนตัว (ซอื )” จนกระทงั่ ในสมยั จน้ั กวั๋ เกดิ กระแสนยิ มแสวงหาและสง่ั สมสนิ ทรพั ยส์ ว่ นตวั เมอ่ื สงั คม สนใจประโยชน์ส่วนตวั มากขนึ้ ความเอาใจใส่ต่อทรัพย์และกจิ ของหลวงย่อมนอ้ ยลง 47

ผนู้ าํ กบั โลกแหง่ วัตถุในปรชั ญาตะวนั ออก ทันทีท่ีมีทรัพย์หรือกิจส่วนตัวมาวางเทียบเคียงกับทรัพย์และกิจของหลวง จะทำาให้ เกิดขอ้ ขดั แยง้ ตามมาหลายประการ เชน่ ประเด็นผลประโยชน์ทับซอ้ น ประเด็นการลว่ งล้ำา ประโยชน์ของกันและกัน ประเด็นการกำาหนดขอบเขตให้อยู่ในขนาดหรือระดับที่เหมาะสม ประเดน็ การจดั ลาำ ดบั กอ่ นหลงั ของผลประโยชนท์ ต่ี า่ งกนั หรอื กระทงั่ ประเดน็ ทางจรยิ ศาสตร์ ทถี่ ามหาความสมควรหรอื ไม่ในการครอบครองสินทรัพย์บางประเภท มโนทัศน์เร่ือง “กง” จึงครอบงำาความคิด ความเชื่อ และวิถีชีวิตของชาวจีนอย่าง ลึกซึ้งและกว้างขวาง เป็นทั้งบรรทัดฐานของสังคม บรรทัดฐานด้านศีลธรรมจรรยา และ บรรทัดฐานของการตระหนักรับรขู้ องปัจเจกชนมาโดยตลอดถึงปจั จบุ นั ในขณะทส่ี งั คมไทย คาำ วา่ “ของหลวง” ในปจั จบุ นั ใชใ้ นความหมายทค่ี ลมุ เครอื ไม่ชดั เจน บางสว่ นไปทับซอ้ นกับนยั ของสมบตั สิ ่วนกลาง “ วา ่ชั น อง ทรัพย์สินสาธารณะ ส่วนราชการ ทรัพยากรที่ไม่มีใคร ครอบครองเปน็ เจ้าของ หรือประโยชนส์ ่วนร่วม วา ห า อง าํ วา่ องหลวง ง ่งผลให้ การวางท่าทีต่อการรักษาผลประโยชน์ของหลวงมี ความสบั สนบนความหมายทไ่ี มช่ ดั เจน ทง้ั การใชส้ มบตั ขิ อง ่ า ารถปลกู ง หลวงเหมือนสมบัติส่วนตัว การกีดกันไม่ให้ใช้ของหลวง ต ํานกต่อ ุ ่า จนไมเ่ กดิ ประโยชนท์ ่ีควร ความกล้าใช้ของหลวงอย่างไม่ าง งั บางประการ สมเหตุผลเพราะไม่มีเสียงท้วงติงจากเจ้าของท่ีชัดเจน ใน ัง ้ ความขลาดท่ีจะใช้ของหลวงเน่ืองจากความไม่ชัดเจนว่า หลวงตอ้ งการอยา่ งไร หรอื มคี วามคดิ ทุจริตเบยี ดบงั ของหลวง เปน็ ตน้ ดังนัน้ ความไมช่ ดั เจน ของความหมายของคาำ วา่ ของหลวงจงึ สง่ ผลใหไ้ มส่ ามารถปลกู ฝงั จติ สาำ นกึ ตอ่ คณุ คา่ ทางสงั คม บางประการในสังคมไทยได้ 48