Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รัตนมาลี (พวงรัตนคุณ ๑๐๘) พระมหาสมปอง

รัตนมาลี (พวงรัตนคุณ ๑๐๘) พระมหาสมปอง

Description: รัตนมาลี (พวงรัตนคุณ ๑๐๘) พระมหาสมปอง

Search

Read the Text Version

รัตนมาลี พวงรตั นคณุ ๑๐๘ 1 รตนมาลี พวงรัตนคณุ ๑๐๘ พระพทุ ธคุณ ๓ พระพทุ ธคณุ ท่านแสดงไว้โดยยอ่ มี ๓ ประการ ๑. ปัญญาคุณ พระพุทธบารมญี าณ ท่ีไดบ้ �ำ เพ็ญมาก่อนตรสั รู้ พระอนุตตรสมั มาสัมโพธญิ าณ ท่คี รบถว้ นในวนั ตรัสรู้ พระสพั พัญญตุ ญาณ ทีแ่ ผไ่ ปหลังจากวนั ตรสั รู้ ๒. ปรสิ ทุ ธิคุณ ความมีจติ หมดจดจากอาสวะกเิ ลสทง้ั ปวง ๓. มหากรุณาธิคณุ พระมหากรุณาอนั ยิ่งใหญ่ที่ทรงสัง่ สอนให้สตั ว์ไดห้ ลุดพน้ จากทกุ ข์ ในวฏั ฏสงสาร และบรรลุมรรคผลพระนพิ พาน พระพทุ ธคุณ ๙ อิติปิ โส ภะคะวา อะระหงั , สัมมาสัมพุทโธ, วิชชาจะระณะสมั ปนั โน, สุคะโต, โลกะวทิ ู, อะนตุ ตะโร ปุริสะทัมมะสาระถ,ิ สตั ถา เทวะมะนสุ สานงั , พุทโธ, ภะคะวาต.ิ อิตปิ ิ โส ภะคะวา เพราะเหตุอยา่ งน้ี พระผมู้ ีพระภาคเจา้ พระองค์นั้น ๑. อะระหัง (ปรสิ ุทธคิ ณุ ) เปน็ ผทู้ รงไวซ้ ่งึ อรหันตคุณ ๕ มีความเป็นผ้หู ่างไกลจากกเิ ลส เป็นต้น ๒. สมั มาสัมพุทโธ (ปัญญาคณุ ) เป็นผูต้ รัสรู้ชอบได้โดยพระองคเ์ อง ๓. วชิ ชาจะระณะสัมปนั โน (ปญั ญาคุณ) เป็นผ้ถู งึ พรอ้ มดว้ ยวิชชา ๓ และจรณะ ๑๕ ๔. สคุ ะโต (ปริสุทธิคุณ) เป็นผเู้ สดจ็ ไปแล้วดว้ ยดี

รตั นมาลี พวงรัตนคุณ ๑๐๘ 2 ๕. โลกะวิทู (ปัญญาคณุ ) เป็นผู้รู้โลกอย่างแจม่ แจง้ ๖. อะนตุ ตะโร ปุริสะทมั มะสาระถิ (มหากรณุ าธคิ ุณ) เป็นผู้ฝกึ บรุ ษุ ที่สมควรฝึกได้ อย่างไมม่ ีใครยิง่ กวา่ ๗. สตั ถา เทวะมะนุสสานัง (มหากรุณาธิคณุ ) เป็นครูผู้สอนของเทวดาและมนษุ ยท์ ัง้ หลาย ๘. พทุ โธ (มหากรณุ าธคิ ณุ ) เป็นผ้ตู รสั รแู้ ลว้ สอนใหผ้ อู้ ื่นตรัสรตู้ าม ๙. ภะคะวา (ปญั ญาคณุ , มหากรุณาธิคณุ ) เป็นผูจ้ ำ�แนกธรรมสง่ั สอนสัตว์ อติ ิ ดังน้ีแล. พระพุทธคุณ ๕๖ พระพุทธคณุ ทงั้ ๙ ประการน้ี ไดข้ ยายออกเปน็ พระพุทธคุณ ๕๖ ประการ ด้วย คาถา ๕๖ คาถา ตามเสยี งสวดแต่ละค�ำ ดังน้ี คาถาท่ี ๑ ขยายคำ�ว่า “อิ” อิฏโฐ สัพพญั ญตุ ญั ญาณงั อิจฉนั โต อาสะวักขะยงั อิฏฐงั ธัมมัง อะนุปปัตโต อิทธมิ ันตงั นะมามิหงั . พระพุทธเจ้าพระองค์ใด (๑) ทรงปรารถนาพระสัพพัญญุตญาณ (๒) ทรง ปรารถนาความส้นิ อาสวะ (๓) ทรงบรรลธุ รรมทีป่ รารถนาแลว้ (๔) ทรงได้รบั ความ สำ�เร็จแลว้ ข้าพเจ้าขอนอบนอ้ มพระพุทธเจา้ พระองคน์ ั้น คาถาที่ ๒ ขยายคำ�ว่า “ติ” ติณโณ โย วัฏฏะทกุ ขัมห̬ า ติณณงั โลกานะมุตตะโม ติสโส ภมู ี อะติกกันโต ติณณะโอฆัง นะมามหิ ัง พระพทุ ธเจา้ พระองค์ใด (๑) ทรงข้ามพน้ จากทุกข์ในวฏั ฏะแล้ว (๒) ทรง พระคณุ ประเสริฐกวา่ โลกทง้ั สาม คอื มนษุ ยโ์ ลก เทวโลก และพรหมโลก (๓) ทรงข้าม

รตั นมาลี พวงรตั นคณุ ๑๐๘ 3 พน้ ภูมทิ ั้งสาม คือ กามภูมิ รปู ภมู ิ และอรปู ภมู ิ (๔) ทรงข้ามโอฆะส่ี คือ กาโมฆะ ภโวฆะ ทิฏโฐฆะ และอวิชโชฆะ ขา้ พเจ้าขอนอบนอ้ มพระพุทธเจ้าพระองคน์ ้ัน คาถาท่ี ๓ ขยายคำ�ว่า “ปิ” ปิโย เทวะมะนุสสานัง ปิโย พ̬รห̬มานะมตุ ตะโม ปิโย นาคะสุปัณณานงั ปิณนิ ท̬รยิ ัง นะมามหิ งั พระพทุ ธเจา้ พระองคใ์ ด (๑) ทรงเป็นท่ีรักของเทวดาและมนุษยท์ ั้งหลาย (๒) ทรงเปน็ ทีร่ กั ยง่ิ ของพรหมทัง้ หลาย (๓) ทรงเปน็ ที่รักของนาคและครุฑเปน็ ต้น (๔) ทรง มีพระอนิ ทรยี อ์ ่มิ เอบิ ข้าพเจา้ ขอนอบนอ้ มพระพุทธเจ้าพระองคน์ ัน้ คาถาท่ี ๔ ขยายค�ำ ว่า “โส” โสกา วิรตั ตะจิตโต โย โสภะนาโม สะเทวะเก โสกปั ปัตเต ปะโมเทนโต โสภะวณั ณงั นะมามิหงั พระพทุ ธเจา้ พระองค์ใด (๑) มีพระทัยคลายจากความเศรา้ โศกแล้ว (๒) เป็นผู้ เรืองนามในโลกนพี้ รอ้ มท้งั เทวโลก (๓) ทรงยังหมู่สตั วผ์ เู้ ศร้าโศกใหห้ ายโศก (๔) ทรงมี พระฉววี รรณผุดผ่องด่ังทอง ข้าพเจา้ ขอนอบนอ้ มพระพุทธเจา้ พระองค์น้นั คาถาที่ ๕ ขยายคำ�วา่ “ภะ” ภะชติ า เยนะ สัทธมั มา ภคั คะปาเปนะ ตาทินา ภะยะสัตเต ปะหาเสนโต ภะยะสนั ตัง นะมามหิ งั พระพุทธเจ้าพระองค์ใด (๑) ทรงจ�ำ แนกพระสทั ธรรมไว้แล้ว (๒) ทรงทำ�ลาย บาปได้แล้ว (๓) ทรงมพี ระหฤทยั มั่นคง (๔) ทรงทำ�สัตว์ผ้กู ลัวภยั ให้หายกลัวแลว้ (๕) ทรงบ�ำ บดั ภยั ใหร้ ะงบั ลงแล้ว ขา้ พเจ้าขอนอบน้อมพระพทุ ธเจา้ พระองค์นนั้ คาถาท่ี ๖ ขยายค�ำ ว่า “คะ”

รัตนมาลี พวงรตั นคุณ ๑๐๘ 4 คะมิโต เยนะ สทั ธมั โม คะมาปโิ ต สะเทวะกัง คัจฉะมาโน สิวงั รัมมัง คะตะธัมมัง นะมามหิ ัง พระพุทธเจา้ พระองค์ใด (๑) ทรงบรรลุพระสัทธรรมแล้ว (๒) ทรงสอนมนษุ ย์ และเทวดาให้บรรลุด้วย (๓) ทรงบรรลพุ ระนพิ พานอันน่ายนิ ดี ขา้ พเจา้ ขอนอบน้อม พระพทุ ธเจา้ ผู้มีธรรมอนั บรรลแุ ลว้ พระองคน์ ้ัน คาถาท่ี ๗ ขยายคำ�วา่ “วา” วานา นกิ ขะมิ โย ตณั หา วาจัง ภาสะติ อตุ ตะมัง วานะนพิ พาปะนตั ถายะ วายะมนั ตัง นะมามหิ งั พระพุทธเจ้าพระองคใ์ ด (๑) ทรงออกจากวานะคอื ตัณหาเคร่ืองรอ้ ยรัดแล้ว (๒) ทรงกลา่ วพระวาจาอนั เลศิ แล้ว เพอ่ื ประโยชนแ์ ก่การดบั ไฟคอื วานะ (๓) ผู้ทรงมีความ เพยี ร ข้าพเจา้ ขอนอบน้อมพระพุทธเจ้าพระองค์นั้น คาถาท่ี ๘ ขยายค�ำ ว่า “อะ” อะนัสสา สะกะสัตตานงั อัสสาสงั เทติ โย ชิโน อะนนั ตะคุณะสัมปนั โน อันตะคามงิ นะมามิหัง พระพทุ ธเจา้ พระองค์ใด (๑) โปรดประทานความอุ่นใจแกส่ ัตว์ท้ังหลายผไู้ ม่มี ความอุ่นใจ (๒) ทรงเพรียบพร้อมดว้ ยพระคุณหาท่สี ุดมไิ ด้ (๓) ทรงบรรลถุ ึงท่สี ุดทกุ ข์ ข้าพเจา้ ขอนอบน้อมพระชนิ เจ้าพระองค์น้ัน คาถาท่ี ๙ ขยายค�ำ ว่า “ระ” ระโต นพิ พานะสัมปตั เต ระโต โย สัตตะโมจะเน รมั มาเปตธี ะ สตั เต โย ระณะจตั ตงั นะมามหิ ัง พระพทุ ธเจา้ พระองคใ์ ด (๑) ทรงยนิ ดีในนพิ พานสมบัติ (๒) ทรงยนิ ดีในการ เปลอ้ื งสัตวจ์ ากความทกุ ข์ (๓) ทรงยังสตั ว์ทง้ั หลายในโลกนี้ใหย้ ินด(ี ในการเปลือ้ งทุกข์นนั้ ดว้ ย) (๔) ผู้กำ�จดั ข้าศกึ คือกเิ ลสได้แล้ว ข้าพเจา้ ขอนอบน้อมพระพุทธเจา้ พระองคน์ น้ั คาถาที่ ๑๐ ขยายค�ำ ว่า “หัง”

รัตนมาลี พวงรตั นคุณ ๑๐๘ 5 หญั ญะติ ปาปะเก ธมั เม หังสาเปติ ปะรัง ชะนงั หังสะมานัง มะหาวรี งั หนั ตะปาปัง นะมามหิ งั พระพุทธเจา้ พระองคใ์ ด (๑) ทรงก�ำ จดั บาปธรรมทง้ั หลายไดแ้ ลว้ (๒) ยงั ชนอน่ื ให้รา่ เรงิ (ในธรรมอนั เป็นกุศล) (๓) ผ้มู ีพระหฤทัยรา่ เรงิ กลา้ หาญย่งิ ใหญ่ (๔) ผ้กู �ำ จดั บาป ได้ ข้าพเจ้าขอนอบนอ้ มพระพุทธเจา้ พระองคน์ น้ั คาถาที่ ๑๑ ขยายคำ�วา่ “สัม” สงั ขะตาสงั ขะเต ธมั เม สมั มา เทเสสิ ปาณนิ ัง สงั สารงั สังวฆิ าเฏติ สมั พทุ ธันตัง นะมามหิ ัง พระพทุ ธเจา้ พระองคใ์ ด (๑) ทรงแสดงธรรมท้งั ทเ่ี ปน็ สังขตะและอสงั ขตะ แก่ สตั ว์ท้ังหลายโดยถกู ต้อง (๒) ทรงพฆิ าตสงั สารวฏั เสยี ได้ (๓) ผตู้ รสั รดู้ ้วยพระองค์เอง ข้าพเจา้ ขอนอบนอ้ มพระพทุ ธเจ้าพระองค์น้นั คาถาที่ ๑๒ ขยายค�ำ ว่า “มา” มาตาวะ ปาลิโต สตั เต มานะถัทเธ ปะมทั ทโิ ต มานโิ ต เทวะสงั เฆหิ มานะฆาฏงั นะมามิหัง พระพุทธเจ้าพระองค์ใด (๑) ทรงถนอมสตั ว์ทง้ั หลาย ด่งั มารดาถนอมบุตร (๒) ทรงกำ�หราบคนกระด้างเยอ่ หย่งิ ได้แลว้ (๓) ผู้อนั หมเู่ ทวดานบั ถือแล้ว (๔) ผกู้ �ำ จดั มานะ ได้แล้ว ข้าพเจา้ ขอนอบนอ้ มพระพุทธเจ้าพระองค์น้นั คาถาท่ี ๑๓ ขยายคำ�ว่า “สัม” สญั จะยงั ปาระมี สัมมา สญั จติ ะวา สุขะมัตตะโน สงั ขารานัง ขะยงั ทสิ ̬วา สนั ตะคามงิ นะมามหิ งั พระพุทธเจา้ พระองคใ์ ด (๑) ทรงสั่งสมพระบารมมี าโดยชอบ (๒) ทรงเสวย วมิ ตุ ติสุข (๓) ทรงเหน็ ความเสื่อมสน้ิ แหง่ สงั ขารท้ังหลาย (๔) ทรงบรรลถุ ึงธรรมอันระงบั ข้าพเจา้ ขอนอบนอ้ มพระพุทธเจาพระองคน์ น้ั คาถาที่ ๑๔ ขยายค�ำ ว่า “พทุ ”

รัตนมาลี พวงรตั นคุณ ๑๐๘ 6 พุชฌิต̬วา จะตสุ จั จานิ พุชฌาเปติ มะหาชะนัง พุชฌาเปนตัง สวิ งั มัคคัง พทุ ธะเสฏฐงั นะมามิหัง พระพทุ ธเจ้าพระองคใ์ ด (๑) ตรสั รู้สจั จะทัง้ ๔ แลว้ (๒) ทรงสอนมหาชนให้รดู้ ว้ ย (๓) ผูท้ รงชว่ ยสัตว์ให้รู้ทางพระนพิ พาน (๔) ผู้ประเสริฐ ข้าพเจา้ ขอนอบน้อมพระพุทธเจ้า พระองคน์ น้ั คาถาที่ ๑๕ ขยายค�ำ วา่ “โธ” โธติ ราเค จะ โทเส จะ โธติ โมเห จะ ปาณนิ งั โธตะเก̬ลสงั มะหาปุญญัง โธตาสะวงั นะมามหิ ัง พระพทุ ธเจา้ พระองค์ใด (๑) ทรงช�ำ ระราคะ (๒) ทรงช�ำ ระโทสะ (๓) ทรงชำ�ระ โมหะของสัตว์ทั้งหลาย (๔) ผมู้ บี ุญมาก (๕) มีอาสวะอันสิ้นแล้ว ข้าพเจา้ ขอนอบนอ้ ม พระพุทธเจา้ พระองค์น้ัน คาถาที่ ๑๖ ขยายคำ�ว่า “วชิ ” วิเวเจติ อะสทั ธมั มา วิจิต̬วา ธมั มะเทสะนัง วิเวเก ฐติ ะจติ โต โย วิทิตนั ตงั นะมามหิ ัง พระพทุ ธเจ้าพระองคใ์ ด (๑) ทรงยงั สัตว์ใหเ้ ลกิ ร้างหา่ งไกลจากอสัทธรรม (๒) ทรงปรารภการแสดงธรรมข้ึน (๓) เปน็ ผูม้ ีพระหฤทัยตัง้ อยใู่ นวเิ วก (๔) ผเู้ ป็นนักปราชญ์ ข้าพเจ้าขอนอบน้อมพระพทุ ธเจ้าพระองคน์ ั้น คาถาท่ี ๑๗ ขยายค�ำ วา่ “ชา” ชาตธิ ัมโม ชะราธัมโม ชาตอิ ันโต ปะกาสิโต ชาติเสฏเฐนะ พทุ เธนะ ชาติมตุ ตัง นะมามหิ ัง พระพุทธเจ้าพระองค์ใด (๑) ทรงประกาศชาติธรรม (๒) ทรงประกาศชราธรรม (๓) ทรงประกาศมรณธรรมอนั เป็นทีส่ ดุ แหง่ ชาติ (๔) ทรงมีพระชาตอิ นั ประเสรฐิ (๕) ทรงพน้ จากชาติแลว้ ข้าพเจา้ ขอนอบน้อมพระพทุ ธเจา้ พระองค์นัน้ คาถาที่ ๑๘ ขยายคำ�วา่ “จะ”

รตั นมาลี พวงรัตนคุณ ๑๐๘ 7 จะเยติ ปุญญะสมั ภาเร จะเยติ สุขะสัมปะทัง จะชนั ตงั ปาปะกมั มานิ จะชาเปนตัง นะมามิหัง พระพทุ ธเจา้ พระองค์ใด (๑) ทรงกอ่ สร้างบุญสมภารมา (๒) ทรงสัง่ สมสขุ สมบัติ (๓) ทรงละทิ้งบาปกรรมทั้งหลายเอง (๔) ทรงสง่ั สอนสตั วท์ ้ังหลายใหล้ ะท้งิ บาปกรรมทง้ั หลายดว้ ย ข้าพเจา้ ขอนอบนอ้ มพระพทุ ธเจา้ พระองคน์ นั้ คาถาท่ี ๑๙ ขยายคำ�วา่ “ระ” ระมติ งั เยนะ นิพพานงั รกั ขติ า โลกะสมั ปะทา ระชะโทสาทเิ ก̬ลเสหิ ระหติ ันตงั นะมามหิ ัง พระพทุ ธเจ้าพระองคใ์ ด (๑) ทรงยนิ ดีพระนิพพาน (๒) ทรงรกั ษาความดสี ำ�หรบั โลกไว้แล้ว (๓) ทรงเว้นห่างจากกิเลสท้ังหลาย ขา้ พเจ้าขอนอบนอ้ มพระพทุ ธเจ้าพระองค์ นัน้ คาถาท่ี ๒๐ ขยายคำ�วา่ “ณะ” นะมโิ ตเยวะ พร̬ ห̬เมหิ นะระเทเวหิ สพั พะทา นะทันโต สหี ะนาทงั โย นะทนั ตัง ตงั นะมามิหงั พระพุทธเจา้ พระองค์ใด (๑) ผอู้ ันพรหม เทวดา และมนษุ ย์ท้ังหลายนอบน้อมอยู่ ทุกเม่ือ (๒) ทรงบันลอื สีหนาท ขา้ พเจ้าขอนอบน้อมพระพุทธเจา้ พระองคน์ น้ั ผ้ทู รงบันลือ สีหนาทอยู่ คาถาที่ ๒๑ ขยายค�ำ ว่า “สมั ” สงั ขาเร ตวิ เิ ธ โลเก สญั ชานาติ อะนิจจะโต สัมมา นพิ พานะสมั ปัตติ สมั ปันโน ตัง นะมามหิ งั พระพุทธเจา้ พระองค์ใด (๑) ทรงกำ�หนดรสู้ ังขารท้ังหลายในสามโลก โดยความ เปน็ ของไมเ่ ท่ียง (๒) ทรงถึงพร้อมดว้ ยนิพพานสมบตั โิ ดยชอบ ข้าพเจ้าขอนอบน้อม พระพทุ ธเจา้ พระองคน์ น้ั คาถาท่ี ๒๒ ขยายค�ำ ว่า “ปัน”

รัตนมาลี พวงรตั นคณุ ๑๐๘ 8 ปะกะโต โพธิสัมภาเร ปะสัฏโฐ โย สะเทวะเก ปัญญายะ อะสะโม โหติ ปะสนั นงั ตัง นะมามิหงั พระพทุ ธเจา้ พระองค์ใด (๑) ทรงกอ่ สรา้ งโพธสิ มภารมา (๒) เป็นผปู้ ระเสริฐสดุ ในหมมู่ นษุ ย์และเทวดา (๓) หาผ้เู สมอมิได้ด้วยพระปญั ญาคณุ (๔) ผูผ้ อ่ งใส ขา้ พเจา้ ขอน อบน้อมพระพทุ ธเจา้ พระองค์นน้ั คาถาท่ี ๒๓ ขยายค�ำ ว่า “โน” โน เทติ นิระยัง คันตงุ โน จะ ปาปัง อะการะยิ โน สะโม อัตถิ ปญั ญายะ โนนะธัมมัง นะมามิหัง พระพุทธเจา้ พระองคใ์ ด (๑) ทรงป้องกนั สตั ว์ไว้มิใหไ้ ปสนู่ รก (๒) ทรงป้องกัน สตั วไ์ วม้ ใิ หม้ ใิ ห้ท�ำ บาป (๓) ผ้เู สมอพระองค์ดว้ ยปัญญาหามไี ม่ (๔) ผ้หู าความบกพรอ่ ง มไิ ด้ ขา้ พเจ้าขอนอบน้อมพระพทุ ธเจา้ พระองค์น้นั คาถาท่ี ๒๔ ขยายค�ำ ว่า “ส”ุ สนุ ทะโร วะระรเู ปนะ สสุ ะโร ธัมมะภาสะเน สทุ ุททะสงั ทิสาเปติ สคุ ะตนั ตัง นะมามิหงั พระพทุ ธเจ้าพระองค์ใด (๑)​ มพี ระรูปโฉมงดงาม (๒) มีพระสรุ เสยี งไพเราะใน การแสดงธรรม (๓) ทรงโปรดเวไนยชนใหเ้ ห็นธรรมอนั เหน็ ได้ยาก (๔) ผูเ้ สด็จไปดแี ล้ว ขา้ พเจ้าขอนอบนอ้ มพระพทุ ธเจา้ พระองคน์ ้ัน คาถาที่ ๒๕ ขยายคำ�ว่า “คะ” คัจฉนั โต โลกยิ า ธัมมา คัจฉันโต อะมะตงั ปะทัง คะโต โส สัตตะโมเจตุง คะตญั ญาณัง นะมามิหัง พระพทุ ธเจ้าพระองค์ใด (๑) เสด็จไปจากโลกียธรรม (๒) บรรลถุ ึงโลกุตรธรรม อนั เปน็ อมตบท (๓) พระองคเ์ สด็จไปเพื่อปลดเปล้อื งสตั วจ์ ากความทุกข์ (๔) ผบู้ รรลพุ ระ สัพพัญญุตญาณแล้ว ข้าพเจา้ ขอนอบน้อมพระพทุ ธเจ้าพระองคน์ ้นั คาถาท่ี ๒๖ ขยายคำ�ว่า “โต”

รตั นมาลี พวงรตั นคุณ ๑๐๘ 9 โตเสนโต วะระธัมเมนะ โตสัฏฐาเน สิเว วะเร โตสงั อะกาสิ ชนั ตูนัง โตละจติ ตัง นะมามหิ งั พระพุทธเจ้าพระองคใ์ ด (๑) ทรงโปรดสัตว์ให้แชม่ ชืน่ ดว้ ยพระธรรม (๒) ทรง ท�ำ สตั ว์ท้ังหลายใหม้ คี วามยนิ ดีในพระนิพพานอนั ควรยนิ ดี (๓) ทรงมพี ระทยั เที่ยงตรง ขา้ พเจ้าขอนอบนอ้ มพระพุทธเจา้ พระองค์น้ัน คาถาท่ี ๒๗ ขยายค�ำ ว่า “โล” โลเภ ชะหะติ สมั พทุ โธ โลกะเสฏโฐ คุณากะโร โลเภ สัตเต ชะหาเปติ โลภะสันตัง นะมามหิ ัง พระพทุ ธเจ้าพระองค์ใด (๑) ทรงละโลภะไดแ้ ล้ว (๒) ทรงเปน็ ผปู้ ระเสริฐสุดใน โลก (๓) ทรงเป็นบ่อเกดิ แห่งคณุ ทั้งหลาย (๔) ผู้มโี ลภะอนั ระงับแล้ว (๕) ทรงยงั สตั วท์ ง้ั หลายใหล้ ะโลภะได้ดว้ ย ข้าพเจา้ ขอนอบนอ้ มพระพุทธเจ้าพระองค์น้นั คาถาที่ ๒๘ ขยายค�ำ วา่ “กะ” กนั โต โย สัพพะสัตตานงั กตั ̬วา ทกุ ขกั ขะยงั ชิโน กะเถนโต มะธรุ ัง ธัมมงั กะถาสัณ̬หัง นะมามิหงั พระพทุ ธเจา้ พระองค์ใด (๑) ทรงเป็นทร่ี ักใคร่ของสตั วท์ ัง้ หลาย (๒) ทรงท�ำ ความ ส้ินทุกข์แก่สรรพสตั ว์ (๓) ทรงแสดงพระสัทธรรมอนั ไพเราะ (๔) ทรงมพี ระวาจาละเอียด สุขมุ ขา้ พเจ้าขอนอบนอ้ มพระชินเจ้าพระองคน์ นั้ คาถาที่ ๒๙ ขยายคำ�ว่า “ว”ิ วินะยงั โย ปะกาเสติ วิทธงั เสต̬วา ตะโย ภะเว วิเสสญั ญาณะสมั ปันโน วิปปะสันนงั นะมามิหัง พระพทุ ธเจา้ พระองค์ใด (๑) ทรงประกาศพระวินัย (๒) ทรงท�ำ ลายไตรภพ (คอื กามภพ รูปภพ อรปู ภพ) (๓) ทรงถึงพร้อมด้วยพระญาณอนั วเิ ศษ (๔) ทรงเปน็ ผู้บริสทุ ธิ์ หมดจด ข้าพเจ้าขอนอบนอ้ มพระพุทธเจา้ พระองค์นัน้ คาถาท่ี ๓๐ ขยายค�ำ ว่า “ทู”

รตั นมาลี พวงรตั นคุณ ๑๐๘ 10 ทูเส สตั เต ปะหาเสนโต ทูรฏั ฐาเน ปะกาสะติ ทูรงั นิพพานะมาคมั มะ ทูสะหันตัง นะมามิหงั พระพุทธเจา้ พระองคใ์ ด (๑) ยังสตั วผ์ ู้โกรธเคืองให้หายโกรธแล้วรา่ เรงิ ด้วยธรรม (๒) ทรงมีพระเกียรตคิ ณุ ปรากฏไปไกล (๓) ผดู้ ำ�เนินถงึ พระนพิ พานอันเป็นแดนไกล (๔) ทรงก�ำ จัดความช่ัวร้ายได้แลว้ ขา้ พเจ้าขอนอบน้อมพระพุทธเจา้ พระองคน์ ัน้ คาถาท่ี ๓๑ ขยายค�ำ วา่ “อะ” อันตงั ชาตชิ ะราทีนงั อะกาสิ ทปิ ะทตุ ตะโม อะเนกุสสาหะจิตเตนะ อัสสาเสนตงั นะมามิหัง พระพุทธเจา้ พระองคใ์ ด (๑) ผูท้ รงพระคุณอันสูงสุดในหมูม่ นษุ ยท์ ้ังหลาย (๒) ได้ ทรงทำ�ท่สี ุดแห่งทกุ ข์มีชาติและชราเป็นตน้ แล้ว (๓) ผ้โู ปรดสัตวใ์ หอ้ นุ่ ใจดว้ ยนำ�้ พระหฤทยั อุตสาหะเปน็ อันมาก ขา้ พเจ้าขอนอบน้อมพระพทุ ธเจ้าพระองค์นั้น คาถาท่ี ๓๒ ขยายคำ�ว่า “นุต” นเุ ทติ ราคะจิตตานิ นทุ าเปติ ปะรัง ชะนัง นนุ ะ อตั ถงั มะนุสสานงั นสุ าสนั ตัง นะมามิหงั พระพุทธเจา้ พระองคใ์ ด (๑) ทรงบรรเทาซึง่ ราคะจติ ไดแ้ ล้ว (๒) ทรงยังบคุ คลอนื่ ใหบ้ รรเทาดว้ ย (๓) ทรงพรำ่�สอนธรรมอนั เป็นประโยชน์แนแ่ ท้แกม่ นษุ ย์ทง้ั หลาย ข้าพเจ้า ขอนอบน้อมพระพทุ ธเจา้ พระองค์นัน้ คาถาท่ี ๓๓ ขยายค�ำ ว่า “ตะ” ตะโนติ กุสะลงั กมั มงั ตะโนติ ธมั มะเทสะนงั ตัณหายะ วจิ ะรันตานงั ตัณหาฆาฏงั นะมามหิ งั พระพุทธเจ้าพระองค์ใด (๑) ทรงเผยแผก่ รรมอันเปน็ กุศล (๒) ทรงประกาศ ธรรมให้กว้างขวางออกไป (๓) ทรงกำ�จดั ตณั หาของสัตว์ทัง้ หลายผู้พลา่ นอยู่ดว้ ยความ อยากตา่ งๆ ข้าพเจา้ ขอนอบน้อมพระพทุ ธเจ้าพระองคน์ ัน้ คาถาที่ ๓๔ ขยายค�ำ วา่ “โร”

รตั นมาลี พวงรัตนคณุ ๑๐๘ 11 โรเสนโต เนวะ โกเปติ โรเสเหวะ นะ กชุ ฌะติ โรคานัง ราคะอาทีนัง โรคะหนั ตงั นะมามหิ ัง พระพุทธเจ้าพระองค์ใด (๑) ไมโ่ กรธผูท้ โี่ กรธ (๒) ไม่ทรงพลอยโกรธไปกบั พวก คนโกรธ (๓) ทรงก�ำ จดั โรคมีราคะเปน็ อาทิ ของผู้มีโรคทง้ั หลาย ข้าพเจา้ ขอนอบน้อม พระพุทธเจ้าพระองค์น้นั คาถาที่ ๓๕ ขยายคำ�วา่ “ปุ” ปุณันตงั อัตตะโน ปาปัง ปุเรนตงั ทะสะปาระมี ปุญญะวนั ตัสสะ ราชัสสะ ปุตตะภูตงั นะมามิหัง ข้าพเจา้ ขอนอบน้อมพระพุทธเจ้า (๑) ผทู้ รงขจัดบาปของพระองค์เองไดแ้ ลว้ (๒) ทรงบ�ำ เพ็ญพระบารมี ๑๐ ประการใหเ้ ตม็ เป่ียมแล้ว (๓) ทรงเป็นพระโอรสของพระราชา ผู้มีบญุ คาถาที่ ๓๖ ขยายคำ�ว่า “ร”ิ รปิ ุราคาทิภูตัง วะ รทิ ธยิ า ปะฏหิ ัญญะติ รติ ตัง กมั มงั นะ กาเรตา- รยิ ะวังสงั นะมามิหัง พระพุทธเจา้ พระองคใ์ ด (๑) ทรงกำ�จัดกเิ ลสอันเป็นขา้ ศกึ มีราคะเปน็ ต้นดว้ ยบญุ ฤทธิ์ (๒) ไมท่ รงแนะน�ำ ใหส้ ัตวท์ ำ�กรรมอันไรป้ ระโยชน์ (๓) ผดู้ �ำ เนินตามประเพณขี องอริ ยะทงั้ หลาย ข้าพเจา้ ขอนอบนอ้ มพระพทุ ธเจา้ พระองค์นนั้ คาถาที่ ๓๗ ขยายคำ�ว่า “สะ” สมั ปันโน วะระสีเลนะ สะมาธปิ ะวะโร ชิโน สะยมั ภญู าณะสมั ปนั โน สณั หะวาจงั นะมามหิ ัง พระชินเจา้ พระองคใ์ ด (๑) ทรงถงึ พร้อมด้วยศลี (๒) มพี ระสมาธอิ นั ประเสรฐิ สุด (๓) ทรงประกอบด้วยพระสยมั ภญู าณ (๔) ทรงมีพระวาจาละเอียดออ่ นนุม่ นวล ข้าพเจ้า ขอนอบน้อมพระชนิ เจา้ พระองคน์ ้นั คาถาที่ ๓๘ ขยายคำ�ว่า “ทัม”

รัตนมาลี พวงรตั นคณุ ๑๐๘ 12 ทันโต โย สะกะจติ ตานิ ทะมิตะวา สะเทวะกงั ทะทันโต อะมะตงั เขมงั ทันตินทรยิ ัง นะมามหิ งั พระพุทธเจ้าพระองคใ์ ด (๑) ทรงฝกึ จิตของพระองคก์ ่อนแล้ว (๒) ทรงฝึกจิตของ มนษุ ย์และเทวดา (๓) โปรดประทานอมตธรรมอนั เกษมแลว้ (๔) ผมู้ ีอนิ ทรียอ์ ันฝึกไดแ้ ลว้ ขา้ พเจา้ ขอนอบนอ้ มพระพุทธเจา้ พระองค์นั้น คาถาท่ี ๓๙ ขยายค�ำ วา่ “มะ” มะหุสสาเหนะ สมั พุทโธ มะหนั ตัง ญาณะมาคะมิ มะหิตงั นะระเทเวหิ มะโนสทุ ธงั นะมามิหัง พระพทุ ธเจ้าพระองค์ใด (๑) ไดต้ รสั รูด้ ้วยความอุตสาหะใหญห่ ลวง (๒) ทรงบรร ลญุ าณอนั ประเสริฐสุด (๓) ทรงมพี ระทันบริสุทธ์ิทม่ี นุษย์และเทวดาบชู าแลว้ ขา้ พเจ้า ขอนอบน้อมพระพุทธเจา้ พระองค์น้ัน คาถาที่ ๔๐ ขยายคำ�ว่า “สา” สารัง เทตธี ะ สตั ตานัง สาเรติ อะมะตัง ปะทงั สาระถี วยิ ะ สาเรติ สาระธัมมัง นะมามิหงั พระพุทธเจา้ พระองค์ใด (๑) โปรดประทานธรรมอนั เปน็ แก่นสารแกส่ ัตวท์ ั้งหลาย ในโลกนี้ (๒) สอนสตั วท์ ้ังหลายให้ดำ�เนนิ ไปสทู่ างอันเป็นอมตะ ดงั สารถียังมา้ ให้แลน่ ไปสู่ ทางท่ีประสงคฉ์ ะนนั้ (๓) ทรงมพี ระธรรมเปน็ แก่นสาร ขา้ พเจา้ ขอนอบน้อมพระพุทธเจ้า พระองคน์ น้ั คาถาท่ี ๔๑ ขยายคำ�ว่า “ระ” รมั มะตาริยะสัทธัมเม รมั มาเปติ สะสาวะกัง รมั เม ฐาเน วะสาเปนตงั ระณะหนั ตงั นะมามหิ งั พระพทุ ธเจ้าพระองคใ์ ด (๑) ทรงยินดีในอรยิ สัทธรรม (๒) ทรงยงั สาวกของ พระองค์ให้ยนิ ดีดว้ ย (๓) ผยู้ งั สาวกให้อยู่ในฐานะอนั นา่ ยินดี (๔) ทรงกำ�จัดข้าศกึ คอื กิเลส ข้าพเจ้าขอนอบนอ้ มพระพุทธเจา้ พระองคน์ ้ัน

รัตนมาลี พวงรตั นคุณ ๑๐๘ 13 คาถาที่ ๔๒ ขยายค�ำ ว่า “ถิ” ถโิ ต โย วะระนิพพาเน ถเิ ร ฐาเน สะสาวะโก ถริ ัง ฐานงั ปะกาเสติ ถติ ัง ธมั เม นะมามิหัง พระพุทธเจ้าพระองค์ใด (๑) ทรงด�ำ รงอยใู่ นฐานะอนั ม่ันคงคอื พระนพิ พาน (๒) ทรงมีพระสงฆ์สาวกผดู้ �ำ รงอยู่ในฐานะอันมั่นคงคอื พระนพิ พาน (๓) ทรงประกาศฐานะ อันม่ันคงพระนพิ พานนัน้ ข้าพเจา้ ขอนอบน้อมพระพุทธเจา้ พระเจา้ ผูด้ ำ�รงอยใู่ นธรรมอนั มน่ั คงนั้น คาถาที่ ๔๓ ขยายคำ�วา่ “สตั ” สทั ธมั มัง เทสะยติ วานะ สนั ตะนพิ พานะปาปะกัง สะสาวะกงั สะมาหิตงั สนั ตะจติ ตงั นะมามหิ งั ข้าพเจา้ ขอนอบนอ้ มพระพทุ ธเจ้าพร้อมทัง้ พระสงฆ์สาวก (๑) ผูแ้ สดงพระ สทั ธรรมอนั ให้ถงึ พระนพิ พานอนั สงบ (๒) ผู้มหี ทยั ตั้งมั่น (๓) ผ้มู ีจติ สงบระงับแล้ว คาถาท่ี ๔๔ ขยายคำ�ว่า “ถา” ถานัง นพิ พานะสังขาตงั ถาเมนาธคิ ะโต มุนิ ถาเน สคั คะสเิ ว สัตเต ถาเปนตงั ตัง นะมามิหงั พระมุนเี จา้ พระองคใ์ ด (๑) ได้บรรลธุ รรมคอื พระนพิ พานด้วยกำ�ลงั แหง่ ความ เพียร (๒) ทรงยงั หมูส่ ัตว์ใหด้ �ำ รงอยใู่ นฐานะอนั สมควรคอื สวรรค์และนิพพาน ขา้ พเจ้า ขอนอบน้อมพระพุทธเจา้ พระองค์นั้น คาถาที่ ๔๕ ขยายคำ�วา่ “เท” เทนโต โย สคั คะนพิ พานัง เทวะมะนสุ สะปาณินงั เทนตงั ธมั มะวะรัง ทานงั เทวะเสฏฐงั นะมามิหงั พระพุทธเจา้ พระองค์ใด (๑) ประทานสมบตั ิคือสวรรคแ์ ละพระนพิ พานแกห่ มู่สตั ว์ พรอ้ มทั้งเทวดาและมนษุ ย์ทงั้ หลาย (๒) ผู้ใหธ้ รรมอนั ประเสริฐเปน็ ทาน (๒) ผ้ปู ระเสรฐิ กว่าเทวดาและมนษุ ์ทั้งหลาย ขา้ พเจา้ ขอนอบน้อมพระพทุ ธเจ้าพระองคน์ ้นั

รตั นมาลี พวงรัตนคณุ ๑๐๘ 14 คาถาที่ ๔๖ ขยายค�ำ ว่า “วะ” วันตะราคัง วนั ตะโทสัง วันตะโมหงั อะนาสะวัง วันทติ งั เทวะพร̬ ห̬เมหิ มะหติ นั ตัง นะมามหิ งั ข้าพเจ้าขอนอบนอ้ มพระพุทธเจา้ (๑) ผูค้ ายราคะ (๒) คายโทสะ (๓) คายโมหะ (๔) สน้ิ อาสวะ (๕) ผอู้ นั เทวดาและพรหมทั้งหลายกราบไหวแ้ ลว้ คาถาท่ี ๔๗ ขยายคำ�ว่า “มะ” มะหะตา วริ เิ ยนาปิ มะหนั ตัง ปาระมงิ อะกา มะนุสสะเทวะพร̬ หเ̬ มหิ มะหติ ันตงั นะมามหิ ัง พระพุทธเจา้ พระองคใ์ ด (๑) ทรงสร้างพระบารมีใหญด่ ้วยพระวิรยิ ะอนั ใหญ่หลวง (๒) ผอู้ นั มนุษย์ เทวดา และพรหมบชู าแลว้ ข้าพเจา้ ขอนอบนอ้ มพระพทุ ธเจา้ พระองค์ นน้ั คาถาที่ ๔๘ ขยายคำ�ว่า “นสุ ” นนุ ะ ธมั มงั ปะกาเสนโต นทุ ะนตั ถายะ ปาปะกงั นนุ ะ ทุกขาธิปนั นานงั นทุ าปิตัง นะมามหิ งั พระพุทธเจา้ พระองค์ใด (๑) ทรงประกาศธรรมอนั แน่แท้ เพ่อื บรรเทาบาปของ สัตวท์ ง้ั หลายผจู้ มทุกข์อย่เู ตม็ แปล้ (๒) ผู้โปรดสัตว์ใหบ้ รรเทาบาปของตนไดด้ ว้ ย ขา้ พเจ้า ขอนอบนอ้ มพระพุทธเจ้าพระองค์นัน้ คาถาที่ ๔๙ ขยายคำ�วา่ “สา” สาวะกานงั นุสาเสติ สาระธมั เม จะ ปาณนิ งั สาระธัมมงั มะนุสสานัง สาสติ ันตัง นะมามหิ ัง พระพุทธเจา้ พระองคใ์ ด (๑) ทรงพรำ่�สอนสารธรรมแกพ่ ระสาวกและเวไนยสตั ว์ ทัง้ หลาย (๒) ทรงสอนสารธรรมแกม่ นษุ ย์ทงั้ หลาย ข้าพเจา้ ขอนอบน้อมพระพทุ ธเจา้ พระองคน์ ัน้

รัตนมาลี พวงรตั นคุณ ๑๐๘ 15 คาถาที่ ๕๐ ขยายคำ�วา่ “นงั ” นนั ทันโต วะระสัทธมั เม นนั ทาเปติ มะหามุนิ นนั ทะภเู ตหิ เทเวหิ นนั ทะนียัง นะมามหิ ัง พระมหามุนเี จ้าพระองค์ใด (๑) ทรงยินดีในพระสัทธรรม (๒) ทรงยงั สตั วท์ งั้ หลายให้ยินดดี ้วย (๓) ผ้อู ันเทวดาท่ีแสวงหาทีเ่ พลิดเพลนิ ต่างพากันยินดี ข้าพเจ้าขอน อบนอ้ มพระมหามุนเี จ้าพระองค์นั้น คาถาท่ี ๕๑ ขยายคำ�ว่า “พุท” พุชฌติ าริยะสัจจานิ พุชฌาเปติ สะเทวะกงั พุทธะญาเณหิ สมั ปนั นงั พทุ ธงั สมั มา นะมามิหัง พระพทุ ธเจ้าพระองคใ์ ด (๑) ตรสั รอู้ ริยสจั แลว้ (๒) สอนมนุษย์และเทวดาใหร้ ู้ ตาม (๓) ทรงเพยี บพร้อมดว้ ยพระพทุ ธญาณ (๔) ตรสั รู้โดยชอบแลว้ ขา้ พเจ้าขอนอบ นอ้ มพระพุทธเจา้ พระองค์นน้ั คาถาท่ี ๕๒ ขยายค�ำ ว่า “โธ” โธวิตัพพงั มะหาวโี ร โธวนั โต มะละมตั ตะโน โธวิโต ปาณนิ งั ปาปงั โธตะเกลสัง นะมามหิ ัง พระมหาวรี เจา้ พระองคใ์ ด (๑) ทรงชำ�ระมลทนิ ทคี่ วรช�ำ ระแลว้ (๒) ทรงล้าง บาปของสัตว์ทง้ั หลาย (๓) ทรงลา้ งเครื่องเศรา้ หมอง ข้าพเจา้ ขอนอบน้อมพระมหาวรี เจ้าพระองค์นั้น คาถาท่ี ๕๓ ขยายคำ�ว่า “ภะ” ภะยะมาปนั นะสตั ตานงั ภะยงั หาเปติ นายะโก ภะเว สัพเพ อะติกกนั โต ภะคะวนั ตงั นะมามิหงั พระผนู้ ำ�พระองคใ์ ด (๑) ทรงยงั ความกลวั ของสตั ว์ผปู้ ระสบภัยให้หาย (๒) ทรง ก้าวล่วงภพทงั้ ปวง ข้าพเจ้าขอนอบน้อมพระผนู้ ำ�พระองค์นน้ั ผ้มู ีโชค

รัตนมาลี พวงรตั นคุณ ๑๐๘ 16 คาถาท่ี ๕๔ ขยายค�ำ วา่ “คะ” คะหิโต เยนะ สัทธมั โม คะตญั ญาเณนะ ปาณินัง คะหะณิยงั วะรัง ธมั มงั คัณหาเปนตัง นะมามหิ ัง พระพทุ ธเจา้ พระองค์ใด (๑) ทรงมพี ระญาณลลุ ว่ ง (๒) ทรงแสดงธรรมแล้ว (๓) ทรงสอนสัตว์ทัง้ หลายใหร้ บั เอาธรรมอนั ประเสริฐ ขา้ พเจ้าขอนอบนอ้ มพระพุทธเจ้า พระองคน์ นั้ คาถาที่ ๕๕ ขยายคำ�ว่า “วา” วาปิตงั ปะวะรัง ธมั มัง วานะโมกขายะ ภกิ ขนุ ัง วาสิตงั ปะวะเร ธัมเม วานะหันตงั นะมามหิ งั ขา้ พเจ้าขอนอบนอ้ มพระพทุ ธเจา้ (๑) ผูท้ รงประกาศพระธรรมอนั ประเสรฐิ แก่ ภกิ ษุทั้งหลาย เพ่อื ให้พ้นจากวานะคอื ตณั หา (๒) ผู้จบพรหมจรรยใ์ นธรรมอันประเสรฐิ (๓) ผกู้ �ำ จดั วานะคอื ตณั หา คาถาที่ ๕๖ ขยายค�ำ วา่ “ต”ิ ติณโณ โย สัพพะปาเปหิ ติณโณ สคั คา ปะตฏิ ฐิโต ติเร นิพพานะสงั ขาเต ติกขะญาณงั นะมามิหัง. พระพทุ ธเจา้ พระองค์ใด (๑) ทรงขา้ มพ้นจากบาปทัง้ ปวง (๒) ทรงขา้ มห้วงน้�ำ ใหญ่ (๒) ด�ำ รงอยูบ่ นฝ่ังคอื พระนิพพาน (๔) ทรงมีพระปญั ญาญาณอันคมกล้า ข้าพเจ้า ขอนอบนอ้ มพระพทุ ธเจ้าพระองค์น้ัน คาถาสรปุ พทุ ธคณุ ๕๖ ประการ ฉัปปัญญาสะ พุทธะคาถา พทุ ธะคุณา สคุ มั ภริ า เอเตสะมานุภาเวนะ โสตถิ เม โหตุ สพั พะทา. คาถาบาลอี นั พรรณนาคุณของพระพทุ ธเจา้ ๕๖ ประการ ได้แสดงพระพุทธคณุ ไวอ้ ย่างลึกซง้ึ ด้วยอานภุ าพแห่งพระพุทธคณุ ทั้งหลายเหล่าน้ัน ขอความสวสั ดีจงมแี ก่ ข้าพเจา้ ในกาลทั้งปวงเทอญ

รัตนมาลี พวงรัตนคุณ ๑๐๘ 17 พระธรรมคุณ ๖ ขยายเปน็ ๓๘ สว̬ ากขาโต ภะคะวาตา ธมั โม, สันทฏิ ฐโิ ก, อะกาลโิ ก, เอหิปัสสโิ ก, โอปะนะยโิ ก, ปัจจตั ตัง เวทติ ัพโพ วัญญหู ตี .ิ ๑. ส̬วากขาโต ภะคะวาตา ธัมโม พระธรรม เปน็ ธรรมท่ีพระผู้มีพระภาค ตรสั ไว้ดีแล้ว ๒. สนั ทฏิ ฐิโก เป็นธรรมทผ่ี ปู้ ฏบิ ัตเิ ห็นไดด้ ้วยตนเอง ๓. อะกาลิโก เป็นธรรมที่ปฏิบัตไิ ด้และใหผ้ ลได้ ไม่จ�ำ กัดกาล ๔. เอหปิ สั สิโก เปน็ ธรรมทค่ี วรกลา่ วกบั ผอู้ น่ื วา่ ทา่ นจงมาดูเถดิ ๕. โอปะนะยโิ ก เปน็ ธรรมที่ควรน้อมเข้ามาใสต่ วั ๖. ปัจจัตตัง เวทติ ัพโพ วัญญูหิ เป็นธรรมทผ่ี ้รู ู้ ก็รู้ได้เฉพาะตน อิติ ดังนแ้ี ล. พระธรรมคุณ ๓๘ พระธรรมคุณทัง้ ๖ ประการน้ี ได้ขยายออกเป็นพระธรรมคณุ ๓๘ ประการ ดว้ ย คาถา ๓๘ คาถา ตามเสียงสวดแต่ละค�ำ ดงั นี้ คาถาท่ี ๑ ขยายคำ�วา่ “ส̬วาก” ส̬วาคะตนั ตัง สวิ งั รัมมัง ส̬วานะยัง ธัมมะเทสติ ัง ส̬วาหเุ นยยงั ปญุ ญะเขตตงั สว̬ าสะภันตัง นะมามิหัง พระนพิ พานนั้นเปน็ ธรรมควรยนิ ดี อนั พระพุทธเจา้ ไดท้ รงลถุ งึ มาดแี ลว้ ขา้ พเจา้ ขอนอบนอ้ มพระธรรมอนั เป็นธรรมท่ีพระพุทธเจ้าทรงแสดงไว้ พระสงฆน์ ำ�สืบมาด้วยดี ควรบชู าอยา่ งดี เป็นบุญเขตอันประเสรฐิ แท้

รตั นมาลี พวงรัตนคุณ ๑๐๘ 18 คาถาที่ ๒ ขยายคำ�วา่ “ขา” ขาทนั โต โย สัพพะปาปัง ขายิโต โย จะ มาธโุ ร ขายันตัง ติวิธงั โลกงั ขายิตนั ตัง นะมามหิ ัง พระธรรมใดกัดกนิ (คือท�ำ ลาย) ซงึ่ บาปทัง้ ปวง พระธรรมอนั หวานชนื่ ใด พระพุทธเจา้ ตรัสไว้แล้ว ขา้ พเจ้าขอนอบนอ้ มพระธรรมนนั้ อันกนิ (คือครอบง�ำ ) โลกทั้ง สามไว้ (คอื มนษุ ยโลก เทวโลก พรหมโลก) ปรากฏเด่นอยู่ คาถาที่ ๓ ขยายค�ำ ว่า “โต” โตเสนโต สัพพะสัตตานงั โตเสติ ธัมมะเทสะนัง โตสะจิตตงั สะมชิ ฌันตงั โตสิตันตงั นะมามิหัง พระธรรมใด ปลกุ ปลอบสรรพสัตว์ให้ยนิ ดีฟงั พระธรรมเทศนา ขา้ พเจ้าขอนอบ น้อมพระธรรมนัน้ อันยงั สัตวผ์ มู้ ีจิตยินดใี นธรรมใหเ้ จรญิ ยังสัตว์ใหแ้ ช่มชื่น คาถาท่ี ๔ ขยายค�ำ วา่ “ภะ” ภคั คะราโค ภคั คะโทโส ภคั คะโมโห อนุตตะโร ภคั คะกิเลสะสตั ตานัง ภะคะวนั ตัง นะมามิหัง พระธรรมใด หกั ราคะ หักโทสะ หักโมหะ หาธรรมอ่นื ยง่ิ กวา่ มิได้ ขา้ พเจ้าขอน อบนอ้ มพระธรรมน้ัน อนั เปน็ ทีเ่ คารพของสัตว์ผมู้ กี ิเลสอันหักแลว้ คาถาท่ี ๕ ขยายค�ำ วา่ “คะ” คัจฉันโต รมั มะเก สิเว คะมาปโิ ต สะเทวะเก คัจฉนั โต พรหมะจะริเย คัจฉนั ตนั ตัง นะมามหิ ัง พระธรรมใด ด�ำ เนินไปในพระนิพพานอันนา่ ยนิ ดี ยังมนุษยก์ บั ทงั้ เทวดาผปู้ ระพฤติ พรหมจรรย์ ให้ดำ�เนนิ ไปถงึ พระนิพพานน้ัน ขา้ พเจ้าขอนอบนอ้ มพระธรรมนนั้ อันด�ำ เนนิ ไปอย่างนน้ั คาถาที่ ๖ ขยายคำ�ว่า “วะ”

รตั นมาลี พวงรัตนคณุ ๑๐๘ 19 วันตะราคัง วนั ตะโทสงั วันตะโมหงั วันตะปาปะกงั วันตงั พาละมจิ ฉาทนี ัง วันตะคันถงั นะมามิหงั ขา้ พเจ้าขอนอบน้อมพระธรรม อนั คายราคะ คายโทสะ คายโมหะ คายบาป คาย ความโง่ คายโทษทงั้ หลายมคี วามอยากเป็นต้น คายกเิ ลสเครือ่ งร้อยรดั ใจ คาถาท่ี ๗ ขยายคำ�ว่า “ตา” ตาเรสิ สัพพะสัตตานัง ตาเรสิ โอรมิ งั ติรัง ตาเรนตงั โอฆะสงั สารงั ตาเรนตนั ตงั นะมามิหงั พระธรรมใด ยงั สรรพสตั ว์ใหข้ า้ มสงสารวัฏ ไปสู่ฝั่งคือพระนพิ พาน ขา้ พเจา้ ขอน อบน้อมพระธรรมน้ัน ผ้ชู ่วยให้สัตวข์ ้ามพ้นโอฆสงสารได้ คาถาที่ ๘ ขยายค�ำ วา่ “ธัม” ธะระมาเนปิ สัมพุทเธ ธัมมัง เทสงั นิรนั ตะรัง ธะเรติ อะมงั ตัง ฐานงั ธะเรนตนั ตงั นะมามหิ ัง แต่ครั้งพระสัมมาสมั พทุ ธเจ้ายังทรงพระชนม์อยนู่ ั้น พระองค์ทรงแสดงพระธรรม ใดไวม้ ไิ ด้ขาด พระธรรมใดทรงไว้ซ่ึงฐานะอนั เปน็ อมตะ ขา้ พเจา้ ขอนอบนอ้ มพระธรรมนั้น อนั เปน็ สภาพทรงอยู่ คาถาที่ ๙ ขยายค�ำ วา่ “โม” โมหัญเญ ทะมนั โต สตั เต โมหะชเิ ต อะการะยิ โมหะชาเต ธัมมะจารี โมหะชิตัง นะมามิหงั พระธรรมใด ฝึกฝนสัตวท์ ้ังหลายทลี่ ่มุ หลง ท�ำ ให้เป้นผชู้ นะความหลวงได้ ยังสตั ว์ ผ้เู กิดมาดว้ ยความหลงใหป้ ระพฤตธิ รรม ขา้ พเจ้าขอนอบนอ้ มพระธรรมนัน้ อนั ครอบงำ� ความหลงได้ คาถาที่ ๑๐ ขยายค�ำ ว่า “สนั ” สพั พะสัตตะตะโมนุโท สพั พะโสกะวินาสะโก

รตั นมาลี พวงรตั นคุณ ๑๐๘ 20 สพั พะสัตตะหิตักกะโร สพั พะสนั ตัง นะมามิหัง พระธรรมใด บรรเทาความมดื ของสตั วท์ ั้งปวง ยังความโศกทงั้ ปวงใหเ้ สือ่ มหาย กอ่ ประโยชน์เก้ือกลู แกส่ รรพสตั ว์ ขา้ พเจ้าขอนอบนอ้ มพระธรรมนนั้ อนั เป็นสภาพสงบ เย็นด้วยประการทงั้ ปวง คาถาท่ี ๑๑ ขยายคำ�ว่า “ทิฏ” ทฏิ เฐ ธมั เม อะนปุ ปัตโต ทฏิ ฐกิ ังขาทะโย ลโุ ต ทฏิ ฐี ทวาสัฏฐิ ฉินทนั โต ทิฏฐะธัมมงั นะมามหิ ัง พระธรรมใด ผมู้ ีปัญญาบรรลุถงึ ได้โดยล�ำ ดบั ในทฐิ ธรรมน้ี ตัดทิฏฐิ ๖๒ ได้ ขา้ พเจ้าขอนอบนอ้ มพระธรรมนั้น อนั พระพทุ ธเจา้ ทรงเหน็ แลว้ คาถาท่ี ๑๒ ขยายคำ�วา่ “ฐ”ิ ฐิตสิ ีละสะมาจาเร ฐิตเิ ตระสะธุตงั คะเก ฐิติธมั เม ปะติฏฐาติ ฐิติปะทงั นะมามหิ งั พระอริยะยอ่ มตงั้ อยูใ่ นฐติ ธิ รรม (ธรรมคอื ความคงสภาพอยู่) คือในศีลและจรรยา มารยาทท่ดี อี นั เปน็ ฐิติ ในธดุ งค์ ๑๓ อนั เปน็ ฐติ ิ ขา้ พเจา้ ขอนอบน้อมพระธรรมนน้ั อนั เป็นเคร่ืองถงึ ฐิติ คาถาท่ี ๑๓ ขยายคำ�วา่ “โก” โกกานัง ราคัง ปเี ฬติ โกโธปิ ปะฏหิ ัญญะติ โกกานัง ปชู ิโต โลเก โกกานนั ตัง นะมามิหงั พระธรรมใด เบยี นเสยี ซง่ึ ความรักของคนทัง้ หลายทีย่ ดึ ถอื แมค้ วามโกรธกก็ �ำ จัด เสยี ดว้ ย เปน็ ส่งิ ซึง่ คนท่ยี ังยดึ ถือก็บูชาอยู่ในโลกนี้ ข้าพเจ้าขอนอบน้อมพระธรรมนน้ั อนั เปน็ ท่ีส้นิ สุดแห่งความยดึ ถือ คาถาท่ี ๑๔ ขยายคำ�วา่ “อะ” อัคโค เสฏโฐ วะระธัมโม อัคคะปัญโญ ปะพุชฌะติ

รตั นมาลี พวงรัตนคุณ ๑๐๘ 21 อัคคงั ธัมมัง สนุ ิปณุ ัง อัคคนั ตัง วะ นะมามิหงั พระธรรมเป็นของเลศิ ประเสริฐสดุ ผมู้ ีปญั ญาเลศิ ยอ่ มตรัสรธู้ รรมอันละเอียด เลศิ ได้ ข้าพเจ้าขอนอบนอ้ มพระธรรมอนั เลิศน้นั แล คาถาท่ี ๑๕ ขยายค�ำ วา่ “กา” กาเรนโต โย สิวัง รชั ชงั กาเรติ ธมั มะจาริเย กาตพั พะสสุ ิกขากาเม กาเรนตันตัง นะมามิหงั พระธรรมใด เม่ือยงั สตั วใ์ หท้ �ำ ราชยั คือพระนิพพาน ย่อมยังสตั วผ์ ปู้ ระพฤตธิ รรม ใหท้ ำ� ขา้ พเจา้ ขอนอบน้อมพระธรรมน้ัน อนั ยังสตั วผ์ ้ใู คร่ในการศึกษาดที ี่ตนพึงทำ� ใหท้ �ำ สิวราชัยน้ัน คาถาที่ ๑๖ ขยายค�ำ วา่ “ลิ” ลโิ ต โย สัพพะทุกขานิ ลขิ ิโต ปะฏิกัตตะเย ลมิ ปิเตปิ สุวณั เณนะ ลติ ันตงั ปิ นะมามิหัง พระธรรมใด บ�ำ บดั เสยี ซงึ่ ทุกขท์ ั้งปวง ท่านลิขติ ไว้ในพระไตรปฎิ ก ซง่ึ ปิดทองไว้ สวยงามก็มี ขา้ พเจ้าขอนอบน้อมพระธรรมน้นั อันบ�ำ บดั ทกุ ข์ไดจ้ ริง คาถาท่ี ๑๗ ขยายค�ำ วา่ “โก” โก สะทิโสวะ ธมั เมนะ โก ธมั มัง อะภปิ ชู ะยิ โก วินทะติ ธัมมะระสงั โกสะลันตงั นะมามิหงั สภาพอะไรที่เสมอดว้ ยพระธรรม (มีหรือ) ใครบูชาพระธรรมอย่างยง่ิ ใครได้ ประสบธรรมรส ข้าพเจา้ ขอนอบนอ้ มพระธรรมน้นั อันทำ�บคุ คลให้เปน็ ผูฉ้ ลาด คาถาที่ ๑๘ ขยายค�ำ ว่า “เอ” เอสะติ พุทธะวะจะนงั เอสะติ ธมั มะมตุ ตะมัง เอสะติ สัคคะโมกขญั จะ เอสะตนั นงั นะมามหิ ัง บัณฑิตยอ่ มแสวงหาพระพุทธวจนะ ยอ่ มแสวงหาธรรมอยา่ งสงู และยอ่ มแสวงหา

รตั นมาลี พวงรตั นคณุ ๑๐๘ 22 สรรคแ์ ละพระนิพพาน ข้าพเจ้าขอนอบน้อมพระธรรมนน้ั อนั เปน็ ทีแ่ สวงหาแห่งบณั ฑติ คาถาที่ ๑๙ ขยายคำ�วา่ “หิ” หเิ น ฐาเน นะ ชายันเต หเิ น โถเมติ สคุ คะตงิ หเิ น โมหะสะมงั ชาลงั หนิ นั ตงั ปิ นะมามหิ งั พระธรรมใด ไมย่ งั สัตวใ์ ห้เกิดในฐานะทตี่ ่ำ�ทราม ยงั คนชนั้ ตำ่� (ที่ท�ำ ด)ี ให้ไดช้ ม สคุ ติก็ได้ ละกิเลสดุจขา่ ยท่เี หนียวแน่นเสมอโมหะก็ได้ ข้าพเจา้ ขอนอบนอ้ มพระธรรมนน้ั อนั เป็นทีส่ นิ้ สุดความเลวทราม คาถาท่ี ๒๐ ขยายค�ำ วา่ “ปสั ” ปะกะโต โพธสิ มั ภาเร ปะสัฏโฐ โย สะเทวะเก ปัญญายะ นะ สะโม โหติ ปะสันโน ตงั นะมามิหัง พระธรรมใดก่อสรา้ งโพธิสมภาร อันเทวดาและมนุษย์ยกย่องแล้ว ในโลกนีก้ บั ท้ัง เทวโลก ส่งิ ที่ผอ่ งใสเสมอด้วยปญั ญาหามีไม่ ข้าพเจา้ ขอนอบน้อมพระธรรมนั้น คาถาที่ ๒๑ ขยายคำ�วา่ “ส”ิ สเี ลนะ สุคะติง ยันติ สเี ลนะ โภคะสัมปะทา สเี ลนะ นพิ พตุ งิ ยันติ สลี ะธัมมัง นะมามหิ ัง คนทง้ั หลายไปสุคติดว้ ยศลี ความถึงพร้อมแห่งโภคทรพั ย์ย่อมมีดว้ ยศลี ถึงความ ดบั ทุกข์ไดก้ ด็ ้วยศีล ขา้ พเจ้าขอนอบนอ้ มพระธรรมคอื ศลี คาถาท่ี ๒๒ ขยายคำ�วา่ “โก” โก โส อัคคะปญุ โญ พุทโธ โกธะชะหงั อะธคิ จั ฉะติ โก ธัมมัญจะ วิชานาติ โกธะวนั ตัง นะมามิหัง พระพทุ ธเจ้าพระองค์ใดน้นั เป็นผูม้ ีบุญเลิศ ทรงลถุ ึงธรรมท่ลี ะความโกรธได้ พระพุทธเจา้ พระองคใ์ ดเลา่ ทรงรู้แจ้งพระธรรม ข้าพเจ้าขอนอบน้อมพระธรรมนนั้ อนั คายความโกรธได้

รตั นมาลี พวงรตั นคุณ ๑๐๘ 23 คาถาท่ี ๒๓ ขยายค�ำ ว่า “โอ” โอภะโต สพั พะกิเลสัง โอภัญชิโต สพั พาสะวงั โอภะโต ทิฏฐชิ าลัญจะ โอภะตัง ตงั นะมามหิ งั พระธรรมใด ทำ�ลายกิเลสท้ังปวงได้ หกั อาสวะทง้ั ปวงเสีย และรื้อข่ายคอื ทฏิ ฐิ เสยี ดว้ ย ขา้ พเจา้ ขอนอบน้อมพระธรรมน้นั อนั เป็นสภาพรอื้ กเิ ลส คาถาที่ ๒๔ ขยายคำ�วา่ “ปะ” ปัญญา ปะสัฏฐา โลกัสมิง ปัญญา นพิ เพธะคามินี ปัญญายะ นะ สะโม โหติ ปะสันโน ตัง นะมามหิ ัง ปัญญาเป็นสิง่ ท่ีคนฉลาดสรรเสริญในโลก ปัญญาท�ำ ใหถ้ ึงความร้แู จง้ แทงตลอด สง่ิ ท่ีผอ่ งใสเสมอดว้ ยปัญญาไม่มี ข้าพเจ้าขอนอบนอ้ มพระธรรมคือปัญญานั้น คาถาที่ ๒๕ ขยายคำ�ว่า “นะ” นะรานะระหติ ัง ธมั มงั นะระเทเวหิ ปูชิตงั นะรานงั กามะปังเกหิ นะมิตนั ตงั นะมามหิ งั ข้าพเจา้ ขอนอบน้อมพระธรรม อนั เปน็ ประโยชนเ์ กือ้ กูลแก่มนุษยแ์ ละอมนุษย์ อันมนษุ ย์และเทวดาทงั้ หลายบชู า เหน่ยี วรัง้ คนทงั้ หลายใหพ้ ้นจากหลม่ คือกามน้ัน คาถาท่ี ๒๖ ขยายคำ�ว่า “ยิ” ยิชชะเต สัพพะสัตตานงั ยิชชะเต เทวะพรหมนุ า ยิชชิสสะเต จะ ปาณหี ิ ยิฏฐันตัมปิ นะมามิหงั พระธรรมใด อนั สตั วท์ ัง้ ปวงบชู า เทวดาและพรหมก็บชู า และสัตว์ทงั้ หลายจกั บชู าตอ่ ไป ข้าพเจ้าขอนอบน้อมพระธรรมน้ัน อันสัตว์ทง้ั หลายบชู าทัว่ กนั คาถาท่ี ๒๗ ขยายค�ำ ว่า “โก” โกปงั ชะหะติ ปาปะกัง โกธะโกธัญจะ นาสะติ

รตั นมาลี พวงรตั นคณุ ๑๐๘ 24 โกธัง ชะเหติ ธัมเมนะ โกธะนทุ งั นะมามิหงั พระธรรมใด ละความโกรธอนั เปน็ ความชั่วเสียได้ และทำ�ความโกรธของคนโกรธ ใหห้ าย บคุ คลย่อมละความโกรธไดด้ ว้ ยธรรม ขา้ พเจ้าขอนอบน้อมพระธรรมอันบรรเทา ความโกรธได้นน้ั คาถาที่ ๒๘ ขยายคำ�ว่า “ปจั ” ปะปญั จาภิระตา ปะชา ปะชะหติ า ปาปะกา จะโย ปัปโปติ โสติวปิ ุโล ปัชโชตนั ตัง นะมามหิ ัง หม่สู ตั วย์ ินดยี งิ่ นกั ในปปญั จธรรม (คอื ตณั หา มานะ ทิฏฐิ ท่ีถว่ งสัตวใ์ ห้ชกั ชา้ อยู่ ในสังสารวฏั ) บาปธรรม (เครื่องถว่ งสัตว)์ ท้งั หลายนน้ั อันพระธรรมใดละไดแ้ ล้วแท้ ผู้ ใดถงึ พระธรรมนน้ั ผู้นัน้ ยอ่ มเปน็ ผูไ้ พบูลย์ (ใหญ่)ยงิ่ ขา้ พเจา้ ขอนอบน้อมพระธรรมนั้น อนั เป็นสภาพสว่างไสว คาถาท่ี ๒๙ ขยายค�ำ ว่า “จตั ” จะรติ วา พรหมะจะริยงั จตั ตาสะโว วิสชุ ฌะติ จะชาเปนตัง วะ ทาเนนะ จะชันตนั ตัง นะมามิหัง บคุ คลผูส้ ละอาสวะไดเ้ พราะประพฤติพรหมจรรย์ ย่อมหมดจด ข้าพเจา้ ขอนอบ นอ้ มพระธรรมนน้ั อนั เป็นสภาพสละ ยงั สตั วใ์ หส้ ละดว้ ยการให้ทาน คาถาท่ี ๓๐ ขยายค�ำ วา่ “ตัง” ตะโนติ กสุ ะลัง กัมมัง ตะโนติ สพั พะวรี ยิ ัง ตะโนติ สีละสะมาธิง ตะนนั ตงั วะ นะมามิหัง พระธรรมใด แผก่ ารกระท�ำ ที่เปน็ กุศลออกไป ขยายความเพยี รละบาป บำ�เพ็ญ บญุ ออกไป เผยศีลสมาธิ (ปัญญา) ให้ปรากฏออกไป ขา้ พเจา้ ขอนอบน้อมพระธรรมน้ัน อันเปน็ สภาพแผ่ผายไมป่ กปดิ คาถาที่ ๓๑ ขยายค�ำ ว่า “เว”

รัตนมาลี พวงรัตนคณุ ๑๐๘ 25 เวรานิปิ นะ พนั ธันติ เวรงั เตสปู ะสมั มะติ เวรงั เวเรนะ เวรานิ เวระสนั ตัง นะมามิหัง แม้นชนเหลา่ ใดไมผ่ กู เวรไว้ เวรของชนเหล่านัน้ ยอ่ มร�ำ งบั ไป เวรท้ังหลายเปน็ ไป กเ็ พราะจองเวรกัน ข้าพเจา้ ขอนอบน้อมพระธรรมอันเปน็ สภาพสงบเวร คาถาท่ี ๓๒ ขยายคำ�วา่ “ท”ิ ทีฆายโุ ก พะหุปญุ โญ ทีฆะรตั ตงั มะหัพพะโล ทีฆะสเุ ขนะ ปญุ เญนะ ทีฆะรัตตัง นะมามิหงั พระธรรมเปน็ สภาพมอี ายุยนื มีบญุ มาก มีกำ�ลงั ใหญ่อยตู่ ลอดกาลนาน ขา้ พเจา้ ขอนอบนอ้ มพระธรรม อนั ยนื นานอยดู่ ว้ ยบุญทใ่ี หเ้ กดิ สขุ ย่ังยนื คาถาที่ ๓๓ ขยายคำ�ว่า “ตพั ” ตะโต ทกุ ขา ปะมญุ จันโต ตะโต โมเจติ ปาณโิ น ตะโต ราคาทเิ กลเสหิ ตะโต โมกขัง นะมามหิ งั พระธรรมใด เป็นสภาพหลดุ พน้ จากทุกข์นนั้ แต่นน้ั ยังสัตว์ทัง้ หลายให้หลดุ พ้น จากทกุ ข์นน้ั จากกิเลสทงั้ หลายมีราคะเปน็ ตน้ ด้วย ขา้ พเจา้ ขอนอบนอ้ มพระธรรม คือ ความหลุดพน้ จากกเิ ลสและทกุ ขน์ ั้น คาถาท่ี ๓๔ ขยายค�ำ วา่ “โพ” โพธงิ วชิ ชา อุปาคะมิ โพเธติ มัคคะผะลานิ จะ โพธิยา สพั พะธัมมานงั โพธยิ ันตงั นะมามิหัง วชิ ชาเข้าถึงความตรัสรู้ ยังสัตวใ์ ห้ตรสั รู้มรรคผลด้วย ขา้ พเจา้ ขอนอบนอ้ มพระ ธรรมคอื วิชชานนั้ อนั เปน็ เครือ่ งตรัสรู้ โดยร้ไู ณยธรรมทัง้ ปวง คาถาท่ี ๓๕ ขยายค�ำ ว่า “วิญ” วิระติ สพั พะทกุ ขัสมา วิริเยเนวะ ทลุ ละภา วีริยาตาปะสัมปนั นา วิระตนั ตงั นะมามหิ ัง

รัตนมาลี พวงรัตนคุณ ๑๐๘ 26 ความเวน้ จากทกุ ข์ท้งั ปวง จะมไี ดก้ ด็ ว้ ยความเพียรเท่านนั้ บคุ คลทถี่ ึงพร้อมดว้ ย ความเพยี รเผากิเลสหาไดย้ าก ขา้ พเจา้ ขอนอบน้อมพระธรรมนน้ั อนั เปน็ สภาพเวน้ ทกุ ข์ คาถาที่ ๓๖ ขยายค�ำ ว่า “ญู” ญูตญั ญาเณหิ สมั ปันนัง ญูตะโยคะสะมัปปิตงั ญูตัญญาณะทัสสะนญั จะ ญูตะโยคัง นะมามิหัง ขา้ พเจา้ ขอนอบนอ้ มพระธรรม อันเป็นสภาพถึงพรอ้ มด้วยพระสพั พญั ญุตญาณ เพยี บพรอ้ มดว้ ยโยคะ (ความเพยี รประกอบ) เพ่อื ญาณนนั้ ขอนอบนอ้ มพระธรรมคอื ตวั ความรู้เหน็ และความเพียรนนั้ คาถาท่ี ๓๗ ขยายค�ำ วา่ “ห”ี หสี ันติ สัพพะโทสานิ หสี ันติ สพั พะภะยานิ จะ หสี ะโมหา ปะฏสิ สะตา หสี นั ตนั ตัง นะมามหิ ัง ผู้มสี ติเบียนโมหะเสยี ได้ ย่อมเบียนโทษทง้ั ปวง และเบยี นภัยทัง้ ปวงได้ ข้าพเจ้า ขอนอบนอ้ มพระธรรมนนั้ อนั เป็นสภาพเบียนโทษและภัย คาถาท่ี ๓๘ ขยายคำ�วา่ “ติ” ติณโณ โย วฏั ฏะทุกขมั หา ติณณงั โลกานะมตุ ตะโม ติสโส ภมู ี อะติกกันโต ติณณะโอฆัง นะมามหิ งั พระธรรมใดขา้ มจากวฏั ฏทกุ ขไ์ ด้ เปน็ สภาพสูงสดุ แห่งไตรโลก ล่วงเสยี ซึง่ ไตรภูมิ ข้าพเจา้ ขอนอบน้อมพระธรรมน้ันอันข้ามโอฆะได้ คาถาสรุปธรรมคณุ อัฏฐัตตงิ สะ ธมั มะคาถา ธัมมะคุณา สคุ ัมภริ า เอเตสะมานุภาเวนะ โสตถิ เม โหตุ สัพพะทา. ธรรมคาถามี ๓๘ บท ไดแ้ สดงพระธรรมคณุ ไว้อยา่ งลกึ ซ้ึง ดว้ ยอานุภาพแห่ง พระธรรมคณุ ท้ังหลายน้ัน ขอความสวสั ดีจงมแี กข่ า้ พเจา้ ในกาลทัง้ ปวงเทอญ

รตั นมาลี พวงรัตนคณุ ๑๐๘ 27 พระสงั ฆคุณ ๙ หรือ ๑๔ สปุ ะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสงั โฆ ... พระสงฆส์ าวกของพระผูม้ พี ระภาคเจา้ ปฏบิ ตั ิดีแลว้ ... ( ? ) คาถาที่ ๑ ขยายคำ�วา่ “ส”ุ สทุ ธะสเี ลนะ สัมปนั โน สฏุ ฐ โย ปะฏิปันนะโก สนุ ทะโร สาสะนะกะโร สนุ ทะรันตัง นะมามิหงั เป็นผ้ปู ฏิบัตดิ ี เปน็ ผ้ทู �ำ ตามคำ�สอนดี พระสงฆ์ใดถึงพร้อมดว้ ยศีลอันหมดจด ข้าพเจ้าขอนอบนอ้ ม พระสงฆ์น้ัน ซงึ่ เปน็ ผดู้ ี คาถาท่ี ๒ ขยายคำ�วา่ “ปะ” ปะฏสิ มั ภทิ ัปปัตโต โย ปะสฏั โฐ วะ อะนตุ ตะโร ปัญญายะ อตุ ตะโร โลเก ปะสัฏฐันตงั นะมามหิ งั พระสงฆใ์ ดเปน็ ผูถ้ งึ ปฏสิ มั ภทิ า อันบัณฑิตสรรเสรญิ เป็นเยี่ยมแท้ ท่านเป็นผูย้ ่งิ ด้วยปัญญา ขา้ พเจ้าขอนอบนอ้ มพระสงฆน์ ้ัน ผนู้ า่ สรรเสรญิ ในโลก คาถาที่ ๓ ขยายคำ�ว่า “ฏิ” ติตถะกะระชโิ ต สงั โฆ ติตโถ ธโี รวะ สาสะเน ติตถโิ ย พทุ ธวะจะเน ติตถันตงั ปิ นะมามิหงั พระสงฆช์ นะเจา้ ลัทธติ า่ งๆ เปน็ ครผู ้มู ปี ัญญาในพระศาสนาแท้ เปน็ เจา้ ท่าใน พระพทุ ธวจนะ ขา้ พเจ้าขอนอบนอ้ มพระสงฆน์ ัน้ แม้ผ้เู ปน็ ดุจท่า คาถาท่ี ๔ ขยายคำ�ว่า “ปนั ” ปะสฏั โฐ ธมั มะคมั ภีโร ปัญญะวา จะ อะวังกะโต ปัสสนั โต อัตถะธัมมญั จะ ปะสัฏฐังปิ นะมามหิ ัง พระสงฆใ์ ดทรงธรรมอันลกึ น่าสรรเสรญิ ฉลาดและซ่อื ตรง เห็นอรรถเหน็ ธรรม

รัตนมาลี พวงรัตนคุณ ๑๐๘ 28 ข้าพเจา้ ขอนอบน้อมพระสงฆน์ นั้ ผูน้ า่ สรรเสรญิ แท้ คาถาท่ี ๕ ขยายค�ำ วา่ “โน” โน เจติ กุสะลัง กัมมงั โน จะ ปาปัง อะการะยิ โนนะตงั พุชฌะติ ธมั มงั โนทสิ ันตัง นะมามิหัง พระสงฆใ์ ดไมส่ ร้างกศุ ลกรรม ทัง้ ไมท่ ำ�บาปดว้ ย (คอื ละทง้ั บุญและบาป) รูธ้ รรม อนั ไมท่ ราม ขา้ พเจ้าขอนอบนอ้ มพระสงฆน์ ้ัน ผไู้ ม่เปน็ ศตั รกู บั ใคร คาถาท่ี ๖ ขยายค�ำ ว่า “ภะ” ภคั คะราโค ภคั คะโทโส ภคั คะโมโห จะ ปาณินงั ภญั ชะโก สัพพะเกลสานงั ภะคะวันตัง นะมามิหงั พระสงฆ์ใดเปน็ ผหู้ ักราคะ หักโทสะ หกั โมหะแลว้ และชว่ ยหกั กิเลสทัง้ ปวงของ สตั วท์ ัง้ หลายดว้ ย ขา้ พเจ้าขอนอบน้อมพระสงฆ์น้นั ซ่งึ เปน็ ผ้มู โี ชค คาถาท่ี ๗ ขยายคำ�วา่ “คะ” คัจฉันโต โลกยิ งั ธัมมงั คัจฉนั โต โลกุตตะรมั ปจิ ะ คะโตเยวะ กิเลเสหิ คะมติ ันตงั นามาะมหิ งั พระสงฆ์ใดได้บรรลุทงั้ โลกยิ ธรรม ท้งั โลกตุ รธรรม เปน็ ผ้ไู ปเสียจากเคร่อื งเศร้า หมองทงั้ หลายเทียว ข้าพเจ้าขอนอบน้อมพระสงฆน์ ้ัน ผไู้ ปเสียจากเครือ่ งเศร้าหมองแลว้ คาถาที่ ๘ ขยายคำ�วา่ “วะ” วัณเณติ กุสะลัง ธัมมัง วัณเณติ สีละสัมปะทงั วัณเณติ สีละรกั ขติ งั วัณณิตนั ตงั นะมามหิ ัง พระสงฆใ์ ดสรรเสริญกุศลธรรม สรรเสรญิ ความถึงพรอ้ มแห่งศีล สรรเสรญิ ผู้ รกั ษาศลี ข้าพเจา้ ขอนอบน้อมพระสงฆ์น้ัน ผู้สรรเสรญิ ธรรมอนั ควรสรรเสรญิ คาถาที่ ๙ ขยายคำ�วา่ “โต”

รัตนมาลี พวงรตั นคุณ ๑๐๘ 29 โตเสนโต เทวะมะนสุ เส โตเสนโต ธัมมะเทสะยิ โตเสติ ทุฏฐะจติ เตปิ โตเสนตนั ตัง นะมามหิ งั พระสงฆ์ใดยังเทวดาและมนุษยท์ งั้ หลายใหย้ ินดีในธรรม แสดงธรรมให้พอใจคน ฟัง ยงั คนทแี่ ม้เปน็ คนที่คิดรา้ ยใหก้ ลายกลบั เป็นยินดพี อใจ ขา้ พเจ้าขอนอบน้อมพระสงฆ์ นั้น ผู้ปลุกปลอบใจคน คาถาท่ี ๑๐ ขยายคำ�วา่ “สา” สาสะนัง สัมปะฏิจฉันโน สาสนั โต สวิ ะคามนิ ิง สาสะนะมะนุสาสนั โต สาสันตนั ตงั นะมามิหัง พระสงฆใ์ ดรบั เอาพระศาสนาไว้ แนะนำ�ทางไปนพิ พาน พร�ำ่ สอนพระศาสนาอยู่ เสมอ ข้าพเจา้ ขอนอบน้อมพระสงฆ์นั้น ผูแ้ นะน�ำ ส่ังสอน คาถาที่ ๑๑ ขยายคำ�ว่า “วะ” วันตะราคงั วันตะโทสัง วันตะโมหัง สุทิฏฐกิ งั วันตญั จะ สัพพะปาปานิ วันตะเกลสัง นะมามหิ ัง ข้าพเจา้ ขอนอบน้อมพระสงฆผ์ มู้ ีความเห็นชอบ คายราคะ คายโทสะ คายโมหะ คายกเิ ลสบาปธรรมท้งั ปวง คาถาที่ ๑๒ ขยายคำ�วา่ “กะ” กะโรนโต สลี ะสะมาธิง กะโรนโต สาระมตั ตะโน กะโรนโต กมั มะฐานานิ กะโรนตนั ตัง นะมามหิ ัง พระสงฆ์ใดบำ�เพ็ญศลี สมาธิ สรา้ งสาระของตนขนึ้ ทำ�พระกรรมฐานตา่ งๆ ขา้ พเจ้าขอนอบน้อมพระสงฆ์นน้ั ผเู้ ป็นนกั ทำ� คาถาท่ี ๑๓ ขยายคำ�วา่ “สัง” สงั สาเร สังสะรันตานัง สงั สาระโต วิมุจจิ โส สังสาระทุกขา โมเจสิ สังสทุ ธนั ตัง นะมามิหงั

รัตนมาลี พวงรตั นคณุ ๑๐๘ 30 เมอ่ื สตั วท์ ง้ั หลายมวั ทอ่ งอยใู่ นสงสาร พระสงฆ์ทา่ นหลุดพน้ จากสงสารไปแลว้ ยังช่วยสัตวท์ ัง้ หลายให้พน้ จากทุกขใ์ นสงสารดว้ ย ขา้ พเจ้าขอนอบน้อมพระสงฆน์ ้นั ผู้ บริสุทธ์ิพรอ้ ม คาถาที่ ๑๔ ขยายค�ำ ว่า “โฆ” โฆระทกุ ขกั ขะยัง กัตวา โฆสาเปติ สุรัง นะรงั โฆสะยิ ปฏิ ะกตั ตะยงั โฆสะกันตัง นะมามิหัง พระสงฆ์ใดทำ�ความสน้ิ ทกุ ขอ์ ันเป็นสง่ิ พึงกลวั (แกเ่ ทวดาและมนษุ ย์) แล้วยงั เทวดาและมนุษย์ให้ช่วยกันโฆษณาประกาศพระไตรปฎิ ก ขา้ พเจา้ ขอนอบนอ้ มพระสงฆ์ นัน้ ผ้เู ปน็ นกั โฆษณา คาถาสรปุ สังฆคณุ จะตุททะสะ สงั ฆะคาถา สังฆะคณุ า สคุ มั ภิรา เอเตสะมานภุ าเวนะ โสตถิ เม โหตุ สัพพะทา สงั ฆคาถามี ๑๔ บท ได้แสดงพระสงั ฆคุณไวอ้ ยา่ งลกึ ซึ้ง ดว้ ยอานุภาพแหง่ พระ สงั ฆคุณเหล่านน้ั ขอความสวสั ดีจงมีแก่ขา้ พเจา้ ในกาลทง้ั ปวงเทอญ คาถาสรปุ พระรัตนคณุ ๑๐๘ ฉัปปัญญาสะ พุทธะคณุ า ธัมมะคุณา อฏั ฐะติงสะติ สังฆคณุ า จะ จุททะสะ อฏั ฐุตตะระสะเต อเิ ม ทิเน ทิเน สะระเตปิ โสตถี โหนติ นิรนั ตะรันติ. พระพทุ ธคณุ ๕๖ บท พระธรรมคุณ ๓๘ บท และพระสังฆคณุ ๑๔ บท รวมเปน็ พระรตั นคณุ ๑๐๘ บทนี้ แมน้ ผ้ใู ดสวดได้ทุกๆวัน ความสวัสดีย่อมมีแกผ่ ู้นน้ั เป็นนิรันดร รตนมาลี จบ

รตั นมาลี พวงรตั นคณุ ๑๐๘ 31