Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore บ้านสวนอิ่มใจ

บ้านสวนอิ่มใจ

Description: บ้านสวนอิ่มใจ

Search

Read the Text Version

สวนอ่ิมใจ...บ้านอ่ิมสขุ ดว้ ยความปรารถนาดีจาก บริษัท ศภุ าลัย จำ�กดั (มหาชน) บริษัท ศุภาลยั พรอพเพอร์ตี้ แมเนจเม้นท์ จำ�กดั บริษัท หาดใหญน่ ครนิ ทร์ จำ�กัด บริษัท ศุภาลยั อิสาน จำ�กัด บรษิ ทั ภูเก็ต เอสเตท จำ�กดั

จากใจ...ศภุ าลยั เพราะนิยามของ ‘ศภุ าลัย’ คือ ‘บ้านท่ดี ’ี และ ออกแบบสวน คอื รศ.ศศยิ า ศริ พิ านชิ และ ผศ.ดร. เสรมิ ศริ ิ บา้ นทด่ี ี ยอ่ มหมายถงึ บา้ นทอ่ี ยแู่ ลว้ มคี วามสขุ อนั เปน็ จันทร์เปรม อาจารย์ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตร จดุ เรม่ิ ตน้ ของการสรา้ งสรรคส์ งั คมทม่ี คี ณุ ภาพ โดยเรม่ิ ก�ำแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขต จากการสรา้ งความสขุ และคณุ ภาพชวี ติ ทด่ี ใี หก้ บั สงั คม ก�ำแพงแสน นครปฐม ซ่ึงนอกเหนอื จากความรคู้ รบ หนว่ ยเลก็ ๆ ในบา้ นเปน็ พน้ื ฐาน เราจงึ ให้ความส�ำคญั กระบวนการออกแบบสวนครวั และขน้ั ตอนการปลกู พชื กับทุกรายละเอียดของสร้างสรรค์บ้านที่ดีเพ่ือสมาชิก โดยกูรูทั้งสองท่านแล้ว ผู้อ่านจะได้รับความรู้ว่า พืช ครอบครัวศุภาลัยมาอย่างต่อเน่ือง ให้ตอบโจทย์ทุก สวนครัวในบ้านของเราน้ัน นอกจากเป็นอาหาร ยังมี บริบทความเปล่ียนแปลงของสังคม ควบคู่ไปกับการ คณุ ประโยชนท์ างสมนุ ไพร ทใี่ ชบ้ ำ� รงุ รา่ งกายและบำ� บดั มีจิตส�ำนึกในการอนุรักษ์พลังงานและการอนุรักษ์ รักษาโรค อันเป็นข้อมูลดีๆ ท่ีได้จากศูนย์สารสนเทศ สง่ิ แวดลอ้ มทางธรรมชาติ ทำ� ให้ ‘บา้ นทดี่ ’ี ของ ศภุ าลยั สมนุ ไพร รพ.อภยั ภเู บศร ซงึ่ เปน็ สถาบนั ทมี่ ชี อื่ เสยี งดา้ น เปน็ ทัง้ ‘บ้านทม่ี คี วามสขุ ’ และเปน็ ‘บา้ นรกั ษโ์ ลก’ แพทย์แผนไทยในระดบั สากล การปลูกพืชผักสวนครัวในบ้าน ก็เป็น ‘ศุภาลัย’ หวังเป็นอย่างยิ่งว่า สาระประโยชน์ หนทางหน่ึงในการมีชีวิตที่ดี ควบคู่ไปกับการสร้าง และสุนทรียภาพที่ทุกท่านได้รับอย่างเต็มอิ่ม จาก สิ่งแวดล้อมท่ีดี การให้ความรู้เร่ืองการปลูกพืชผัก หนังสอื ทีอ่ ภนิ นั ทนาการด้วยใจเล่มน้ี จะเปน็ ส่วนหนง่ึ สวนครัวในหนังสือเล่มนี้ จึงเป็นการรวมสิ่งดีๆ ที่ ในการสร้างแรงบันดาลใจ และจุดประกายความคิด ‘ศภุ าลยั ’ อยากใหก้ บั สงั คม เพอ่ื เสรมิ สรา้ งความสมั พนั ธ์ สร้างสรรค์สวนครัวที่สวยงามและมากประโยชน์ เพ่ือ ของครอบครวั ดว้ ยกจิ กรรมทำ� สวนรว่ มกนั และเพอื่ สรา้ ง คณุ ภาพชวี ติ ท่ดี ี ส�ำหรับทุกครอบครัว และทสี่ ำ� คัญยงิ่ แรงบนั ดาลใจใหท้ กุ ครอบครวั ในการสรา้ งแหลง่ อาหาร คือเป็นการด�ำเนินตามแนวทางพระราชด�ำริตามหลัก ทสี่ ด-สะอาด-ปลอดภยั ไวใ้ นบา้ น การทำ� สวนครวั ยงั เปน็ ปรชั ญาแนวคดิ เศรษฐกจิ พอเพยี ง เพอ่ื ใหค้ นไทยทกุ คน ช่องทางการลดรายจ่ายในครัวเรือน อีกท้ังยังเป็น มคี วามสขุ อยา่ งอมิ่ เอมและยง่ั ยืนตลอดไป การสร้างรากฐานทางความคดิ ทด่ี ใี หก้ บั เยาวชน ปลูกผกั ปลกู รัก ปลกู สขุ และที่พิเศษยิ่งไปกว่านั้นคือ หนังสือเล่มนี้ยัง แสนสนุก ทกุ บา้ น งานทำ� สวน เปล่ียนโลกทัศน์ของการท�ำสวนครัวแบบเดิมๆ ท่ีเคย ผลผลติ มากคุณค่า น่าเชญิ ชวน เปน็ เพยี งสวนในมมุ ลบั ตา มาสกู่ ารทำ� สวนครวั แบบใหม่ เพลินทำ� สวน ได้ทั้งยา อาหารดี ทส่ี ดใสสวยงาม มคี ณุ คา่ ทางสนุ ทรยี ภาพไมด่ อ้ ยไปกวา่ สวนไม้ประดับ ด้วยการสาธิตรูปแบบการจัดสวนครัว ด้วยความปรารถนาดี ประดับลงในสถานที่จริงให้เห็นว่า พืชผักสวนครัวน้ัน บริษัท ศุภาลัย จำ�กดั (มหาชน) สามารถน�ำมาสร้างสรรค์แบบสวนยอดนิยมได้หลาย สไตล์ ทงั้ สวนองั กฤษ สวนวนิ เทจ โดยผา่ นการถา่ ยทอด ความรู้จากกูรูระดับนักวิชาการผู้เช่ียวชาญด้านการ

คำ�นำ�ผู้เขียน หนังสือเล่มนี้เกิดขึ้นจากแรงใจของ บมจ. ศุภาลัย โดย ดร.ประทีป ตั้งมติธรรม เปน็ แกนนำ� แนน่ อนคะ่ วา่ ตอ้ งมคี นอกี จำ� นวนไมน่ อ้ ยทร่ี ว่ มลงมอื ลงแรงผลติ หนงั สอื เลม่ น้ี ดฉิ นั รศ.ศศิยา ศิริพานิช (อ.จิ๊ด) ชอบด้านการออกแบบจัดสวน และ ผศ.ดร.เสริมศิริ จันทร์เปรม (อ.เอ๋) ชอบด้านการปลูกผัก เม่ือเรา 2 คน รวมกันจึงสร้างสวนครัวท่ีทั้งสวยและปลูกพืช ได้รอด เรยี กว่า จากสวนสโู่ ต๊ะอาหาร (From Kitchen Garden to Table) เลยทเี ดยี ว จึงได้ รบั เกยี รตอิ นั มคี า่ ครง้ั นใ้ี หเ้ ปน็ ผลู้ งมอื เขยี นบรรยายความใหท้ กุ ทา่ นมองเหน็ ความสขุ ขา้ งๆ กาย ได้ง่ายๆ ในบ้านของทุกคน แนวคิดการปลูกสวนครัวในบ้านนั้นมีมาช้านานคู่ครัวคนไทย เพยี งแต่รูปแบบทีเ่ หมาะกับความเป็นอยู่แตล่ ะแหง่ แตกต่างกันไปบา้ ง หนงั สอื เล่มน้จี งึ มงุ่ เนน้ ท่ีจะนำ� ทางการสร้างสวนครัวในบา้ นศภุ าลัย โดยสร้างสวนตัวอยา่ งใหเ้ หน็ กนั ท้ังในบ้านเดีย่ ว และในคอนโดมิเนียม เพอื่ ใหท้ กุ ครอบครวั มีความหวังและความเช่ือวา่ สวนครัวทำ� ได้ทกุ ที่ กอ่ นหนา้ นดี้ ฉิ นั กบั เพอื่ นรว่ มงานเขยี นหนงั สอื สวนสวยชว่ ยครวั ทเ่ี นน้ ใหน้ สิ ติ นกั ศกึ ษา ใชป้ ระกอบการเรยี นดา้ นการออกแบบจดั สวน และอกี เลม่ ใหบ้ า้ นและสวน เรอ่ื งสวนสวยกนิ ได้ เนอื้ หาพาไปปลกู ผกั ไดจ้ รงิ ๆ ดงั นนั้ พนื้ ฐานทางทฤษฎยี อ่ มเหมอื นกนั แตกตา่ งกนั ทชี่ นดิ พชื ท่ี เหมาะกับพื้นที่ แบบสวนที่เห็นชัดเจนถูกก่อสร้างมาให้จับต้องได้ และเราจะเพิ่มเนื้อหาด้าน ผู้สูงวัยให้ด้วย เพราะท่ัวโลกก�ำลังเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ (Aging Society) เราท้ัง 2 คน หวงั อยา่ งยงิ่ ว่าหนังสือเลม่ น้ีจะมีชีวิตจริงให้กบั ทุกท่านได้ตอ่ ไป รศ. ศศิยา ศิรพิ านชิ ผศ.ดร. เสริมศิริ จันทรเ์ ปรม อาจารยภ์ าควิชาพืชสวน คณะเกษตร กำ�แพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำ�แพงแสน นครปฐม

สารบญั บทท่ี 1 7 บทที่ 2 ผลติ สวน • ผลติ สขุ ออกแบบสวน ความสุขในครอบครวั ออกแบบความสขุ 9 บทท่ี 3 25 ผงั สวนครวั จากเมนโู ปรด บทท่ี 4 41 พืชผักนานาพันธ์ุ สานสมั พันธใ์ นครอบครัว บทท่ี 5 53 รจู้ ริง รใู้ จ พนั ธไุ์ มส้ วนครัว 69 บทท่ี 6 บทที่ 7 ปยุ๋ และปยุ๋ วิเศษ พชื พรรณแห่งชีวิต 75 จากสวนครวั ...สสู่ มุนไพร บทที่ 8 103 เมนูจากสายสัมพันธ์ ของครอบครัว บทที่ 9 127 ของขวญั จากสวนสวย 135 ฤดกู าลแหง่ ความสุข ประวัตผิ เู้ ขยี น 138 สงวนลขิ สทิ ธิ์ ตามพระราชบญั ญตั ลิ ิขสิทธ์ิ พ.ศ. 2554 สถานทจี่ ดั สวนครวั ตวั อยา่ ง : หา้ มลอกเลยี นแบบสว่ นหนงึ่ สว่ นใดของหนงั สอื เลม่ นี้ รวมทงั้ การจดั เกบ็ ถา่ ยทอด ไมว่ า่ รปู แบบ โครงการศุภาลัย เวลลงิ ตัน หรือวิธีการใดๆ ด้วยกระบวนการทางอิเล็กทรอนิกส์ การถ่ายภาพ การบันทึก หรือวิธีการ อ่นื ใดโดยไมไ่ ด้รบั อนุญาต โครงการศภุ าลยั วลิ ล์ เพชรเกษม 69 จดั ท�ำโดย : ฝ่ายโฆษณาและประชาสมั พันธ์ บริษทั ศุภาลัย จำ� กัด (มหาชน)

บทที่ 1 ผลติ สวน ผลติ สขุ ความสขุ ในครอบครวั รศ. ศศิยา ศริ ิพานชิ สวนอิม่ ใจ...บา้ นอ่มิ สขุ | 7

ความสุข (Happiness) เป็นค�ำท่ีไม่มีค�ำ ทีนี้กลับมาดูกิจกรรมของครอบครัวตามปกติ อธบิ ายได้จริง เพราะความสขุ เกิดข้ึนเองทใี่ จเรา ดิฉนั ถึงดูจะไม่มีอะไรมากแต่มีค่ามากๆ เลย ขอเร่ิมจาก รู้แต่ว่าจุดแรกในชีวิตเราอยู่กับพ่อแม่พี่น้อง รวมกัน การนอน ตน่ื เชา้ กนิ อาหารเชา้ ออกไปทำ� ภารกจิ เผชญิ เปน็ ครอบครวั ซง่ึ วยั เยาวข์ องแตล่ ะคนจะผา่ นทง้ั เรอ่ื งดี กบั สง่ิ ตา่ งๆ ภายนอกบา้ น กลบั บา้ น (ตดิ บนถนนนาน เรอื่ งรา้ ยมากนั ทงั้ นนั้ หากแตเ่ มอื่ เรามคี นคอยชว่ ยเหลอื แสนนาน) ถึงบ้านก็กินข้าวเย็น ซึ่งคนไทยใช้เวลากับ ใหค้ ำ� แนะนำ� เปน็ กำ� ลงั ใจให้ เราจะผา่ นพน้ เรอ่ื งเหลา่ นน้ั ม้ือเย็นมากเป็นพิเศษ น่ังคุยกันถึงส่ิงท่ีไปเจอมาใน ร่วมกับเขา ไม่ว่าผลท่ีได้จะดีหรือร้ายเราก็ยังรู้สึกมี วันๆ คยุ เรื่องอน่ื ๆ เชน่ วางแผนไปเที่ยว แผนจัดงาน ความสุขได้ ไม่ใช่เรื่องแปลกเลยนะคะที่เราจะรู้สึก เชิญแขกเหรื่อ ต่างๆ ท�ำให้ครอบครัวใกล้ชิดกัน การ อย่างน้ัน เพราะโดยพื้นฐานแล้วมนุษย์เป็นสัตว์ที่ พูดคุยกันทุกเรื่องช่วยให้ครอบครัวเป็นปึกแผ่นจริงๆ อ่อนแอช่วยตัวเองไม่ได้ ต่างจากสัตว์ชนิดอื่นๆ ที่เกิด นะคะ ดังน้ันเมื่อดิฉันจะชักชวนทุกบ้านมาท�ำสวน มาตอ้ งชว่ ยตวั เองใหไ้ ด้ มฉิ ะนน้ั จะไมส่ ามารถรอดชวี ติ ครัว ทุกครอบครัวก็คงต้องพูดคุยกันนะคะ เพื่อให้ได้ เมื่อเราเกดิ มาจงึ เหน็ ครอบครัวอย่ขู า้ งๆ ความสมัครใจ ความต้องการของทุกคน ก่อนท่ีจะน�ำ ไปหาความพงึ ใจ และความสุขได้ในทส่ี ุด ถา้ ผอู้ า่ นอยากไดค้ วามสขุ ละก็ ครอบครวั เลยคะ่ เป็นอันดับแรก หากถามดิฉันว่า ครอบครัวมีความสุข เริ่มชักชวน...การท�ำสวนครัวท�ำได้ทุกเวลา ได้ยังไง ดิฉันดูจากตัวเองก่อนเลย เพราะดิฉันจดจ�ำ โดยเฉพาะเวลาวา่ งวนั เสาร์ อาทติ ย์ วนั หยดุ นกั ขตั ฤกษ์ ความสุขเหล่าน้ันได้ดี พ่อแม่จัดเวลาชีวิตให้ลูกๆ มี ต่างๆ ซ่ึงบ้านเรามีวันพิเศษเหล่าน้ีพอสมควรทีเดียว ความผูกพนั กบั ญาติมิตรโดยตลอด รวมทง้ั ใหเ้ พอ่ื นๆ ครอบครัวท�ำอะไรกันได้บ้าง บางครอบครัวออกเที่ยว ลูกมาเที่ยวที่บ้านมาทานอาหารกันเสมอเพราะแม่ท�ำ ห้างช้อปปิ้ง ไปสถานท่ีท่องเท่ียวต่างๆ แต่สุดท้าย อาหารเก่ง และท่านอยากรู้จักสังคมของลูกๆ รวมทั้ง กก็ ลบั มาบา้ น ดังนั้น ดฉิ นั เลยเสนอให้มารว่ มกันปลูก ดึงลูกให้อยู่บ้านด้วย เกิดเป็นวัฒนธรรม ของคนไทย ผกั สวนครัวกนั ดไี หม เพราะ ไดอ้ ยู่ดว้ ยกนั ไดผ้ ลผลิต โบราณ “ไปมาลาไหว้” โดยลูกๆ ไม่ทันรู้ตัว ท่านยัง ทสี่ ะอาดปลอดภยั ไวบ้ รโิ ภคตลอดปี ไดอ้ อกก�ำลังกาย ท�ำใหล้ กู ๆ มีความสนุกสนานพึงใจในการเลน่ โดยให้ เคลอ่ื นไหวสว่ นตา่ งๆ ของรา่ งกาย ไดท้ ำ� อาหารทภ่ี มู ใิ จ เล่นกีฬาและเครื่องดนตรีสารพัดอย่างจนเราหากีฬา ว่าเราปลูกเองซ่ึงไม่ว่าจะออกมาแบบไหนเราก็รู้สึกว่า และเครอ่ื งดนตรที ช่ี อบได้ เรยี กวา่ ตามความสมคั รใจเลย อร่อย ได้พืชผักผลไม้ไว้เผื่อแผ่เพื่อนๆ ได้ช่วยกัน ดงั นน้ั ดฉิ นั จงึ รสู้ กึ ผอ่ นคลายเมอ่ื อยบู่ า้ น ไมม่ อี ะไรตอ้ ง รักษ์โลกเพราะเราไม่ใช้สารเคมี ปุ๋ยเคมี ยาฆ่าแมลง ปดิ บงั เขา สามารถเปิดเผยทุกอยา่ งกับเขาได้ ลดการใช้พลังงานฟอสซิลหรือน�้ำมันเพราะไม่ต้อง ขบั รถออกไปตลาดหรอื ไปกนิ ขา้ ว ชว่ ยลดโลกรอ้ นเพราะ มีพ้ืนท่ีสีเขียว เห็นไหมคะมีแต่ส่ิงดีๆ เกิดข้ึนเมื่อเรา ลงมือท�ำสวนครัวกันเองในบ้าน ถ้าใครเห็นประโยชน์ มากกวา่ นี้ ช่วยกระซบิ บอกดว้ ยนะคะ..ยนิ ดคี ะ่ 8 | สวนอมิ่ ใจ...บา้ นอม่ิ สุข

บทที่ 2 ออกแบบสวน ออกแบบความสขุ รศ. ศศยิ า ศิรพิ านชิ สวนอิ่มใจ...บ้านอิม่ สุข | 9

สวนครัวคู่คน เมอ่ื มองความเป็นมาของสวนครวั จะพบวา่ ทุกประเทศในโลกตอ้ งมสี วนครวั ค่ะ สมัยยุคไดโนเสาร์ มีมนุษย์แล้ว แต่อาศัยอยู่ถ�้ำอยู่ป่า ความที่เรามีสมองใหญ่เมื่อเทียบกับขนาดตัว เราจึงมีความฉลาดมาก เกนิ สตั วช์ นดิ อน่ื ๆ ในโลก เราคดิ ไดว้ า่ เราสามารถสรา้ งทอ่ี ยคู่ มุ้ แดดฝนพายไุ ด้ จากนน้ั กเ็ รม่ิ จบั สตั วม์ าเลย้ี ง ใกลบ้ า้ นแทนการออกไปลา่ บอ่ ยๆ ตามมาดว้ ยการปลกู พชื กนิ เอง พดู งา่ ยๆ คอื เกดิ การเกษตรกรรมในโลก การมีอาหารบริโภคใกล้ตัวจึงซึมซาบในสายเลือดเรามานานแสนนาน จนเม่ือมนุษย์เพ่ิมจ�ำนวนอย่าง รวดเร็วเกินกว่าจะปลูกกันเล็กๆน้อยๆ ได้ ก็เกิดระบบการผลิตขนาดใหญ่ ที่สร้างปัญหาต่างๆ ตามมา มากมาย เลยขอเล่าเร่ืองสไตล์สวนพอสงั เขปตรงนี้ต่อเลยนะคะ... นานมาแล้วต้ังแตโ่ บราณกาล เอาตั้งแตม่ นษุ ยม์ อี ารยธรรมแล้ว จากอียปิ ต์ จนถงึ Renaissance และ Baroque มนษุ ยย์ งั เกาะตดิ กบั รปู รา่ งพนื้ ฐานคอื รปู สเ่ี หลย่ี มเปน็ หลกั ดงั นน้ั สไตลส์ วนจงึ มรี ปู รา่ งเปน็ สเ่ี หลย่ี มมาโดยตลอด แตกตา่ งกนั ตามสาเหตทุ ไ่ี มเ่ หมอื นกนั เรม่ิ จาก อยี ปิ ต์ จากภาพฝาผนงั บา้ นทม่ี สี วน มกั เปน็ กษตั รยิ แ์ ละพวกคหบดี มรี วั้ สงู ลอ้ มรอบเพอ่ื บดบงั ววิ ทะเลทรายทท่ี ำ� ใหร้ สู้ กึ ถงึ ความรอ้ น การจดั วาง องค์ประกอบ บ้าน บ่อน้�ำ เปน็ แบบสมมาตร คือ ประตตู รงกลางพาเดินตรงเข้าส่บู า้ น แบง่ พ้นื ทอี่ อกเปน็ 2 ขา้ ง ทจ่ี ดั วางทกุ อยา่ งเหมอื นกนั ทเี่ ปน็ จดุ เดน่ คอื การสรา้ งสวนเลยี นแบบตานำ�้ กลางทะเลทราย (oasis) โดยมีบ่อน้�ำปลูกไม้น�้ำ และการปลูกต้นไม้ใหญ่พวกอินทผลัม ส้ม และซุ้มองุ่น ให้ร่มเงา เหมือนอย่างที่ พบเหน็ ในโอเอซิสกลางทะเลทราย 10 | สวนอม่ิ ใจ...บ้านอ่ิมสขุ สวนอียปิ ต์ ท่ีมา : http://www.studiogblog.com/ garden-styles/pools/egyptian-gardens/

ธารน�ำ้ หรือทางเดินเทา้ ตัดกนั เป็นรปู กากบาท และลวดลายแกะสลกั เปน็ ลกั ษณะเดน่ ของสวนเปอร์เซีย พอชาวเปอร์เซียมาพบเห็นสวนอียิปต์จึง ผ่านเข้าสู่ยุโรป จริงๆ มีท้ังกรีกและโรมัน ที่ น�ำรูปแบบนี้ไปใช้ แต่มีแนวคิดสร้างความโดดเด่นที่ ถึงแม้กรีกจะไม่มีรูปแบบสวน (garden) ท่ีชัดเจน แตกตา่ งไป โดยปรบั รูปแบบตามความเช่ือทางศาสนา แต่เป็นต้นแบบสถาปัตยกรรมคลาสสิคที่ตกทอดมา อิสลาม สวนยังเป็นรูปสี่เหลี่ยม แต่เพิ่มแกนตัดขวาง ถึงปัจจุบัน และสมัยในโรมันเกิดความก้าวหน้าด้าน อีก 1 แกน เกิดเป็นรูปกากบาท (cross) เพ่ือส่ือถึง วิศวกรรมท่ีพลิกโฉมการก่อสร้างด้วยการค้นพบ สรวงสวรรค์ (paradise) ทม่ี ี 4 สว่ น แกนทง้ั 2 ถกู สรา้ ง คอนกรตี ทำ� ใหม้ นษุ ยส์ ามารถสรา้ งรปู รา่ งรปู ทรงโคง้ ขน้ึ ได้ เป็นรางน�ำ้ เล็กๆ สวนอสิ ลาม (Islamic garden) เน้น ดงั ทเ่ี ราเหน็ โครงสรา้ งรปู โดมหลงั คาโบสถข์ นาดใหญน่ อ้ ย การใช้น�้ำทั้งน�้ำตกน�้ำพุ เพื่อให้เสียงน�้ำช่วยผ่อนคลาย ในยุโรป สวนยุคโรมันเป็นสวนที่มีอาคารหรือตัวบ้าน ความรู้สึกของความร้อนรอบตัว ยังพบเห็นก�ำแพงสูง ล้อมรอบ มีหลังคาจั่วที่ยื่นชายคายาวเพื่อป้องกันฝน ไว้บดบังทะเลทราย มีการปลูกส้มที่มีดอกหอมกรุ่น จึงมีเสาค�้ำชายคาเรียงรายเป็นระยะ (Peristyle) สวน จุดเด่นอีกประการคือลวดลายแกะสลัก (filigree) ที่ รปู สเี่ หลยี่ มผนื ผา้ อยตู่ รงกลาง มอี งคป์ ระกอบแบบโรมนั สละสลวยตระการตาของเปอรเ์ ซยี หรอื สวนแบบอสิ ลาม รายลอ้ ม รปู แบบนสี้ ง่ ตอ่ ไปยงั สวนยคุ กลาง (Medieval) (Islamic garden) ที่มีก�ำเนิดในวัดตามลักษณะการปกครองในยุคนั้น ที่พระมีความรู้ทุกศาสตร์รวมทั้งการแพทย์ จุดเด่นจึง เป็นการสร้างสวนรูปสี่เหล่ียมอยู่ใจกลางวัด ล้อมรอบ สวนอ่มิ ใจ...บ้านอ่ิมสขุ | 11

ดว้ ยอาคาร 4 ดา้ น (Cloistered garden) ปลกู สมนุ ไพร การปกครองรปู แบบนก้ี นิ เวลายาวนานจนเขา้ สู่ ไม้ผล และผัก ไว้ท�ำยาเพื่อไม่ให้คนภายนอกเข้ามา ยคุ มดื (Dark ages) ทค่ี วามเจรญิ ทางวทิ ยาการตา่ งๆ น�ำเอาตัวยาเหล่านี้ออกไปได้ง่าย ส่วนสวนเพื่อความ หยุดชะงักลง ความมืดมนปกคลุมยุโรปอยู่นานมาก ส�ำราญมกั อยูใ่ นวงั ลกั ษณะมีก�ำแพงปิดล้อมหลายช้ัน จนเขา้ สยู่ คุ เรอเนสซองส์ (Renaissance) หรอื ยคุ ฟน้ื ฟู สงู ขนึ้ ๆ ตามระดบั ความสงู ของภเู ขาเพอ่ื ปอ้ งกนั ขา้ ศกึ ศลิ ปะ วทิ ยาการความกา้ วหนา้ ตา่ งกลบั มามชี วี ติ อยา่ ง ภายนอก วงั จงึ มกั ตง้ั อยบู่ นยอดเขา การวางแนวถนน รวดเรว็ ทำ� ใหส้ วนในยคุ นโี้ ดดเดน่ มาก เกดิ รปู แบบสวน ซับซ้อนไม่มีระบบเพือ่ ใหข้ ้าศกึ บกุ ถึงจุดสำ� คญั ได้ช้าลง แบบประดิษฐ์ (Formal garden) สวนมกี ารใช้รปู ทรง (หากท่านใดดู Lord of the Rings เวลาที่ Gandalf เรขาคณิตท่ีชัดเจนมากเพราะเน้นความเป็นทางการ ขมี่ า้ เขา้ วงั จะเหน็ ความซบั ซอ้ นของเสน้ ทางทเี่ หมอื นใน เกดิ จากการทก่ี ษตั รยิ ใ์ นสมยั นน้ั ตอ้ งการประกาศความ ยคุ กลาง) จากพรมทอขนาดใหญแ่ ขวนผนงั (tapestry) ยงิ่ ใหญร่ ำ�่ รวย สง่ ผลใหว้ งั และสวนมขี นาดใหญ่ รปู แบบ ท่ียุคน้ันนยิ มทอเป็นเร่อื งราวและทศั นยี ภาพ จึงพบวา่ คอื มแี กนกลางชดั เจน ทำ� ใหก้ ารจดั จดุ เดน่ ทกุ อยา่ งอยบู่ น สวนเป็นสถานที่ร่ืนรมย์ มีก�ำแพงปิดล้อมเป็นช้ันๆ แกนนี้ พนื้ ทถ่ี กู เปดิ โลง่ ทำ� ใหม้ องเหน็ ไดไ้ กล แกนกลางน้ี เช่นเดียวกับภายนอก เพียงแต่ขนาดเล็กลง คนในรูป แบง่ พน้ื ทอ่ี อกเป็น 2 ขา้ งท่เี หมือนกันทุกอย่างเหมอื น พลอดรกั กนั เลน่ ดนตรี อยใู่ นสวนสวยงาม จงึ เหน็ ไดว้ า่ ส่องกระจก (mirror effect) องค์ประกอบจัดวางเป็น สวนเป็นสงิ่ มคี ่าในยคุ นั้น จังหวะสม�่ำเสมอเท่าๆ กนั มแี นวคิด (concept) ของ Peristyle กลางบ้าน สวนยคุ กลางแบง่ ออกเป็นช้ันๆ ดว้ ยกำ�แพง Vettii, Pompei, Italy เช่นเดยี วกบั ลักษณะการป้องกันเมืองดา้ นนอก ที่มา : http://www.scu.edu/stclaregarden/ 12 | สวนอิ่มใจ...บา้ นอ่มิ สุข stclare/medievalgardens/

ความยั่งยืนตลอดกาล (forever) จึงใช้ส่ิงก่อสร้างแข็ง ทอ่ี ายยุ นื นานกวา่ ตน้ ไมเ้ ปน็ โครงหลกั ในสวน มที ง้ั ทาง เดนิ บนั ได ลกู กรงระเบยี ง นำ้� พุ บอ่ นำ้� รปู ปน้ั ฯ สว่ น ต้นไม้เขาก็ท�ำเหมือนเป็นสิ่งก่อสร้างด้วย ต้นไม้จะถูก ตดั แตง่ บงั คบั รปู ทรงใหไ้ มเ่ ปน็ ธรรมชาติ เพอ่ื เนน้ ความ เป็นระเบียบมากกว่า หลายคนในบ้านเราไม่ค่อยชอบ เพราะดูแล้วแขง็ แต่สวนประดษิ ฐม์ ขี อ้ ดตี รงท่สี ามารถ จัดได้ทุกสถานท่ีไม่ว่าขนาดเล็กใหญ่ได้หมด ดิฉันจึง ยอมรบั รปู แบบนไ้ี ด้ เมอื่ ขา้ มทวีปสู่อเมรกิ าซึ่งเกดิ จากการรวมชาติ เป็นหน่ึงเดียว เพราะเป็นดินแดนใหม่ (new world) ประเทศทีค่ นหลากหลายเชือ้ ชาตศิ าสนามารวมตัวกัน สหรัฐอเมริกายุคบุกเบิก (pioneer) ผู้คนต้องพึ่งพา ตนเองทกุ อยา่ ง ทอี่ ยอู่ าศยั เปน็ แบบรวมกนั เปน็ กลมุ่ ใหญ่ มีทั้งการเลี้ยงสัตว์ เลี้ยงม้า เล้ียงวัว ปลูกฝ้ายไว้ทอ เสื้อผ้า ปลูกข้าวสาลี ข้างฟ่าง และพืชผักไว้บริโภค มีโรงนา โรงสี คอกสัตว์ รวมอยู่ในบริเวณเดียวกัน (plantation) เรียกว่า ดูแลคนในพื้นที่แบบครบวงจร เนน้ ลกั ษณะสวนทใ่ี ชป้ ระโยชนไ์ ดม้ ากกวา่ ความยง่ิ ใหญ่ สวยงาม พบสวนครวั ขนาดใหญส่ ำ� หรบั เลย้ี งกลมุ่ คนใน plantation เนอ่ื งจากคนในสมยั นน้ั ยา้ ยถน่ิ ฐานมาจาก ยุโรปเป็นส่วนใหญ่จึงได้รับอิทธิพลสวนแบบประดิษฐ์ มาดว้ ย แตป่ รบั เปลยี่ นวธิ กี ารใหเ้ ปน็ ของตนเองมากขน้ึ เวลาผา่ นไปคนอเมรกิ นั กย็ งั คงนยิ มปลกู พชื ผกั สวนครวั ไว้ ไม่เส่ือมคลาย นับว่าเป็นประเทศแรกๆ ที่เพิ่มการใช้ สวนเพอ่ื การบรโิ ภคและอยอู่ าศยั (practical) ไมไ่ ดเ้ นน้ ความยงิ่ ใหญร่ ำ�่ รวยเหมอื นในอดตี ทสี่ วนเปน็ ของกษตั รยิ ์ ขุนนาง และพระ แปลนและรูปตัดของ Villa Lante ที่ Bagnaia, Italy สวนอ่มิ ใจ...บา้ นอม่ิ สขุ | 13

(บน) แปลน Mt. Vernon แสดง The Bowling Green เป็นแกนกลาง (ซ้ายล่าง) Box garden (ขวาลา่ ง) Kitchen garden ซีกโลกตะวันออกจะนิยมการท�ำสวนครัวกัน ทุกประเทศ อย่างเช่นเกาหลีมีสวนครัวในวังจัดเป็น ขั้นบันไดลดหลั่นลงมาเพราะภูมิประเทศเป็นภูเขา ประเทศลาวก็มีการท�ำสวนครัวบนโต๊ะ คือยกขาลอย จากพื้นดิน ท�ำให้ท�ำงานสะดวก ไม่มีสุนัขมารบกวน อีกด้วย ส่วนประเทศไทยมีความอุดมสมบูรณ์มาก ดงั คำ� กลา่ วแตโ่ บราณ “ในนำ�้ มปี ลา ในนามขี า้ ว” ทกุ บา้ น จะมสี วนครวั ใกลบ้ า้ น รปู แบบเดมิ เรยี กวา่ เราโยนอะไร ลงไปกข็ น้ึ กนั เตม็ ไปหมด เพยี งแตไ่ มม่ รี ปู แบบทส่ี วยงาม เท่าน้ันเอง และเม่ือเวลาผันผ่านไปความเป็นเมือง คืบคลานเข้ามาจนผลักดันการท�ำสวนครัวให้พบเจอ แตใ่ นชนบท สวนในประเทศไทยไดร้ บั อทิ ธพิ ลจากสวน ทว่ั โลก ทงั้ แบบประดษิ ฐ์ คลาสสคิ จนี ญป่ี นุ่ จนปจั จบุ นั เราพบเห็นรูปแบบสวนสารพัดอย่างตามจินตนาการ ของนักออกแบบของเรา 14 | สวนอิ่มใจ...บา้ นอ่มิ สุข

เลอื กสไตลส์ วน Garden style นน้ั มหี ลากหลายนะคะ บางสไตลอ์ าศยั แบบแปลนในการแสดงออกจรงิ ๆ เชน่ สวน แบบประดษิ ฐ์ (formal garden) สวนรปู แบบอน่ื ๆ ไมว่ า่ แบบแปลนจะเปน็ อยา่ งไร การสรา้ งสไตลส์ ำ� หรบั แต่ละรูปแบบขึ้นกับองค์ประกอบในสวน (garden elements) ที่หมายรวมทั้งพื้นผิวแข็ง (hardscape) คอื พวกสง่ิ กอ่ สรา้ ง นำ้� ตก ศาลา พน้ื ลานและทางเดนิ รว้ั ..... และพน้ื ผวิ ออ่ น (softscape) คอื ตน้ ไมน้ น่ั เอง องค์ประกอบเหล่าน้ีช่วยประกอบแปลนสวนให้เกิดเป็นรูปลักษณ์ตามสไตล์ท่ีต้องการ อย่างแบบบ้าน “ศภุ ฤทยั ” ทจ่ี ะกลา่ วถงึ ตอ่ ไป ดฉิ นั ออกแบบแปลน สรปุ จะจดั สวนสไตลว์ นิ เทจ หากดทู แ่ี บบแปลนจะไมส่ อ่ื เลยวา่ เปน็ วนิ เทจตรงไหน แตพ่ อสรา้ งขนึ้ มาเหน็ รปู รา่ งหนา้ ตา จงึ รอ้ งออ้ สไตลว์ นิ เทจจรงิ ๆ หากกำ� หนดวา่ “Modern” องค์ประกอบอื่นๆ จะถกู เปลยี่ นไปใหเ้ ขา้ กับสไตลโ์ มเดริ น์ คะ่ สวนในปจั จบุ นั มหี ลากหลายรปู แบบหากเราดจู ากสอ่ื ตา่ งๆ ทง้ั ในและตา่ งประเทศ ดฉิ นั ขอหยบิ ยก รูปแบบสวนท่ดี ังๆ ใหด้ กู นั ชดั ๆ ตรงนี้ด้วย เผื่อชว่ ยให้เกิดไอเดียนะคะ สวนอม่ิ ใจ...บ้านอมิ่ สุข | 15

สวนแบ่งตามสไตล์ สวนประดิษฐ์ (Formal Garden) อย่างท่ีเลา่ ผ่านมาแล้วข้างต้นค่ะ สวนประดิษฐ์มีรูปแบบชัดเจน เป็นเอกลักษณ์ เน้นความเป็นระเบียบ แข็งแรง อายุ ยนื นาน โดยการใชแ้ กนกลางเปน็ เสน้ ตรง บงั คบั ใหท้ กุ สายตามองไปตามแกน ท�ำให้จุดเด่นต้ังอยู่บนแกนน้ี องคป์ ระกอบเปน็ พนื้ แขง็ เพอ่ื มอี ายใุ ชง้ านไดน้ าน บงั คบั ตัดแต่งต้นไม้ให้ส่ือสารว่าเป็นสถาปัตยกรรมด้วย ตัด เป็นเสา ตัดเป็นรั้วก�ำแพง สามารถจัดได้ทั้งในพื้นที่ เลก็ และใหญ่ (บน) Vaux-le-Vicomte มองเหน็ ตวั ชาโตว์ อยูใ่ กล้ทางเข้า เม่ือผ่านเขา้ ไปแล้วจึงพบสวน มแี กนกลางชดั เจน (ซ้าย) Parteere in Villandry, France 16 | สวนอม่ิ ใจ...บา้ นอิ่มสขุ

สวนหยอ่ ม (Decorative or Artistic Garden) เป็นสวนของไทยที่ไม่ใช่แบบไทยโบราณ เกิดขึ้นเอง จากการผสมผสานองค์ประกอบในบ้านเราจนเกิด เป็นเอกลักษณ์ขึ้น เป็นการใช้องค์ประกอบในสวนท่ี พยายามเลยี นแบบธรรมชาติ ทด่ี มู รี ะเบยี บแตไ่ มแ่ ขง็ ทอ่ื ประกอบด้วย ทางเดินท่ีนิยมเป็นแผ่นๆ (stepping stones) อาจมีสะพานข้ามบ่อน�้ำแบบ free form มี กอ้ นหนิ กรวด เกง๋ จนี ซง่ึ มาจากอทิ ธพิ ลของสวนญป่ี นุ่ และอาจมีรูปปั้นสัตว์ ส่วนการจัดต้นไม้เป็นแบบผสม หลายชนดิ ไลส่ งู กลางตำ่� ตามตำ� ราการวางหนิ แบบญปี่ นุ่ ท�ำให้ดูกระจุ๊กกระจ๊ิก แน่นอนว่าการดูแลรักษาย่อม มีมาก เนื่องจากมีการรวมกลุ่มพืชหลายชนิดในท่ี เดียวกัน สวนต้องการแสงแดดค่อนข้างมากหากปลูก ไม้ดอกด้วย สวนโมเดิร์น (Modern Garden) ค�ำว่าสมัย ใหม่นี้เลื่อนออกไปเร่ือยๆ เมื่ออันปัจจุบันกลายเป็น อดีตไป ดฉิ ันจงึ เขียนถึงโมเดริ ์นในยคุ นี้ (21th century ไม่ใช่ยุค 20th Century) ในยุคน้ีสวนโมเดิร์นที่ก�ำลัง ฮติ ตดิ ชารต์ อยมู่ ลี กั ษณะของการใชอ้ งคป์ ระกอบพน้ื ผวิ แข็งมาก เน้นความเรียบเก๋ สีสันสารพัดจินตนาการ ชอบมนี ำ้� ดว้ ย แบบนำ�้ ตกแนวตงั้ บอ่ นำ้� ผอมยาว (เพราะ ชวี ติ ความเปน็ อยลู่ ดขนาดลงมาก) สว่ นตน้ ไมใ้ ชไ้ มก่ ช่ี นดิ เอาเท่ๆ ต้นเดียวอยู่ หรือหากปลูกเป็นแปลงก็ใช้ ชนดิ เดยี วเลย เหมาะกบั สภาพชวี ติ คนในเมอื งทเ่ี รง่ ดว่ น ตอ้ งดูแลงา่ ย ไมก่ ินเวลา สวนอ่ิมใจ...บา้ นอมิ่ สขุ | 17

สวนแบง่ ตามประเทศกำ�เนิด อีกทั้งมีแนวคิดสร้างสวนให้ประสานเข้ากับธรรมชาติ สวนไทย (Thai Garden) สวนครัวคนไทย หน้าต่างจึงเป็นช่องลวดลายโปร่งท�ำให้เรามองเห็น ด้ังเดิมไม่ได้มีรูปแบบสวยงาม เราท�ำยกแปลงผักเป็น ทวิ ทศั นภ์ ายนอก ลมและแดดผา่ นชอ่ งเหลา่ นไี้ ด้ การใช้ รูปสี่เหล่ียมผืนผ้า ในแนวเหนือ-ใต้ เพื่อให้ทั้งแปลง น�้ำเน้นความนิ่งของแผ่นน�้ำเพื่อท�ำหน้าที่เป็นกระจก ไดแ้ ดดเทา่ ๆ กนั สว่ นสวนจะดเู ปน็ ไทยนน้ั จำ� เปน็ ตอ้ ง สะทอ้ นความเป็นไปในโลกทีซ่ อ่ นปรัชญาตา่ งๆ ให้เรา ใชอ้ งคป์ ระกอบตา่ งๆ ของไทยตกแตง่ เชน่ เกวยี น โอง่ ขบคิด สร้างมิติและความสบายกายใจ ไห ตกุ๊ ตาหนิ ทรายจากจนี อา่ งบัวที่สอื่ ถงึ ศาสนาพทุ ธ ไม้ดัดไทย เป็นต้น สวนญปี่ นุ่ (Japanese Garden) สวนกรวดหนิ สวนจีน (Chinese Garden) เน้นความ ไดร้ บั อทิ ธพิ ลจากจนี โดยตรง แตด่ ดั แปลงตามความเชอ่ื ออ่ นนอ้ มตอ่ ธรรมชาตแิ ละการสอ่ื ความหมายผา่ นองค์ ทางศาสนาทเี่ นน้ ความสงบทางจติ ใจ การทำ� สมาธิ การ ประกอบในสวน มีการใช้เส้นและรูปร่างในสวนเป็น สอ่ื ความหมายลกึ ซง้ึ สวนมกี รวด หนิ ทราย และตน้ ไม้ เส้นโค้งตัวเอส (S) เหมือนการร่างเส้นด้วยมือเปล่า รปู ทรงธรรมชาติ สวนมหี ลากหลายรปู แบบ ทง้ั เพอ่ื ให้ ทำ� ใหเ้ กดิ ความพลว้ิ ไหวลกึ ลบั นา่ คน้ หา สถาปตั ยกรรม เดินเล่น ให้ประกอบพิธีกรรม เพื่อการนั่งสมาธิ เป็น นยิ มใชส้ แี ดงเพอื่ ใหต้ ดั กบั สเี ขยี ว การใชต้ น้ ไมไ้ มต่ ดั แตง่ ศาสตรท์ ี่ต้องศกึ ษากันอย่างจรงิ จงั ต่อไป บังคับรูปทรงแบบสวนประดิษฐ์ ต้นหลิวและไผ่จึง โดดเดน่ มากในสวนจนี คนจนี มกั สรา้ งความประหลาดใจ (ซา้ ย) สวนไทย (wonder) ในสวนดว้ ยลูกเล่นตา่ งๆ เช่น ประตูรปู รา่ ง (กลาง) สวยจีน แปลกๆ เช่น รูปวงกลมแบบดวงจันทร์ รูปไหเหล้า (ขวา) สวนญีป่ นุ่ 18 | สวนอม่ิ ใจ...บ้านอ่มิ สขุ

สวนองั กฤษ สวนวนิ เทจ (English, Vintage สวนโมรอคโค (Morocco Garden) เพ่งิ เร่มิ Garden) มีท้ังแบบประดิษฐ์ ท่ีแกนกลางท�ำเป็นพื้น เป็นที่นิยมกันไม่นานมานี้ ด้วยการเล่นสีสัน ลวดลาย ทางเดินและแบบใช้หญ้า แต่การปลูกต้นไม้ดอกไม้ท�ำ ศิลปะแบบอิสลามที่สวยงาม ท�ำให้นักออกแบบน�ำมา แบบไมเ่ ปน็ ทางการ ใชว้ ธิ ปี ลกู ผสมกนั ทำ� ใหด้ อู อ่ นชอ้ ย ดดั แปลงเขา้ กบั รปู แบบสวนอน่ื ๆ อยา่ งสนกุ สนาน เชน่ ขน้ึ กวา่ สวนประดษิ ฐท์ วั่ ไป ตามแบบ Nineteenth Century สวนโมเดิร์น เปน็ ต้น English Garden เปน็ รปู แบบสวนทก่ี ำ� ลงั ดงั ในบา้ นเรา สวนบาหลี (Balinese Garden) ไดร้ บั ความนยิ ม (บน) สวนโมรอคโค สูงมากเมื่อ 10 กว่าปีท่ีผ่านมา และยังมีความนิยม (ซ้าย) สวนบาหลี อยู่ถึงแม้จะลดลง เพราะสวนบาหลีมีความชุ่มชื้นของ พชื พนั ธใ์ุ นเขตรอ้ นชน้ื (tropical) ประเทศในเขตศนู ยส์ ตู ร (ขวา) สวนอังกฤษ อย่างเราจึงรับรูปแบบนี้ได้อย่างง่ายดาย การวางผัง อาคารเขาเปน็ รปู สเี่ หลย่ี ม ใชว้ สั ดจุ ากบาหลซี ง่ึ อยใู่ นเขต ภูเขาไฟ วัสดุจึงมีความพิเศษ ร้านเรือนแก้ว ตรงแยก นครชยั ศรี บนถนนเพชรเกษม เปน็ รา้ นจำ� หนา่ ยวสั ดจุ ดั สวนทเี่ นน้ ความเปน็ บาหลมี าชา้ นาน ยงั คงยนื หยดั กบั สไตลน์ อี้ ยา่ งมนั่ คง วา่ งๆ ลองแวะไปดนู ะคะ รา้ นใหญ่ มที ง้ั วสั ดแุ ละตน้ ไมใ้ หเ้ ลอื กเหมาะกบั สวนบาหลจี รงิ ๆ คะ่ สวนอ่มิ ใจ...บา้ นอ่ิมสขุ | 19

สวนตามลกั ษณะหน้าท่ี งานวิจัยที่ดิฉันสนใจเป็นพิเศษค่ะ เพราะแพทย์เองก็ สวนครัว (Kitchen or Edible Garden, หมดหนทางท่ีจะบังคับให้ผู้คนออกมาออกก�ำลังกาย Potager) นยิ มจดั ไวห้ ลงั บา้ นใกลๆ้ ครวั ตอ้ งมพี น้ื แขง็ เพอ่ื ชว่ ยปอ้ งกนั การเกดิ โรคภยั ไขเ้ จบ็ แพทยเ์ ลง็ เหน็ วา่ ให้เดินได้ไม่เฉอะแฉะ มีช่องให้ปลูกผักที่เป็นลวดลาย วิธีหน่ึงที่อาจชักชวนคนออกมากลางแจ้ง เดิน ว่ิง ของพน้ื แขง็ นน้ั อาจยกกระบะ หรอื ซอื้ ชดุ ไฮโดรโพนคิ ส์ ขยับเน้ือขยับตัว อาจเกิดขึ้นในสวน ภูมิทัศน์บ�ำบัด ส�ำเร็จรูปมาเลย หรือกางมุ้งของตัวเอง รูปแบบมีได้ และ พชื สวนบำ� บดั (Horticultural therapy, H.T.) ทใ่ี ช้ หลากหลายมากๆ คะ่ จะเปน็ แบบประดษิ ฐก์ เ็ หมาะมาก กจิ กรรมการปลกู ตน้ ไมเ้ ปน็ 2 ศาสตรท์ สี่ ามารถนำ� มา หากเป็นแบบธรรมชาติหน่อยก็ใช้สวนอังกฤษ วินเทจ รวมกัน จากการสัมภาษณ์แพทย์ผู้สูงอายุ ดิฉันพบว่า หรอื จะเปน็ โมเดิรน์ ไดห้ มดเลยค่ะ เป้าหมายที่เป็นผลสัมฤทธิ์ของการบำ� บัดผู้สูงอายุ คือ ใหช้ ว่ ยตวั เองได้ ลกุ ขน้ึ ยนื เดนิ เขา้ หอ้ งนำ้� ทำ� ธรุ ะ ไดเ้ อง สวนบำ� บดั (Therapeutic Garden) ความจรงิ และที่สดุ ยอดที่สดุ คอื การทำ� อาหารรบั ประทานเอง ในสวนเป็นสิ่งล้ีลับ นักออกแบบ นักจิตวิทยาทั้งโลก หาเหตผุ ลทที่ ำ� ไมคนเราจงึ ชอบอยใู่ นสวน ตน้ ไมส้ เี ขยี ว ถึงจุดน้ีดิฉันมองเห็นทันทีว่าสวนครัวคือ มสี รรพสตั วต์ า่ งๆ สง่ เสยี งแหง่ ชวี ติ ชวี า มแี สงแดดและ เปา้ หมายสำ� คญั ใหส้ มาชกิ ในบา้ นพาคณุ ปคู่ ณุ ยา่ ออกมา ร่มเงาจากต้นไม้ใหญ่ มีลมโชยอ่อนๆ มีที่ให้พักพิง ทำ� สวนครวั จากผลการวจิ ัยมากมายพบว่า การใช้มอื ทำ� กจิ กรรมสว่ นตวั ตา่ งๆ บางคนนง่ั ปลดปลอ่ ยอารมณ์ หยิบจับก�ำอุปกรณ์ท�ำสวนช่วยเร่ืองกล้ามเนื้อและ และความคิด บางคนเล่นกีตาร์ร้องเพลง บางคนมา เส้นเอน็ ทีม่ ือ การหยิบเมลด็ เลก็ ๆ หยอดหลมุ ปลูกฝึก คนเดียว บางกลุ่มมาด้วยกัน บางทีเล่นกีฬาที่ไม่เป็น การส่ังงานของสมอง อีกทั้งลักษณะของต้น ชื่อ ทางการอย่างหมากรุก ชักว่าว พายเรือ สิ่งเหล่านี้ และกลิ่นของพืชผักสวนครัวช่วยกระตุ้นความทรงจ�ำ ประกอบกันท�ำให้คนชอบอยู่ในสวน กระท่ังมีการ ได้ดี การเดินตามทางเดินโดยเฉพาะแผ่นทางเท้า ทดลองที่พลิกโฉมหน้าการออกแบบโรงพยาบาลโดย (stepping stones) ฝกึ การทรงตวั ทง้ั รา่ งกาย การรดนำ้� R.Ulrich ซึ่งเป็นแพทย์และภูมิสถาปนิกที่ท�ำงานด้าน ตน้ ไมแ้ ละเฝา้ ดกู ารเตบิ โตสรา้ งกำ� ลงั ใจใหแ้ กช่ วี ติ กรณี ภูมิทัศน์บ�ำบัด (Therapeutic Landscape) เปิดเผย ผสู้ งู อายทุ ต่ี อ้ งพง่ึ รถเขน็ (wheelchair) เราสามารถเขน็ รถ ผลงานวิจัยในปี 1984 การเปรียบเทียบคนไข้ใน พาท่านผ่านบนทางพื้นผิวเรียบไม่มีขั้นบันได พาไปที่ โรงพยาบาลท่ีป่วยโรคเดียวกัน 2 กลุ่ม กลุ่มท่ีมีวิว โตะ๊ ทมี่ กี ระบะปลกู ยกขน้ึ อยทู่ รี่ ะดบั อกในทา่ นง่ั ใตโ้ ตะ๊ มองเห็นผ่านหน้าต่างหายเร็วกว่า ใชย้ าแกป้ วดนอ้ ย โล่งเพ่ือให้เสียบรถเขน็ ไปอยใู่ ตโ้ ตะ๊ ทำ� ใหท้ า่ นยน่ื มอื กวา่ และบน่ โนน่ นก่ี บั พยาบาลนอ้ ยกวา่ อีกกลุ่มที่มอง ถงึ พชื ผกั ในกระบะได้ อาจจะสกปรกกนั นดิ หนอ่ ยแต่ เหน็ แต่ก�ำแพงตกึ จากหนา้ ต่าง ผวิ สมั ผสั ขององคป์ ระกอบในสวนจะชว่ ยกระตนุ้ ประสาท สมั ผสั ตามรา่ งกายเราดว้ ย เชน่ เทา้ เหยยี บไปบนหญา้ จรงิ ๆ การใชส้ วนบำ� บดั มมี านานแลว้ ตงั้ แตส่ มยั ทราย น�้ำ นิ้วจับดิน น�้ำ พืชมีขน (แต่ไม่ท�ำให้แพ้) สงครามโลกครง้ั ท่ี 1 ในยโุ รป ทใี่ ชก้ ารทำ� สวนครวั เพอ่ื นอกจากนช้ี อื่ พชื ตา่ งๆ มสี ว่ นชว่ ยกระตนุ้ ความทรงจำ� ชว่ ยบำ� บดั รกั ษาผปู้ ว่ ยทหารผา่ นศกึ มาตลอด ในปจั จบุ นั อกี ดว้ ย อยา่ งคณุ แมด่ ฉิ นั พอเหน็ ดอกไมก้ ร็ า่ ยเพลงชม ยงั ไมม่ ศี าสตรน์ แ้ี พรห่ ลายในประเทศไทย แตเ่ ปน็ หวั ขอ้ ดอกไมเ้ ปน็ ชดุ (ทา่ นจำ� ของเกา่ ไดแ้ มน่ ยำ� แตล่ มื ของใหม่ ประมาณว่า memory เตม็ ) เทา่ กบั ไดฝ้ ึกสมองค่ะ 20 | สวนอม่ิ ใจ...บา้ นอ่มิ สขุ

เพลง อทุ ยานดอกไม้ ชมผกา จำ� ปา จ�ำปี กหุ ลาบ ราตรี พะยอม อังกาบ ทั้งกรรณกิ าร์... ล�ำดวน นมแมว ซ่อนกล่นิ ย่ีโถ ชงโค มณฑา สายหยุด เฟ่อื งฟ้า ชบา และสร้อยทอง... บานบุรี ย่ีสุ่น ขจร ประดู่ พุดซอ้ น พลับพลงึ หงอนไก่ พิกุลควรปอง... งามทานตะวัน รักเร่ กาหลง ประยงค์ พวงทอง บานชน่ื สุขสอง พุทธชาติสะอาดแซม... **พิศ พวงชมพู กระดังงาเลอ้ื ยเคยี งคู่ ดสู ดสวย แฉล้ม รสสคุ นธ์ บุญนาค นางแย้ม สารภที ีถ่ ูกใจ... งามอบุ ลปน จนั ทรก์ ะพอ้ ผเี ส้อื แตกกอ พรอ้ มเล็บมือนาง พุดตาน กลว้ ยไม.้ .. ดาวเรอื ง อญั ชนั ยหี่ ุบ มะลวิ ลั ยแ์ ลวไิ ล ชูช่อไสว เรา้ ใจในอุทยาน... สวนอม่ิ ใจ...บ้านอิม่ สขุ | 21

สวนแนวต้ัง (Vertical Garden or Green ทม่ี า : https://commons.wikimedia.org/wiki/ Wall) ก�ำลังเป็นท่ีนิยมอย่างมากท่ัวโลก ใช้หลักการ File:Vertical_Garden_during_Lalbagh_Flower_show_August_2013_-_2.JPG ปลกู พชื ไรด้ นิ (Soilless gardening or Hydroponics) ที่ให้พืชได้รับสารละลายเป็นอาหารไหลเวียนใน โครงสรา้ งกกั เกบ็ นำ้� ซงึ่ เฟอ่ื งฟมู ากในประเทศอสิ ราเอล ที่ผลิตพืชผักเอาชนะความแห้งแล้งของทะเลทราย ไดส้ ำ� เรจ็ มาชา้ นานแลว้ ทนี ี้ Patrick Blanc ชาวฝรงั่ เศส ได้ใช้ระบบไฮโดรโพนิคส์นี้มาดัดแปลงท�ำเป็นสวนใน แนวต้ังท่ีสวยงามชุ่มช้ืน จนเกิดเป็นกระแสความนิยม อยา่ งมาก สวนแนวตั้งมีความเหมาะสมกับสภาพชีวติ คนในเมืองมาก เพราะมีพื้นที่จ�ำกัดในการปลูกพืช อีกทั้งยังไม่ต้องดูแลรดน�้ำทุกวัน แต่ต้องตรวจตรา ปรมิ าณนำ�้ ใหเ้ หมาะสมโดยตลอด สามารถสร้างได้ทั้ง ในและนอกอาคาร ซง่ึ มหี ลายระบบหาดไู ดจ้ ากหนงั สอื Vertical & Roof garden จัดสวนสวยบนผนังและ หลงั คา โดย รศ.พาสนิ ี สนุ ากร & คณุ ทพิ าพรรณ ศริ เิ วช ฎารกั ษ์ แหง่ สำ� นกั พมิ พบ์ า้ นและสวน หนา้ 127-137 นะคะ หากอยากทดลองท�ำดูงา่ ยๆ ก่อน เราสามารถ ทดลองท�ำสวนแนวต้ังแบบกระถางไปกอ่ นเพราะงา่ ย และราคายอ่ มเยาว์ เมอื่ มน่ั ใจขนึ้ ค่อยก้าวขึ้นท�ำระบบ จริงๆ จงั ๆ ตอ่ ไปนะคะ 22 | สวนอมิ่ ใจ...บา้ นอม่ิ สขุ

สวนตามตำ�แหน่ง ไม่สวยงาม ก็ควรเลือกภาชนะที่มีรูระบายนำ�้ และมีขา สวนดาดฟา้ (Roof-top garden) เปน็ พน้ื ทท่ี ี่ ยกลอยขึ้นเช่นกัน ส�ำหรับดินปลูกไม่ควรใช้ดินเหนียว ไดร้ บั แดดดที ส่ี ดุ ในบา้ นกว็ า่ ได้ มคี นทำ� สวนบนดาดฟา้ ดินร่วน ที่เราใช้ปกติบนพื้นดินเพราะมีน้�ำหนักมาก โรงรถแล้วนะคะ ที่นิดเดียวแต่ใช้งานได้จริงๆ การท�ำ ใหใ้ ชด้ นิ รว่ นบางสว่ นผสมกบั ขยุ มะพรา้ วซง่ึ มนี ำ้� หนกั เบา สวนบนดาดฟ้าเป็นการจัดสวนกระถาง/กระบะบน และอุ้มน�้ำได้ดี ทั้งนี้หากมีพื้นที่ดาดฟ้ากว้าง กระถาง พ้ืนแข็ง ดังนั้นเราต้องเข้าใจหลายเร่ืองเพื่อท�ำสวนนี้ เล็กมีนำ�้ หนักเบาอาจปลิว กระเด็น ลม้ ได้ง่าย ควรจดั นะคะ เปน็ กลมุ่ ใหก้ ระถางดนั กนั เอง ทบี่ า้ นคณุ แมด่ ฉิ นั ขนาด 1. ดาดฟ้า มี 2 ลักษณะ คือ แบบเตรียม โอง่ มงั กรปลกู เฟนิ ขา้ หลวงหลงั ลายตน้ เบอ้ เรม่ิ และเตย้ี ทำ� สวนดาดฟา้ ไวล้ ว่ งหนา้ วศิ วกรไดค้ ำ� นวนนำ�้ หนกั การ ยังลม้ ไดบ้ อ่ ยๆ จากแรงลม กันซึม การระบายน�้ำไว้แล้ว ท�ำได้เลย กับแบบที่สอง ที่เป็นดาดฟ้าธรรมดาที่เราอยากท�ำสวน อันนี้เราควร 3. ต้นไม้ จากที่เล่าเร่ืองลมในข้อ 2. ปัญหา สอบถามวิศวกรให้พิจารณาว่าจะเพ่ิมน้�ำหนักได้อีก หลกั ของการปลกู พชื บนดาดฟา้ มาจากลมพายคุ ะ่ ดงั นน้ั มากน้อยแค่ไหน เพ่ือพิจารณาน�ำหนักของวัสดุ - ตน้ ไม้สวนครวั ควรมีที่ยึดเกาะใหม้ ัน่ คง ปลกู เตีย้ ๆ ให้ กระถาง ดินปลูก โครงสร้างอ่ืนๆ ส่วนมากควรวาง ระเบียงกันตกแบบทึบช่วยบังลมพายุ แต่หากระเบียง น�้ำหนกั ใกลๆ้ เสาและคานอยา่ วางตรงกลางพนื้ โปรง่ ลมพายจุ ะพดั ผา่ นได้ กจ็ ำ� เปน็ ตอ้ งใชก้ ระถางใหญ่ นอกจากนี้ต้องพิถีพิถันกับการระบายน�้ำออก ค่อนข้างมีน�้ำหนักและวางชิดกันดันกันเองจะได้ จากดาดฟา้ อย่างยิ่ง มีชอ่ งรับน�้ำเพยี งพอหรอื ไม่ ปกติ ไมล่ ม้ คะ่ ดงั นนั้ จงึ ไมแ่ นะนำ� กระถางแขวนนะคะ เดย๋ี ว วิศวกรจะให้น�้ำฝนท่วมขึ้นนิดนึงแล้วค่อยๆ ระบาย ไมก่ ระถางกระเดน็ กต็ มุ้ ดนิ พรอ้ มผกั ของเราบนิ หายไป ลงท่อจนหมด ดังนั้นเมื่อเราวางสิ่งของต่างๆ ลงไป กบั ลมพาย.ุ ...เสยี ดาย (ยงั ไมน่ บั อนั ตรายหากตกใสศ่ รี ษะ เท่ากบั ลดพน้ื ท่รี ับน�้ำฝนลง ระดบั การทว่ มจะสูงข้ึนได้ ใครเขา้ นะคะ) และหากจ�ำนวนท่อระบายน้�ำไมเ่ พยี งพอ ประกอบกบั ใบไมร้ ว่ งไปอดุ ตนั ปากทอ่ ดว้ ย อาจทำ� ใหเ้ กดิ นำ�้ ทว่ มขงั บนดาดฟ้าได้ เหตุเหล่าน้ีเคยเกิดขึ้นกับบ้านและสวน ของคุณแม่ดิฉันที่อย่บู นดาดฟ้าแล้ว 2. กระถาง/ภาชนะ จ�ำเป็นต้องมีรูที่ก้น กระถางเพื่อให้ระบายน�้ำออก การวางกระถางบน พ้ืนดาดฟ้า ก็ควรมีจานรองเพ่ือขังน�้ำไว้หล่อเลี้ยง ต้นไม้ และไม่ให้ดินไหลเลอะเทอะพื้นด้วย ทั้งนี้ตัว กระถางควรยกลอยขึ้นจากจานรอง ไม่ให้ก้นกระถาง นาบแบนราบไปกับจาน เพ่ือให้เกิดการไหลเวียน ของอากาศในดิน จึงอาจใช้ก้อนกรวดสัก 3 ก้อน เล็กๆ หนุนก้นกระถาง หรือที่ดีกว่านั้นคือการหา กระถางทม่ี ขี าเลย กรณขี องภาชนะทใ่ี ชส้ วมกระถางทด่ี ู สวนอมิ่ ใจ...บา้ นอม่ิ สขุ | 23

หลกั การทำ�สวนครวั 2. สวนไมต่ อ้ งมขี นาดใหญ่ ปลกู พชื เทา่ ทใ่ี ชง้ าน ดฉิ นั สอนวชิ าดา้ นการออกแบบจดั สวนในภาค ประจำ� อยากไดส้ ไตลไ์ หนกห็ าวสั ดปุ ระกอบตามสไตล์ วิชาพืชสวนมานานปี (ตั้งแต่ปี 2528) ท�ำให้สามารถ นัน้ ๆ กลา่ วไดว้ า่ เจา้ ของบา้ นสว่ นใหญน่ ยิ มทำ� สวนครวั ทำ� ให้ นสิ ติ ของดฉิ นั ไดอ้ อกแบบและจดั สวนครวั ในหลายแหง่ 3. ควรปูพื้นแข็งเป็นรูปร่างสวยงาม เพ่ือให้ เม่ือน�ำองค์ความรู้มารวบรวมท้ังข้อดีข้อเสียต่างๆ เดนิ สะดวก อยา่ ปลอ่ ยใหเ้ ปน็ พนื้ ดนิ เพราะจะเฉอะแฉะ ที่ผ่านมาส�ำหรับสวนครัวของคนในเมือง (urban life) เมอ่ื รดนำ�้ ช่องว่างระหวา่ งพนื้ แขง็ เป็นพืน้ ทป่ี ลกู ผกั ดฉิ นั จงึ มหี ลกั การทำ� สวนครัวดังนี้คะ่ 1. ไม่ต้องกังวลเร่ืองต�ำแหน่งสวนว่าจะไม่ได้ 4. ใชด้ นิ ผสมสำ� เรจ็ รปู ซอื้ จากตลาดเปน็ ดนิ ปลกู รบั แดด เพราะพนื้ ทเ่ี รามจี ำ� กดั เราจะแกป้ ญั หาโดยเลอื ก จึงไม่ต้องวิตกหากดินบ้านเราไม่ดี หรือปรุงดินของ พืชที่ทนร่มร�ำไรมาปลูก จุดที่เหมาะใช้เป็นสวนครัว ตัวเองกท็ ำ� ได้ ใหห้ าใกลๆ้ ครวั ทส่ี ดุ สามารถเดนิ มาไมไ่ กลจนขเ้ี กยี จ เดินน่นั แหละคะ่ ใชไ้ ด้ 5. หากพน้ื ทไี่ รพ้ น้ื ดนิ ใหป้ ลกู ในกระถาง หรอื ภาชนะตา่ งๆ ได้ อยา่ ลมื เจาะรใู หน้ ำ�้ ระบายออกได้ และ ควรมถี าดรองกน้ หรือกระถางยกขาลอยไมต่ ดิ พนื้ 6. หากจะปลกู สวนแนวต้งั ตดิ ก�ำแพง แนะนำ� อย่าท�ำแผงแนบก�ำแพง เพราะเวลารดน�้ำจะมีดินไหล จากก้นกระถางเลอะก�ำแพง ควรท�ำขายื่นให้แผงสวน ห่างจากก�ำแพงนดิ นึง 7. แนะนำ� พชื กลมุ่ ตม้ ยำ� เพราะอายยุ นื ไมล่ ม้ ลกุ และใชบ้ อ่ ย กบั อกี ประการคอื ปลกู พชื ทค่ี รอบครวั ชอบ จรงิ ๆ ถึงจะยากขึน้ นดิ นึงกค็ ุ้มลงแรงท�ำ จรงิ ไหมคะ เห็นไหมคะว่าหลักการมีอยู่แค่น้ีเอง เร่ือง ออกแบบก็เปิดหนังสือบ้านและสวน เข้า internet โดยเฉพาะ pinterest เป็น web ที่นักออกแบบนิยม มากๆ เลยนะคะลองเข้าดูซิคะ ถ้าคิดว่าต้องการ นกั ออกแบบถงึ จะหาเขา้ มาดกู นั ตอ่ ไป สว่ นการกอ่ สรา้ ง ก็อยู่ที่เรา หากคิดว่าท�ำเองสนุกดีก็ค่อยๆ ท�ำ หาก ต้องการเสร็จในทีเดียวและมีการก่อสร้างเยอะก็จ้าง คนมาท�ำนะคะ 24 | สวนอ่มิ ใจ...บ้านอ่ิมสุข

บทที่ 3 ผงั สวนครวั จากเมนโู ปรด รศ. ศศิยา ศิรพิ านิช และ ผศ.ดร. เสรมิ ศริ ิ จันทรเ์ ปรม สวนอิม่ ใจ...บ้านอิ่มสุข | 25

บา้ นในโครงการ “ศุภาลัย วิลล์ เพชรเกษม 69” โครงการศุภาลัยมีพื้นที่ส�ำหรับการท�ำสวนครัวจริงๆ ดิฉันถึงได้พื้นที่จัดสวน ตัวอย่างให้ท้ังบ้านเด่ียวและคอนโดมิเนียมอย่างท่ีเกริ่นน�ำไว้ ดิฉันขออนุญาตพาไป ชมทีละโครงการนะคะ เรม่ิ จากบา้ นเดยี่ ว “ศภุ ฤทยั ” แคช่ อื่ กไ็ พเราะแลว้ บา้ นหลงั นมี้ เี นอ้ื ท่ี 59 ตารางวา 2 ช้ัน ขนาด 4 ห้องนอน 3 ห้องน้�ำ บ้านหันหน้าไปทางทิศตะวันออกรับแดดเช้า จากถนนหมูบ่ ้านมถี นนเขา้ บ้านสู่ทจี่ อดรถใตต้ ัวบา้ น รั้วดา้ นหน้าเปน็ รั้วโปรง่ สูง 1.50 เมตร รั้วด้านข้างเป็นร้ัวทึบเกือบท้ังหมด ยังมีรั้วโปร่งส่วนหักจากร้ัวหน้าบ้านอีก เลก็ นอ้ ย ทา่ นผอู้ า่ นนา่ จะเหน็ วา่ เหมอื นบา้ นเราเองใชไ่ หมคะ ขนาดกำ� ลงั พอเหมาะเลย ทพี่ ดู อยา่ งน้ี เพราะวา่ ขนาดนก้ี ำ� ลงั ดแู ลเองไดส้ บายๆ ไมต่ อ้ งจา้ งใครหรอกคะ่ ไมเ่ ขยี นแบบ ก็จัดได้ โดยเอาปูนขาววาดบนพื้นท่ีดูเลยจะได้เห็นจริงเห็นจัง ส่วนความสวยงามเอา รปู จากอนิ เตอรเ์ นต็ ตา่ งๆ ทช่ี อบมาแปะไวด้ ปู ระกอบเลยคะ่ จะไดค้ ดิ ออกวา่ อยากไดแ้ บบนี้ วสั ดุ สสี นั แบบน้ี 26 | สวนอิ่มใจ...บา้ นอิม่ สขุ

สำ�รวจบ้านเรา ดฉิ นั เริม่ ตน้ ส�ำรวจพ้ืนท่ีบ้านเลยเริม่ จากทางเข้าหนา้ บา้ น พบว่า • รว้ั ดา้ นหนา้ โปรง่ คนภายนอกมองเหน็ เราได้ สงสยั ตอ้ งหาทางไมใ่ หเ้ ขาเหน็ เราชดั เจนนกั น่าจะปลกู ตน้ ไมบ้ ังดไี หม ส่วนร้ัวทบึ ดา้ นอนื่ ๆ คงต้องพจิ ารณาเปน็ ช่วงๆ ไป • เข้าประตูรั้วมามองไปทางทิศเหนือ มีพื้นที่ แคบๆ หน้าบ้าน และมีส่วนของระเบียงชั้น 2 ยื่นมา ครอ่ มเฉลยี งอกี ดว้ ย ทำ� ใหพ้ นื้ ทย่ี ง่ิ เลก็ ลงไปอกี แบบนี้ คงไมส่ ามารถบรรจอุ ะไรลงในพน้ื ทไ่ี ดม้ ากนกั แถมเรา ยงั อยากปลกู ต้นไมพ้ รางสายตาคนนอกบา้ นอีกด้วย สวนอิ่มใจ...บ้านอ่มิ สุข | 27

• เมือ่ เลีย้ วพ้นมุมบา้ นไปดพู ื้นทดี่ ้านทิศเหนอื ของตวั บา้ น เปน็ พน้ื ทแี่ คบยาวเชน่ กนั มปี ระตเู ขา้ -ออก จากห้องรับประทานอาหารโดยมีลานเล็กๆ แคบๆ รองรับหน้าประตู ซึ่งค่อนข้างแคบไป น่าจะต้องขยาย อีกนิดให้เดินได้สะดวกขึ้น เพราะยังไงก็คงมีทางเดิน ผ่านจากหนา้ บา้ นไปหลังบ้าน • พอหกั เลยี้ วไปหลงั บา้ นทอี่ ยทู่ างทศิ ตะวนั ตก ของบา้ น ปกตเิ ราจะพถิ พี ถิ นั ดา้ นทศิ ตะวนั ตกเปน็ พเิ ศษ เพราะรอ้ นแดดบา่ ยมากๆ นก่ี ม็ หี อ้ งนอนและหอ้ งครวั ด้านนี้เสียด้วย อุปสรรคอื่นคือฝาท่อและท่อ PVC ต่างๆ อย่าไปยุ่งกับของเหล่านี้ จ�ำเป็นทุกอย่างเลย สำ� หรบั บา้ นเรา แถมถา้ เปน็ บอ่ เกรอะบอ่ ซมึ ของหอ้ งสขุ า ยงิ่ ตอ้ งระวงั หา้ มกลบฝาเดด็ ขาด สรปุ วา่ เรารปู้ ญั หาหลกั ของพน้ื ทน่ี แ้ี ลว้ สว่ นใหญพ่ นื้ ทแ่ี บบนจี้ ะใชเ้ ปน็ ทางเดนิ ท�ำอะไรมากไม่ได้ (บน) พื้นทด่ี า้ นทิศเหนือของตัวบ้าน (ซา้ ย) พ้ืนที่ด้านทศิ ตะวันตกของตัวบา้ น 28 | สวนอิม่ ใจ...บ้านอ่ิมสขุ

• เลยี้ วหักมมุ อีกทผี ่านพ้ืนทฝ่ี ่งั ทศิ ใตข้ องบ้าน เปน็ ทแี่ คบยาว มลี านซกั ลา้ งขนาดพอสมควรตรงประตู ทางเขา้ ออกจากครวั ใชเ้ ปน็ สว่ นของทางเดนิ ไดเ้ ลย และ ยงั มหี อ้ งเกบ็ ของกอ่ นถงึ ทจ่ี อดรถ แนน่ อนคะ่ เราตอ้ งมี พน้ื แขง็ รองรบั หนา้ หอ้ งให้ใชง้ านได้สะดวก • หลังคาบ้านที่ชายคาไม่มีรางน้�ำฝน ท�ำให้มี ร่องน�้ำฝนเซาะดินโดยรอบ อันน้ีเราคงต้องหาเทคนิค รองรบั นำ้� ฝนในสวน หรือ ท�ำรางน�้ำฝนซะเลย ซง่ึ เปน็ ทน่ี ยิ มในตา่ งประเทศ เพราะเขาเกบ็ นำ�้ ฝนใสต่ มุ่ เอานำ�้ ไปรดตน้ ไมต้ ามแนวคดิ การอนรุ กั ษน์ ำ้� คะ่ เดมิ ทบี า้ นเรา ก็ใช้ตุ่มกัน (ดิฉันเกิดในยุคนั้นค่ะ) แต่เลิกราไปเพราะ คุณภาพน�้ำฝนไม่สามารถน�ำมาดื่นกินได้ต้องต้มก่อน พอมนี ำ้� ประปามาคนกส็ ะดวกขน้ึ มากจนขเ้ี กยี จทำ� ผลพวง คือการไม่ประหยัดน�้ำของพวกเราทุกคน ปี 2559 ท่ี ก�ำลังจะผ่านไปจึงเป็นปีที่เราประสบปัญหาแห้งแล้ง สูงที่สุด ดังนั้นดิฉันจึงเป็นคนหนึ่งที่สนับสนุนการติด รางน�ำ้ ฝนและเก็บน้�ำไว้ในต่มุ เพ่ือใชร้ ดสวน ลานซกั ลา้ งทางด้านทศิ ใต้ สวนอิม่ ใจ...บ้านอิ่มสุข | 29

ร่างแนวคิด สำ� รวจบา้ นตนเองเสรจ็ แลว้ พอทราบปญั หาตา่ งๆ ทตี่ อ้ งคดิ คำ� นงึ ถงึ กอ่ นลงมอื ออกแบบ ทง้ั ครอบครัวคงต้องน�ำกลับมาหารอื กันวา่ เราจะตัดสินใจกนั ยังไงในแตล่ ะปัญหา ข้นั แรกเอา ความตอ้ งการของแตล่ ะคนมาบอกในทป่ี ระชมุ คนนน้ั ตอ้ งการนนั่ นโี่ นน่ แลว้ ดวู า่ เราจดั ลงพน้ื ที่ ได้ทง้ั หมดไหม หากเยอะไปก็ต้องตกลงว่าจะเอาอันไหนไมเ่ อาอันไหนใหไ้ ดก้ อ่ น สรปุ ออกมา จะจดั ใหม้ อี ะไรบา้ ง สำ� หรบั บา้ นศภุ ฤทยั หลงั นี้ อ.จด๊ิ กบั อ.เอ๋ เราสรปุ ความตอ้ งการวา่ อยากได้ ทางเดนิ รอบบ้าน ซุม้ ไม้เล้ือยหากปลูกองุน่ ไดส้ ักตน้ ก็ดี สวนครัวสกั สวนนึง นอกนั้นเนน้ ปลกู พืชกนิ ไดเ้ ป็นสว่ นใหญ่ เราจะท�ำสวนให้เปน็ แบบวินเทจ 30 | สวนอมิ่ ใจ...บ้านอิม่ สุข

มาออกแบบกันเถอะ เอาละค่ะได้ความต้องการแล้ว รู้ปัญหาของ มักเกิดปัญหาดนิ ระหวา่ งแผน่ กระเดน็ เลอะเทอะและ บ้านแลว้ เร่มิ ออกแบบกันเลย สกึ กรอ่ น ทำ� แบบนแ้ี ผน่ ทางเดนิ มกั ดา่ งรอยนำ�้ เปน็ คราบดำ� ซึง่ หากไมอ่ ยากให้เกดิ รอยเหลา่ นต้ี อ้ งขดั สีสมำ่� เสมอ • ในภาพรวมพน้ื ทเ่ี ลก็ ๆ มหี ลกั การทางศลิ ปะ ไวน้ ำ� ทาง ขนาดทเ่ี ลก็ แคบยาว เราตอ้ งวางสง่ิ ตา่ งๆ ไป • วสั ดทุ างเดนิ กม็ หี ลายแบบ ในรปู นท้ี ำ� เปน็ แบบ ตามแนวทางยาวนั้น อย่าขวางโดยไม่จ�ำเป็น อย่าใช้ เดินทีละแผ่น (stepping stones) ที่มีราคาย่อมเยาว์ ของลวดลายมาก สกี ใ็ ชส้ อี อ่ น (สเี ขม้ กย็ งั ใชไ้ ดห้ ากชอบ หาง่าย ก่อสร้างเองก็ได้ ปรับเปลี่ยนง่าย เพราะปูบน และใหค้ วามรสู้ กึ ตา่ งออกไป) เพราะจะทำ� ใหพ้ นื้ ทก่ี วา้ ง ทรายเท่านั้น แต่อาจไม่เหมาะกับผู้สูงอายุที่ต้องการ ต้นไม้ก็ต้องเลือกทมี่ ขี นาดเล็กไมใ่ หญ่คบั บ้าน ทางผิวเรียบที่สุด ไม่ต้องมีลวดลายพร้อย ท่านจะ ตาลายหยั่งเท้าหาความลึกไม่ได้จนไม่กล้าเดินเอง • การท�ำทางเดินในท่ีแคบยาวก็ต้องไหลไป ผวิ ทางเดนิ กค็ วรหยาบสกั นดิ นะคะกนั ลนื่ เวลาเปยี กฝน ตามพ้ืนที่น่ันเอง ถ้าที่แคบมากให้เป็นแนวตรงหาก กวา้ งหนอ่ ยอาจใชแ้ นวโคง้ นดิ ๆ ได้ โดยมากใชแ้ นวตรง ท�ำให้เหลือพ้ืนท่ีเยอะกว่า แต่แนวโค้งก็อ่อนช้อยกว่า สรุปเอาตามชอบ และเส้นทางก็หลบหลีกสิ่งกีดขวาง ไปตามพ้ืนที่ เจอฝาท่อต่างๆ ก็หลบ เดี๋ยวแนวที่ต้อง ทำ� ก็ออกมาให้เห็นเอง • ทางเดินมี 2 แบบ แบบอยู่ติดผนังบ้าน ใต้ชายคา เดินได้รอบบ้านทุกเวลาแม้ฝนตก อีกแบบ ออกไปโผล่นอกชายคา ท�ำให้ปลูกต้นไม้ชิดตัวบ้านบัง กำ� แพงบา้ นได้ แตบ่ างบา้ นไม่ชอบเพราะท�ำใหผ้ นงั ชืน้ บา้ นศภุ ฤทัย ดฉิ นั พยายามจัดไว้ใต้ชายคาใหม้ ากที่สดุ เพ่ือให้เดินได้ทุกเวลา การวางแผ่นทางเท้ายังให้ย่ืน ออกไปรับแรงกระแทกน�้ำฝนด้วยนิดนึงนะคะ ดิฉัน ไม่สามารถจัดแผ่นทางเดินไว้ใต้ชายคาท้ังหมดเพราะ ตดิ ทอ่ ฝาบอ่ ตา่ งๆ คะ่ ทางเดนิ เทา้ แบบทลี ะแผน่ ยอ่ ม รองรับแรงกระแทกจากฝนไม่ดีเท่าแบบพ้ืนเรียบ และ สวนอมิ่ ใจ...บา้ นอม่ิ สุข | 31

นไี่ งคะแบบเสรจ็ แลว้ ดฉิ นั ขอเลา่ ใหฟ้ งั เปน็ สว่ นๆ คอ่ นขา้ งละเอยี ด เพอ่ื เปน็ ไอเดยี วา่ ดฉิ นั คดิ อะไรอยู่ ถงึ ทำ� ออกมาแบบน้ี และผอู้ า่ นจะไดม้ อง เห็นวธิ คี ดิ ไปทีละส่วน สว่ นหน้าบ้านทางทศิ ตะวนั ออก ดิฉนั ทำ� ทางแผ่นใหญ่หรอื ลานไวต้ รงประตทู างออกเพ่ือเพมิ่ เนื้อท่ี การเดิน จัดซ้มุ ไมเ้ ล้ือยไว้ตรงประตหู นา้ หอ้ งรับแขก ฝันวา่ จะปลกู องุ่นสัก ต้นสองต้น ปลูกน้อยๆ จะได้ดูแลได้ง่าย ซุ้มนี้จะช่วยพรางแดดเช้านิดนึง เพราะระเบียงชั้นบนสั้นให้ร่มเงาน้อย มีโอ่งต้นไม้หรือรูปปั้นหรือ น�้ำพุแล้วแต่ชอบเป็นจุดเด่นใกล้ซุ้มหน้าบ้าน ใช้เป็นจุดต้อนรับเวลา เข้าบ้าน ต้ังใจจะปลูกไทรเกาหลีเป็นแนวรั้วบังสายตาคนภายนอก ตอบโจทย์ปัญหาขาดความเป็นส่วนตัวไปหนึ่งปัญหา และได้สร้างก�ำแพง สีเขยี วให้แก่บา้ น 32 | สวนอมิ่ ใจ...บ้านอมิ่ สุข

เมอ่ื เขา้ บา้ นผา่ นประตบู านเลอ่ื นเขา้ สบู่ า้ น จะ พบพื้นที่รูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าปลูกแวววิเชียรสีม่วงไว้เต็ม ทง้ั แปลง เพอ่ื ใหเ้ ราดแู ลงา่ ย ดฉิ นั ไมใ่ ชห้ ญา้ เพราะพนื้ ที่ เล็กมาก ไม่อยากให้เหน่ือยตัดหญ้า ในแปลงน้ีวาง กระถางต้นคูณต้นเบ้อเริ่มไว้เป็นจุดเด่น มองได้จาก ในบา้ นและจากหนา้ บา้ น แขกเหรอ่ื ตอ้ งถามคณุ แนๆ่ วา่ น่ตี น้ อะไร ทนี ้ีเรากม็ ีเรอ่ื งเมา้ ทไ์ ด้ตอ่ ไป.... บริเวณริมรั้วสร้างรั้วสีเขียวเปลี่ยนไทรเกาหลี เปน็ ปลกู ผกั ชลี อ้ มผสมกบั กยุ ชา่ ยดอก สรา้ งบรรยากาศ องั กฤษวินเทจ มมุ ร้ัวปลกู ไม้ผลมะตาด แปลกดีลำ� ตน้ สวยกนิ ผลได้ ใบสวยมากๆ ลอ้ มดว้ ยแปลงสวนหยอ่ ม ผสมผสานไม้ใบเป็นเส้นๆ ท่ีท�ำให้เราไม่ต้องตัดแต่ง บ่อย และไม้ประดับกินได้ คือ ว่านหางจระเข้และ ขิงอินโด สว่ นข้างบา้ นด้านทิศเหนอื ทำ� แผน่ ทางเดนิ ตอ่ ไปลอดใตซ้ มุ้ อญั ชนั อยตู่ รง กับหน้าต่างห้องรับแขก จะได้เห็นดอกห้อยย้อยจาก ซมุ้ เมอ่ื มองผา่ นหนา้ ตา่ งออกมา เพราะววิ จากหนา้ ตา่ ง ก็เห็นบ้านอีกหลัง ดิฉันเลยจัดการหาส่ิงท่ีคาดว่าจะ น่าดูกว่ามาไว้ใกล้ๆ ตาเสียเลย จากน้ันเดินต่ออีก นิดไปถึงลานเล็กๆ หน้าประตูทางเข้า-ออกห้อง รับประทานอาหาร แล้วเดินต่อไปหลังบ้าน ทางเดิน จะไม่ชิดตัวบ้านทีเดียว ช่องว่างต้องปลูกต้นไม้ ที่ไม่ต้องการแดดจัดนัก เพราะด้านนี้จะไม่ได้รับ แดดอยู่ประมาณ 9 เดือน จะได้ประมาณ 3 เดือน ช่วงหน้าร้อนไปหน้าฝน ส่วนสวนชิดร้ัวจะได้แดดอาจ น้อยหน่อยในหน้าหนาวเพราะเงาบ้านทอดยาวถึงรั้ว จึงปลกู อะไรก็ไดด้ ้านน้ี จังหวะเช่อื มระหวา่ งซมุ้ อญั ชัน กบั ลานหน้าห้องรับประทานอาหาร จดั ใหม้ ีอ่างนำ้� นก (Bird Bath) แบบวินเทจ เป็นจุดเด่นท่ีมองได้จากทั้ง สวนอิ่มใจ...บ้านอิ่มสุข | 33

2 ลาน ดิฉันตั้งใจจัดเพื่อแบ่งพื้นที่ออกเป็น 2 ส่วนที่ สวนริมร้ัวต่อไปปลูกแคขาวหรือแดง ชะมวง ไม่ทึบตันเกินไป สามารถมองทะลุจากมุมบ้านถึงอีก และชมพู่มะเหม่ียว ให้อย่างละ 1 ต้น เพราะพื้นท่ี มมุ บา้ น คิดวา่ มันเกด๋ เี ลยท�ำต่อ จ�ำกัด ควรตัดแต่งเรือนพุ่มไม่ให้ใหญ่มากด้วย จะได้ เกบ็ เกยี่ วงา่ ย สว่ นแปลงสวนหยอ่ มใชช้ อ้ นทองตดิ ผนงั รว้ั ตอ่ จากแนวสวนหยอ่ มรมิ รว้ั เปน็ ตน้ สม้ จด๊ี ดา่ ง เพราะถงึ รม่ นดิ นงึ กย็ งั อยไู่ ด้ นสิ ยั เขาเปน็ ไมใ้ ตป้ า่ นอกนน้ั หยดุ แปลงสวนหยอ่ ม 1 ตน้ แลว้ ปลกู ผกั ชลี อ้ มอกี แถวนงึ กินได้เกือบหมด มีกระเจ๊ียบบังผนังก�ำแพงร้ัว ปลูก เพอื่ ความอ่อนช้อยไมแ่ ขง็ กระดา้ ง เราก็ไม่ตอ้ งมองแต่ แพงแพวแดง สะระแหน่ และแพงแพวขาวเลน่ สสี กั หนอ่ ย บา้ นขา้ งๆ และรวั้ ตรงบรเิ วณเกอื บกลางพนื้ ทด่ี ฉิ นั จงใจ จากนัน้ จดั รว้ั ชะอมให้ 3 ตน้ ไวเ้ ก็บยอดกนิ ใตต้ น้ ชมพู่ จัดจุดเบรคของสวนหย่อม โดยวางอ่างน้�ำนกสไตล์ มะเหม่ียวปลกู ชะพลทู ท่ี นรม่ ใตต้ น้ ชมพู่ได้ดี วนิ เทจปลกู มนั เทศและสะระแหนแ่ ตม้ ไมด้ อกนดิ หนอ่ ย เกิดเป็นกระถางแบบองั กฤษ จริงๆ แล้วจดุ นีม้ องเห็น สว่ นพน้ื ทแ่ี คบยาวตดิ ตวั บา้ น จำ� เปน็ ตอ้ งปลกู จากหน้าบ้าน แต่เห็นแบบลับๆ ล่อๆ เพื่อชักชวนให้ เรียงแถว พยายามให้ดูแลง่ายท่ีสุด เลยใช้ไม้ประดับ เดนิ ไปดู ลิ้นมังกรครีบปลาวาฬ สลับกับล้ินมังกรด่างเขียวกับ ด่างขาว ลักษณะต้นเป็นใบดาบตั้งตรงช้ีฟ้าซึ่งท�ำให้ดู แข็งกระด้างนิดนึง แต่จากประสบการณ์มันตายยาก จริงๆ และทนสภาพแสงไดห้ ลายระดับ จงึ จัดไว้ตรงนี้ 34 | สวนอิม่ ใจ...บา้ นอิม่ สุข

สว่ นหลงั บา้ นทางทิศตะวนั ตก ต้นไม้ที่ใช้เป็นข่า มะกรูดและมะนาวตัดเต้ีย จัดแผ่นทางเดินใหญ่ตรงหัวมุมให้เล้ียวได้ อย่างละ 1 ต้นเรียงแถวไป มีหนาม ไว้ใกล้ทางเดิน สะดวก เดินห่างจากตวั บา้ นนดิ นึงเพราะติดท่อ ท่ีวา่ ง มากไมไ่ ด้ อนั นต้ี ดั เตยี้ ไดต้ ามตอ้ งการเลย เลยไปอกี นดิ ตรงน้ันปลูกต้นไม้ท่ีทนแดดบ่าย ส่วนที่หักกลางน้ัน เป็นซุ้มที่ 3 คราวนี้ปลูกขจร ที่ชุบไข่ทอดเคียงกับ พาทางเดินกลับมาใกล้ตัวบ้านอีกที ช่วงห้องนอน ส�ำรับน�้ำพริกต่างๆ มันรกเลยต้องจัดเป็นซุ้มแยกไว้ สามารถท�ำสวนแนวต้ังปลูกขจรสักแผงนึงได้ หวังว่า ตา่ งหาก ไมใ่ หอ้ าละวาดใคร ถดั ไปปลกู ตะไครใ้ ห้ 2 กอ มองจากหอ้ งนอนจะไดอ้ มิ่ ใจหลงั อม่ิ ทอ้ งจากอาหารเยน็ มะกรดู อกี ตน้ ทป่ี ลอ่ ยใหใ้ หญไ่ ดม้ ากกวา่ ตน้ แรก เลยไป ทางเดินเชื่อมต่อไปยังลานซักล้างท่ีดิฉันใช้ในการ ทำ� กระบะปลกู ผกั บงุ้ 1 กระบะ ผกั สลดั 2 กระบะ ดา้ นหลงั เดินผ่านไปด้วยเลย พ้ืนท่ีใกล้ครัวท�ำกระบะปลูก ปลูกพริก กระเพรา โหระพา แมงลัก ครบสูตรเลย ผักสลัดต่างๆ เราสามารถคลุมมุ้งกันแมลงได้ง่าย ตรงมุมร้ัวให้มะเฟือง 1 ต้น ก�ำลังดี ใต้ต้นปลูก ถา้ กระบะยกขาสงู จะใชง้ านสะดวกเพราะเรายนื ทำ� งาน แกว้ เมอื งจีนหรอื จงิ จูฉา่ ย สะดวก ไมต่ อ้ งนงั่ ยอง พน้ื ลา่ งอยา่ ปลกู หญา้ ตดั ยากมาก ทมี่ นั เลก็ เลยปรบั ทรายใหพ้ นื้ เรียบ ปูแผน่ มุง้ พลาสตกิ รองรบั กรวดกนั กรวดจมดนิ กรวดสามารถโรย 3-5 ถงุ / ตารางเมตรได้ สวนอ่มิ ใจ...บา้ นอมิ่ สุข | 35

ส่วนข้างบา้ นด้านทศิ ใต้ เนื่องจากลานซกั ลา้ งเหลอื พ้ืนท่ชี ดิ ร้ัวไว้นิดนงึ หากเทปูนปิดเลยก็สะอาดสะดวกในการใช้งาน แต่คง ร้อนแน่ๆ ดิฉันเลยท�ำสวนครัวข้ึนร้านและซุ้มแบนๆ ยาวๆ ขนานไปกับรั้ว ท�ำซุ้ม 2 ข้าง ปลูกมะเขือเทศ และผักปลัง ส่วนทางเดินอยู่ใต้ชายคาไปจนถึงพื้น ขนาดใหญ่หน้าห้องเก็บของท่ีเดินต่อไปยังท่ีจอดรถ หน้าบ้าน ซอกเล็กๆ ระหว่างบ้านกับทางเดินก็ปลูก ตน้ ไมป้ ระดบั เลี้ยงงา่ ยคอื ลิน้ มงั กรตามเคย ฝั่งติดรั้วปลูกมะละกอเรียงแถว หวังได้ ร่มเงาบ้าง ท�ำซุ้มอีกอันปลูกพริกไทย ต่อไปท�ำซุ้ม ชมจันทร์บังรั้ว โดยท�ำขอบอิฐล้อมซุ้มไว้ แล้วจึงปลูก มะเขือต่างๆ เป็นแถวอีก 5 ต้น ถึงบริเวณหน้าบ้าน จุดต้อนรับแขก เปล่ียนเป็นจัดสวนหย่อม มีหม่อน และตะลิงปลิงโชว์เลย ด้านล่างเปน็ แปลงดอกไมแ้ ละ ผกั เปด็ แดงเหมาะกบั สวนองั กฤษ สลบั กบั เนยี มหเู สอื และขงิ อนิ โด มมุ รว้ั ใชเ้ ขม็ สามสสี รา้ งมติ ใิ นภาพดา้ นสงู ปลกู เงนิ ไหลมาคลุมโคนเพราะทนร่มได้ดีมาก ซึ่งอาจ เลอ้ื ยมาพวั พนั กบั เขม็ สามสไี ด้ ตอ้ งดแู ลถกออกกนั บา้ ง นะคะ สวนที่จัดเสร็จแล้วจ�ำเป็นต้องได้รับการดูแล จากเราตามค�ำแนะน�ำของ อ.เอ๋ โดยเฉพาะการรดน�้ำ ใสป่ ุ๋ย ตัดแตง่ เตรียมกล้าเพอ่ื หมนุ เวยี นที่ชว่ ยประกนั ให้สวนครวั ของเราสวยตลอดไป 36 | สวนอมิ่ ใจ...บ้านอม่ิ สุข

ห้องชุดคอนโดมเิ นียม “ศุภาลยั เวลลงิ ตนั ” ใครท่ีอยู่คอนโด จะทราบดีว่าเรามีพื้นที่ กระถางปลูกหากวางนาบกับพ้ืนเฉลียง ก้นกระถาง จ�ำกัดขนาดไหน สวนครัวบนน้ันต้องใช้เทคนิคสวน เหลา่ นห้ี ากเราวางหลายๆ กระถางตดิ ๆ กนั จะบลอ็ ค แนวตั้งช่วย (ในเมื่อเล็กก็ต้องขึ้นทางสูง) รวมทั้งสวน การไหลของน�้ำสู่ท่อระบายน�้ำ รวมท้ังเศษใบไม้ร่วงที่ ดาดฟ้า (ท่ีอาจไม่ได้แดด) รวมกับสวนกระถางที่มี ไหลไปอุดปากท่อระบายน้�ำ ช่วยกันท�ำให้เกิดภาวะ ดินปริมาณและความลึกจ�ำกัด ท�ำให้รากมีดินให้เกาะ น้�ำขังบนดาดฟ้าจนน้�ำท่วมได้ (เกิดกับบ้าน อ.จิ๊ด นอ้ ย หากใช้กระถางหนกั ๆ รวมน�ำ้ หนักดนิ และตน้ ไม้ มาแลว้ ) จงึ ควรใชก้ ระถางทม่ี ขี าโหยง่ โลง่ ใตก้ น้ กระถาง ก็เป็นการเพิ่มน�้ำหนักให้กับระเบียงอาคาร ข้อน้ีหาก เพ่ือให้น�้ำระบายไปได้ไม่ติดขัด และจ�ำเป็นต้องมีการ ไมม่ น่ั ใจควรหาวศิ วกรมาใหค้ ำ� ปรกึ ษากอ่ นการตดั สนิ ใจ ดแู ลรกั ษาเกบ็ เศษใบไมแ้ บบนอ้ี อกสมำ่� เสมอโดยเฉพาะ หรือเลือกใช้วัสดุกระถางและดินปลูกท่ีมีน�้ำหนักเบา หนา้ ฝน อาจหากรวดเล็กๆ หนุนกน้ กระถางได้ อกี ทง้ั ชน้ั ทอ่ี ยสู่ งู ขน้ึ ไป ควรตระหนกั เสมอวา่ ปญั หาการ ทำ� สวนบนดาดฟา้ มีหลายเร่อื ง 1. เรือ่ งลม ลมพดั แรง ฟังแล้วอย่าเพ่ิงกลัว ในเมื่อเราเข้าใจข้อจ�ำกัด จะท�ำให้พืชคายน�้ำเร็วขึ้น 2. การระบายน�้ำ ต้อง เราก็ปิดจุดอ่อนเหล่าน้ันเสียซิคะ เราน�ำห้องชุด พิจารณาให้รอบคอบว่าจ�ำนวนท่อระบายน�้ำเทียบกับ คอนโดมเิ นยี มในโครงการศภุ าลยั เวลลงิ ตนั มาออกแบบ ขนาดพน้ื ทส่ี วนจะมปี ญั หาหรอื ไม่ 3. อกี ทง้ั ภาชนะหรอื เป็นตัวอย่าง สำ�รวจพน้ื ที่ระเบยี งคอนโดมิเนยี ม รูปร่างพื้นที่ระเบียงคอนโดมิเนียมที่มา ติดกับตัวอาคารท่ีเป็นประตูบานเล่ือนกระจกใส ออกแบบมีลักษณะคล้ายส่ีเหลี่ยมขนมเปียกปูน แต่ก็ จะได้รับร่มเงามากกว่าส่วนริมระเบียง เราคงต้อง ยังมีมุมฉากอยู่ จึงออกแบบค่อนข้างยาก การใช้งาน จัดกระถางปลูกพืชไว้ริมระเบียงเพ่ืออย่างน้อยให้ได้ พ้ืนท่ีของเราจึงท�ำเพ่ือนั่งเล่นกินลมยามเช้าและเย็น รับแสงมากเท่าที่จะท�ำได้ มีที่วางคอมเพรสเซอร์แอร์ จึงเปน็ สวนครวั สไตล์โมเดิรน์ วินเทจนดิ นึง ยื่นออกด้านตะวันตกของระเบียง พบว่าท่อระบายน�้ำ อยู่ตรงบริเวณน้ี ดังน้ันการจัดวางองค์ประกอบต่างๆ พนื้ ทห่ี นั หนา้ ไปทางทศิ เหนอื ทำ� ใหไ้ ดร้ บั แดดนอ้ ย จ�ำเป็นต้องเปิดให้น้�ำไหลระบายไปลงท่อให้ได้ พ้ืนท่ี เราน่าจะปลูกผักท่ีชอบแดดปานกลางถึงร�ำไร ส่วนท่ี จะไดร้ บั แดดบา่ ยร้อนแรงมากนอ้ ยตา่ งกนั ตามฤดูกาล สวนอม่ิ ใจ...บา้ นอ่ิมสขุ | 37

กลา่ วคอื ฤดหู นาวจะไมไ่ ดแ้ ดดเลย เพราะดวงอาทติ ยข์ นึ้ ทางทศิ ตะวนั ออกเฉยี งใต้ ตกทางทศิ ตะวนั ตกเฉยี งใต้ แตจ่ ะไดแ้ ดดในฤดรู อ้ นตอ่ ฝนประมาณปลายเดอื น พฤษภาคมถงึ ตน้ สงิ หาคม ซงึ่ ดวงอาทติ ยข์ น้ึ ทางทศิ ตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ตกทาง ทศิ ตะวนั ตกเฉยี งเหนอื เปน็ อยา่ งนท้ี กุ ปี ดงั นน้ั เราจงึ คดิ วา่ นา่ จะทำ� อะไรบงั แดด บา่ ยดว้ ย เรามผี นงั ทบึ เหลอื ใหท้ ำ� อะไรไดอ้ ยแู่ ผงนงึ ดา้ นทศิ ตะวนั ออกของระเบยี ง คอนโดไมโ่ ดนแดดและฝน นา่ จะทำ� ชน้ั วางอปุ กรณห์ รอื แมแ้ ตก่ ระถาง ถา้ มคี วาม เปยี กชน้ื นา่ จะใชไ้ มจ้ รงิ แนน่ อนคะ่ มนี ำ�้ หนกั มากกวา่ เหลก็ กลวง ถา้ จะลดนำ�้ หนกั ก็ใชเ้ หลก็ ได้คะ่ สนิมกนิ นิดหน่อยรบั ได้ค่ะ รา่ งแนวคิด สวนโมเดิร์นนี้จะปลูกพืชผัก ในกระถางพลาสติกน้�ำหนักเบา ดินผสมที่ใช้ปลูกก็มี นำ้� หนกั เบา อาจสวมกระถางในภาชนะทห่ี นา้ ตาสไตลโ์ มเดริ น์ ทม่ี ขี าเพอ่ื ใหน้ ำ้� ระบายได้ ดา้ น ตะวนั ตกควรเปน็ สวนแนวตง้ั หรอื ทำ� ซมุ้ ไมเ้ ลอ้ื ยชว่ ยบงั แดดบา่ ย ผนงั ทม่ี อี ยนู่ า่ จะทำ� ชน้ั วางของ อุปกรณท์ �ำสวนต่างๆ การวางภาชนะและกระถางจะไมว่ างชดิ กนั เพราะกลัวจะเปน็ อุปสรรค ในการที่เราจะเข้าดูแลพืชและคอมเพรสเซอร์ และคิดว่าน่าจะท�ำยกพื้นเฉลียงเล็กๆ วางโต๊ะ เกา้ อน้ี งั่ เลน่ ดว้ ย โดยอาจโรยกรวดในชอ่ งวา่ งทเ่ี หลอื เพอ่ื ความสวยงาม ซงึ่ ถา้ พจิ ารณาแลว้ วา่ เพ่มิ นำ�้ หนักโดยไม่จำ� เป็นก็อาจยกเลกิ ไอเดยี นตี้ ่อไป 38 | สวนอิม่ ใจ...บ้านอ่มิ สขุ

มาออกแบบกนั เถอะ การออกแบบทา้ ทายมากในแบบแปลนจะเหน็ วา่ เราตัดสินใจท�ำซุ้มไม้เลื้อยบังแดดบ่าย ท�ำไม การจดั วางดเู ปน็ แถวเปน็ แนวตามรปู รา่ งมาก เปน็ เบสคิ ไม่ท�ำสวนแนวต้ังเหรอคะ เพราะการท�ำสวนแนวต้ัง ยึดขอบพื้นที่ ปล่อยตรงกลางเป็นพื้นที่ใช้งาน เราซื้อ แผงจะต้องหันหน้าต้นไม้เข้าสู่ระเบียง ด้านหลังรับ กระถางปูนเปลือยยกขา กระถางมีความสูง 2 ระดับ แดดบ่าย เราคิดสะระตะแล้วอาจท�ำให้แผงแห้งท�ำให้ เพื่อไม่ให้มองดูเท่ากันไปหมด แต่หากใครชอบแบบ พชื ตาย ไมอ่ ยากเสย่ี ง สว่ นอกี แบบคอื ทำ� ชน้ั วางกระถาง เรยี บๆ กใ็ หส้ งู เทา่ กนั ได้ ชนดิ วสั ดไุ มค่ วรหลากหลาย เปน็ หลายๆ ชนั้ กก็ ลวั กระเดน็ เพราะแรงลม รวมทง้ั การ เพราะสวนโมเดิร์นเน้นความเรียบง่ายก๊ิบเก๋ ถึงแม้ รดน�้ำกระเด็นไปรบกวนคนชั้นล่าง จะแขวนกระถาง กระถางจะวางหา่ งกนั เพอ่ื ใหข้ าเรายนื เขา้ ไปได้ แตท่ รง กก็ ลวั ตน้ ไมจ้ ะหลดุ ลอยไปจากกระถางเมอ่ื มพี ายแุ รงๆ พมุ่ ตน้ ไมก้ จ็ ะแผม่ าชนกนั ภาชนะสวนเปน็ รปู สเ่ี หลย่ี ม ก็คิดว่าการท�ำซุ้มไม้เลื้อยตรงจุดน้ีคงเป็นทางเลือก เราสวมกระถางกลมลงไป ส่วนท่เี หน็ กระถางกลมนน้ั สุดท้ายเสยี แลว้ คะ่ ตามนน้ั เลย เพราะตน้ ไมจ้ ะปลกู ใน เอาแบบวางกระถางได้เลยโดยมีการหนุนก้นกระถาง กระถางใหญต่ ้ังบนพื้นระเบียง ไม่เกิดปัญหากระเด็น ไมใ่ หแ้ นบพน้ื เปน็ ใชไ้ ด้ กระถางหนา้ ประตทู างเขา้ -ออก รดนำ�้ กร็ ดทก่ี ระถางในพนื้ ทเี่ ราไมน่ า่ เกดิ ปญั หาใหค้ นอนื่ ไปเซอรว์ สิ คอมเพรสเซอร์ ตอ้ งหา่ งกนั พอใหข้ าชา่ งแอร์ เดินผา่ นได้ เหน็ ขอ้ จ�ำกัดเยอะที่เราควรต้องคดิ เผอ่ื ไว้ สวนอมิ่ ใจ...บ้านอิ่มสขุ | 39

เราเลือกปลูกผักสลัดไว้ชิดอาคาร ถัดไป เป็นพริกซ่ึงถึงได้แดดน้อยหน่อยก็โตได้ดี ริมระเบียง ปลูก rosemary ตาม lifestyle คนเมอื ง ปลกู กะเพรา โหระพา แมงลกั ปลกู ในกระถางยาวปนกนั เลย หกั มมุ รมิ ระเบยี งไดร้ บั แดดบา่ ยเปน็ กระถางยาวปลกู บลฮู าวาย แววมยุรา และบานเย็นปนกัน ท�ำซุ้มอัญชันข้ึน ซมุ้ เหลก็ กลวงทยี่ ดึ มนั่ คงกบั ราวระเบยี ง ดฉิ นั ไมแ่ นะนำ� การเจาะพน้ื กลวั จะกอ่ ปญั หาอนื่ ๆ ตามมา หวงั มากวา่ ซุ้มนี้จะช่วยบังแดดบ่าย ที่บ้านคุณแม่ดิฉันบนดาดฟ้า เราปลูกอัญชันสบายมาก สู้ลมได้ดี ได้ดอกไปท�ำ น�้ำอัญชันกันด้วย ถัดไปเป็นผักสลัดอีกกระบะ และ มะนาว กับ มะกรูด ตัดแต่งให้พอดีกระถางเลย พนื้ ที่ รูปสามเหลี่ยมให้วางโอ่งน�้ำพุ และกระถางบอนสี ไว้ในสุดเพราะไม่ชอบแดดจัด มีผักชีใบเลื่อยกับ สะระแหน่หน้าโอ่งน�้ำพุ วางตุ๊กตาเท่ๆ สัก 1-2 ตัว เปน็ ใชไ้ ด้ เพยี งเทา่ นี้ เรากม็ รี ะเบยี งคอนโดเปน็ สวนครวั แสนสวยไวร้ บั แขกไดอ้ ยา่ งนา่ ภาคภมู ใิ จนะคะ 40 | สวนอมิ่ ใจ...บา้ นอิ่มสขุ

บทที่ 4 พชื ผกั นานาพนั ธ์ุ สานสมั พนั ธใ์ นครอบครวั ผศ.ดร. เสรมิ ศิริ จันทร์เปรม สวนอ่ิมใจ...บ้านอม่ิ สขุ | 41

เมอ่ื อา่ นมาถงึ ชว่ งนห้ี ลายคนคงนกึ อยาก ทจี่ ะมสี วนครวั เลก็ ทเี่ ปน็ สวนสวยในบา้ นบา้ งแลว้ แตห่ ากใครยงั มคี ำ�ถามวา่ “จะเรม่ิ อยา่ งไร” กล็ อง อา่ นตามขนั้ ตอนตอ่ ไปนคี้ งไดค้ ำ�ตอบสำ�หรบั การ เรม่ิ ตน้ ทด่ี ี การเรม่ิ ตน้ ทดี่ เี ทา่ กบั ทำ�สำ�เรจ็ ไปแลว้ ครึ่งหนึง่ นะคะ จะเลือกปลกู ต้นอะไร ไว้ตรงไหนดี ค�ำถามน้ีไม่มีค�ำตอบตายตัว คงต้องถามเจ้าของ บา้ นวา่ มพี นื้ ทม่ี ากนอ้ ยเทา่ ใด ถา้ เปน็ บา้ นทมี่ บี รเิ วณกวา้ งคง ไมเ่ ปน็ ปญั หาในการเลอื กพชื แตถ่ า้ พน้ื ทแ่ี คบ เชน่ ทาวนเ์ ฮาส์ หรอื คอนโดมเิ นยี มคงตอ้ งพจิ ารณาเลอื กพชื ทม่ี ขี นาดทรงตน้ เลก็ กะทดั รดั เหมาะกบั ขนาดพน้ื ท่ี และควรเปน็ พชื ทส่ี ามารถ ปลูกได้ในกระถางเพื่อสะดวกในการโยกย้ายและท�ำความ สะอาดพน้ื ท่ี คำ� ถามตอ่ มาคอื ประเภทของอาหารทเ่ี จา้ ของบา้ น หรอื สมาชกิ ในครอบครวั ชอบ เชน่ บางครอบครวั ชอบอาหาร รสจดั เชน่ ยำ� ตา่ ง ๆ แกงเผด็ ตม้ ยำ� พชื สวนครวั ทขี่ าดไมไ่ ด้ 42 | สวนอมิ่ ใจ...บ้านอมิ่ สุข

คงจะเปน็ มะเขอื พรกิ ขา่ ตะไคร้ ใบมะกรดู แตถ่ า้ บา้ นไหน ชอบอาหารรสไมจ่ ดั เชน่ ชอบแกงจดื ผดั ผกั หรอื สลดั ตา่ งๆ การเลือกปลูกผักกาดต่างๆ ถ่ัว แตงกวา ผักหวานบ้าน ผกั สลดั ชนดิ ตา่ งๆ ก็จะถกู อกถูกใจสมาชิกในบา้ นมากกวา่ นอกจากนี้เวลาว่างของเจ้าของบ้านก็เป็นเรื่องท่ีต้องค�ำนึง ถงึ ดว้ ยเชน่ กนั ถา้ เจา้ ของบา้ นมเี วลาวา่ งมากพอควร กอ็ าจ ปลกู พชื ผกั ที่ต้องการการดูแลมากได้ดี เช่นผกั ล้มลกุ ต่างๆ เช่น ผักบุ้ง ผักกาด ท่ีต้องรดน้�ำทุกวัน แต่ถ้าเจ้าของบ้าน ไม่ค่อยมีเวลามากนักพืชผักที่มีอายุยาวนาน เช่น ตะไคร้ มะกรูด มะนาว มะละกอ ผักปรัง ผักหวานบ้าน ชะอม ก็คงเหมาะสมเพราะไม่ต้องดูแลรดน�้ำทุกวันก็ยังสามารถ เจริญงอกงามได้ดี ไม่ต้องปลูกใหม่บ่อยๆ ดังนั้นข้อจ�ำกัด เรื่องพ้ืนท่ี ความชอบ และเวลาว่างจะเป็นตัวบอกได้ดีว่า ปลกู อะไรจึงจะเหมาะสม สำ� หรบั จะปลกู ตน้ อะไรไวท้ ไ่ี หนดนี น้ั คำ� ถามนต้ี อบ ไมย่ าก เนอ่ื งจากมเี กณฑง์ า่ ยๆคอื พชื ผกั ทกี่ นิ สว่ นของดอก หรือผลต้องได้รับแสงแดดจัดตลอดวันจึงจะมีดอกออกผล ไดด้ ี แตถ่ า้ เปน็ ผกั กนิ ใบกส็ ามารถปลกู ในทรี่ ม่ รำ� ไรหรอื ไดร้ บั แดดจดั บางชว่ งของวนั กอ็ าจเพยี งพอ ดว้ ยเกณฑน์ กี้ จ็ ะชว่ ยให้ ตดั สนิ ใจไดง้ า่ ยขน้ึ โดยเลอื กปลกู ผกั กนิ ใบ เชน่ ผกั บงุ้ ผกั กาด ไวด้ า้ นทแ่ี สงนอ้ ย และเลอื กปลกู ตน้ แค มะละกอ มะนาว ถว่ั ตา่ งๆ แตงกวา พรกิ มะเขอื และมะเขอื เทศ ไวด้ า้ นทไ่ี ดร้ บั แสงแดดมาก ต้นไมก้ จ็ ะออกดอกติดผลดตี ามต้องการ เรา สามารถค่อยๆ เรียนรู้จากการลองปลูกในคร้ังแรกๆ และ ปรบั เปลีย่ นทีป่ ลูกไปได้ตามความเหมาะสมได้คะ่ สวนอ่ิมใจ...บ้านอ่มิ สุข | 43

จะหาเมล็ดพนั ธุห์ รอื ต้นพันธุ์ ไดจ้ ากไหน เมื่อตกลงใจได้ว่าจะปลูกต้นอะไรบ้างแล้ว พืชสวนครัวที่นิยมเพาะจากเมล็ด เช่น ผักบุ้ง คำ� ถามตอ่ มาคอื เมลด็ พนั ธห์ุ รอื ตน้ พนั ธจ์ุ ะหาไดจ้ ากไหน ผักกาดต่างๆ พริก มะเขือ มะเขือเทศ แตงกวา ถั่ว ส�ำหรับเมล็ดพันธุ์น้ันขอแนะน�ำให้เลือกซื้อชนิดท่ีมี ตา่ งๆ โหระพา กระเพรา เวลาเลือกซอ้ื เมล็ดพันธุน์ ั้น แบ่งขายเป็นซองเล็กๆ เคยเห็นมีวางขายตามร้าน ขอแนะนำ� ใหซ้ อ้ื มาเพยี งอยา่ งละ 1 ซองกอ่ น เพอ่ื ทดสอบ จ�ำหน่ายอุปกรณ์เกษตรท่ัวไป รวมทั้งร้านสะดวกซื้อ คณุ ภาพทงั้ คณุ ภาพของเมลด็ พนั ธเ์ุ องและคณุ ภาพการ หรือแม้กระท่ังร้านหนังสือบางแห่งก็ยังเคยเห็นมี เก็บรักษาของรา้ นค้า และนอกจากนี้ในหนงึ่ ซองเลก็ ๆ วางจำ� หนา่ ย เมลด็ พนั ธท์ุ บ่ี รรจซุ องเลก็ แบง่ ขายแบบนี้ นั้นยังมีเมล็ดพันธุ์อยู่เป็นจ�ำนวนมาก ซึ่งโดยมากแล้ว มีข้อดีคือ บริษัทผู้ผลิตมักมีภาพของพืชผักชนิดนั้นๆ มีจ�ำนวนที่มากเกนิ พอเนือ่ งจากเมลด็ ผกั มขี นาดเล็ก แสดงให้ดูที่หน้าซองท�ำให้ได้ของท่ีอยากปลูกจริงๆ นอกจากน้ดี า้ นหลงั ซองยังบอกรายละเอยี ดของพชื ผัก นอกจากการเพาะเมล็ดแล้ว ยังมีพืชสวนครัว ชนิดนั้นไว้พอสมควรเช่น เพาะเมล็ดอย่างไร ใช้เวลา ที่เราพบเห็นได้บ่อยๆ แต่ไม่นิยมขยายพันธุ์ด้วยเมล็ด กี่วันเมล็ดจึงจะงอก ชอบสภาพแวดล้อมแบบไหน เชน่ มะกรดู มะนาว ขา่ ตะไคร้ ซงึ่ แตล่ ะชนดิ กม็ วี ธิ กี าร ทรงตน้ ใหญ่หรือเล็ก อายุเกบ็ เกีย่ ว ฯลฯ ขอ้ มลู เหลา่ น้ี ขยายพันธุ์ที่แตกต่างกัน เช่น มะกรูด มะนาว ชะอม ชว่ ยใหเ้ ราสามารถกำ� หนดพน้ื ทป่ี ลกู ทจ่ี ะทำ� ใหส้ วนครวั ผกั หวานบา้ น นยิ มใชก้ ง่ิ ชำ� หรอื กง่ิ ตอน ซงึ่ หาซอื้ ไดต้ าม ของเราเปน็ สวนสวยแทนทจี่ ะเปน็ สวนรกๆ แตจ่ ดุ สำ� คญั รา้ นจำ� หนา่ ยตน้ ไมท้ ว่ั ไปในราคาทไี่ มแ่ พงมากนกั เวลา ท่ีขอแนะน�ำให้ดูเป็นพิเศษคือ เปอร์เซ็นต์การงอก เลอื กซอื้ ควรดกู ง่ิ พนั ธท์ุ มี่ ลี กั ษณะแขง็ แรง รากสมบรู ณด์ ี วันที่ผลิต และวันสิ้นอายุท�ำพันธุ์ เมล็ดที่คุณภาพต�่ำ ไมม่ โี รคแมลงตดิ มาใหเ้ หน็ ควรหลกี เลยี่ งกงิ่ พนั ธท์ุ ก่ี ำ� ลงั จะมีเปอร์เซ็นต์การงอกน้อย ส่วนเมล็ดพันธุ์ที่ดี แตกใบออ่ นหรอื มดี อกผลตดิ มา ซงึ่ หลายทา่ นอาจคดิ วา่ แต่เก่าเก็บใกล้หมดอายุเมล็ดจะงอกน้อยและงอก เปน็ กิง่ พันธ์ุที่ “ดดู ี” แต่ก่ิงพนั ธล์ุ ักษณะน้ีมกั ชะงกั การ ไม่สม�่ำเสมอ ถ้าซื้อเมล็ดไม่มีคุณภาพก็จะท�ำให้เรา เจริญเติบโตได้ง่าย จึงไม่ควรเลือกหามาปลูก ส่วนข่า หงดุ หงดิ รำ� คาญใจ เพราะไมไ่ ดข้ องคณุ ภาพตามเวลาท่ี และตะไคร้สามารถใช้เหง้าแก่ๆ มาช�ำให้เกิดเป็น คาดไว้ แตท่ ง้ั นค้ี งตอ้ งดดู ว้ ยวา่ รา้ นทเ่ี ราจะซอื้ เมลด็ พนั ธน์ุ น้ั ต้นใหมไ่ ดเ้ ลย มีการจัดเก็บหรือวางจ�ำหน่ายอย่างเหมาะสมหรือไม่ เมล็ดพันธุ์ที่ดีควรเก็บในท่ีเย็นและแห้ง ไม่ควรเก็บ สำ� หรบั ผกั พนื้ บา้ นของไทยนนั้ ถา้ ผอู้ า่ นทา่ นใด เมลด็ พนั ธไ์ุ วใ้ นทอ่ี ากาศรอ้ นเกนิ ไปหรอื ถกู แดดสอ่ ง หรอื สนใจเมลด็ หรอื ต้นพนั ธุ์ สามารถตดิ ต่อไดท้ ่ี ศูนย์วจิ ยั ในทช่ี นื้ แฉะ ซง่ึ สง่ิ เหลา่ นม้ี ผี ลทำ� ใหเ้ มลด็ พนั ธเ์ุ สอ่ื มสภาพ และพฒั นาพืชผกั เขตร้อน มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ กอ่ นวนั หมดอายุทีพ่ ิมพ์ไวห้ ลงั ซองได้ วทิ ยาเขตกำ� แพงแสน ซง่ึ เปน็ แหลง่ รวบรวมพนั ธผ์ุ กั พน้ื บ้านจากทั่วประเทศไทยไวค้ ่ะ 44 | สวนอมิ่ ใจ...บา้ นอม่ิ สุข

การเพาะเมลด็ และการเตรียมตน้ กล้า พืชผักหลายชนิดโดยเฉพาะที่เป็นผักอายุส้ัน และโตเรว็ นยิ มปลกู โดยโรยหรอื หวา่ นเมลด็ ลงในแปลง ปลกู ไดเ้ ลย เชน่ ผกั บงุ้ ผกั ชี ผกั คะนา้ และผกั กาดตา่ งๆ แต่มีผักอีกหลายชนิดที่นิยมเพาะกล้าในกระบะเพาะ หรือในกระถางขนาดเล็กก่อนแล้วจึงย้ายลงปลูกใน ภาชนะหรอื ในแปลงปลกู จรงิ เชน่ พรกิ มะเขอื มะเขอื เทศ เน่ืองจากพืชผักเหล่านี้ใช้เวลานานกว่าต้นจะโตจน เกบ็ ผลได้ การเพาะกลา้ ในกระบะเพาะกอ่ นยา้ ยลงปลกู ในแปลงนอกจากจะทำ� ใหส้ ามารถดแู ลตน้ กลา้ ไดอ้ ยา่ ง ใกลช้ ดิ และสามารถคดั เลอื กตน้ ทจี่ ะนำ� มาปลกู ลงแปลง ใหไ้ ดข้ นาดตน้ ทส่ี มำ่� เสมอแลว้ ยงั ชว่ ยใหแ้ ปลงปลกู ผกั ในสวยสวยของเราไม่มีพื้นที่ที่เป็นดินโล่งๆ ซึ่งท�ำให้ดู ไมส่ วยงามอีกด้วย ดังนัน้ จงึ ควรเพาะกลา้ กอ่ น วธิ เี พาะกลา้ ทขี่ อแนะนำ� คอื ใชท้ รายหยาบผสม กบั ขยุ มะพรา้ ว อตั ราสว่ น 1:1 คลกุ เคลา้ ใหเ้ ขา้ กนั พรมนำ�้ พอช้ืนบรรจุใส่ถาดเพาะขนาด 72 หลุม หรืออาจใช้ กระถางขนาดเลก็ หรอื ตะกรา้ พลาสตกิ ทพ่ี นื้ มรี รู ะบายนำ้� ได้น�ำมากรุด้านในด้วยกระดาษหนังสือพิมพ์เพ่ือกัน วสั ดเุ พาะไหลออกกไ็ ด้ แตถ่ า้ ใชถ้ าดเพาะจะสะดวกกวา่ เพราะเมอื่ ตน้ กลา้ โตพอจะยา้ ยกลา้ ได้ สามารถดงึ ตน้ กลา้ ออกจากหลุมเพาะได้ง่ายโดยรากไม่พันกัน ต้นกล้า ไมบ่ อบชำ�้ จงึ ทำ� ใหต้ น้ กลา้ ฟน้ื ตวั ไดเ้ รว็ และไมช่ ะงกั การ เจรญิ เติบโต ถาดหลุมแบบนสี้ ามารถหาซือ้ ไดง้ ่ายตาม ร้านขายอุปกรณ์การเกษตรท่ัวไป ราคาไม่แพงและ สามารถใช้ได้หลายคร้งั มอี ายกุ ารใชง้ านนานหลายปี สวนอิม่ ใจ...บ้านอิ่มสุข | 45

วธิ เี พาะทงี่ า่ ยคอื ใสว่ สั ดปุ ลกู ลงในถาดเพาะให้ ส�ำหรับการเติบโต ระยะต้นกล้าท่ีเหมาะจะย้ายลงใน ลึกประมาณคร่ึงหลุมแล้วจึงใส่เมล็ดลงในหลุมเพาะ ถาดหลุมคือระยะที่มีแต่ใบเลี้ยงยังไม่มีใบจริง อายุ หลุมละ 1-2 เมล็ด ถ้าใช้ตะกร้าหรือกระถางให้ใส่ ประมาณ 7-10 วันหลังงอก ซ่ึงแม้ว่าจะเล็กและดู วสั ดเุ พาะสงู สกั ประมาณ ¾ ของความลกึ ปรบั ผวิ หนา้ บอบบางแต่รากยังไม่พันกันท�ำให้เวลาย้ายรากไม่ขาด ใหเ้ รยี บเสมอกนั แลว้ ชกั รอ่ งเลก็ ๆ เปน็ แถวเพอื่ โรยเมลด็ เพราะถา้ เราปลอ่ ยใหต้ น้ กลา้ โตจนมใี บจรงิ รากจะยาวมาก หลังจากโรยเมล็ดแล้วกลบบางๆ ด้วยวัสดุเพาะ เวลาจับแยกจากกันรากมักขาดท�ำให้ต้นกล้าต้ังตัว แล้วรดน�้ำโดยใช้บัวรดน�้ำท่ีมีฝอยน้�ำละเอียดให้พอชุ่ม ได้ช้ากว่าการย้ายต้นกล้าเม่ืออายุยังน้อย นอกจากนี้ แล้ววางกระบะเพาะไว้ในท่ีร่มร�ำไร หากเป็นเมล็ด เวลาย้ายกล้าควรเลือกต้นที่แข็งแรงและมีขนาด ขนาดเล็กควรปิดหน้าถาดหลุมหรือตะกร้าเพาะด้วย ใกลเ้ คยี งกนั กจ็ ะทำ� ใหเ้ ราไดก้ ลา้ ผกั ทมี่ คี วามสมำ่� เสมอ กระดาษหนังสือพิมพ์ก่อนรดน้�ำ เพ่ือกันไม่ให้เมล็ด กว่าการหยอดเมล็ดในถาดเพาะ กระเดน็ หายไปเวลารดนำ้� ดแู ลรดนำ้� กระบะเพาะทกุ วนั อยา่ ใหแ้ หง้ หรอื แฉะมากไป ประมาณ 3-7 วนั เมลด็ จะงอก เมอ่ื เรม่ิ เพาะเมลด็ อาจวางถาดเพาะในทร่ี ม่ ได้ เมอ่ื เมลด็ งอกแลว้ ใหเ้ อากระดาษทป่ี ดิ หนา้ ไวอ้ อก เพอ่ื ให้ แตเ่ มอื่ ตน้ กลา้ เรมิ่ งอกแลว้ ควรยา้ ยถาดเพาะไปวางในท่ี ตน้ กลา้ ไดร้ บั แสง ถา้ เพาะโดยหยอดเมลด็ ลงในถาดหลมุ ทไ่ี ดร้ บั แสงแดดมากขนึ้ กวา่ เดมิ ทลี ะนอ้ ย เพอื่ ใหต้ น้ กลา้ โดยตรง จะเหน็ วา่ สว่ นโคนต้นกลา้ อยูล่ กึ ลงไปในหลุม ไดร้ บั แสงมากขน้ึ และคอ่ ยๆปรบั ตวั ซงึ่ จะชว่ ยใหต้ น้ กลา้ ให้น�ำวัสดุเพาะใส่เพ่ิมลงไปในหลุมจนสูงข้ึนมาเกือบ แขง็ แรงสมบรู ณแ์ ละฟน้ื ตวั หลงั ยา้ ยกลา้ ลงปลกู ในแปลง ถึงใบเลี้ยง จากนั้นดูแลรดน�้ำอย่างสม�่ำเสมอต่อไปจน ได้เร็ว ต้นกล้าท่ีได้รับแสงไม่เพียงพอต้นจะยืดยาว ต้นกล้าโตและแข็งแรงดีพอควร วิธีนี้จะช่วยประหยัด สเี ขยี วซดี หกั ลม้ งา่ ย ยา้ ยปลกู แลว้ มกั รอดชวี ติ นอ้ ย เมอื่ เวลาในการย้ายกล้า แต่ข้อเสียคือบางหลุมเมล็ดอาจ ตน้ กลา้ ในถาดหลมุ เรมิ่ มใี บจรงิ ใบแรก ควรใหป้ ยุ๋ เพอ่ื ให้ ไม่งอกหรืองอกชา้ ท�ำใหไ้ ด้ต้นไมส่ มำ่� เสมอ ตน้ กลา้ มีอาหารทส่ี มบูรณ์ เน่อื งจากในวัสดุปลกู ทใี่ ชม้ ี เพียงทรายและขุยมะพร้าวเท่าน้ันไม่เพียงพอต่อการ ถ้าเพาะเมล็ดในกระถางขนาดเล็กหรอื ตะกร้า พลาสติก ต้องย้ายกล้าต้นเล็กๆ ลงปลูกในถาดหลุม อีกครั้ง เพ่ือให้ต้นกล้ามีอาหารและพื้นท่ีเพียงพอ 46 | สวนอมิ่ ใจ...บา้ นอ่มิ สขุ

เตบิ โตของตน้ กลา้ การใหป้ ยุ๋ ทำ� ไดห้ ลายวธิ ี เชน่ การใช้ ขอ้ ดขี องการเพาะกลา้ นน้ั นอกจากจะไดต้ น้ พชื ปยุ๋ เกลด็ ละลายนำ�้ ซงึ่ อาจเลอื กใชป้ ยุ๋ สตู รเสมอคอื สตู ร ท่ีแข็งแรงและสม�่ำเสมอ เน่ืองจากเราสามารถเลือก ทม่ี ธี าตอุ าหารหลกั คอื ไนโตรเจน (N) ฟอสฟอรสั (P) เฉพาะต้นกล้าท่ีดีมาลงปลูกในแปลงแล้วยังมีข้อดี และโพแตสเซยี ม (K) เทา่ ๆ กนั เชน่ สตู ร 15-15-15, อกี ประการหนง่ึ คอื ถา้ มพี น้ื ทจี่ ำ� กดั และตอ้ งการปลกู ผกั 21-21-21 ในอตั รา 1 ชอ้ นชาตอ่ นำ้� ประมาณ 10 ลติ ร อย่างต่อเนื่องเพื่อให้สวนดูสวยงามตลอดเวลา การ รดทกุ วนั แทนการรดนำ�้ ปกติ หรอื ถา้ สะดวกมากขน้ึ อาจ เพาะกลา้ เตรยี มไวใ้ นชว่ งรอยตอ่ ระหวา่ งผกั ชดุ แรกกบั เลอื กใชป้ ยุ๋ ละลายชา้ หรอื ทนี่ ยิ มเรยี กวา่ “ปยุ๋ ออสโมโคต” ผกั ชดุ ท่ี 2 จะทำ� ใหส้ ามารถปลกู ตน้ ใหมท่ ดแทนตน้ เกา่ โดยใส่เม็ดปุ๋ยลงในหลุมปลูก หลุมละ 1-2 เม็ด ในแปลงปลูกได้ทันที แปลงผักของเราก็จะเป็น ก็สะดวกดี เพราะปุ๋ยแบบน้ีจะมีเปลือกหุ้มแต่ละเม็ด สวนหย่อมที่ดูสวยงามได้ตลอดเวลา ดังนั้นจึงอยาก อยคู่ อยควบคมุ ใหป้ ยุ๋ ทอ่ี ยขู่ า้ งในคอ่ ยๆ ละลายออกมา แนะนำ� วา่ ควรจดั พนื้ ทห่ี ลงั บา้ นไวเ้ ปน็ บรเิ วณสำ� หรบั การ ให้พชื ใช้ การเลอื กใช้ปุ๋ยละลายช้าสำ� หรบั ตน้ กล้า ควร เพาะกลา้ ซง่ึ ใชพ้ น้ื ทไี่ ม่มากนัก โดยอาจใชพ้ ้นื ทบี่ ริเวณ เลอื กใชป้ ระเภททป่ี ลดปลอ่ ยธาตอุ าหารประมาณ 1 เดอื น โคนตน้ ไม้ยนื ตน้ ท่ีมใี บชว่ ยพรางแสงเป็นรม่ เงากไ็ ด้ ใสเ่ พยี งครง้ั เดยี วกม็ ผี ลยาวนานไปถงึ ประมาณ 1 เดอื น โดยไม่ต้องใส่ซ�้ำอีก ท�ำให้ประหยัดเวลาได้มาก แต่ท่ี อย่างไรก็ตาม ยังมีพืชผักท่ีไม่นิยมย้ายกล้า ไมแ่ นะนำ� คอื การใชป้ ยุ๋ เมด็ ทว่ั ๆ ไป เพราะปยุ๋ ดงั กลา่ ว แตใ่ ชว้ ธิ โี รยเมลด็ ลงในแปลงปลกู โดยตรง เชน่ ผกั บงุ้ จนี ไม่มีเปลือกหุ้มคอยควบคุมการละลาย เม่ือเม็ดปุ๋ย คะนา้ ผกั กาดตา่ งๆ เพราะมอี ายเุ กบ็ เกยี่ วสนั้ โดยเฉพาะ สมั ผสั ถกู ต้นกลา้ จะท�ำใหต้ น้ กลา้ เน่าตายได้งา่ ย ผกั บงุ้ จนี เมลด็ มขี นาดใหญแ่ ละหลงั งอกเพยี ง 20-30 วนั เทา่ นน้ั กส็ ามาถตดั มาประกอบอาหารไดแ้ ลว้ ผกั ทเ่ี มลด็ ต้นกล้าท่ีอยู่ในระยะที่เหมาะจะย้ายลงปลูก มขี นาดใหญแ่ ละตน้ กลา้ ยดื ยาวเรว็ เช่น แตงกวา บวบ ในแปลงควรเปน็ ตน้ กลา้ ทม่ี ใี นจรงิ 1-2 ใบ ถา้ ยา้ ยกลา้ นำ�้ เตา้ และถว่ั ตา่ งๆ กไ็ มน่ ยิ มเพาะกลา้ ควรเพาะเมลด็ เร็วเกินไปต้นจะยังไม่แข็งแรงพอ ท�ำให้ต้องดูแลมาก ลงในแปลงปลกู เลย นอกจากนผี้ กั ทกี่ นิ สว่ นของรากหรอื แตถ่ า้ ปลอ่ ยทง้ิ ไวจ้ นมใี บจรงิ ออกมาหลายใบตน้ จะแกรน็ กินหัวท่ีอยู่ใต้ดิน เช่น แครอท ผักกาดหัว ก็ไม่นิยม เนื่องจากอาหารในถาดเพาะมีไม่เพียงพอ ผักในกลุ่ม ย้ายกล้า เพราะส่วนท่ีเราเรียกว่าหัวน้ันแท้ที่จริงแล้ว พริก มะเขือ มะเขือเทศ โหระพา กระเพรา ใช้เวลา คือส่วนของรากที่ใช้เก็บสะสมอาหาร การย้ายกล้าจะ ประมาณ 2-3 สปั ดาห์ รากจะเดนิ เตม็ ถาดหลมุ และตน้ ทำ� ใหร้ ากขาด เปน็ ผลทำ� ใหไ้ มไ่ ดห้ วั ผกั กาด หรอื แครอท โตพอทีจ่ ะปลกู ลงแปลงได้ สว่ นผักสลดั ผักกาดตา่ งๆ ท่ีสมบรู ณ์ และแตงกวา ใช้เวลาประมาณ 1-2 สัปดาห์ เม่ือต้น แขง็ แรงและรากเดนิ ดแี ลว้ เรากจ็ ะสามารถยา้ ยตน้ กลา้ ลงปลกู ในแปลงปลกู ได้ โดยกอ่ นยา้ ยกลา้ ลงแปลงปลกู ประมาณ 1 สปั ดาห์ ควรปรบั สภาพตน้ กลา้ ในกระบะเพาะ โดยการรดนำ�้ ใหน้ อ้ ยลง และยา้ ยกระบะเพาะใหต้ น้ กลา้ ได้รับแสงมากขึ้น ก็จะช่วยให้ต้นกล้าปรับตัวและรอด ชวี ติ หลงั ยา้ ยปลูกในแปลงไดม้ ากขน้ึ สวนอิ่มใจ...บา้ นอมิ่ สขุ | 47

ทำ�สวนผักใหเ้ ปน็ สวนสวย การท�ำสวนผักให้เป็นสวนสวยดูจะเป็นเรื่อง อาจแตกแขนงไม่ลงหัวสวยงามเหมือนที่ซื้อจากตลาด ท่ีท้าทายความสามารถของเจ้าของบ้านอยู่มิใช่น้อย เนอ่ื งจากดนิ แขง็ จนหวั (ซง่ึ จรงิ ๆ แลว้ คอื สว่ นของราก) เพราะมีเรื่องของความสวยงามของบริเวณบ้านเข้ามา ไมส่ ามารถแทงลกึ ลงในดนิ ไดน้ นั่ เอง นอกจากนี้ บา้ นที่ เกี่ยวข้องด้วย ดังนั้นจึงต้องเตรียมการตั้งแต่เริ่มต้น เป็นหมู่บา้ นจดั สรรมกั พบปญั หาวา่ หน้าดนิ ทน่ี �ำมาถม โดยเริ่มจากดนิ ท่จี ะใชป้ ลกู กันเลยทเี ดยี ว เพอื่ ปลกู สรา้ งบา้ นนน้ั อาจเปน็ ดนิ ดานหรอื ดนิ ผสมลกู รงั ซึ่งเหนียวและแข็งมาก หรืออาจมีบางบริเวณที่มีวัสดุ การปลูกผักในกระถางนั้นเนื่องจากพื้นที่ปลูก กอ่ สรา้ งเชน่ หนิ ปนู ทราย ตกคา้ งอยใู่ นพน้ื ทซ่ี ง่ึ ทำ� ให้ จ�ำกัด ดินปลูกต้องเป็นดินดีผักของเราจึงจะงอกงาม ต้นไม้เล็กๆ เติบโตได้ไม่ดี ดังน้ันในการปลูกผักสวน สวยดงั ใจ แตถ่ า้ เปน็ การปลกู ลงในแปลงปลกู ขนาดเลก็ ครัวจึงแนะน�ำให้ใช้ดินผสมในการเตรียมแปลงปลูก อาจใชด้ นิ เดมิ ทม่ี อี ยแู่ ลว้ ผสมปยุ๋ คอกหรอื ปยุ๋ หมกั ใบไม้ โดยอาจก่อขอบกระบะปูนหรือท�ำเป็นขอบกระบะไม้ ผุหรือกาบมะพร้าวสับ เพ่ิมลงไปเพื่อท�ำให้ดินร่วนซุย ขนาดใหญ่ แล้วใช้ดินผสมใส่เติมลงไปก็จะแก้ปัญหา ระบายนำ้� ดี โดยเฉพาะถา้ คดิ จะปลกู พชื หวั เชน่ ผกั กาดหวั ท่ีเกิดจากดินถมได้อย่างตรงจุด และการสร้างขอบ แครอท ตอ้ งเตรยี มดนิ ปลกู ใหม้ หี นา้ ดนิ ลกึ โดยใสใ่ บไมผ้ ุ กระบะจะช่วยไม่ให้ดินปลูกไหลออกมาเลอะเทอะได้ หรอื กาบมะพรา้ วสบั ลงไปใหม้ ากขน้ึ ไมเ่ ชน่ นน้ั ผกั กาดหวั อีกด้วย สวนของเราก็จะเป็นสวนครัวที่สวยจนอวดไว้ หรือแครอทของเราจะมีลักษณะป้อม สั้น หรือราก หน้าบ้านได้ 48 | สวนอิ่มใจ...บา้ นอมิ่ สุข

สำ� หรบั การปลกู ในกระถางนน้ั ในทอ้ งตลาดมี กระถางขนาดตา่ งๆ ใหเ้ ลอื กมากมายหลากหลายขนาด รวมทั้งรูปทรง วัสดุ และสีสันก็แตกต่างกันออกไป การเลอื กลกั ษณะกระถางอาจตอ้ งมองในเรอ่ื งของความ สวยงามเปน็ อันดบั ตน้ ๆ เพราะเปน็ สวนทเี่ ราตอ้ งการ เนน้ เรอื่ งความงามเปน็ เรอื่ งแรก ประโยชนใ์ ชส้ อยเรอ่ื ง การครวั เปน็ เรอ่ื งรอง แตก่ ใ็ ชว่ า่ ทง้ั สองเรอ่ื งจะไปดว้ ยกนั ไม่ไดเ้ พียงแตต่ อ้ งมีการวางแผนทีด่ เี ทา่ นน้ั ดงั นนั้ ผเู้ ขยี นจงึ ขอแนะนำ� สำ� หรบั การปลกู และ ดแู ลผกั ในกระถางหรือกระบะขนาดเล็ก ดงั นี้ การเตรียมดินปลูก การรดนำ�้ การใช้กระถางหรือกระบะปลูกท่ีมีขนาดเล็ก ข้อที่ควรค�ำนึงคือ กระถางยิ่งเล็ก ดินยิ่งน้อย เราต้องพิถีพิถันในเรื่องดินปลูกพอสมควร ขอแนะน�ำ ยง่ิ ตอ้ งรดนำ�้ มากขนึ้ เชน่ ถา้ ปลกู มะเขอื เปราะ 1 ตน้ ใน วิธีง่าย ๆ คือ เลือกซื้อดินผสมที่มีวางจ�ำหน่ายทั่วไป กระถางขนาด 8 นว้ิ ควรตอ้ งรดนำ้� เชา้ -เยน็ หรอื ในชว่ ง มาใช้จะสะดวกมาก เพราะดินผสมเหล่านั้นมักมีการ หน้าร้อนที่อากาศร้อนจัดอาจต้องใช้ถาดรองกระถาง ผสมท้ัง ดิน ใบไม้ผุ กาบมะพร้าวสับ ปุ๋ยคอกหรือ และรดน้�ำให้ขังอยู่ในถาดรองด้วย แต่ถ้าเปลี่ยนเป็น ปยุ๋ หมกั มาเสรจ็ เรยี บรอ้ ย จงึ พรอ้ มใชไ้ ดเ้ ลยไมย่ งุ่ ยาก กระถางขนาด 10-12 น้ิว ก็อาจรดเพียงวันละคร้ัง แต่ท่ีอยากแนะน�ำเพิ่มเติมคือ ถ้าดินท่ีเราซ้ือมามี ในตอนเช้าได้ แต่ทั้งนี้ผักต่างชนิดกันก็ต้องการน้�ำ ลักษณะค่อนข้างแน่นและมีเน้ือดินมาก อาจหาซื้อ ตา่ งกนั ดว้ ย ผกั ทมี่ ใี บบาง เชน่ ผกั กาดหอม ผกั กาดขาว ปยุ๋ หมักหรอื กาบมะพร้าวสบั ผสมเพิม่ เติม เพื่อชว่ ยให้ ผักบุ้ง ต้องการน�้ำมากกว่าผักคะน้าหรือกะหล�่ำปลี ดนิ มกี ารระบายนำ�้ ดขี นึ้ และควรผสมปยุ๋ เมด็ สตู รเสมอ ท่ีนอกจากใบจะหนากว่าแล้ว ผิวใบยังมีนวลเคลือบ คลกุ เคลา้ ลงไปกบั ดนิ ผสมโดยใชป้ ยุ๋ ประมาณครง่ึ กำ� มอื ท�ำให้น�้ำระเหยออกจากใบได้น้อยจึงไม่ต้องรดน�้ำมาก ตอ่ ดนิ ผสม 1 ถงุ ไมจ่ ำ� เปน็ ตอ้ งใชป้ ยุ๋ ละลายชา้ เพราะ และเมอ่ื พชื ตน้ ใหญข่ นึ้ กจ็ ะตอ้ งการนำ้� มากขน้ึ ดว้ ยเชน่ กนั การผสมปุ๋ยไปกบั ดินจะไมเ่ ป็นอันตรายตอ่ ตน้ พชื นอกจากน้ีดินปลูกที่มีส่วนผสมที่เป็นทรายมากก็จะ อมุ้ นำ�้ ได้น้อย ท�ำให้ต้องรดน�้ำบ่อยมากขึ้นกว่าดินที่มี กาบมะพรา้ วสบั หรอื ใบไมผ้ ผุ สมอยมู่ าก กระถางทว่ี างอยู่ ในทแ่ี ดดจดั หรอื ทม่ี ลี มโกรกนำ้� กจ็ ะระเหยออกจากดนิ ได้อย่างรวดเร็วจ�ำเป็นต้องรดน้�ำมากข้ึนด้วย ดังน้ัน ขนาดกระถาง ดนิ ปลกู ชนดิ พชื และสถานทปี่ ลกู จะเปน็ ตัวบอกว่าตอ้ งรดน้�ำมากเพียงใด สวนอิม่ ใจ...บ้านอมิ่ สขุ | 49

การให้ปุ๋ย ปุ๋ยเป็นเร่ืองที่จ�ำเป็นมากหากคิดจะปลูกพืช ในภาชนะขนาดเล็ก ดินผสมท่ีมีอยู่จ�ำกัดในกระถาง ไม่เพียงพอต่อการเจริญเติบโตของพืชอย่างแน่นอน กระถางยิ่งขนาดเล็กพืชก็จะย่ิงต้องการปุ๋ยมากขึ้น ในชว่ งเตรยี มดนิ ปลกู แนะนำ� ใหค้ ลกุ ปยุ๋ ลงไปในดนิ ผสม พร้อมกับการย้ายกล้าลงกระถางเพื่อให้เป็นอาหารให้ ตน้ กลา้ ปยุ๋ ทใี่ สน่ จ้ี ะพอสำ� หรบั ใหพ้ ชื ใชไ้ ดป้ ระมาณ 2-3 สัปดาห์ ดังน้ันถ้าผักที่เราปลูกต้องอยู่ในกระถางนาน กวา่ นนั้ เราควรใสป่ ยุ๋ เพมิ่ ซง่ึ อาจใชป้ ยุ๋ เมด็ แบบธรรมดา ก็ได้ เวลาใส่แต่ละครั้งควรใส่แต่น้อย เช่น ใช้ ¼ ถึง คร่ึงช้อนชาต่อกระถางขนาด 6-8 น้ิว และใส่เพ่ิมใน อกี 2-3 สัปดาหต์ ่อมา และควรโรยเมด็ ปยุ๋ ให้กระจาย หา่ งโคนตน้ เพราะถา้ มเี มด็ ปยุ๋ อยชู่ ดิ โคนตน้ เกนิ ไปจะไป ทำ� ใหต้ น้ พชื เปน็ แผลและเนา่ ตายได้ นอกจากนยี้ งั อาจใช้ ปยุ๋ ละลายชา้ ซง่ึ เคยแนะนำ� ไปแลว้ ในชว่ งของการเพาะกลา้ ปยุ๋ ชนดิ นมี้ ขี อ้ ดคี อื มเี ปลอื กหมุ้ คอยควบคมุ การละลาย ซึ่งเราสามารถเลือกซื้อได้ว่าจะเป็นชนิดท่ีละลายออก มาหมดภายใน 1 เดือน หรือ 2 เดือน ท่ีหาได้ง่ายใน ร้านขายต้นไม้มักเป็นชนิดท่ีละลายหมดใน 1 เดือน ปยุ๋ ชนดิ นเ้ี ราใสเ่ พยี งครงั้ เดยี วกจ็ ะคอ่ ยๆ ทยอยปลดปลอ่ ย อาหารออกมาไดน้ านเทา่ จำ� นวนเดอื นทรี่ ะบุ และไมต่ อ้ ง ระวงั วา่ เมด็ ปยุ๋ จะไปโดนโคนตน้ เพราะมเี ปลอื กหมุ้ เนอ้ื ปยุ๋ จงึ ไมล่ ะลายออกมาทลี ะมากๆ จนเปน็ อนั ตรายตอ่ พชื ได้ การใชป้ ยุ๋ แบบนจ้ี งึ สะดวกและเหมาะกบั เจา้ ของบา้ นท่ี ไมค่ อ่ ยมเี วลาดแู ลตน้ ไมม้ ากนกั แตร่ าคาปยุ๋ ละลายชา้ แพงกวา่ ปุ๋ยเมด็ ธรรมดามาก 50 | สวนอ่มิ ใจ...บ้านอ่มิ สุข


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook