Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เรื่องเล่าแห่งความหวังและพลังใจ

เรื่องเล่าแห่งความหวังและพลังใจ

Description: เรื่องเล่าแห่งความหวังและพลังใจ

Search

Read the Text Version

ปล่อยมลพิษออกมาไม่ได้  ผมเปรียบเทียบว่าการกระท�ำน้ีคือมลพิษ ในสงั คมบนทอ้ งถนนของเรา ตอ้ งไมป่ ล่อยให้มลพษิ ท้ังหลายลงมาอยู่ กบั เรา... แต่ใครจะไปการันตีคุณได้  ผมรู้ว่าสงกรานต์นี้ผมจะไม่ติด เอดส์ ไมต่ ดิ ยาเสพตดิ แน่นอน ผมดูแลตัวเองได้ แต่คณุ อาจตายได้ ไหมในช่วงสงกรานต์นบ้ี นท้องถนน ใครจะกลา้ การันตีให้คณุ เราไม่มี สิทธิท่ีจะปลอดภัยเหรอ  เราอยู่ในประเทศน้ีสิทธิในชีวิตต้องมี  แล้ว รฐั บาลทเี่ ราเลือกมาเขาต้องคุ้มครองเราไดใ้ นระดับหนง่ึ นะ ไม่ใชว่ า่ ตายปลี ะหมนื่ อย่างน้ผี มถือว่าคุ้มครองยงั ไมด่ ี การท่ีเราโดนละเมิด สทิ ธมิ สี องทางคือ หนึง่ เขาทำ� ตัวเราตรงๆ เชน่ ตหี วั เรา ฆ่าเรา สองคอื เจ้าหน้าที่ไม่ท�ำหน้าท่ีของเขาแล้วท�ำให้เราเส่ียง  อันน้ีถือว่าละเมิด สิทธิโดยไม่ปฏิบัติตาม  เช่นไปอยู่ในประเทศหน่ึงต�ำรวจแข็งขันใช้ กฎหมายอย่างดที �ำให้คนเมาไม่กลา้ ขับรถ อันนี้เขาคมุ้ ครองเราแลว้ นะ แตถ่ า้ ไปอีกประเทศหนึ่งเมามากไ็ มเ่ หน็ เปน็ ไร ตำ� รวจก็ไม่จบั อย่างนถ้ี อื ว่าตำ� รวจไมท่ ำ� หน้าทีน่ ะ ถงึ จะท�ำบ้างแตไ่ ม่ท�ำเตม็ ท่ี ทำ� ให้ สิทธใิ นความปลอดภยั ในชีวติ ของเรามันด้อยลงไป อยา่ งน้ถี ือวา่ เป็น สทิ ธิไหม ถ้าถามคนไทยสว่ นใหญอ่ าจจะบอกวา่ ไม่เกยี่ ว แตส่ ำ� หรบั ผมนั้นคิดว่ามันใช่  เพราะฉะน้ันเม่ือมาเป็นกรรมการสิทธิมนุษยชน ผมจงึ บอกวา่ ต้องทำ� เรอ่ื งความปลอดภยั เป็นเร่ืองของสิทธิ ถา้ เราบอก ว่ามันเปน็ เร่ืองเวรกรรมทีต่ อ้ งวัดดวงเอา ถึงจะเมายงั ไงกไ็ มก่ ลัวหาก ดวงดีเสียอย่าง แตผ่ มวา่ มันไมใ่ ช่ ถา้ เป็นเวรกรรมจรงิ คนไทยตอ้ งรับ กรรมมากที่สดุ ในโลกเหรอ เปน็ คนท่ดี วงไมด่ ีมากที่สุดในโลกเหรอ ทัง้ ที่เคยพูดกันว่าคนไทยโชคดีจะตาย  แต่พอคิดอย่างนี้ท�ำไมกรรมมัน หนักล่ะ  ตายปีละเป็นหม่ืนคน  ซึ่งแปลว่าคนท่ีจะท�ำให้เรามีสิทธิใน ความปลอดภยั บนทอ้ งถนนนนั้ ยังทำ� งานไมเ่ ตม็ ท่”ี 201

จากคุณหมอท่ีรักษาดวงตาแก่ผู้คน  มาถึงตอนน้ีเขาก็ก�ำลัง รกั ษาดวงตาของคนในประเทศน้อี ยู่ ดวงตาข้างหน่ึงคือจติ ส�ำนึกแกผ่ ้ดู ืม่ สุราแลว้ ขบั รถ ดวงตาอีก ขา้ งหนง่ึ คือสิทธิท่ีผใู้ ช้ทอ้ งถนนควรจะไดร้ ับ ถา้ วันไหนดวงตาคนู่ ้ีเปดิ ขึ้นไดพ้ ร้อมกัน เม่ือนั้นเราอาจเห็นคุณหมอแท้จริงได้หยุดพักสายตา ของตนบา้ ง ผมท�ำเร่ืองสิทธิความปลอดภัยบนท้องถนน   คนที่ตายไม่ได้รับการเหลียวแลช่วยเหลือและการ รักษาพยาบาล  จนมาถึงตอนน้ีท�ำเรื่องเมาไม่ขับ  ก็ ช่วยคนในเรื่องของสิทธิที่เขาพึงจะได้ที่จะไม่โดน คนเมาขบั รถชน แต่คนไทยไม่ไดน้ กึ ว่าเรื่องนเ้ี ป็น เร่ืองของสิทธิ  ถามว่าท�ำไมไม่นึก  ก็เพราะคิดว่า เป็นเร่ืองของดวงซวย  ในเร่ืองอย่างนี้ในประเทศ ที่เขาเจริญแล้วหรือที่รัฐบาลเอาใจใส่ในชีวิตและ ทรัพย์สินของผู้คน  เขาถือว่าชีวิตและทรัพย์สินหรือ ความปลอดภัยในชีวิตเป็นสิทธิเบื้องต้นท่ีประชาชน ตอ้ งไดร้ บั นพ.แท้จรงิ ศิรพิ านิช 202

ศิริวร แกว้ กาญจน์ ผลติ ตวั หนังสือเพ่ือขบั เคลอ่ื นสังคม “นักเขียน  คนท�ำงานศิลปะ  และสื่อมวลชน  นั้นจ�ำเป็นท่ีจะต้องมี ความรู้มากมายมหาศาล  ใช้ความรู้สึก อย่างเดียวมันก็ไปได้ไม่ไกล  เพราะ ฉะนั้นเราต้องเคลื่อนไปกับโลกความ เป็นจริง ต้องเคล่ือนไปกับข่าวสาร ของโลก ที่ส�ำคัญคือประวัติศาสตร์   ประวัติศาสตร์ท่ีจะสามารถท�ำให้คุณ เข้าใจอนาคตมากขึ้น  เข้าใจปัจจุบัน มากข้นึ ” ศริ วิ ร แกว้ กาญจน์ คือนกั เขียนเร่ืองส้นั นกั เขียนนวนิยาย และกวี- นิพนธ์ ท่ีเขา้ ชงิ ซีไรตถ์ ึง 6 ครัง้ เรียกไดว้ ่ามากท่ีสดุ ในประเทศไทย และเมือ่ ปี 2550 เขาได้รบั รางวลั ศลิ ปาธร สาขาวรรณศลิ ป์ ซง่ึ เป็นรางวัลใหญ่รางวัล หน่ึงของประเทศท่ีมอบให้คนท�ำงานศิลปะในแขนงต่างๆ  ในอดีตเขาเคยเป็น ศลิ ปนิ ท�ำงานประตมิ ากรรมมาก่อน แต่เพราะรกั ในการท�ำงานเขยี น และคิด ว่าสิ่งนี้คือสิ่งท่ีจะสร้างความสุขให้ตัวเองรวมถึงได้เผยแพร่ความรู้จากงานที่ เขาเขยี นให้คนอืน่ ได้รบั รู้ได้ เขาจึงเลือกเดนิ ทางเส้นนี้มาตลอด 20 ปี ส่ิงหนึง่ ทเ่ี ขาไดเ้ รียนรู้จากการท�ำงานแขนงนค้ี อื คนท�ำงานศลิ ปะ หรือนกั เขียนนัน้ จำ� เป็นท่จี ะตอ้ งศกึ ษาความรแู้ ละภมู ปิ ัญญาตา่ งๆ ให้รอบดา้ น เพื่อท�ำให้งาน ท่ตี นทำ� นัน้ มีคณุ ค่าและมีประโยชน์ต่อคนอ่าน 203

นกั เขียนจ�ำเป็นต้องรรู้ อบ และรู้ลึก “นักเขียน  คนท�ำงานศลิ ปะ และสื่อมวลชน น้ันจำ� เป็นท่ีจะ ต้องมีความรมู้ ากมายมหาศาล ใชค้ วามรู้สกึ อย่างเดียวมนั ก็ไปได้ไม่ ไกล เพราะฉะนัน้ เราตอ้ งเคลือ่ นไปกบั โลกความเป็นจรงิ ต้องเคลอ่ื น ไปกบั ขา่ วสารของโลก ทีส่ �ำคัญคอื ประวัติศาสตร์ ประวัตศิ าสตร์ท่ี จะสามารถท�ำให้คุณเข้าใจอนาคตมากขึ้น  เข้าใจปัจจุบันมากข้ึน   ตอนประมาณปี 2536 ผมอา่ นเรือ่ งราวทางประวัตศิ าสตรม์ ากจน คนรอบขา้ งคิดว่า ผมจะเขยี นนิยายองิ ประวตั ศิ าสตร์ ซึง่ จริงๆ ไม่ใช่ ผมแค่ต้องการเข้าใจโครงสรา้ งทางสังคม โครงสรา้ งการเมอื งไทย และตอ่ มาผมก็ขยายออกไปเปน็ Southeast Asia คอื นักเขียนมัน ต้องเขียนโลกท้ังโลกแค่เป็นเอเชียมันก็ลีบไป ต้องเข้าใจว่าการอ่าน ประวัติศาสตร์ไม่ว่าจะเป็นประวัติศาสตร์ภาคพ้ืนทวีปไหน  โดยตัว มันเองแล้ว  จะเช่ือมโยงกับประวัติศาสตร์ส่วนอื่นๆ  ของโลกอย่าง ปฏิเสธไม่ได้  ที่สนุกคือความหมายเชิงสัญลักษณ์ท่ีเกาะเก่ียวมากับ ประวัติศาสตร์  แม้แต่การผลิตสร้างอัตลักษณ์ของรัฐชาติแต่ละรัฐ ชาติก็หนีไม่พ้นเครื่องมือที่ชื่อว่าประวัติศาสตร์ อย่างพวกพงศาวดาร ก็สนุก  หรือบันทึกของนักเดินทางในศตวรรษก่อนๆ  ก็สนุก  อย่าง น้อยเราก็เห็นลักษณะทางกายภาพของโลกในยุคประวัติศาสตร์ได้ จากหนังสือเหล่าน้ันและประวัติศาสตร์ก็น�ำผมมาสู่การสนใจเร่ือง ชาตพิ นั ธุ์วทิ ยา มานษุ ยวิทยา ขณะเดยี วกันกต็ ิดตามความเคลอ่ื นไหว ของโลกใหมๆ่ ในฐานะนกั เขยี นคณุ ไม่มีสิทธลิ์ ะเลยโลกสมัยใหม ่  คุณ ต้องเคลื่อนไปกับการโคจรของโลกและผมก็ได้เรียนรู้ผ่านทางผลงาน ของนักวิชาการรุ่นใหม่จากส�ำนักต่างๆ  เมื่อผมอ่านประวัติศาสตร์   อ่านงานวิชาการที่มันเข้มๆ  หนักๆ  ผมก็จะกลับไปอ่านนิทานส�ำหรับ เด็ก  นิทานพื้นบ้าน  นิทานของแอนเดอร์สัน  นิทานกริมม์  นิทาน 204

เวตาล  นิทานสันสกฤต  นิทานอะไรก็ได้ที่อยู่ใกล้มือเพ่ือที่จะถ่วงดุล กันระหว่างโลกของความรู้และโลกของจินตนาการ  เพ่ือที่ความคิด ของผมจะไมแ่ ขง็ กระด้างเหมอื นงานวิชาการ และไมเ่ บาหววิ เหมอื น นทิ าน” มีค�ำกล่าวที่ว่า  ‘รู้อะไรให้กระจ่างแต่อย่างเดียว  ขอให้ เชี่ยวชาญเถิดจะเกิดผล’  ค�ำกล่าวน้ีขัดกับการเป็นทั้งนักเขียน  กวี และคนท�ำงานศลิ ปะ ของคณุ หรือเปล่า “คอื มนั มองว่าเหมอื นสิ่งตา่ งๆ ที่ผมท�ำ  เชน่ เขยี นกวี นยิ าย เรอ่ื งส้นั ท�ำงานศลิ ปะ หรือแตง่ เพลง มนั คอื งานหลายอย่าง แตเ่ อา จริงๆ  แล้วโดยพ้ืนฐานผมถือว่ามันเป็นอย่างเดียวกัน  แต่เครื่องมือ ที่มารองรับความคิดเรา  เป็นเครื่องมือคนละแบบกัน  อย่างเขียนบท กวีก็ใช้เครื่องมืออีกแบบนึง  เขียนเรื่องส้ัน  เขียนนิยายก็มีโครงสร้าง ในการเล่าเร่ืองอีกแบบนึง  จริงๆ มันอันเดียวกัน  ซ่ึงผมไม่คิดว่ามัน เปน็ การแยกสว่ น พ้นื ฐานมนั ก็คอื งานเขียนงานศลิ ปะ “ นอกจากนักเขียนจะสร้างสรรค์งานเพ่ือให้ความรู้แล้ว  นัก เขียนและคนท�ำงานศิลปะสามารถขับเคล่ือนสังคมเพ่ือให้เกิดการ พฒั นา และเปน็ กระบอกเสียงของประชาชนไดด้ ้วย “คนเป็นนักเขียนควรตั้งค�ำถามต่อรัฐ  เพราะมันมีเร่ืองผล ประโยชนม์ าเกย่ี วขอ้ ง เราควรจะคลางแคลงใจไว้ก่อน  ไมว่ า่ รฐั บาล ชุดไหนในนามของความเป็นรัฐเราควรจะไม่ไว้เน้ือเชื่อใจ  เพื่อจะได้ ต้ังค�ำถาม  เพื่อจะได้เช็กแต่ก็ไม่ใช่ความคิดเชิงอคติ  เพราะว่าเราตั้ง ค�ำถามเพ่ือให้ได้ค�ำตอบ  แล้วก็เพ่ือจะได้มองเห็นชัดว่าประเทศเรา จะเคล่ือนไปอย่างไร  เป็นลักษณะของคนเขียนหนังสือหรือคนท่ีจะ 205

เป็นนักคิด คนทีป่ รารถนาดตี อ่ สังคมต่อประเทศ  แต่แน่นอน ก่อนท่ีคุณจะตั้งค�ำถามคุณต้อง มีความรู้  ต้องเท่าทันกับสิ่งท่ี เกดิ ข้ึน” นักเขียนควรมีอุดมการณ์  แต่ต้องเป็นอุดมการณ์ของความ ถกู ต้องและมองทุกส่ิงอยา่ งเปน็ กลาง “อุดมการณ์นั้นส�ำคัญ  แต่เราควรมองด้วยว่าอุดมการณ์ มันถูกแฝงฝังมาด้วยอย่างอ่ืนหรือเปล่า  มันถูกโน้มน้าวมาด้วยผล ประโยชน์อะไรหรือเปล่า  ซ่ึงแน่นอนว่าโลกท้ังโลกมันสัมพันธ์กับ ระบบทุนนยิ ม เพราะฉะนน้ั เราตอ้ งมอง อุดมการณม์ นั ก็มีอยจู่ รงิ แต่ เราตอ้ งเทา่ ทนั ดว้ ย ถ้าอดุ มการณ์ต้องแยกแยะระหว่างผลประโยชน์ กบั อุดมการณ์ หรอื วา่ ความรกั ใครหรอื ชงิ ชังใคร ต้องถอดตัวเองออก มาให้ได้  ทุกวันน้ีสังคมถูกท�ำให้แตกกระจายไม่ว่านักเขียนไม่ว่านัก ข่าว ทกุ ส่วนถูกท�ำให้แตกกระจายด้วยชุดอุดมการณ์ มนั นา่ แปลก ไหม เพราะเรามอี ุดมการณ์ แล้วทำ� ใหแ้ ตกกันไป หนงึ่ เราต้องมาตัง้ คำ� ถามกับอุดมการณจ์ ริงๆ ซึง่ มันเคล่ือนมาจาก 3 ทศวรรษก่อนแล้ว เพราะฉะนั้นมันต้องมีอะไรที่บิดๆ  เบี้ยวๆ  สักอย่างหนึ่ง  ทุกคนเรียก 206

ร้องประชาธิปไตย  ทุกคนเรียกร้องอะไรสักอย่างท่ีเหมือนว่าเป็นเรื่อง ดีๆ  กบั ประเทศ ผมเข้าใจไดว้ ่า สงครามทุกคร้งั ก็เป็นสงครามเรยี กร้อง สันติภาพท้ังน้ัน  แต่ว่ายังไงโลกก็ยังมีสงครามอยู่  มนุษย์ก็ยังต้องฆ่า กันอยู่ สังคมไทยต้องเรยี นรู้ประวัติศาสตรท์ ี่ผ่านมา” อดุ มคตใิ นเรอ่ื งตา่ งๆ  ของแต่ละบุคคลมนั มีผลดีและผลเสีย “ทุกคนมีอุดมคติของตนเอง  แต่เราต้องเท่าทันกับโลกท่ีมัน เคล่ือนตัวไป  ไม่ใช่คุณกอดอุดมคติไว้ชุดเดียวแล้วคุณก็ไม่เคยสนใจ วา่ โลกมันจะเป็นอะไรยังไงเลย เพราะฉะนนั้ ผมเชื่อวา่ นักเขียนทุกคน มีอุดมคติ  แน่นอนว่าอุดมคติมันต้องใช้บวกพ่วงมาด้วยกับปัญญา แน่นอนว่าคุณต้องมีปัญญาด้วย  อุดมคติอย่างเดียวท�ำลายทุกสิ่งให้ วอดวายมาแล้ว เพราะในประวัติศาสตร์บอกเราแลว้ วา่ อุดมคติอยา่ ง เดียวบางคร้ังก็เป็นสิ่งท่ีอันตราย  เพราะฉะนั้นกลุ่มนักคิดนักเขียนมี อุดมคตแิ ล้วก็ต้องเทา่ ทนั ความเป็นไปของสงั คม เปน็ กลาง นอกจาก อยู่กลางแล้วต้องให้สติสังคม  ให้สติแล้วเอาข้อมูลทั้งหมดที่มีอยู่มา วางแผ่หรือว่ามาเปิดเผย  มาขยายว่าสังคมมันก�ำลังเป็นแบบน้ีนะ แล้วทำ� ทุกวถิ ีทางเพ่ือใหส้ ตกิ ับสงั คม” ในฐานะเป็นนักเขยี นทีต่ อ้ งศกึ ษาหาความรู้โดยตลอด ความ รู้วิทยาการต่างๆ  รวมถึงวิทยาศาสตร์น้ันส�ำคัญต่อการท�ำงาน  แต่ ไม่ส�ำคัญเท่ากับค�ำสอนทางพุทธศาสนาท่ีเป็นหลักส�ำคัญในทุกๆ ศาสตรข์ องการเรียนรู้ 207

“วิทยาศาสตร์ก็แค่ศาสตร์ท่ีมีระบบเหตุผลชุดหน่ึงซ่ึงอธิบาย สิ่งต่างๆ  ได้ชัดเจน  และค�ำตอบของวิทยาศาสตร์ไม่ได้หมายถึงว่า เป็นค�ำตอบใหม่ๆ  เสมอไป  บางทีค�ำตอบบางอย่างมีอยู่แล้ว  แต่ วิทยาศาสตร์เพ่ิงไปเจอ  เพ่ิงไปค้นพบ  เช่นค�ำกล่าวที่ว่าพุทธศาสนา เป็นวิทยาศาสตร์ จรงิ ๆ แลว้ วิทยาศาสตรต์ า่ งหากที่เป็นเสีย้ วหนงึ่ ของ พุทธศาสนา  ค�ำตอบหลายอย่างพุทธศาสนาอธิบายมาตั้งนานแล้ว แต่วิทยาศาสตรเ์ พ่ิงร้ ู  พอวทิ ยาศาสตรร์ ู้ วิทยาศาสตร์ก็ท�ำตวั กร่าง “มนุษย์ในซีกโลกเราติดกับดักวาทกรรมของยุโรปและ อเมริกาอยู่เสมอ  แล้วเราก็รู้สึกภูมิใจว่าศาสนาพุทธเป็นวิทยาศาสตร์   เป็นความเชื่อที่ไม่ล้าหลัง  จริงๆ  แล้ววิทยาศาสตร์ต่างหากท่ีล้าหลัง พุทธศาสนา  แต่เพราะการปฏิบัติการของวาทกรรมชุดหนึ่งจึงท�ำให้ ความเข้าใจของเราไขวเ้ ขวไป” ในการทำ� งานหรอื การเรียน  ระเบยี บวินยั คือสิง่ ส�ำคัญท่สี ุด “แม้ระเบียบวินัยของนักเขียนจะไม่ได้อยู่ในกรอบตายตัว เสมอไป  แต่มันก็มีรูปแบบของระเบียบวินัยที่เราสร้างขึ้น  ถ้าเกิดเรา ไม่มีระเบียบวินัย  เราจะไม่มีงานออกสู่สังคมได้เลย  เพราะฉะนั้น ระเบียบวินัยคือส่ิงจ�ำเป็นในการท�ำงานเพ่ือให้ได้เน้ืองานตามท่ีเรา ตงั้ ใจไว้” 208