Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือการใช้สมุนไพรไทย-จีน

คู่มือการใช้สมุนไพรไทย-จีน

Description: คู่มือการใช้สมุนไพรไทย-จีน

Search

Read the Text Version

Page 1 คมู ือการใชสมุนไพรไทย-จีน กรมพฒั นาการแพทยแ ผนไทยและการแพทยทางเลอื ก กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2551 ISBN 978-974-8062-72-3

Page 2

Page 3 คูมือการใชส มุนไพรไทย-จนี ที่ปรึกษา นายแพทยลือชา วนรัตน อธบิ ดีกรมพฒั นาการแพทยแ ผนไทยและการแพทยทางเลือก นายแพทยวชิ ัย โชคววิ ัฒน ผูทรงคุณวุฒิ นายแพทยสมยศ เจรญิ ศักดิ์ ผูท รงคุณวฒุ ิ บรรณาธกิ าร เย็นจติ ร เตชะดํารงสิน คณะทํางาน ทัศนยี  ฮาซาไนน พเยาว เหมือนวงษญาติ อภญิ ญา เวชพงศา รพีพล ภโววาท วิญู เตโชวาณชิ ย วฒุ ิ วุฒธิ รรมเวช สวาง กอแสงเรอื ง สมชาย จิรพินจิ วงศ เบญจนีย เภาพานิชย ยุพาวดี บญุ ชิต รวนิ ันท กุดทิง เจา ของลขิ สทิ ธิ์: กรมพฒั นาการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลอื ก กระทรวงสาธารณสุข ออกแบบ: เยน็ จิตร เตชะดาํ รงสนิ ถายภาพ: อาวธุ ราชสีหวรรณ อัศวิน นรนิ ทชัยรงั ษี พิมพคร้งั ที่ 1: มีนาคม 2551 จาํ นวน 1,000 เลม พมิ พที่ : สาํ นกั งานกิจการโรงพิมพ องคการทหารผานศึกในพระบรมราชปู ถมั ภ 2/9 ซอยกรุงเทพฯ-นนทบรุ ี 31 เขตบางซ่ือ กรุงเทพมหานคร 10800 ขอมูลทางบรรณานุกรมของหอสมดุ แหงชาติ เย็นจิตร เตชะดํารงสนิ (บรรณาธิการ) คูมือการใชสมุนไพรไทย-จีน—กรงุ เทพมหานคร: สํานกั งานกจิ การโรงพิมพองคการทหารผา นศกึ ในพระบรมราชูปถมั ภ, 2551. 208 หนา ภาพประกอบ กรมพัฒนาการแพทยแ ผนไทยและการแพทยทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ISBN 978-974-8062-72-3

Page 4 ก กรมพัฒนาการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลอื ก คํานํา ประเทศไทยและสาธารณรัฐประชาชนจีนต้ังอยูในภูมิภาคที่มีความหลากหลายทางชีวภาพของ ทรัพยากรพชื และสัตว และทรพั ยากรพชื ของทั้งสองประเทศมีจาํ นวนไมน อ ยท่ีเหมอื นกนั ยงั ผลใหส มนุ ไพร ไทยและจนี มีบางสว นท่ีเหมือนกัน แตม ีช่อื เรยี กไทยและจีนตางกนั นอกจากนีส้ าธารณรัฐประชาชนจนี ยัง เปน แบบอยา งทดี่ ปี ระเทศหนึง่ ของโลกทีม่ ีการใชส มุนไพรในการปอ งกันและรกั ษาโรคตา ง ๆ ใหก บั ประชาชน จนี จาํ นวน 1,300 ลานคนไดอยางพอเพยี งและมปี ระสทิ ธภิ าพ มกี ารบันทึกการใชสมนุ ไพรอยางเปน ระบบ มานานนับพนั ป และมแี บบแผนในการใชว ธิ ที างวทิ ยาศาสตรมาสนับสนนุ ภูมิปญญาดัง้ เดิม โดยเปน ท่ี ยอมรบั ของนานาประเทศทว่ั โลก ประเทศไทยมรี ะบบการแพทยแผนไทยเชนกัน แตไมมีการบนั ทกึ อยางเปน ระบบมากนกั การแพทย และสมุนไพรทงั้ ของไทยและจีนทไ่ี ดสืบทอดเปน ภมู ิปญ ญามาแตโบราณกาล มคี วามลมุ ลกึ สขุ ุมและละเอยี ด ประณีตสอดคลองกบั วถิ ีชวี ติ และวัฒนธรรมอันดีงามของคนไทยและคนจีนอยา งแนบแนน เมื่อศกึ ษาใน แนวลกึ จะพบวา การแพทยท้ังสองแผนตางมจี ุดเดนของตัวเองและมบี างสว นท่ีคลายคลงึ กัน สามารถนาํ มา ประยกุ ตใ ชใ หเ หมาะสม การพฒั นาดา นการแพทยต ามภูมิปญ ญาจะตอ งพฒั นาควบคไู ปกบั ดา นเภสัชกรรม เพ่ือใหการใชยาสมุนไพรเปนไปอยางถูกตอง ปลอดภัย และมีประสิทธิผล จาํ เปนตองทราบวิธีแปรรูป ตัวยาใหมีคณุ ภาพและวิธใี ชส มนุ ไพรทถ่ี กู ตอ ง กรมพัฒนาการแพทยแ ผนไทยและการแพทยท างเลอื ก เปนหนวยงานในสังกัดกระทรวงสาธารณสขุ ทร่ี ับผดิ ชอบการถา ยทอดองคค วามรูแ ละเทคโนโลยดี า นการแพทยแ ผนไทย การแพทยทางเลอื กและสมนุ ไพร ไดต ระหนกั ถึงความจําเปน ของการรวบรวมขอมลู การใชส มุนไพรไทยและจีนเหลานีไ้ วใ ชป ระโยชน จงึ ได จดั ทําหนงั สอื “คมู อื การใชสมุนไพรไทย-จนี ” ขึน้ โดยไดคัดเลือกสมุนไพรท่ียอมรบั วามปี ระโยชน หาได งา ยในประเทศไทย และมีความสําคัญดา นเศรษฐกิจและการสาธารณสุข มีการใชทัง้ สองประเทศจาํ นวน 50 ชนิดมารวบรวมไว ซึ่งมีเน้ือหาครอบคลุมท้ังดา นความรทู ่ัวไปและการใชส มุนไพรเปน รายชนดิ เพ่อื ให บุคลากรสาธารณสขุ และผูสนใจทว่ั ไปศึกษาและสามารถนําสมุนไพรดงั กลา วไปใชไ ดอ ยางมนั่ ใจ มีเหตผุ ล และกวางขวางยง่ิ ข้ึน กรมพัฒนาการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือก ขอขอบคุณคณะทํางานทุกทานที่มี ความตัง้ ใจและความทุมเทเสียสละ รวมมือกันทาํ งานจนหนังสอื เลม นี้สาํ เรจ็ ลลุ ว งไปดว ยดี และหวังเปน

Page 5 คมู ือการใชส มุนไพรไทย-จนี ข อยา งย่งิ วา องคความรูด า นสมุนไพรไทย-จนี ในหนังสอื เลม นจี้ ะมสี ว นชว ยสะทอ นใหเ หน็ การนําขอดขี อง ศาสตรอ่ืนมาใชใหเกิดประโยชน เพ่ือพัฒนาศาสตรของตนและเกิดความรวมมือกัน มุงหวังให ผลการรักษาโรคมีประสทิ ธิภาพเพิ่มขนึ้ และสนบั สนนุ การพึง่ ตนเองดา นสุขภาพของประเทศ (นายแพทยลอื ชา วนรตั น) อธบิ ดกี รมพัฒนาการแพทยแ ผนไทยและการแพทยทางเลือก

Page 6 ค กรมพฒั นาการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือก สารบญั หนา คาํ นาํ ก สารบญั ค สารบญั ภาพ ฉ ภาพสมุนไพรไทย-จีน 1 11 บทนํา 13 21 ความรทู ั่วไปเก่ยี วกับสมุนไพร 30 34 การใชย าสมุนไพร 44 45 รสของยาไทยและยาจนี 48 51 การเตรียมตวั ยาพรอ มใช 55 57 การใชส มุนไพรรายชนดิ 60 - กระวาน : โตวโคว (豆蔻 Doukou) 62 - กะเมง็ : ฮั่นเหลียนเฉา (旱莲草 Hanliancao) 66 - กานพลู : ติงเซยี ง (丁香 Dingxiang) 69 - กงิ่ หมอ น : ซังจือ (桑枝 Sangzhi) 72 - กง่ิ อบเชยจนี : กยุ จอื (桂枝 Guizhi) 76 - เกสรบวั หลวง : เหลยี นซู (莲须 Lianxu) 80 - โกฐขแ้ี มว : ตี้หวง (地黄 Dihuang) 83 - โกฐเขมา : ชงั จู (苍术 Cangzhu) 86 - โกฐจุฬาลาํ พา : ชิงเฮา (青蒿 Qinghao) 90 - โกฐเชยี ง : ตงั กุย (当归 Danggui) 93 - โกฐน้ําเตา : ตาหวง (大黄 Dahuang) - โกฐสอ : ไปจื่อ (白芷 Baizhi) - โกฐหวั บัว : ชวนซยฺ ง (川芎 Chuanxiong) - ขิง : เจียง (姜 Jiang) - คนทสี อ : มา นจงิ จ่ือ (蔓荆子 Manjingzi) - เฉากว ย : เฉากั่ว (草果 Caoguo)

คมู ือการใชสมุนไพรไทย-จนี Page 7 สารบัญ (ตอ ) ง - ชะเอมเทศ : กันเฉา (甘草 Gancao) หนา - ดอกคําฝอย : หงฮวา (红花 Honghua) 95 - ดบี วั : เหลยี นจ่ือซิน (莲子心 Lianzixin) 101 - ดปี ลี : ปปอ (荜茇 Bibo) 104 - ตน พิมเสน : ฮวั่ เซยี ง (藿香 Huoxiang) 106 - ตน สะระแหน : ปอ เหอ (薄荷 Bohe) 109 - บว ยดํา : อูเหมย (乌梅 Wumei) 111 - ใบมะขามแขก : ฟานเซ่ียเย่ีย (番泻叶 Fanxieye) 113 - ใบหมอน : ซังเยยี่ (桑叶 Sangye) 116 - เปลอื กรากโบตั๋น : หมูตันผี (牡丹皮 Mudanpi) 119 - เปลือกรากหมอ น : ซังไปผี (桑白皮 Sangbaipi) 122 - โปงรากสน : ฝหู ลิง (茯苓 Fuling) 125 - ผลพดุ ซอน : จือจื่อ (栀子 Zhizi) 128 - ผลเลย่ี น : ชวนเลี่ยนจื่อ (川楝子 Chuanlianzi) 130 - ผักคาวทอง : ยฺหวีซิงเฉา (鱼腥草 Yuxingcao) 133 - ผวิ สมจีน : เฉินผี (陈皮 Chenpi) 136 - พทุ ราจนี : ตาเจา (大枣 Dazao) 139 - ฟา ทะลายโจร : ชวนซินเหลียน (穿心莲 Chuanxinlian) 142 - เมลด็ บัว : เหลียนจื่อ (莲子 Lianzi) 144 - เมลด็ ฝอยทอง : ทูซ ือจ่อื (兔丝子 Tusizi) 149 - ราชดดั : ยาตา นจอ่ื (鸭胆子 Yadanzi) 151 - เรวดง: ซาเหริน (砂仁 Sharen) 154 - ลูกจนั ทนเ ทศ : โรว โตว โคว (肉豆蔻 Roudoukou) 157 - ลูกเดือย : อี้อี่เหริน (意苡仁 Yiyiren) 160 - เล็บมือนาง : ส่ือจฺวินจ่ือ (使君子 Shijunzi) 164 167

Page 8 จ กรมพัฒนาการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือก สารบัญ (ตอ ) หนา - วา นพรา ว : เซยี นเหมา (仙茅 Xianmao) 170 - วานนํ้า : จั้งชางผู (藏菖蒲 Zangchangpu) 173 - สายน้าํ ผ้ึง : จนิ อ๋นิ ฮวา (金银花 Jinyinhua) 176 - สเี สยี ด : เออ ฉา (儿茶 Ercha) 179 - หญา คา : ไปเ หมาเกนิ (白茅根 BaiMaogen) 182 - หญาแหวหมู : เซียงฟู (香附 Xiangfu) 185 - หมาก : ปงหลาง (槟榔 Binglang) 189 - โหราเดอื ยไก : ฟูจ่ือ (附子 Fuzi) 192 - อบเชยจนี : โรวกุย (肉桂 Rougui) 196

คมู ือการใชสมุนไพรไทย-จนี Page 9 สารบญั ภาพ ฉ 1. กระวาน : โตวโคว (Fructus Amomi Rotundus) หนา 2. กะเมง็ : ฮ่ันเหลียนเฉา (Herba Ecliptae) 1, 45 3. กานพลู : ติงเซยี ง (Flos Caryophylli) 1, 48 4. กิง่ หมอน : ซังจือ (Ramulus Mori) 1, 51 5. กิง่ อบเชยจนี : กยุ จอื (Ramulus Cinnamomi) 1, 55 6. เกสรบวั หลวง : เหลยี นซู (Stamen Nelumbinis) 1, 57 7. โกฐข้แี มว : ตห้ี วง (Radix Rehmanniae) 1, 60 8. โกฐเขมา : ชงั จู (Rhizoma Atractylodis) 2, 62 9. โกฐจฬุ าลาํ พา : ชิงเฮา (Herba Artemisiae Annuae) 2, 66 10. โกฐเชยี ง : ตังกยุ (Radix Angelicae Sinensis) 2, 69 11. โกฐนาํ้ เตา : ตาหวง (Radix et Rhizoma Rhei) 2, 72 12. โกฐสอ : ไปจ ือ่ (Radix Angelicae Dahuricae) 3, 76 13. โกฐหัวบวั : ชวนซฺยง (Rhizoma Chuanxiong) 3, 80 14. ขงิ : เจยี ง (Rhizoma Zingiberis) 3, 83 15. คนทีสอ : มานจงิ จอื่ (Fructus Viticis) 3, 86 16. เฉากว ย : เฉากั่ว (Fructus Tsaoko) 3, 90 17. ชะเอมเทศ : กนั เฉา (Radix Glycyrrhiza) 3, 93 18. ดอกคําฝอย : หงฮวา (Flos Carthami) 4, 95 19. ดีบัว : เหลียนจื่อซนิ (Plumula Nelumbinis) 4, 101 20. ดปี ลี : ปปอ (Fructus Piperis Longi) 4, 104 21. ตนพมิ เสน : ฮ่ัวเซยี ง (Herba Pogostemonis) 4, 106 22. ตน สะระแหน : ปอเหอ (Herba Menthae) 4, 109 23. บว ยดํา : อูเหมย (Fructus Mume) 5, 111 24. ใบมะขามแขก : ฟานเซ่ียเยี่ย (Folium Sennae) 5, 113 25. ใบหมอน : ซังเยยี่ (Folium Mori) 5, 116 26. เปลอื กรากโบตัน๋ : หมูตันผี (Cortex Moutan) 5, 119 5, 122

Page 10 ช กรมพัฒนาการแพทยแ ผนไทยและการแพทยทางเลอื ก สารบัญภาพ (ตอ) หนา 27. เปลอื กรากหมอ น : ซังไปผี (Cortex Mori) 5, 125 28. โปงรากสน : ฝูหลิง (Poria) 6, 128 29. ผลพดุ ซอ น : จือจื่อ (Fructus Gardeniae) 6, 130 30. ผลเล่ยี น : ชวนเลี่ยนจื่อ (Fructus Toosendan) 6, 133 31. ผักคาวทอง : ยหฺ วีซิงเฉา (Herba Houttuyniae) 6, 136 32. ผวิ สม จีน : เฉินผี (Pericarpium Citri Reticulatae) 6, 139 33. พทุ ราจนี : ตาเจา (Fructus Jujubae) 6, 142 34. ฟาทะลายโจร : ชวนซินเหลียน (Herba Andrographitis) 7, 144 35. เมล็ดบัว : เหลียนจ่ือ (Semen Nelumbinis) 7, 149 36. เมลด็ ฝอยทอง : ทซู อื จ่ือ (Semen Cuscutae) 7, 151 37. ราชดัด : ยาตา นจอ่ื (Fructus Bruceae) 7, 154 38. เรว ดง : ซาเหริน (Fructus Amomi) 7, 157 39. ลูกจันทนเ ทศ : โรว โตว โคว (Semen Myristicae) 7, 160 40. ลกู เดอื ย : อ้ีอ่ีเหริน (Semen Coicis) 8, 164 41. เล็บมือนาง : สื่อจฺวินจ่ือ (Fructus Quisqualis) 8, 167 42. วา นพรา ว : เซยี นเหมา (Rhizoma Curculiginis) 8, 170 43. วานนาํ้ : จั้งชางผู (Rhizoma Acori Calami) 8, 173 44. สายนาํ้ ผึง้ : จินอ๋ินฮวา (Flos Lonicerae) 8, 176 45. สีเสียด : เออฉา (Catechu) 8, 179 46. หญา คา : ไปเหมาเกิน (Rhizoma Imperatae) 9, 182 47. หญา แหว หมู : เซียงฟู (Rhizoma Cyperi) 9, 185 48. หมาก : ปงหลาง (Semen Arecae) 9, 189 49. โหราเดือยไก : ฟูจ่ือ (Radix Aconiti Lateralis Preparata) 9, 192 50. อบเชยจีน : โรวกุย (Cortex Cinnamomi) 9, 196

คมู ือการใชส มุนไพรไทย-จนี Page 11 ภาพสมุนไพรไทย-จีน 1 2 เซนติเมตร 1 เซนติเมตร กระวาน (Fructus Amomi Rotundus) กะเม็ง (Herba Ecliptae) 2 เซนตเิ มตร 1 เซนติเมตร กงิ่ อบเชยจีน (Ramulus Cinnamomi) กิ่งหมอน (Ramulus Mori) 2 เซนตเิ มตร 2 เซนติเมตร กานพลู (Flos Caryophylli) เกสรบัวหลวง (Stamen Nelumbinis)

Page 12 2 กรมพฒั นาการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลอื ก (Radix 2 เซนติเมตร โกฐเขมา (Rhizoma Atractylod2isเ)ซนติเมตร โกฐขี้แมว Rehmanniae) 5 เซนติเมตร ตังกุยเซนิ (Radix Angelicae Sinensis) 2 เซนตเิ มตร โกฐเชยี ง หรือ ตงั กุยเหวย (Radix Angelicae Sinensis) 2 เซนตเิ มตร 3 เซนตเิ มตร ตงั กุยโถว (Radix Angelicae Sinensis) โกฐจุฬาลําพา (Herba Artemisiae Annuae)

คมู อื การใชสมุนไพรไทย-จีน Page 13 3 2 เซนตเิ มตร โกฐสอ (Radix Angelicae Dahuric2aเeซ)นติเมตร โกฐน้าํ เตา (Radix et Rhizoma Rhei) 3 เซนติเมตร 2 เซนติเมตร โกฐหวั บัว (Rhizoma Chuanxiong) ขิงแหง (Rhizoma Zingiberis) 0.5 เซนตเิ มตร 1 เซนติเมตร คนทีสอ (Fructus Viticis) เฉากวย (Fructus Tsaoko)

Page 14 4 กรมพฒั นาการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือก 2 เซนติเมตร 2 เซนตเิ มตร ชะเอมเทศ (Radix Glycyrrhizae) ชะเอมเทศผัดนา้ํ ผง้ึ (Radix Glycyrrhizae Preparata) 0.5 เซนตเิ มตร 0.5 เซนติเมตร ดอกคําฝอย (Flos Carthami) ดีบัว (Plumula Nelumbinis) 1 เซนติเมตร 2 เซนติเมตร ดีปลี (Fructus Piperis Longi) ตน พิมเสน (Herba Pogostemonis)

คมู อื การใชส มนุ ไพรไทย-จนี Page 15 5 2 เซนตเิ มตร 2 เซนตเิ มตร ตนสะระแหน (Herba Menthae) บว ยดาํ (Fructus Mume) 2 เซนติเมตร 2 เซนติเมตร ใบมะขามแขก (Folium Sennae) ใบหมอน (Folium Mori) 2 เซนตเิ มตร 2 เซนติเมตร เปลือกรากโบต๋ัน (Cortex Moutan) เปลือกรากหมอน (Cortex Mori)

Page 16 6 กรมพฒั นาการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลอื ก 3 เซนตเิ มตร 2 เซนติเมตร โปงรากสน (Poria) ผลพุดซอน (Fructus Gardeniae) 2 เซนตเิ มตร 3 เซนตเิ มตร ผลเลี่ยน (Fructus Toosendan) ผักคาวทอง (Herba Houttuyniae) 2 เซนติเมตร 2 เซนตเิ มตร ผวิ สมจีน (Pericarpium Citri Reticulatae) พุทราจีน (Fructus Jujubae)

คมู อื การใชสมนุ ไพรไทย-จีน Page 17 7 2 เซนตเิ มตร 1 เซนตเิ มตร ฟาทะลายโจร (Herba Andrographis) เมล็ดบัว (Semen Nelumbinis) 0.3 เซนติเมตร 0.5 เซนตเิ มตร เมล็ดฝอยทอง (Semen Cuscutae) ราชดัด (Fructus Bruceae) 0.5 เซนตเิ มตร 2 เซนตเิ มตร เรวดง (Fructus Amomi) ลูกจนั ทนเ ทศ (Semen Myristicae)

Page 18 8 กรมพฒั นาการแพทยแ ผนไทยและการแพทยทางเลือก 0.5 เซนติเมตร 0.5 เซนติเมตร ลูกเดือย (Semen Coicis) เล็บมือนาง (Fructus Quisqualis) 1 เซนตเิ มตร 2 เซนตเิ มตร วานพราว (Rhizoma Curculiginis) วานน้ํา (Rhizoma Acori Calami) 0.5 เซนตเิ มตร 1 เซนตเิ มตร สายนาํ้ ผ้ึง (Flos Lonicerae) สีเสียด (Catechu)

คมู ือการใชสมุนไพรไทย-จนี Page 19 9 (Rhizoma 1 เซนติเมตร 1 เซนตเิ มตร หญา คา Imperatae) หญาแหวหมู (Rhizoma Cyperi) 1 เซนติเมตร 2 เซนตเิ มตร เมล็ดหมาก (Semen Arecae) โหราเดอื ยไก (Radix Aconiti Lateralis Preparata) 5 เซนติเมตร 2 เซนติเมตร อบเชยจีน (Cortex Cinnamomi) อบเชยจีน (Cortex Cinnamomi)

Page 20 10 กรมพฒั นาการแพทยแ ผนไทยและการแพทยทางเลอื ก

Page 21 คมู ือการใชสมุนไพรไทย-จนี 11 บทนาํ จากการศกึ ษาดูงานดานการแพทยและสมนุ ไพรจีนในสาธารณรัฐประชาชนจีนของนักวชิ าการไทย พบวา การวจิ ยั และพัฒนายาจากสมุนไพรจีนมีความกาวหนามาก และสาธารณรัฐประชาชนจีนมีทรพั ยากร ดา นสมุนไพรและตาํ ราเกยี่ วกบั สมุนไพรมากมาย การนาํ สมุนไพรมาใชเปน ยารักษาโรคในการแพทยแผน จีนนั้น ไดมกี ารพฒั นาสบื ตอกนั มานานนบั พันป ท้ังในชว งทสี่ าธารณรัฐประชาชนจีนปดประเทศระหวาง ป ค.ศ. 1949-1990 รวมเวลา 41 ปนั้น การพัฒนาสมุนไพรไดดาํ เนินการมาโดยตลอด และไดเพิ่มการ วิจัยและพัฒนาสมุนไพรในทุก ๆ ดาน ตามนโยบายการเรงรัดการผลิตยาจากสมุนไพรมาทดแทนยาท่ี ขาดแคลนซง่ึ ตองนําเขาจากตางประเทศ ทําใหส าธารณรัฐประชาชนจนี มกี ารใชส มนุ ไพรและยาจากสมนุ ไพร ในงานสาธารณสขุ ของประเทศอยางกวา งขวาง ขอมลู การใชและการพัฒนาสมุนไพรในดานตา ง ๆ ไดม ีการ บนั ทึกอยา งตอ เนือ่ ง โดยใชค วามรูทางวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยสี มยั ใหมมาศึกษาวจิ ยั เพือ่ หาขอ มูลมา สนบั สนุนการใชต ามภมู ปิ ญญาดั้งเดิม ในป พ.ศ. 2534-2535 กรมวิทยาศาสตรก ารแพทยไดร ับงบประมาณสนบั สนนุ จากองคก าร อนามยั โลกในการจดั ทําโครงการ “Expert Committee, for Transferring Technology and Integration of Knowledge in Chinese and Thai Herbal Medicine” โดยไดดาํ เนินการในรปู แบบของคณะกรรมการ และไดจ ดั ตั้งคณะกรรมการผเู ชี่ยวชาญการถายทอดเทคโนโลยีและประสมประสานประโยชนดานการใช สมนุ ไพร เพือ่ แปลและรวบรวมขอ มูลท่ีเปน ประโยชนตอ การใช การวิจัย รวมทั้งการควบคมุ คุณภาพของ สมนุ ไพร ซ่ึงขอ มูลตาง ๆ เหลาน้นั ไดรวบรวมจากตาํ ราสมุนไพรจนี ทีน่ าเช่ือถอื และเปนทย่ี อมรับของแพทย แผนจีนจาํ นวน 19 เลม เปนงานทีย่ ังไมม กี ารแปลเปน ภาษาไทยหรอื ภาษาองั กฤษในขณะนน้ั โดยใช ขอ มลู จากรายงานการศกึ ษาวจิ ยั ทง้ั ในและตางประเทศ นํามาประกอบเพือ่ ใหส มบรู ณยิง่ ขึ้น สมุนไพรทีไ่ ด คัดเลือกเปนสมุนไพรทม่ี กี ารใชและมีความสําคัญดา นสาธารณสุข ไดแก เรว หมอ น บวั หลวง และพลคู าว แตเนอ่ื งจากมขี อจํากดั ดานงบประมาณจึงไมสามารถดําเนินการตอ เนือ่ งได และนา เสียดายทป่ี รมาจารย หลายทา นในคณะกรรมการดังกลา วไดลว งลบั ไปแลว อาทิ ศาสตราจารย ดร.วิเชยี ร จรี วงศ ดร.มานะ รักวทิ ยาศาสตร นายเจนกิจ เวชพงศา นายวิทติ วณั นาวบิ ูล ทา นเหลา น้ันลว นเปนผมู คี วามรภู าษาจีน ดา นการแพทยแ ละเภสชั กรรมเปน อยา งดีและไดอ ทุ ิศเวลาในการศึกษา พจิ ารณา แปล และเรียบเรียง เปนภาษาไทย สามารถถา ยทอดองคความรูทถี่ กู ตอ งใหผูสนใจนําไปใชประโยชน ผูเ ขยี นโชคดที ่ไี ดมีโอกาส

Page 22 12 กรมพัฒนาการแพทยแ ผนไทยและการแพทยทางเลือก เปนกรรมการในชดุ นั้น และผเู ขียนตระหนกั ดวี าภาษาจนี มศี ัพทเ ทคนิคเฉพาะดาน โดยเฉพาะอยางยงิ่ ทางดานการแพทยและเภสัชกรรม มีศัพทเฉพาะวิชา ไมสามารถสื่อความหมายใหเขาใจไดโดยบุคคล ธรรมดา และไดเห็นประโยชนของการนาํ องคความรูดังกลาวมาประยุกตใชใหเหมาะสม จึงมีความคิด ที่จะสานตอเจตนารมณของปรมาจารยเหลา นั้น กรมพฒั นาการแพทยแผนไทยและการแพทยท างเลอื ก โดยสถาบนั การแพทยไทย-จนี เอเชยี ตะวันออกเฉียงใต ในฐานะหนวยงานที่รับผิดชอบในการพัฒนาและถายทอดองคความรูดานศาสตร การแพทยแ ผนจีนทถี่ ูกตอ ง และผสมผสานการแพทยแ ผนจีนทเ่ี หมาะสมเขาสูระบบสุขภาพ จงึ ไดจดั ทาํ หนังสือ “คมู ือการใชส มนุ ไพรไทย-จนี ” น้ีข้ึน โดยมวี ัตถปุ ระสงคเ พอ่ื จัดการความรูดานการใชส มุนไพร ไทย-จนี เผยแพรความรูดา นการใชป ระโยชนจากสมุนไพรไทย-จีน และสนับสนนุ การผลักดนั วิทยาการ ดานสมุนไพรใหก า วหนาตอ ไป เพื่อใหเกิดประโยชนสงู สุดแกค นไทย ในการจดั ทาํ หนงั สอื “คมู อื การใชสมุนไพรไทย-จนี ” นี้ตองใชความพยายามอยา งสงู ในการสบื คน ขอมูลจากเอกสารและตาํ ราหลายสิบเลม ท้ังภาษาไทยและภาษาจีน โดยขอ มลู เกีย่ วกบั สมุนไพรไทยไดจ าก เอกสารท่ีสะทอ นภูมปิ ญญาไทยจากหลายแหลง ท้งั จากตําราแพทยแผนไทยและผลงานวจิ ัยตา ง ๆ สว น ขอ มลู สมนุ ไพรจีนไดจ ากเภสชั ตาํ รับของสาธารณรัฐประชาชนจนี (Pharmacopoeia of the People’s Republic of China) ตาํ รายาจนี (Chinese Materia Medica) ตาํ ราการแปรรปู สมุนไพรจนี (Processing of Traditional Chinese Medicine) และตําราวชิ าการศาสตรการแพทยแ ผนจนี ซงึ่ ตาํ ราเหลา น้ีสว น ใหญต ีพมิ พเปนภาษาจีน มีศัพทเทคนิคเฉพาะมากมาย ทําใหยากลาํ บากในการแปล และเม่ือแปลเปน ภาษาไทยแลว ตอ งมาเรยี บเรยี งใหมใ หเ ปนภาษาทีเ่ ขาใจงา ยสาํ หรบั ผูอานทัว่ ไป รวมทงั้ ไดจ ดั ทําภาพประกอบ ตวั ยาแตล ะชนดิ ซึง่ กวา จะเปนรปู เลม เผยแพรไ ดต อ งใชเ วลาและความพยายามมาก หนังสอื “คมู อื การใชส มุนไพรไทย-จีน” เลมนป้ี ระกอบดว ยเนอื้ หาที่สาํ คัญ 2 สวน สว นแรก เปน เรื่องของความรทู ัว่ ไปท่ีควรทราบ เพอ่ื ใหผอู า นไดท ราบความรทู ั่วไปเกยี่ วกบั สมนุ ไพร การใชย าสมุนไพร รสของยาไทยและยาจีน และการเตรียมตัวยาพรอมใช สว นทีส่ องเปน เรอ่ื งของการใชส มุนไพรรายชนิด จาํ นวน 50 ชนิด ซงึ่ แตล ะชนดิ ประกอบดวยรายละเอยี ดของหวั ขอ ดงั นี้ นยิ าม ชือ่ ตัวยา (ไทย จนี อังกฤษ และละติน) การเกบ็ เก่ียวและการปฏบิ ัตหิ ลังการเก็บเก่ียว การเตรยี มตัวยาพรอมใช คุณภาพของ ตัวยาจากลกั ษณะภายนอก สรรพคณุ ตามตาํ ราการแพทยแ ผนไทยและการแพทยแผนจนี ขนาดทีใ่ ชและ วิธีใช ขอ หามใช ขอควรระวงั และอาการขางเคียง รวมทั้งขอ มูลวชิ าการที่เกยี่ วขอ งและภาพประกอบของ ตัวยา ซึ่งหวั ขอ ตา ง ๆ ดังกลา วมคี วามหมายและความสําคญั ตอ การนําสมุนไพรมาใชประโยชน

Page 23 คมู อื การใชส มนุ ไพรไทย-จนี 13 ความรูทั่วไปเกี่ยวกับสมนุ ไพร ประเทศไทยอยูในเขตรอนช้ืนท่ีมีความหลากหลายทางชีวภาพสูงมากประเทศหน่ึงของโลก มี รายงานวา ประเทศไทยมพี ืชประมาณ 15,000 ชนิด มสี มนุ ไพรที่ใชเ ปนยาในทอ งถน่ิ ประมาณ 800 ชนิด และหากมีการสาํ รวจอยา งตอ เนอื่ งเพม่ิ เติมจะตองพบชนดิ พนั ธุใหม ๆ อกี มาก คนไทยรจู ักนาํ สมนุ ไพร มาใชประโยชนกวา 2,000 ป ท้ังเปนยารกั ษาโรคและเปนอาหาร นอกจากนีส้ มนุ ไพรยังสามารถนํามาใช ประโยชนท างดา นอื่น ๆ เชน นาํ มาบริโภคเปนเคร่อื งดืม่ สีผสมอาหาร สยี อ ม และเคร่อื งสาํ อางอกี ดวย คาํ นิยาม คาํ วา “สมุนไพร” ไดม ีการใหคํานิยามไวหลากหลาย ดังตอไปนี้ 1. “สมนุ ไพร” ตามพจนานุกรมฉบับราชบณั ฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 พิมพครัง้ ที่ 1 พ.ศ. 2546 หนา 1,132 น. ผลติ ผลธรรมชาติ ไดจ ากพืช สัตว และแรธ าตุ ทีใ่ ชเปนยา หรือผสมกบั สารอนื่ ตามตาํ รับ ยา เพอ่ื บาํ บัดโรค บาํ รงุ รางกาย หรอื ใชเ ปนยาพิษ เชน กระเทียม นา้ํ ผึง้ รากดนิ (ไสเดือน) เขากวางออน กํามะถนั ยางนอง โลตน๊ิ 1 2. “ยาสมุนไพร” ตามพระราชบญั ญตั ยิ า พ.ศ. 2510 ในมาตรา 4 หมายความวา ยาที่ได จากพฤกษชาติ สัตว หรอื แรธาตุ ซ่ึงมไิ ดผสม ปรุง หรอื แปรสภาพ2 3. “สมุนไพร” ตามพระราชบญั ญตั ิคมุ ครองและสง เสรมิ ภมู ิปญญาการแพทยแผนไทย พ.ศ. 2542 หมายความวา พืช สตั ว จลุ ชีพ ธาตุวตั ถุ สารสกัดดง้ั เดิมจากพชื หรือสตั ว ท่ีใช หรือ แปรสภาพ หรอื ปรงุ เปนยา หรืออาหารเพอ่ื การตรวจวินจิ ฉยั บําบดั รักษา หรือปองกนั หรือสง เสรมิ สขุ ภาพรา งกาย มนษุ ย หรือสตั ว และใหห มายความรวมถงึ ถิน่ กําเนิด หรือถน่ิ ที่อยขู องส่งิ ดังกลาว3 การเกบ็ เกยี่ วสมนุ ไพร สมนุ ไพรสว นใหญไ ดมาจากพชื พชื แตล ะชนดิ มแี หลง กระจายพนั ธุและถน่ิ ท่ีอยแู ตกตางกัน สง ผล ใหสมุนไพรแตล ะชนดิ มีลักษณะเฉพาะตัว มอี งคป ระกอบทางเคมี และสรรพคณุ ทางยาแตกตางกันดวย การเกบ็ เกย่ี ววัตถุดิบสมนุ ไพรตอ งคาํ นงึ ถึง การเกบ็ เกยี่ วใหถกู ชนิดของพืช การเกบ็ เกี่ยวใหถ กู สว นทใี่ ช ทาํ ยา และการเก็บเก่ยี วในอายขุ องพชื ชว งเวลาของวัน และฤดกู าลเกบ็ ทเ่ี หมาะสม จะไดยาทม่ี ีคณุ ภาพดี หรอื ไดส รรพคุณทางยาตามตองการ สวนของพชื สมุนไพรทีใ่ ชเปนยามี 5 สวน จะเก็บในระยะทม่ี ีปริมาณ 4 ตวั ยาในพชื สงู สดุ ดังนี้

Page 24 14 กรมพัฒนาการแพทยแ ผนไทยและการแพทยทางเลือก 1. รากและหวั (เหงา ลําตนใตดิน) จะเกบ็ ในระยะท่ีพชื หยุดการเจริญเติบโตแลว สวนใหญเปน พืชลมลกุ มกั จะเก็บตอนตน ฤดูหนาว ซึง่ เปนชว งท่ผี ลัดใบ พชื จะเกบ็ สะสมอาหารไวท ี่รากและหัว 2. ใบหรือทั้งตน จะเก็บในระยะท่ีพชื เจริญเติบโตมากทส่ี ุด แตบางชนิดก็จะกําหนดวาตองเก็บ อยางไร 3. เปลือกตน และเปลอื กราก จะเก็บในระยะตน ฤดฝู น เพราะเปน ชว งที่มตี วั ยาสงู และลอกเปลือก งายกวา ชวงอ่นื ๆ 4. ดอก จะเก็บในระยะดอกเรม่ิ บาน ยกเวนบางชนิดตองเก็บขณะยังตมู อยู 5. ผลและเมล็ด จะเกบ็ ในระยะแกเตม็ ท่ี วธิ กี ารเก็บสมุนไพรที่ถูกตอ งน้ัน โดยทั่วไปไมมีอะไรสลบั ซบั ซอ น ประเภทใบและดอก ใชว ิธีเด็ด แบบธรรมดา สวนประเภทราก หัว หรือเกบ็ ทงั้ ตน ใชว ธิ ีขดุ อยางระมัดระวัง เพอื่ ใหไดสวนทเ่ี ปน ยามาก ทีส่ ดุ สาํ หรับเปลือกตนหรอื เปลือกราก เนื่องจากเกี่ยวของกับการดาํ รงชวี ติ ของตน พชื ดังนั้นจึงควรสนใจ วิธกี ารเก็บดังทไี่ ดก ลาวมาแลว ขา งตน 3 เครื่องมอื สําหรับเกบ็ สมนุ ไพร เชน มดี ขนาดใหญ กรรไกร เล่อื ย และเครอื่ งมือจกั รกลอน่ื ๆ ควรเก็บรักษาใหสะอาด และบาํ รุงรักษาใหอยูในสภาพที่เหมาะสม สวนของเคร่ืองมือท่ีสัมผัสโดยตรง กับวัตถดุ บิ สมนุ ไพรทเี่ ก็บควรจะตองปราศจากน้าํ มันหลอ ลื่นและสิ่งปนเปอ นอ่นื ๆ5 การปฏิบัติหลงั การเกบ็ เกยี่ ว ยาสมนุ ไพรโดยท่วั ไปมที ้ังการใชส ดและการใชแ หง การใชส ดนน้ั มีขอดตี รงสะดวก ใชง า ย แต วา ฤทธ์ิการรกั ษาของยาสมนุ ไพรไมค งท่ี ยาทใี่ ชส ดมหี ลายอยา ง เชน วานหางจระเข รากหญาคา เปนตน แตการใชยาสมุนไพรสวนมากนิยมใชแหง เพราะจะไดคุณภาพของยาคงท่ี โดยเลือกเก็บยาสมุนไพรท่ี ตอ งการตามฤดูกาลเกบ็ พชื แลว นํามาแปรสภาพโดยผา นกระบวนการท่ีเหมาะสมเพอ่ื เกบ็ ยาไวไ ดเ ปนเวลา นาน5 การปฏบิ ัติหลังการเกบ็ เก่ยี วหากดาํ เนนิ การไมถกู ตอ ง อาจทาํ ใหส ารสาํ คญั ในสมุนไพรสลายตวั และ วัตถุดิบมีคณุ ภาพตา่ํ ลง โดยทว่ั ไปการปฏิบัติหลังการเก็บเกี่ยวมี 2 ขนั้ ตอน6 คือ 1. การทาํ ความสะอาดและการเตรียมสมุนไพรกอ นทาํ ใหแหง หลังจากเกบ็ เกยี่ วสมนุ ไพรมาแลว แยกสงิ่ อ่นื ทปี่ ะปนออก ลา งสมนุ ไพรดว ยนา้ํ สะอาด และตัด หั่น หรอื ฝานใหไดข นาดตามความเหมาะสม สมุนไพรบางชนดิ อาจจาํ เปน ตองอบ น่ึง หรือตม ดวย

Page 25 คมู อื การใชส มุนไพรไทย-จีน 15 2. การทําใหแหง สมุนไพรท่ีมคี วามช้ืนมากเกนิ ไป นอกจากจะทําใหแบคทีเรียและเชื้อราเจริญ ไดงา ยแลว ยงั จะเรง ใหเ กิดการสญู เสยี สารสาํ คัญไดอีกดว ย จงึ จาํ เปนตองทําใหสมุนไพรแหง โดยกรรมวิธที ่ี เหมาะสม ดงั นี้ - การตาก อาจจะตากในรมหรอื ตากแดด แลวแตช นิดของสมนุ ไพร - การอบ ควรใชต ูอบทมี่ ีพัดลมระบายอากาศดวย ควรเลอื กอุณหภมู ใิ หเหมาะกับสว นของ พืช โดยท่ัวไปความรอ นท่ีเหมาะสมตอ สว นของดอก ใบ และตนพชื ลมลกุ ประมาณ 35-45 องศาเซลเซยี ส เปลือกตน เนื้อไม ราก ผลขนาดใหญ ประมาณ 40-60 องศาเซลเซียส การเกบ็ รกั ษาสมุนไพร การเกบ็ รกั ษายาสมนุ ไพรไวเ ปนเวลานานมกั จะเกดิ การขึ้นรา มหี นอน เปลี่ยนลกั ษณะ สี กลนิ่ ทาํ ใหยาสมนุ ไพรนนั้ เสือ่ มคณุ ภาพลง ทําใหม ผี ลไมด ตี อฤทธก์ิ ารรักษาหรือสญู เสยี ฤทธ์กิ ารรกั ษาไปเลย ดงั น้นั จงึ ควรจะมกี ารจดั การเกบ็ รกั ษาที่ดี เพือ่ จะประกนั คณุ ภาพและฤทธก์ิ ารรักษาของยาสมนุ ไพรน้ัน การเก็บรกั ษาควรปฏิบตั 3ิ ดังนี้ 1. ยาที่จะเก็บรักษาไวจ ะตองทําใหแหง เพอื่ ปองกนั การข้นึ ราและการเปล่ยี นลกั ษณะเกิดภาวะ ออกซไิ ดซ ยาทขี่ นึ้ รางายตองหมั่นเอาออกตากแดดเปนประจาํ 2. สถานทเี่ กบ็ รักษาจะตอ งแหง เย็น การถา ยเทของอากาศดี 3. ควรเกบ็ แบงเปน สัดสว น ยาท่ีมพี ิษ ยาท่ีมีกลิน่ หอม ควรเกบ็ แยกไวใ นทีม่ ดิ ชดิ ปองกันการ สบั สนปะปนกัน 4. ดูแลปอ งกนั ไฟ หนอน หนู และแมลงตา ง ๆ สารสาํ คญั ที่พบในสมนุ ไพร สารสําคัญในพืชมหี ลายชนดิ แตกตางกนั ไปตามสว นตา ง ๆ ของพืช การทราบองคประกอบเคมี ที่สาํ คัญจะชว ยใหสามารถนําสมนุ ไพรมาพฒั นาเปน ยาไดอ ยา งเหมาะสม กลุมสารเคมสี ําคัญทีพ่ บในพืช7 มดี ังนี้ 1. คารโบไฮเดรต (carbohydrates) ในพชื มักจะถกู สรา งขึน้ จากการสงั เคราะหแสงและถูกเกบ็ เปน อาหารสะสมของพืช จะถกู นาํ มาใชเปนอาหารของคนและสตั ว แบงเปน 2 ชนดิ ใหญ ๆ คือ พวกที่ เปนน้ําตาล และพวกท่ไี มใชนํา้ ตาล - พวกท่ีเปนนา้ํ ตาล แบงเปน 2 ชนิด คือ นา้ํ ตาลเชิงเดยี่ ว (monosaccharides) และ น้ําตาลเชงิ ซอ น (oligosaccharides)

Page 26 16 กรมพฒั นาการแพทยแ ผนไทยและการแพทยทางเลือก - พวกที่ไมใ ชน าํ้ ตาล จะไมมรี สหวานและไมล ะลายน้าํ แบงเปน 2 ชนิด คือ (ก) polysaccharides เชน แปง ไดแก แปงขา วโพด แปง ขาวสาลี แปงมนั ฝรงั่ แปง สาคู มปี ระโยชนค อื ใชเ ปนตวั ทาํ เจือจาง (diluent), สารทาํ ใหนุมและชมุ ช้ืน (emollient) และสารชวย แตกตัว (disintegrating agents) ในยาเม็ด และยาผง สว นเซลลโู ลส ไดแก สาํ ลี ใชส ําหรบั ทําแผล และ เมทิลเซลลูโลส ใชเ ปน ยาระบายเพ่ิมกาก (bulk laxative) และสารชวยแขวนลอย (suspending agent) (ข) polyuronides เชน กมั ใชเ ปน สารทาํ อิมัลชัน (emulsifying agent), สารชวย แขวนลอย สารยดึ ติด (adhesive) และสารยดึ (binder) และสารประกอบพวกเปกตนิ ใชเปน สารชว ย แขวนลอย และใชเ ปนสวนประกอบในยาแกทอ งเสยี เน่ืองจากมีคุณสมบตั ิของการดูดซึมสารคอลลอยด (colloidal absorption) สามารถดูดซมึ สารที่เปนพิษได 2. โปรตีน (proteins) เปน สารอนิ ทรียท่มี ีไนโตรเจนอยใู นโมเลกุล เกดิ จากกรดอะมิโนมาจบั กันเปน โมเลกลุ ใหญ แบง ออกเปน 3 กลุม คอื - simple proteins เม่อื ถกู ยอ ยจะไดก รดอะมโิ น - conjugated proteins ประกอบดว ยโปรตนี จบั กับสว นทไี่ มใ ชโปรตีน - derived proteins เปนสารทีไ่ ดจากการสลายตัวของโปรตีน 3. ไขมนั (lipids) เปนเอสเทอรทเี่ กดิ จากกรดไขมันชนดิ โมเลกลุ ยาวจับกับแอลกอฮอล แบง เปน 3 ชนิด คอื - ไขมัน และน้าํ มนั ไมร ะเหย สวนใหญไดม าจากสวนเมล็ด มักนํามาใชเ ปนอาหารและใช ประโยชนทางดานเภสชั กรรม ไขมันและน้ํามนั ไมร ะเหยจะแตกตา งกนั ทจี่ ุดหลอมเหลว โดยน้ํามนั ไมระเหย จะมจี ุดหลอมเหลวตาํ่ มีสภาพเปนของเหลวทอี่ ณุ หภมู ิปกติ สวนไขมันจะมสี ภาพเปนก่งึ ของแข็งก่งึ ของเหลว หรือเปนของแขง็ - ไข เปน สารท่ใี ชใ นการเตรยี มยาขี้ผง้ึ ครมี เพ่อื ชวยใหย าข้ีผึ้งและครีมดงั กลาวแขง็ ตวั 4. น้ํามันหอมระเหย (volatile oils) เปน ของเหลวที่มีกลนิ่ เฉพาะตวั สว นมากจะมกี ล่ินหอม ระเหยไดท่อี ุณหภมู หิ อง น้ํามันหอมระเหยประกอบดว ยสารเคมีท่สี ําคัญประเภท monoterpenes, sesqui- terpenes และ oxygenated derivatives เชน นํ้ามันกานพลู ใชเ ปน ยาขบั ลม ฆา เชื้อ และเปนยาชา เฉพาะที่ ระงับอาการปวดฟน นา้ํ มนั ยคู าลปิ ตัส ใชเ ปนยาขบั เสมหะ และฆา เช้ือจลุ นิ ทรีย เปน ตน 5. ยางไม (gum) เปนของเหนยี วที่ไดจากพืช เกดิ ขน้ึ เม่ือกรดี หรือทาํ ใหพชื นน้ั เปนแผล บาง ชนิดนาํ มาใชป ระโยชนทางยา เชน กัมอาคาเซยี และกมั ตาคาคาน ใชใ นการเตรยี มยาพวกอมี ลั ชนั

Page 27 คมู ือการใชสมนุ ไพรไทย-จีน 17 6. เรซนิ และบาลซ่มั (resins and balsams) - เรซิน เปนสารประกอบท่ีมีรปู รางไมแ นนอน สวนมากมักเปราะ แตกงา ย บางชนิดอาจจะ นิ่ม เมอ่ื เผาไฟจะหลอมเหลวไดส ารท่ีใส ขน และเหนียว เรซนิ เกิดจากสารเคมหี ลายชนิด เชน resin acid, resin alcohol, resene และ ester มีเรซินหลายชนิดนํามาใชในทางเภสชั กรรม เชน ชนั สน (rosin หรือ colophony) เปนสารทท่ี ําใหยาขผ้ี ้งึ แข็งตัว jalap ใชเปน ยาถา ยอยางแรง เปน ตน - บาลซ่มั เปน resinous mixture ซึ่งประกอบดวยกรดซนิ นามกิ (cinnamic acid) หรอื กรดเบ็นโซอิค (benzoic acid) หรือเอสเทอรของกรดทั้งสองชนิดนี้ บาลซ่ัมท่ีนํามาใชประโยชนทาง เภสชั กรรม ไดแ ก Tolu balsam, storax, กํายาน (benzoin) กํายานทใี่ ชในตาํ รบั ยาสวนใหญค อื กํายาน สุมาตรา ใชข บั เสมหะ 7. แอลคาลอยด (alkaloids) เปนสารที่มีรสขม มีไนโตรเจนเปนองคประกอบ มีคุณสมบัติ เปนดา ง และมักมฤี ทธิ์ทางเภสชั วิทยา เชน ควนิ ิน มอรฟ น คาเฟอีน เปนตน 8. กลยั โคไซด (glycosides) เปน สารประกอบทม่ี ี 2 สว น คอื สวนท่ีเปน นาํ้ ตาล (glycone) และสว นทีไ่ มเปนน้ําตาล (aglycone) กลัยโคไซดห ลายชนิดมีประโยชนท างยา เชน ดจิ ทิ อ็ กซนิ ซึ่งมีผล ตอระบบหมนุ เวียนของโลหิตและการทํางานของหวั ใจ 9. แทนนนิ (tannins) เปน สารประกอบพวกโพลฟี นอลซงึ่ เม่อื ทําปฏกิ ิริยากับโปรตีนในหนัง สตั ว ทาํ ใหห นงั สตั วไ มเ นา เปอ ยไปตามธรรมชาติ แทนนนิ มรี สฝาด มฤี ทธเิ์ ปน ยาฝาดสมาน บรรเทา อาการทองรว ง 10. ฟลาโวนอยด (flavonoids) เปน สารประกอบพวกโพลฟี น อล มักจะมสี ี เชน แดง มวง เหลอื ง หรือน้าํ เงนิ มักจะพบในรปู กลยั โคไซด เชน รูติน หรอื เคอรซ ติ ิน มฤี ทธใ์ิ นการลดอาการเสน โลหิตเปราะ 11. สเตียรอยด (steroids) เปนสารท่มี สี ูตรโครงสรางเชนเดยี วกับฮอรโ มน และยาตา นอกั เสบ เชน เบตา ซโิ ทสเตอรอล ซึ่งพบบอ ยในพชื มฤี ทธเ์ิ ปน anticholesteremic 12. ซาโพนิน (saponins) เปนสารประกอบจําพวกกลยั โคไซดท่ีมสี ว น aglycone (sapogenin) เปน สารจาํ พวกสเตยี รอยด หรอื ไตรเทอรพีนอยด สว นนีจ้ ะจบั กับสวนนํา้ ตาล นํ้าตาลทพ่ี บสว นใหญเ ปน oligosaccharides 1-5 หนวย ซาโพนนิ มคี ณุ สมบตั บิ างอยา งคลา ยสบู เชน สามารถเกดิ ฟองเมอ่ื เขยากบั นํา้ เปนสารลดแรงตงึ ผวิ ท่ดี ี และทาํ ใหเม็ดเลือดแดงแตกได เชน ไดออสซนิ กลีเซอไรซนิ เปน ตน

Page 28 18 กรมพฒั นาการแพทยแ ผนไทยและการแพทยทางเลือก 13. แอนทราควโิ นนส (anthraquinones) เปนสารประกอบจาํ พวกควิโนนทพี่ บมากท่สี ดุ และ มีความสาํ คญั ที่สดุ พบท้ังในรูปอิสระ และรูปกลยั โคไซด มสี ูตรโครงสรา งพนื้ ฐานประกอบดวย 3-ring system เปนสารทมี่ ีสีแดง-สม สว น aglycone ของแอนทราควิโนนสละลายไดด ใี นดา ง ใหสชี มพู-แดง เชน อิโมดนิ อะโลอนิ เปน ตน คุณภาพของสมุนไพร ในสมยั โบราณ แพทยหรือหมอพ้ืนบานจะปลกู พืชสมุนไพรบางชนิดไวใ ชเอง แตอีกสว นหนึง่ จะ เก็บจากธรรมชาติ โดยไดรับการถายทอดความรจู ากครแู พทยซง่ึ เปน ผมู ีประสบการณอ ันยาวนาน สอน ใหรจู ักลกั ษณะของพชื สมุนไพรแตล ะชนิด สว นทใี่ ช วธิ ีเก็บ และวธิ เี ตรยี มตาง ๆ แตป จ จบุ ันบางคร้ังเรา ไมส ามารถหาสมุนไพรสดมาเตรยี มใหแ หงไดเอง จาํ เปน ตอ งซ้อื จากทองตลาดหรอื รานขายยาแผนโบราณ เกอื บทง้ั หมด ซึ่งสมนุ ไพรแหง บางชนิดอาจดไู ดยาก การไมร จู กั รปู รางลักษณะของสมนุ ไพรแหง อาจจะ ซือ้ สมุนไพรผิดชนดิ ได เพราะสมุนไพรไทยมชี อื่ พองมาก และบางคร้งั สมุนไพรบางชนดิ ราคาแพง ผขู าย บางคนขาดจรยิ ธรรมก็จะใชส มุนไพรชนิดอืน่ ท่มี ีลกั ษณะใกลเคียงกันมาปนปลอม (adulteration) หรือ ทดแทนทัง้ หมด (substitution) สงผลใหยาทไี่ ดมคี ุณภาพลดลงหรือไมมคี ุณภาพเลยหรือเกิดผลอ่ืนอนั ไมพงึ ประสงค จึงมีความจาํ เปนตองตรวจสอบสมุนไพรเพื่อใหแ นใจในความถูกตอ ง4 เนื่องจากประสทิ ธผิ ลของยามีความสมั พันธโดยตรงกบั คณุ ภาพยา ดงั น้นั การควบคมุ คุณภาพ จงึ เปน เรือ่ งสาํ คญั โดยเฉพาะยาจากสมุนไพร องคประกอบท่ที ําใหสมุนไพรมีคุณภาพแตกตางกนั มีดังน้ี 1. ความแตกตา งของสารประกอบเคมีในพืช (biochemical variation) ซงึ่ อาจเกิดจากพนั ธุ ระยะเวลาในการเกบ็ เกย่ี ว ฯลฯ 2. การเส่อื มสภาพของสมุนไพร (deterioration) เชน การเนาเสีย ก็จะทาํ ใหคุณภาพของ สมุนไพรต่าํ ลงดว ย 3. การใชสมนุ ไพรอนื่ มาปนปลอม (adulteration) หรือทดแทนทั้งหมด (substitution) ในทางการแพทยแผนโบราณมักจะตรวจสอบคุณภาพของสมุนไพรโดยดจู ากลกั ษณะภายนอก ดมกลิน่ ชิมรส หรอื โดยวิธกี ารอื่น ๆ ตามประสบการณของภมู ิปญ ญาพ้นื บาน สวนการควบคุมคณุ ภาพ ของสมนุ ไพรในทางวิทยาศาสตรจะทําโดยการจดั ทาํ ขอกําหนดมาตรฐานของสมุนไพร หากสมุนไพรชนดิ ใดมขี อกาํ หนด (specification) ในเภสัชตาํ รบั ของประเทศตา ง ๆ หรอื ในตาํ รามาตรฐานยาสมุนไพรไทย (Thai Herbal Pharmacopoeia) ก็สามารถดาํ เนนิ การตามทีก่ ําหนดไวไ ด แตห ากสมนุ ไพรชนดิ ใดยังไม มกี ารจัดทําขอ กาํ หนดมาตรฐานไว จําเปนอยา งยงิ่ ท่จี ะตองศึกษาวจิ ัยเพอื่ จดั ทาํ ขอ กําหนดคุณภาพ (quality

Page 29 คูมอื การใชสมนุ ไพรไทย-จนี 19 specification) ของสมุนไพรชนดิ นน้ั ๆ ไว เพือ่ ใชเ ปน แนวทางในการควบคมุ คุณภาพของวัตถดุ ิบและ ผลติ ภัณฑยาจากสมุนไพร การอา งองิ ถึงประวตั ิการใชอนั ยาวนานจากบรรพบุรษุ และไมพรอมที่จะมีการ ทดลองทางวิทยาศาสตรน้ันคงทําไมได เนื่องจากสมุนไพรในปจจุบันอยูในสภาพแวดลอมท่ีแตกตางไป จากเดมิ มาก มีสารพิษ โลหะหนกั ยาฆา แมลง ยาฆาวัชพชื ทตี่ กคางในดินมากมาย ทําใหม คี วามจําเปน ที่จะตองทดลองใหไดผลแนนอนอีกคร้ังหนึ่ง เพ่ือสรางความมั่นใจใหแกผูบริโภคในดานประสทิ ธผิ ล และความปลอดภัย4 วัตถุดิบสมุนไพรจะมีคุณภาพดีมากหรือนอยข้ึนอยูกับกระบวนการในการผลิตสมุนไพร ซึ่ง เกี่ยวของกับบุคลากรหลายสาขาวชิ าชพี ไดแ ก นกั วิชาการเกษตร เกษตรกร ผูเกบ็ สมุนไพรจากแหลง ธรรมชาติ และผคู า วัตถุดบิ สําหรบั การนาํ สมุนไพรมาใชเปน ยาใหม ปี ระสิทธิผลในการรกั ษาที่ดี มีความ ปลอดภัยในการใช และมีประโยชนเชิงพาณิชย ตามหลักสากลควรตองทราบรายละเอียดเกี่ยวกับ 4,7 ดังน้ี สมุนไพร 1. ความรทู ว่ั ไปเกีย่ วกบั พชื สมุนไพร (general description of the plant): ช่อื ทองถิน่ ชอ่ื อังกฤษ ชอื่ วิทยาศาสตร ชอื่ พอ ง ลกั ษณะท่วั ไปของพชื สมนุ ไพร แหลง กระจายพันธุ ถ่นิ ทอี่ ยู สวนท่ีใช เปนยา และการเตรยี มวตั ถุดบิ สมนุ ไพร 2. ขอ กําหนดคณุ ภาพ (quality specification): บทนยิ าม การตรวจสอบคณุ ลกั ษณะ การ ตรวจสอบเอกลกั ษณทางเคมี การตรวจสอบความบริสุทธิ์ การวเิ คราะหป ริมาณสารสําคัญ การปนเปอ น ดวยสารหนูและโลหะหนกั การปนเปอนดว ยจลุ ินทรยี  การปนเปอ นดว ยสารพิษตกคาง และการเก็บรกั ษา 3. ขอบง ใช (indication) 4. ความเปน พษิ (toxicity) 5. ขอ หา มใช (contraindication) 6. ขอ ควรระวงั (warning) 7. รปู แบบและขนาดท่ีใช (preparation and dose) สมุนไพรแตละชนิดทจ่ี ะนาํ มาใชเปนยา ผบู รโิ ภคและผผู ลิตควรใหค วามสนใจในเรอ่ื ง ขอบงใช ความเปน พิษ ขอหามใช ขอ ควรระวงั รูปแบบและขนาดท่ใี ช เพ่ือจะไดร ับประโยชนท่แี ทจ ริงจากสมนุ ไพร การพัฒนาสมุนไพรจาํ เปน ตอ งใชอ งคค วามรูห ลัก 2 สว น คือ สว นทเ่ี ปนความรูเ ก่ยี วกบั สมนุ ไพร และการใชต ามภมู ปิ ญญา (ethnobotanist) และสว นทเ่ี ปน ความรทู างวทิ ยาศาสตร ซึ่งท้งั 2 สว น ลว นมี ความสาํ คญั ในสว นของความรทู างวทิ ยาศาสตรนนั้ การตรวจสอบสมุนไพรนบั วา มคี วามสําคัญยิง่ และ

Page 30 20 กรมพฒั นาการแพทยแ ผนไทยและการแพทยทางเลอื ก เปนรากฐานของการพัฒนาการแพทยแผนไทยและการแพทยท างเลอื กทยี่ ่ังยืน ชวยยกระดบั มาตรฐาน คุณภาพของสมุนไพรใหเปนทย่ี อมรบั ในประสิทธิผลการรักษาทสี่ ม่ําเสมอและมีความปลอดภยั เพือ่ สราง ความมัน่ ใจใหกบั ผบู รโิ ภคและเพ่มิ ความยอมรบั จากบุคลากรทางการแพทย เอกสารอางอิง 1. ราชบณั ฑิตยสถาน. พจนานุกรม ฉบบั ราชบณั ฑิตยสถาน พ.ศ. 2542. พมิ พครงั้ ท่ี 1. กรุงเทพมหานคร : ศิรวิ ัฒนาอนิ เตอรพรนิ้ ท, 2546 2. วุฒิ วฒุ ธิ รรมเวช. คัมภรี เภสัชรัตนโกสนิ ทร. พิมพค รัง้ ที่ 2. กรงุ เทพมหานคร : บริษทั ศิลปสยามบรรจภุ ณั ฑแ ละการพมิ พ จาํ กดั , 2547. 3. กนั ทิมา สทิ ธธิ ัญกจิ , พรทิพย เตมิ วเิ ศษ (คณะบรรณาธกิ าร). คมู อื ประชาชนในการดแู ลสขุ ภาพดว ยการแพทยแ ผนไทย. พิมพครงั้ ท่ี 2. กรงุ เทพมหานคร : สาํ นกั งานกิจการโรงพมิ พองคก ารทหารผานศกึ ในพระบรมราชูปถมั ภ, 2547. 4. วิชยั โชคววิ ฒั น. คุณภาพสมุนไพร. วารสารการแพทยแ ผนไทยและการแพทยทางเลือก. 2547; 2(2): 84-91. 5. สถาบันการแพทยแ ผนไทย กรมพัฒนาการแพทยแ ผนไทยและการแพทยทางเลือก. หลักเกณฑขององคการอนามยั โลกเก่ียวกบั เกษตร และการเก็บเก่ยี วทดี่ เี หมาะสมสาํ หรบั พืชสมุนไพร. กรงุ เทพมหานคร : โรงพมิ พอ งคการรบั สง สินคาและพัสดภุ ัณฑ (ร.ส.พ.), 2548. 6. สถาบนั วจิ ัยสมุนไพร กรมวิทยาศาสตรก ารแพทย. ขม้ินชัน : มาตรฐานสมุนไพรไทย เลม ท่ี 2. พิมพครั้งท่ี 1. กรงุ เทพมหานคร : โรงพิมพองคการรบั สงสินคา และพัสดุภัณฑ (ร.ส.พ.), 2544. 7. เย็นจิตร เตชะดาํ รงสิน. การตรวจสอบคุณภาพทางเคมีของสมุนไพร. เอกสารประกอบการบรรยายหลกั สูตร “การจัดการอุตสาหกรรม ผลิตภัณฑจ ากสมนุ ไพร” จัดโดยสถาบนั วิจัยสมนุ ไพร กรมวิทยาศาสตรการแพทย วนั ที่ 28 กันยายน 2543.

Page 31 คูมือการใชส มนุ ไพรไทย-จนี 21 การใชย าสมนุ ไพร การใชย าสมุนไพรดวยตนเอง เปนการดูแลสุขภาพเบ้อื งตน ในอาการของโรคทีเ่ ปนอยูโ ดยทั่วไป และไมเปน โรคทร่ี ายแรง ดวยสมุนไพรทมี่ ผี ลขางเคยี งนอย ใชส ะดวก ประหยดั และปลอดภยั การใชย า สมนุ ไพรควรใชเ ม่อื มอี าการไมส บายและเมื่อเห็นผลชดั เจนควรหยดุ ใช ไมควรใชเร่อื ย ๆ ไปตลอดเวลา ถา อาการยงั ไมดีข้ึนหลงั จากใชย าแลวประมาณ 2-3 วนั ควรไปพบแพทย อาการของโรคท่สี ามารถใชส มนุ ไพรเด่ยี วรักษาอาการไดด ว ยตนเอง1 มีดงั นี้ 1. ทอ งผกู 2. ทองอดื เฟอ แนนจุกเสยี ด 3. ทองเดนิ 4. พยาธิในลาํ ไส 5. บิด (ปวดเบง มมี ูก อาจมเี ลือดปน) 6. คล่ืนไสอาเจยี น (ไมพุงหรือมเี ลือดออกมาดว ย) 7. ไอและมเี สมหะ 8. ไข 9. ขดั เบา (ปส สาวะขดั ๆ คลอ ง ๆ) 10. กลาก เกลอ้ื น 11. ปวดฟน 12. นอนไมหลบั 13. เบ่ืออาหาร 14. ฝ แผลพุพอง 15. เคล็ด ขัด ยอก 16. ผ่นื คนั แพ อกั เสบ แมลงสตั วก ัดตอ ย 17. ไฟไหม น้ํารอนลวก 18. เหา 19. ชันนะตุ 20. โรคกระเพาะอาหาร 21. เจบ็ คอ 22. แผลถลอก ฟกชาํ้ 23. ไลย งุ และแมลง 24. ผื่นคนั อาการของโรคทไ่ี มควรใชย ารักษาดว ยตนเอง2-4 1. ไขส ูง (ตวั รอ นจัด) ตาแดง ปวดเม่ือยมาก ซมึ บางทพี ดู เพอ (อาจเปนไขห วัดใหญห รอื ไขป า ชนดิ ขึ้นสมอง) 2. ไขส ูงและดีซาน (ตัวเหลือง ฯลฯ) ออ นเพลยี มาก อาจเจ็บในทองแถวชายโครง (อาจเปนโรค ตบั อกั เสบ ถุงนํ้าดอี ักเสบ ฯลฯ) 3. ปวดทองแถวสะดอื เวลาเอามอื กดเจ็บมากขน้ึ หนา ทอ งแขง็ อาจทอ งผกู และมไี ขเลก็ นอยหรอื มาก (อาจเปน โรคไสตงิ่ อักเสบเฉยี บพลันหรอื ลาํ ไสส ว นอืน่ อักเสบ)

Page 32 22 กรมพฒั นาการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือก 4. เจ็บแปลบในทอ งคลา ยมอี ะไรฉีกขาด ปวดทอ งรนุ แรงมาก อาจมตี ัวรอนและคลืน่ ไสอาเจยี น ดว ย บางทีมปี ระวตั ิปวดทอ งบอ ย ๆ มากอน (อาจมีการทะลขุ องกระเพาะอาหารหรือลําไส) 5. อาเจยี นเปนเลอื ดหรือไอเปนเลอื ด (อาจเปนโรครายแรงของกระเพาะอาหารหรือปอด) ตอ ง ใหคนไขพกั นงิ่ ๆ กอน ถา แพทยอ ยใู กลค วรเชญิ มาตรวจท่บี าน ถาจาํ เปนตอ งพาไปหาแพทย ควรรอให เลอื ดหยุดเสยี กอน และควรพาไปโดยมกี ารกระเทือนกระแทกนอ ยทีส่ ดุ 6. ทองเดนิ อยา งแรง อจุ จาระเปน นาํ้ บางทีมลี กั ษณะคลา ยน้าํ ซาวขา ว บางทถี ายพุง ถา ยติดตอ กัน อยางรวดเรว็ คนไขอ อ นเพลียมาก ตาลกึ หนังแหง (อาจเปนอหวิ าตกโรค) ตองพาไปหาแพทยโ ดยดว น ถาไปไมไหวตอ งแจง แพทยหรืออนามัยทีใ่ กลทส่ี ุดโดยเรว็ 7. ถายอจุ จาระเปนมกู และเลอื ด บางทีเกือบไมม ีเน้ืออจุ จาระเลย ถายบอ ยมาก อาจจะถึงสบิ คร้งั ในหนง่ึ ช่ัวโมง คนไขเ พลยี มาก ๆ (อาจเปนโรคบิดอยา งแรง) 8. สาํ หรบั เดก็ โดยเฉพาะอายภุ ายใน 12 ป ไขสงู ไอมาก หายใจมีเสยี งผดิ ปกติ คลาย ๆ กับ มีอะไรติดอยใู นคอ บางทีมีอาการหนาเขียวดว ย (อาจเปนโรคคอตบี ) ตองรีบพาไปหาแพทยโดยดว นทีส่ ดุ 9. อาการตกเลอื ดเปน เลือดสด ๆ จากทางไหนกต็ าม โดยเฉพาะทางชอ งคลอด ตอ งพาไปหา แพทยโดยเร็วทสี่ ุด 10. การใชส มุนไพรแกอ าการขดั เบานั้น ควรใชใ นกรณีทปี่ ส สาวะนอย หรือไมสะดวกโดยไมมี อาการบวม และเมอื่ ปสสาวะคลอ งดแี ลวใหห ยดุ ใช 11. โรครายแรงหรือโรคเรอื้ รงั บางชนดิ เชน งูพษิ กัด สุนัขบา กดั บาดทะยัก กระดกู หกั มะเร็ง วัณโรค กามโรค ความดันโลหิตสงู เบาหวาน โรคเรอื้ น เปนตน ควรไปพบแพทยรกั ษา เพราะยาสมนุ ไพร ท่ใี ชรกั ษาโรคเหลา น้ี ยงั ไมทราบผลแนชดั การรกั ษากับแพทยแ ผนปจจบุ นั ไดผ ลแนน อนและปลอดภยั กวา อันตรายที่เกดิ จากการรกั ษาตัวเอง2,4 1. เมือ่ ใชย าตรงกบั โรคแลว แตใ ชขนาดมากเกนิ ควร เชน ควรจะใชเพยี ง 1 กํามอื ใชเขา ไปถึง 3 กาํ มือ หรือควรจะกินวนั ละ 2 มอื้ กนิ เสียวันละ 3 มื้อ 2. เมอ่ื ใชยาตรงกบั โรค แตใ ชน านเกินระยะกาํ หนด ถึงคราวจะหยดุ แลว ไมหยุด รางกายไดร ับ ยามากเกินไป กรณีน้ีเปนเหตใุ หตายบอย ๆ 3. เม่ือใชยาไมต รงกับโรค เชน เอายาแกไขห วดั ไปรกั ษาไขป า (มาลาเรยี ) เอายาแกทอ งเฟอไป รักษาโรคทองเดนิ

Page 33 คูมอื การใชส มนุ ไพรไทย-จนี 23 4. เมื่อใชยาไมตรงกบั คน โดยใชยาสาํ หรบั ผูใ หญ เอาไปใชกบั เด็ก หรือเอายาสําหรับผูชายไป ใชก ับผูห ญิง (ยาบางอยาง เชน ฮอรโ มน) อาการทเี่ กิดจากพิษของยา1,2 อาการที่เกิดจากพิษของยา ถา ปรากฏข้นึ ควรหยดุ ใชย าเสียกอ น ถาหยดุ แลว อาการหายไปอาจ ลองใชย าอกี ครงั้ โดยระมดั ระวงั ถาอาการอยางเดมิ เกิดขึน้ อีก แสดงวา เปนพษิ ของยาแน ควรหยุดยาแลว ไปปรกึ ษาแพทยโ ดยเรว็ พิษของยาอาจทําใหเกิดอาการตามขอ ใดขอหน่งึ หรือหลายขอ อาจเปนกับคนหน่งึ แตไมเปน กับ คนอืน่ ๆ กไ็ ด อาการที่ชวนใหส งสยั วา เกดิ จากพิษของยา มดี ังตอไปน้ี 1. เบือ่ อาหาร คลน่ื ไส อาเจียน (หรืออยางใดอยา งหนง่ึ ) ถา มอี ยูกอนกินยา อาจเปน เพราะโรค 2. ตวั เหลือง ตาเหลือง ปสสาวะสเี หลอื ง เขยา เกดิ ฟองสีเหลอื ง (เปน อาการของดีซาน) อาการ นี้แสดงถงึ อนั ตรายรา ยแรง ตอ งรบี ไปหาแพทย 3. ผนื่ ขึน้ ตามผิวหนงั อาจเปน ตุมเลก็ ๆ ตมุ โต ๆ เปนปน หรอื เปนเม็ดแบนคลายลมพิษ อาจ บวมทตี่ า (ตาปด) หรือรมิ ฝป าก (ปากเจอ ) หรอื มเี พยี งดวงสแี ดงท่ีผิวหนัง 4. หอู ื้อ ตามัว ชาท่ลี ้ิน ชาทีผ่ วิ หนงั 5. ประสาทความรูสึกทํางานไวเกินปกติ เชน เพียงแตะผิวหนังก็รูสึกเจ็บ ลูบผมก็แสบหนัง ศีรษะ ฯลฯ 6. ใจส่นั ใจเตน หรือรูสกึ วูบวาบคลา ยหวั ใจจะหยุด และเปน บอย ๆ โรคผวิ หนงั จาํ พวกเรมิ และงสู วดั ถา เปนแผลเปด ไมควรใชส มนุ ไพรที่ตอ งใสเ หลา2,4 การเตรยี มยาสมนุ ไพร3,5 การเตรียมยาสมนุ ไพรใหมีรปู แบบที่เหมาะสมเปนรูปแบบทม่ี ีประสทิ ธภิ าพในการรักษาโรค ใชไ ด สะดวก มีรสและกลิน่ ชวนรับประทาน รปู แบบยาสมนุ ไพรท่ีนยิ มใช มีดังน้ี 1. ยาตม เปนรูปแบบยาเตรยี มทีน่ ิยมใชแ ละสะดวกมากท่สี ดุ สามารถใชไดทงั้ ตัวยาสดและแหง ในตัวยาที่สารสาํ คัญสามารถละลายไดในน้ํา การแพทยแ ผนไทย เตรยี มโดยห่นั หรอื สับสมุนไพรเปนช้ินเล็กพอดี ใสลงในหมอ ดิน กระเบ้ือง หรือภาชนะทีม่ ใิ ชโ ลหะและใสนํา้ ลงไปพอทว มยาเล็กนอย หากเปน สมุนไพรแหง ใหแชน ้ําทง้ิ ไวส กั ครู สมนุ ไพร สดไมตอ งแชน า้ํ ใชไ ฟขนาดกลางตมใหเดือด หลังจากเดอื ดแลว ใหใ ชไ ฟออน ควรคนยาสม่ําเสมอมใิ หยา

Page 34 24 กรมพฒั นาการแพทยแ ผนไทยและการแพทยทางเลือก ไหม (การตม ยาไทยมกั จะตมแบบ 3 เอา 1 คอื ใสน ํา้ 3 สว น ของปริมาณทีใ่ ชและตม ใหเหลอื 1 สวน) ระยะเวลาในการตมขน้ึ อยูก บั สว นของพชื สมุนไพร หากเปนสวนของใบ ดอก หรอื ก่ิงขนาดเลก็ ใชเ วลา ตม 3-4 นาที หากเปน สวนท่ีแขง็ เชน รากหรอื แกนของลาํ ตนใชเ วลาตม 10 นาที ยาตม ไมท ้ิงไวคางคืน ตมและรบั ประทานใหหมดภายในวนั เดียว โดยท่ัวไปมกั แบงรับประทานเปน 3 คร้งั กอ นอาหาร และ วันรงุ ขึ้นคอยเติมน้ําและตม ใหมอ ีกครงั้ หนึง่ ยาไทยสมยั กอ นนยิ มตมในหมอดิน และปากหมอ ยาใชใ บตอง สด หรือผาขาวบางปดหมอยาประมาณครึง่ หนงึ่ เพอื่ ความสะดวกในการรนิ ยา และท่ีหมอ ยาจะมี “เฉลว” ซงึ่ ทาํ ดว ยไมไ ผ จักเปนตอกสานเปนรูปคลายดาว เพอ่ื ปองกันของรา ยไมใหม ารบกวน บางทกี ม็ กี ารผูก เหรียญสลึงไวที่ปากหมอ เมื่อคนไขหายแลวก็จะนําเงินนี้มาซ้ือของทาํ บุญเพ่ืออุทิศสวนกุศลใหเจาของ ตาํ รานั้น การแพทยแผนจีน ใหความสาํ คัญกับวิธีตมยาเปนอยางมาก เนื่องจากวิธีตมยาสมุนไพรมี ความสมั พันธอยา งใกลช ดิ กับประสทิ ธผิ ลในการรกั ษาโรคของยาตํารับ ในการเตรียมยาท่ีมีคุณภาพและมี ประสทิ ธผิ ลในการรกั ษานน้ั ควรปฏบิ ัติ ดงั นี้ 1. ภาชนะทใี่ ชในการตมยา นยิ มใชภาชนะจาํ พวกเครอื่ งปนดินเผาที่มีฝาปด เพอื่ ปองกนั การทํา ปฏิกิริยาขององคป ระกอบเคมใี นตัวยากบั ภาชนะท่ใี ชใ นระหวางการตมยา ทาํ ใหประสทิ ธิภาพหรือความแรง ของตัวยาไมสูญเสียไป ไมควรใชภาชนะจาํ พวกเหล็กหรือทองแดง ทั้งนี้เพื่อปองกันการตกตะกอน และ อาจทาํ ปฏิกิริยาทางเคมีกับตวั ยา ซึ่งจะทาํ ใหเ กดิ ผลขางเคยี งหรือความเปนพิษได 2. น้าํ ท่ีใชตมยา จะตอ งเปน น้าํ สะอาดและบรสิ ทุ ธิ์ เชน น้ําประปา นํ้าแร และนํ้ากลัน่ เปนตน 3. ระดับไฟท่ีใชตมยา ไฟท่ีใชตมยาแบงออกเปน 2 ระดับ คือ ไฟออน และไฟแรง โดยทวั่ ไป การตม ยามักจะใชไฟแรงกอนแลวจงึ ใชไ ฟออน บางคร้งั อาจใชไฟออ นหรือไฟแรงเพียงอยา งเดยี วในการ ตม ยา เชน ใชไฟออ นอยางเดยี วในการตมยาประเภทยาบํารงุ หรือใชไ ฟแรงอยางเดยี วในการตมยาประเภท รกั ษาอาการภายนอก 4. วธิ ตี ม ยา การตม ยามี 2 วิธี คอื (1) วธิ ีท่ัวไป เตรียมโดยนําตัวยาใสใ นภาชนะทีม่ ีฝาปด เติมนาํ้ ใหทว มตวั ยา ตง้ั ทิง้ ไวป ระมาณ 30-60 นาที เพื่อใหน ํ้าซมึ เขาตัวยาอยางเตม็ ที่ เวลาตมจะใชไฟแรงกอน เม่อื เดือดจะใชไ ฟออน ๆ ตม ตอ เพือ่ ปองกันไมใหน้าํ ยาลนออกนอกภาชนะ หรือไมใ หน าํ้ ยาแหงงวดเรว็ เกินไป ในระหวางตมอยา เปด ฝาบอย ๆ เพอ่ื ปอ งกนั ไมใ หสารที่ระเหยไดสญู เสียไป ในการตม ยาประเภทรกั ษาอาการภายนอกหรือยาลดไข ควรใช ไฟแรงเพ่ือปองกันไมใหสารสําคัญระเหยไป สาํ หรับยาบาํ รงุ ควรตมโดยใชไฟออน ๆ เพ่อื สกดั สารสําคญั

Page 35 คูมือการใชส มนุ ไพรไทย-จีน 25 ออกมาไดอยา งสมบูรณ ตัวยาทม่ี พี ิษบางชนดิ เชน โหราเดอื ยไก ควรใชไ ฟออ นตม นาน ๆ เพ่ือลดพษิ ของ สมุนไพร เมื่อตมเสรจ็ ใหรินนํ้ายาเก็บไว เติมนา้ํ ลงในกากท่เี หลอื แลว ตมตอ โดยทั่วไปยาหนงึ่ หอจะตม 2-3 ครั้ง เม่อื ตมเสรจ็ ใหรวมนา้ํ ยาที่ตม ไดเ ขาดวยกันแลว แบง รบั ประทาน ควรรบั ประทานขณะยายงั อนุ ๆ ยกเวน ยาทเี่ มือ่ รบั ประทานตอนอนุ แลว จะทาํ ใหค ล่ืนไสอาเจียน กใ็ หรบั ประทานเมอ่ื ยาเยน็ แลว (2) วธิ ีเฉพาะ เปน วธิ ที ใี่ ชตม ตวั ยาทมี่ ีคณุ ลักษณะพิเศษบางชนิด ซึ่งจาํ เปนตอ งใชว ิธเี ฉพาะ และ จะตอ งระบุไวในสตู รตํารบั ดว ย ดังนี้ 1) ใสก อ น มีตวั ยา 3 ประเภท ซ่ึงตองตมกอนตวั ยาตัวอื่นในตาํ รับ ไดแก - ตวั ยาทีม่ ีพษิ ใหตม กอนตัวยาอ่ืน 30-45 นาที - แรธาตุและเปลือกหอย เชน เกลอื จดื เปนตวั ยาท่ีมีลกั ษณะแข็ง สารออกฤทธลิ์ ะลาย ออกมาไดยาก จงึ ตอ งตมใหเ ดือดประมาณ 15 นาทีกอน แลว จงึ ใสตัวยาชนดิ อน่ื ๆ ในตํารบั ลงไปตม พรอ มกนั - ตัวยาท่ีมีนํา้ หนักเบาและใชในปริมาณมาก หากตมพรอมตัวยาอ่ืน ๆ จะทาํ ใหตัวยา เต็มหมอจนตม ไมได จึงใหต มตวั ยาดังกลา ว 20 นาทกี อน แลวเอาเฉพาะนํ้าท่ีตมไดไปใชตมตัวยาตวั อ่นื ในตํารบั ยา 2) ใสหลงั ตัวยาบางชนิดมนี ํ้ามันหอมระเหย ควรใสหลงั จากตมตวั ยาชนิดอื่น ๆ ในตํารบั ใหเ ดือดแลว ประมาณ 5-10 นาที แลวจงึ ตม ตอ ประมาณ 5 นาที เพอ่ื ปองกันไมใหสารออกฤทธปิ์ ระเภท น้ํามันหอมระเหยสลายไป ตัวอยางสมุนไพรเหลาน้ี เชน เรวดง สะระแหน เปนตน นอกจากน้ี ตัวยาบาง ชนดิ ทม่ี ีสรรพคณุ เปน ยาระบายหรือยาถา ย กค็ วรใสท ีหลัง เชน โกฐนาํ้ เตา และใบมะขามแขก เปนตน 3) ใสหอ สมุนไพรบางชนิดมีลักษณะเปนผง หรือมีลักษณะเหนียว หรือเปน ยาง หรือ มีลักษณะเปนขน ควรใสใ นถงุ ผาเพือ่ ปองกันไมใ หน ้ํายาขนุ หรอื เหนยี วติดภาชนะทีใ่ ชตม หรือทาํ ใหไ ม ระคายคอ เชน เมล็ดผักกาดนํ้า เปนตน 4) แยกตม ตวั ยาบางชนดิ มีราคาแพง เชน โสมคน โสมอเมริกัน เปน ตน ควรแยกตม ตางหาก หรือตุนดว ยหมอตุน 2 ชั้นนาน 2-3 ชว่ั โมง เพือ่ สกัดตวั ยาออกมาใหมากท่สี ดุ อาจแยก รบั ประทาน หรือนํามาผสมกบั นํา้ ยาของตัวยาชนดิ อื่นทตี่ ม ได เพอ่ื ปอ งกันไมใ หส ูญเสียฤทธขิ์ องยา 5) ชงน้ํารับประทาน สมุนไพรบางชนิดไมควรนาํ มาตม แตค วรบดใหเปนผงละเอียดมาก ๆ แลวชงนาํ้ อนุ ด่มื หรือนาํ ไปชงกบั นา้ํ ยาของสมนุ ไพรชนิดอน่ื ทีเ่ ตรยี มได ตัวอยา งสมุนไพรเหลา นี้ เชน อําพัน เปนตน

Page 36 26 กรมพฒั นาการแพทยแ ผนไทยและการแพทยทางเลอื ก 6) แชนํ้า ตวั ยาบางชนดิ มสี ารออกฤทธิ์หรอื มีองคประกอบของน้าํ มันหอมระเหยซง่ึ สามารถ ละลายในนํา้ รอนไดง า ย ควรเตรียมยาโดยการนาํ มาแชในนาํ้ รอนหรือนํา้ ยาของตัวยาชนดิ อ่ืนที่รอ น เชน อบเชยจนี เปนตน 2. ยาดอง เปนยาท่ใี ชสารละลายหลายชนิด แชสมนุ ไพรแบบเย็น เชน เหลา นาํ้ มะกรดู นํา้ สม เปนตน ยาดองเหลา ในรูปแบบทีใ่ ชบ อย การปรงุ ยาทาํ ไดโดยนาํ สว นของสมุนไพรทีใ่ ชเ ปนยามาบดเปนผง หยาบและหอดวยผาขาวบางหลวม ๆ เผ่ือยาพองตัวเวลาอมนาํ้ ถา หากเปนรากหรอื แกนของตน ไมใหฝ าน เปนชนิ้ บาง ๆ เทา ๆ กนั เพ่อื ใหนา้ํ เหลา ซมึ เขาสูยาไดท วั่ ถงึ ภาชนะทใ่ี ชส ําหรบั เตรยี มยาดองเหลา ควร ใชโ ถกระเบ้อื งหรือขวดโหลแกว ทีม่ ฝี าปด สนทิ เม่ือใสย าลงในภาชนะเรียบรอ ยแลว ใหเทนา้ํ เหลาใหทว ม ยา ตั้งทิง้ ไว 1 สัปดาห และคนยาใหท ัว่ วนั ละ 1 คร้ัง ยาดองเหลาเปนยาที่คอนขางแรง ปรมิ าณทใ่ี ชม ัก นอ ยกวายาตม และหา มใชกับผปู วยโรคความดนั โลหิตสูง โรคหัวใจ หญงิ มคี รรภ และผูทแ่ี พเหลา 3. ยาผง ปรุงจากสวนของพืชสมนุ ไพร บดละเอยี ดเปนผงชนิดเดียวหรือหลายชนิดผสมกัน ยา แผนโบราณหลายตํารับปรงุ เปนยาผง เชน ยาหอม ยาเขยี ว เปน ตน เวลารบั ประทาน มักจะใชก บั น้ํา กระสายยา ซง่ึ นํ้ากระสายยาอาจเปน น้ําสกุ นาํ้ ดอกมะลิ น้ําซาวขาว น้ํามะนาว นา้ํ มะกอก เปน ตน 4. ยาชง เปนรปู แบบทีม่ กี ารเตรียมคลา ยการชงชา โดยใชน าํ้ เดอื ดใสล งในสมนุ ไพร โดยทั่วไป มกั ใชส มุนไพรตากแหงทาํ เปนยาชง สว นของสมนุ ไพรที่ใชเ ปนยาอาจเปนใบ กิ่ง ผล หรอื เมลด็ หั่นเปน ช้นิ เลก็ ๆ บาง ๆ หรอื บดเปนผงหยาบ ผ่งึ แดดใหแ หง บางชนดิ มกี ารนําไปอบกลนิ่ หอมกอน ภาชนะทใี่ ช ชงควรเปนกระเบอื้ ง แกว หรือภาชนะเคลือบ ไมใ ชภ าชนะโลหะ วธิ ีการชงทําไดโดยใชส มนุ ไพร 1 สว น เติมนาํ้ เดอื ดประมาณ 10 สว น หรือตามปริมาณทร่ี ะบุไวใ นตํารับยา บางตาํ รับอาจเตมิ น้ําตาลหรอื น้ําผ้งึ ในการปรุงรส ปดฝาทงิ้ ไว 5-10 นาที ยาชงเปนรูปแบบยาที่มกี ลนิ่ หอม ชวนดม่ื ดื่มงา ย ปจจบุ ันมีการ พฒั นาผลิตภณั ฑยาชง โดยการบรรจุในถงุ กระดาษเหนียว ปดสนิท 1 ซองใช 1 ครงั้ พืชสมนุ ไพรที่ใชใ น รูปแบบยาชงมกั เปน พชื ที่มีสรรพคณุ ไมร นุ แรง ใชด ืม่ ตลอดวนั แทนน้าํ ยาชงนยิ มปรงุ และดม่ื ทนั ที ไมท้งิ ไวนาน สมุนไพรทีใ่ ชเปนยาชง เชน ยาชงชมุ เหด็ เทศ ยาชงหญาหนวดแมว เปนตน นอกจากนีเ้ ครอื่ งด่ืม สมุนไพรหลายชนิด เชน ขิง มะตูม เกก ฮวย เปน ตน ก็ปรุงดวยการชงเชน เดยี วกัน ยาชงเปน วธิ กี ารงา ย สะดวกและเปนทีน่ ิยมทวั่ ไป 5. ยาลูกกลอน การปรงุ ยาลกู กลอนทําไดโดยเอาสวนของสมนุ ไพร มาห่ันเปน แวน บาง ๆ ผ่ึง แดดใหแ หง บดเปนผงละเอยี ด และนาํ ผงมาผสมกบั น้ําผ้งึ (น้าํ ผึ้งท่ีใชปน ลกู กลอนมักตมใหร อนเพ่อื ขจัด สง่ิ สกปรกกอ น) อัตราสวนผสมระหวางผงสมุนไพรตอ นํ้าผง้ึ เทากับ 1-2 สว น : 1 สวน ทัง้ น้ขี ้นึ กับลักษณะ

Page 37 คูมือการใชสมุนไพรไทย-จนี 27 ของผงสมนุ ไพร เคลา ผงยาใหก ลมกลนื ประมาณวาผงสมุนไพรทีผ่ สมน้ําผง้ึ แลวไมต ิดมอื เปนใชไ ด จากนัน้ ปน เปน กอ นกลมขนาดเทา ปลายนว้ิ กอ ย (เสน ผา ศนู ยก ลาง 0.8 เซนตเิ มตร) หรืออาจใชร างไมป นเปน ลูกกลอนกไ็ ด จากน้นั จึงเอาไปอบแหงหรอื ตากแดดจัด 1-2 วัน และบรรจภุ าชนะทีป่ ดมิดชิดและสะอาด นอกจากกรรมวธิ ีปรุงยาดังกลา วแลว ยาสมนุ ไพรยังปรงุ ไดอีกหลายวิธี เชน การรม การพอก การเตรียมเปนยาประคบ การหงุ ดว ยน้ํามัน เปน ตน การเลือกกรรมวธิ ีปรงุ ยาไดเหมาะสมจะทาํ ใหสมุนไพร ออกฤทธไิ์ ดเตม็ ที่ สง ผลตอ การรกั ษาความเจ็บปว ยไดอยางถกู ตอง คําแนะนําในการใชยาสมนุ ไพร1-4 1. ใชใหถ กู ตน จะตองพิจารณาถึง รปู ลักษณะ สี กลิ่น รส ชื่อ ของตวั ยาที่จะนํามาใชท าํ ยาวา ถูกตองตรงตามตาํ รับหรอื ขอบง ใชหรอื ไม 2. ใชใหถูกสวน จะตอ งพจิ ารณาวา ตวั ยาตามขอบงใชน้ัน กําหนดใหใ ชสว นใดของตนพืช เพราะ แตละสว นของตน พชื ยอ มแตกตา งกนั ไป บางตนสรรพคณุ เหมือนกนั แตมฤี ทธ์ิท่ีออ นกวากนั บางตน มี สรรพคุณไมเ หมอื นกนั 3. ใชใหถ ูกขนาด จะตองดูวา ขอบงใช ใหใ ชตวั ยาน้นั ๆ ในปริมาณหรือนา้ํ หนักเทา ใด กนิ ครั้ง ละเทา ใด วันละกม่ี อ้ื 4. ใชใหถกู วธิ ี จะตอ งดวู า ขอ บงใช ใหบรหิ ารยาโดยวธิ ีใด เชน ตมหรอื ดอง กินหรือทา เปนตน 5. ใชใหถกู กบั โรค จะตอ งมีความเขา ใจในเรื่องอาการของโรค วา เปน โรคน้ัน ๆ จรงิ หรือไม จะตอ งใชยาท่มี ีสรรพคณุ ตรงตอ โรค มิฉะนัน้ แลวก็อาจเกิดโทษ หรอื ไมสามารถบรรเทาอาการของโรคได ขอหา มใช5 ในการใชย ารกั ษาโรคนั้น หากใชถ ูกกับโรคจะใหค ณุ หากใชผ ดิ จะใหโ ทษ ดงั นนั้ การใชยาบางชนดิ จําเปนตอ งระมัดระวงั ในการใช เพือ่ ไมใหเกดิ โทษตอรางกาย ขอ หามใชมี 4 ประเภท ดังน้ี 1. ขอ หามใชใ นกลุมอาการบางอยาง ตวั ยาแตล ะชนดิ เหมาะกับโรคแตกตางกัน หมายถึงตัวยา แตละชนิดจะใชภายใตเง่ือนไขท่ีกาํ หนดไวเทาน้ัน เชน หมาหวง มีสรรพคุณเปนยาขับเหงื่อ แกห อบ เหมาะสําหรับโรคไขหวัดจากการกระทบลมเยน็ ไมม เี หงื่อ ไอหอบเนอ่ื งจากชป่ี อดไมก ระจาย จงึ หา มใช กบั ผูปว ยทีม่ อี าการออนแอ เหงอื่ ออกมาก ไอหอบเน่อื งจากปอดพรอง เปนตน 2. ขอหามตามหลกั การจัดยารว มหรือยากลมุ ตัวยาบางชนดิ เมอื่ ใชร วมกันแลว จะทําใหเ กิดพิษ หรอื เกิดอาการอันไมพ งึ ประสงค หรอื ทําใหเกดิ พษิ เพมิ่ ข้ึน หรอื ทําใหฤทธขิ์ องตัวยาหมดไป ยาเหลา นกี้ ไ็ ม

Page 38 28 กรมพัฒนาการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลอื ก ควรใชร ว มกัน เชน กานพลถู ูกขมดวยวานนางคํา ชะเอมเทศจะลบลา งสรรพคุณของสาหรายทะเล เปนตน 3. ขอหามในหญิงมีครรภ ตวั ยาบางชนดิ มผี ลตอ ทารกในครรภ ทําใหแทง ลูกได จึงหามใชใ น หญิงมีครรภ ซึ่งตวั ยาสว นใหญใ นกลุมนมี้ กั มีพิษมาก เชน สลอด ตัวยาบางชนิดตอ งใชอ ยา งระมัดระวัง ในหญิงมีครรภ เนอ่ื งจากเปน ตัวยาทมี่ ีฤทธ์ิกระจายช่แี ละเลอื ด ทําใหเ ลอื ดไหลเวยี น เชน เมล็ดทอ ดอก คําฝอย มฤี ทธ์ิขับของเสยี ตกคา ง และขบั ถา ยพิษรอน โกฐนํา้ เตา ฤทธริ์ ะบาย ขบั พษิ รอน อบเชยจีนมี ฤทธใ์ิ หความอบอนุ เสริมหยางระบบไต เปนตน ดงั นัน้ หากไมจ าํ เปนจริง ๆ ควรหลีกเลย่ี งการใชตัวยา ดังกลาวในหญิงมคี รรภ 4. ขอ หา มในชวงเวลาทีร่ ับประทานยา นยิ มเรียกวา “ของแสลง” กลา วคือ ในชว งเวลาทรี่ ับประทาน ยา ควรงดดม่ื นาํ้ เยน็ ของมนั ของคาว อาหารทีย่ อ ยยาก หรือท่มี รี สจดั เชน กรณผี ปู วยที่มไี ขสูง หา ม รบั ประทานของมนั เปนตน ขนาดยาท่ใี ช5 ขนาดยาทใ่ี ช หมายถึงปรมิ าณของยาที่ใชใ นผูใหญต อ วัน เนือ่ งจากยาสมนุ ไพรเปน ผลผลติ จาก ธรรมชาติ ดงั นน้ั ปริมาณของตัวยาทีใ่ ชจ งึ ไมเขมงวดเหมอื นกับยาแผนปจ จุบนั ยกเวนตวั ยาบางชนิด เทานน้ั ที่ตองใชขนาดยาดวยความระมัดระวัง เพือ่ ปอ งกนั ไมใหเ กดิ อนั ตราย โดยทว่ั ไปขนาดยาทีใ่ ชควร คํานงึ ถงึ ปจ จัยดงั ตอ ไปนี้ 1. คณุ ลกั ษณะของยา ตัวยาที่มฤี ทธแิ์ รงควรใชปริมาณนอย หรอื เริ่มใชปรมิ าณนอยแลว คอย ๆ เพิ่มข้ึน เม่ือผูปวยมีอาการดีข้ึนใหคอย ๆ ลดขนาดยาลงจนหยุดใช สําหรับตัวยาท่ีมีฤทธ์ิออนมักใชใน ปรมิ าณมาก โดยทว่ั ไปตวั ยาทีม่ ีความหนาแนน หรอื แข็งมาก เชน แรธ าตุ หรือ เปลอื กหอย เปนตน จะใช ในปริมาณมาก สวนตวั ยาที่มีน้ําหนกั เบา เชน ดอก ใบ หรือตวั ยาทมี่ ีนํ้ามันหอมระเหย จะใชใ นปรมิ าณนอ ย 2. การใชยารวมและรูปแบบของยา โดยทัว่ ไปตัวยาเดย่ี วจะใชใ นปรมิ าณมากกวา ยาตํารบั และ หากใชเปนยาตม ปรมิ าณทใ่ี ชจะมากกวายาลกู กลอนหรอื ยาผง และในยาแตล ะตาํ รับ ตัวยาหลกั จะใชใน ปริมาณมากกวา ตัวยาอ่นื ๆ 3. อาการของโรค รูปราง และอายขุ องผปู ว ย โดยทัว่ ไปผูปวยหนัก ผูปวยโรคเฉียบพลัน หรือ ผูปวยที่มีรางกายอวนใหญ จะใชยาในปริมาณมาก สวนผูสูงอายุมีรางกายออนแอ หญิงหลังคลอด หรือเด็ก จะใชยาในปริมาณนอย สําหรับเด็กอายุ 6 ปข้ึนไป ใหใชย าขนาดครึง่ หน่งึ ของขนาดท่ีใชใน ผใู หญ เดก็ ทีม่ ีอายตุ ่ํากวา 6 ป ใหใ ชย าขนาด 1 ใน 4 ของขนาดทใี่ ชใ นผใู หญ

Page 39 คูมือการใชส มุนไพรไทย-จีน 29 วธิ รี บั ประทานยา5 วิธีรบั ประทานยา รวมถงึ เวลาท่ีเหมาะสมในการรบั ประทานยา โดยท่วั ไปปฏิบตั ิ ดังน้ี ยาตม ใหรับประทานวันละ 1 หอ หากอาการรุนแรงสามารถรับประทานวันละ 2 หอได ยาหอ หนึ่ง ๆ ตมแบงรับประทาน 2-3 คร้ัง โดยกําหนดวาอาการปวยท่ัวไปใหรับประทานเชา-เย็น หาก อาการปวยหนกั สามารถรับประทานไดทุก 4 ชั่วโมง ยาประเภทบาํ รุงควรรับประทานกอ นอาหาร แต หากจะใหเหมาะสม ไมวาจะรับประทานกอนหรือหลังอาหาร ใหเวนระยะเวลาหางกันพอสมควร ยา ประเภทฆาพยาธิหรือยาระบายใหรับประทานขณะทองวาง ยารักษาโรคมาลาเรียใหรับประทานยากอน มาลาเรียกาํ เริบ ยาชวยใหจิตใจสงบหรือนอนหลับใหรับประทานกอนนอน โรคเรื้อรังควรกาํ หนดเวลา รบั ประทานยาใหแ นนอน ยาประเภทชาชง ใหร บั ประทานตางน้ําชา จิบไดบ อ ย ๆ ใหรับประทานยาตมขณะอุน ๆ แตถาปวยดวยโรคกลุมความรอน สามารถรับประทานยาใน ขณะท่ียาเย็นแลว ถาปวยดวยโรคกลุมความเย็น ใหดื่มขณะรอน ๆ ในอาการท่ีปวยดวยโรคกลมุ อาการ เย็นแทร อนเทยี ม ใหร บั ประทานขณะทยี่ าเย็นแลว ถาปว ยดว ยโรคกลมุ อาการรอ นแทเยน็ เทียม ให รบั ประทานขณะท่ียายังรอนอยู เอกสารอางองิ 1. วฒุ ิ วฒุ ิธรรมเวช. คัมภรี เ ภสชั รตั นโกสินทร. พมิ พค ร้งั ท่ี 2. กรุงเทพมหานคร : บริษัท ศิลปสยามบรรจภุ ัณฑแ ละการพมิ พ จาํ กัด, 2547. 2. สํานกั งานปลดั กระทรวง กระทรวงสาธารณสุข. คูม ือการใชสมุนไพร เลม 1. กรงุ เทพมหานคร : หจก. เอช-เอน การพิมพ, 2527. 3. กนั ทิมา สทิ ธธิ ัญกิจ, พรทพิ ย เติมวเิ ศษ (คณะบรรณาธกิ าร). คูมอื ประชาชนในการดูแลสุขภาพดวยการแพทยแผนไทย. พมิ พครัง้ ท่ี 2 กรุงเทพมหานคร : สํานักงานกจิ การโรงพมิ พอ งคการทหารผานศึกในพระบรมราชูปถัมภ, 2547. 4. กองวิจัยและพัฒนาสมุนไพร กรมวทิ ยาศาสตรก ารแพทย กระทรวงสาธารณสุข. สมุนไพรพื้นบา นฉบับรวม. พิมพครงั้ ที่ 1. กรุงเทพมหานคร : Text and Journal Corperation Co., Ltd., 2533. 5. วชิ ัย โชคววิ ัฒน, ชวลิต สนั ตกิ ิจรงุ เรอื ง, เยน็ จติ ร เตชะดํารงสิน (คณะบรรณาธกิ าร). ตํารบั ยาจนี ทใ่ี ชบอยในประเทศไทย เลม 1. พิมพค ร้ังที่ 1. กรงุ เทพมหานคร : สํานักงานกจิ การโรงพิมพองคการทหารผานศึกในพระบรมราชูปถัมภ, 2549.

Page 40 30 กรมพัฒนาการแพทยแ ผนไทยและการแพทยทางเลอื ก รสของยาไทยและยาจนี รสของยาไทย รสของตวั ยาจะบอกถงึ สรรพคุณของยา สรรพคณุ เภสชั ของไทยแบงรสยาออกเปน รสประธาน 3 รส และรสยา 9 รส ดงั นี้ ยารสประธาน 3 รส1 ไดแก 1. ยารสรอ น ไดแ ก ตวั ยาทม่ี รี สรอ น เชน ดอกดปี ลี เมลด็ พริกไทย รากชา พลู เถาสะคา น ราก เจตมลู เพลิง หสั คณุ เปนตน เมอื่ นํามาปรงุ เปนยาแลว จะไดย ารสรอน ยารสรอ นสําหรบั แกในทางวาโยธาตุ แกล มกองหยาบ ขบั ผายลม บํารุงธาตุ ขับเลอื ด เปนตน ยารสรอนเปนรสยาประจําในฤดูฝน แสลงกบั ไขท มี่ พี ิษ 2. ยารสเยน็ ไดแ ก ตัวยาทม่ี ีรสเย็น เชน ใบไมทม่ี รี สเยน็ เกสรดอกไมท ไี่ มร อ น เขยี้ วสตั ว เขา งา นอ เปน ตน เมอื่ นํามาปรุงยาแลวจะไดย ารสเยน็ ยารสเย็นสาํ หรบั แกใ นทางเตโชธาตุ แกไ ขพ ิษ ไขกาฬ ดับพิษรอ น เปน ตน ยารสเย็นเปน รสยาประจาํ ในฤดรู อน แสลงกับโรคลม 3. ยารสสขุ มุ ไดแ ก ตวั ยาที่มรี สสขุ มุ เชน พวกโกฐตาง ๆ เทียนตา ง ๆ กฤษณา กระลําพัก ชะลูด อบเชย ขอนดอก เปนตน เมื่อนาํ มาปรุงยาแลว จะไดยารสสขุ ุม ยารสสขุ ุมสําหรบั แกในทางอาโปธาตุ เสมหะและโลหิต แกล มกองละเอียด ยารสสขุ มุ เปนรสยาประจาํ ในฤดหู นาว แสลงกบั ไขท ม่ี ีพษิ รอนจดั รสยา 9 รส1 นอกจากยารสประธานแลว สรรพคณุ เภสชั ของไทยยงั แบง รสยาออกไปอีกเปน 9 รส ดังน้ี 1. ยารสฝาด ชอบสมาน สรรพคณุ สําหรับสมานทั้งภายนอกและภายใน แกบดิ ปด ธาตุ แกท องรวง กลอ มเสมหะ สมานแผล ชะลา งบาดแผล ยารสฝาดแสลงกับโรคทองผูก พรรดกึ เชน เปลอื กขอย ใบชา เบญจกานี เปลอื กลูกทับทมิ เปลือกลกู มังคดุ สเี สยี ดไทย สเี สยี ดเทศ ลูกหมาก เปนตน 2. ยารสหวาน ซึมซาบไปตามเนือ้ สรรพคณุ ซึมซาบไปตามเน้ือ ทําเนื้อใหชมุ ชื่น บํารุงกาํ ลงั แกออนเพลีย ยารสหวานแสลงกับโรคเสมหะเฟอ งบาดแผล เบาหวาน ดีซา น เชน เน้อื ฝก คนู ดอกคําฝอย

Page 41 คมู ือการใชส มนุ ไพรไทย-จนี 31 ชะเอมเทศ ชะเอมไทย รากสามสบิ ออ ยแดง น้ําผึ้ง เปน ตน 3. ยารสเมาเบอ่ื แกพษิ สรรพคณุ สาํ หรบั แกพิษ พษิ ดี พษิ โลหติ พษิ เสมหะ พิษไข พิษแมลงสตั วก ดั ตอย ยารสเมาเบื่อแสลงกับโรคหวั ใจพกิ าร และนาํ้ ดพี กิ าร เชน ใบกระทอ ม เมล็ดกระเบา ขนั ทองพยาบาท เปลือกขอย รากทบั ทิม ทองพันชง่ั ยาดาํ เลบ็ มือนาง กาํ แพงเจด็ ชั้น เปน ตน 4. ยารสขม แกทางดแี ละโลหิต สรรพคณุ บํารงุ โลหติ และดี แกไ ขเพอ่ื ดี แกโ ลหิตพกิ าร เจรญิ อาหาร แกร อนในกระหายน้าํ ยารสขมแสลงกบั โรคหัวใจพิการ เชน แกนขี้เหล็ก รากไครเ ครือ ชิงชาชาลี บอระเพด็ ใบ มะกา มะระขนี้ ก รากราชดดั ใบเสนียด สะเดา หญา ลูกใตใบ เมล็ดมะนาว เปนตน 5. ยารสเผด็ รอ น แกล ม สรรพคณุ แกล มจุกเสยี ด แนนเฟอ ขับผายลม บํารงุ ธาตุ แกธาตพุ กิ าร ขับระดู ยารสเผด็ รอนแสลงกบั ไขทมี่ ีพิษรอ น เชน กระชาย กระเทียม กระเพรา ลกู กระวาน ดอก กานพลู ใบแกว ขงิ ขา ลูกจันทนเ ทศ ดอกดปี ลี ลูกผกั ชลี า ลกู ยอ เปลือกตน มะรมุ ดอกจนั ทน พริกไทย พลิ งั กาสา เปนตน 6. ยารสมัน แกเสนเอ็น สรรพคณุ แกเ สนเอน็ พิการ บาํ รุงเสน เอ็น บาํ รุงรา งกาย บาํ รุงไขขอ ทําใหเ กิดความอบอุน แกรางกาย ยารสมนั แสลงกับโรคเสมหะพิการ โรคดีซา น เชน งา เมล็ดถว่ั ตา ง ๆ เมลด็ บวั ผกั กระเฉด เมลด็ มะขาม รากบวั โกฐกระดกู แกน กรนั เกรา เน้ือฝก กระจบั เปน ตน 7. ยารสหอมเยน็ บํารงุ หัวใจ สรรพคุณ ทําใหช ่ืนใจ บาํ รุงหวั ใจ บํารงุ ครรภ ยารสหอมเยน็ แสลงกับโรคลม เชน กฤษณา ดอกกระดังงา ขอนดอก เตยหอม ชะมดเชด็ ชะมดเชยี ง หญาฝรัน่ นํา้ ดอกไมเทศ เกสรท้ังหา ใบบวั บก แฝกหอม ดอกลาํ ดวน พิมเสน เปนตน 8. ยารสเคม็ ซมึ ซาบไปตามผวิ หนัง สรรพคณุ ซมึ ซาบไปตามผวิ หนัง แกโรคผิวหนงั รักษาเนอ้ื ไมใ หเนา ขบั เมือกมันในลาํ ไส ยารสเคม็ แสลงกบั โรคอจุ จาระธาตพุ กิ าร เชน โคกกระสนุ เหงือกปลาหมอ เปลือกตน โกงกาง ผักชะคราม ดเี กลือไทย ดนิ ประสวิ รากลําพู ล้นิ ทะเล เปน ตน

Page 42 32 กรมพฒั นาการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือก 9. ยารสเปรย้ี ว กดั เสมหะ สรรพคณุ แกเสมหะ ฟอกเลอื ด ระบายอุจจาระธาตุ ยารสเปรยี้ วแสลงกับโรคนาํ้ เหลอื งเสยี บาดแผล ทองรว ง เชน ดอกกระเจ๊ียบ ใบมะขาม ใบมะขามแขก น้ําลกู มะกรูด ลกู มะขามปอ ม สมอไทย สมอเทศ สม ปอย ลูกมะดัน เปนตน นอกจากรสยา 9 รสน้ีแลว แพทยแ ผนไทยยงั จดั ยารสจดื เพ่มิ อกี หนึ่งรส ใชส าํ หรบั แกใ นทาง เตโชธาตุ แกทางเสมหะ ขบั ปส สาวะ ดบั พิษรอน แกไ ข แกร อ นในกระหายนา้ํ แกไ ตพกิ าร ถอนพษิ ผดิ สาํ แดง เชน ตาํ ลึง ฝอยทอง ผกั บุง รางจืด ผกั กระเฉด ผกั กระโฉม หญา ถอดปลอ ง เปนตน รสของยาจนี คณุ สมบัตแิ ละรสของตัวยาจะบอกถงึ สรรพคุณของยา การแพทยแผนจีนไดแบงคุณสมบตั ิของ ยาออกเปน 4 อยา ง ไดแก รอ น-อุน เยน็ -เย็นจัด ซ่ึงคุณสมบัติของยาจะขึ้นกบั การออกฤทธข์ิ องยา เมอ่ื ยา เขาสูรางกายแลวจะมีกลไกการออกฤทธิ์และมปี ระสทิ ธผิ ลการรกั ษาแตกตางกนั ท้งั สองกลมุ มฤี ทธิต์ รงขาม ตัวยาท่ีมีคุณสมบัติเย็นหรือเย็นจดั จะมีฤทธ์ิระบายความรอ น บรรเทาพิษไข ใหความชมุ ชน้ื ใช รกั ษาโรคทเี่ กิดจากสภาพหยางมากเกินไป รางกายเกดิ การตอบสนองอยา งแรงตอโรคภยั ไขเจ็บ ทําใหเ กิด อาการรอน เชน มีไข ปากแหง คอแหง กระหายนํา้ ทอ งผกู ปสสาวะขดั และมสี ีเขม สว นตัวยาท่ีมี คุณสมบตั ิรอนหรืออนุ มฤี ทธใิ์ หค วามอบอุนแกรา งกาย ใชร กั ษาโรคท่ีเกิดจากสภาพยินมากเกนิ ไป รา งกาย บางสวนออนแอลงกวา ปกติ ทําใหเ กดิ อาการเย็น เชน มือเทาเยน็ ตัวเย็น หนาวสั่น ไมกระหายนํ้า2 นอกจากนี้ ยังเพ่ิมคณุ สมบตั อิ ีกอยา ง คือ สุขุม (เปนกลาง) ตัวยาบางชนิดคุณสมบตั ิรอ น-เย็นไม สามารถแบงไดช ัดเจน สามารถใชไดท ้งั โรครอ นและโรคเยน็ แมวา คุณสมบตั ขิ องตวั ยามี 5 อยา งกต็ าม แต สุขมุ อาจแบงไดเ ปน สขุ ุมคอนขางเย็น และสขุ มุ คอ นขา งรอ น ซ่งึ แตกตางกนั ดงั นั้นโดยท่วั ไปจะแบง คณุ สมบัตขิ องตัวยาออกเปน 4 2 อยางเทานั้น รสยา หมายถงึ รสชาติของตวั ยา ตัวยาแตล ะชนิดจะมีรสชาตไิ มเ หมอื นกันเนื่องจากมีองคป ระกอบ ทางเคมีแตกตางกัน ทาํ ใหฤทธทิ์ างเภสชั วทิ ยาและประสิทธผิ ลการรักษาแตกตา งกันดว ย ตวั ยาที่มรี สชาติ เหมอื นกนั จะมีฤทธ์ิทางเภสชั วทิ ยาใกลเคียงกนั แมวาองคป ระกอบทางเคมบี างชนดิ ในตวั ยาเหมอื นกัน แตก็ไมแนวาจะมรี สชาติเหมอื นกนั ทีเดียว ประสาทการรับรสของแตล ะคนอาจไมเหมอื นกนั แพทยแผน จีนแบง รสยาออกเปน 5 2 ไดแก รส 1. ยารสเผ็ด (ฉุนซา ) ชว ยใหกระจาย ทาํ ใหช่ีหมนุ เวยี น เพิ่มการไหลเวียนของเลอื ด สรรพคณุ ใชร ักษากลมุ อาการของโรคภายนอก มักพบในระยะแรกของโรคท่ีเกดิ จากปจ จัย

Page 43 คมู อื การใชสมุนไพรไทย-จีน 33 ภายนอก เชน ไขหวดั ที่เกดิ จากการกระทบลมรอนหรือลมเย็นในระยะแรกของโรค ช่ีตดิ ขดั ไมไ หลเวยี น เปนตน 2. ยารสหวาน (ชุม) ชว ยบํารงุ ชว ยใหผอนคลาย เสรมิ ใหร างกายแขง็ แรง ปรับประสานตัวยา สรรพคุณ ใชรักษากลมุ อาการของโรคที่มีอาการพรอ ง ระบบภมู ิตา นทานของรางกายออนแอ ไอแหง ทองผกู อาการปวด เปน ตน 3. ยารสเปรย้ี ว ฝาดสมาน สรรพคณุ แกโ รคเหงอ่ื ออกงา ย เหง่อื ออกมากขณะนอนหลบั ทองเสียเรอ้ื รงั ถายบิดเร้ือรัง หลัง่ อสจุ ขิ ณะหลบั หรอื ปสสาวะรดทนี่ อนในขณะหลบั ประจําเดอื นมามากผดิ ปกตหิ รอื มาทลี ะนอยไมหมด เปนตน 4. ยารสขม ชวยระบายความรอ นชวยใหเ ลือดเยน็ ระงบั ไอ ตานอาเจยี น ระบายทอง สรรพคุณ แกพ ษิ ขับพิษ แกไ อ แกอ าเจียน แกท อ งผูก เปน ตน 5. ยารสเค็ม ชว ยละลายกอน ระบายการอดุ ตัน สรรพคุณ แกทอ งผกู อยา งแรง ละลายน่วิ เปน ตน นอกจากรสยา 5 รสนแี้ ลว แพทยแ ผนจนี ยังจดั ยารสจืด เขา ไวใ นยารสหวาน เนือ่ งจากทงั้ สอง มักใชร ว มกนั ยารสจืดมีฤทธิ์ขับปสสาวะ ใชรักษาอาการบวมนํา้ ปส สาวะขัด เปนตน และจดั ยารสฝาด เขาไวในยารสเปร้ียว เนือ่ งจากมฤี ทธ์ิเหมอื นกัน เอกสารอางองิ 1. วุฒิ วฒุ ิธรรมเวช. สารานุกรมสมุนไพร. กรุงเทพมหานคร : โอ.เอส. พริน้ ตงิ้ เฮา ส, 2540. 2. Zhang E. The Chinese Materia Medica. Shanghai: Publishing House of Shanghai University of Traditional Chinese Medicine, 1988.

Page 44 34 กรมพัฒนาการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลอื ก การเตรยี มตัวยาพรอ มใช การเตรยี มตวั ยาพรอมใช เปน วิธเี ตรยี มสมุนไพรใหอ ยใู นรปู แบบที่พรอ มใชในการเขาตาํ รบั ยา หรือการปรงุ ยา โดยทั่วไปถา สว นทใี่ ชของสมนุ ไพรมีขนาดใหญ หรือหนา หรือมีเนื้อแข็ง ตองตัดใหเล็ก หรือบางลง เพอ่ื ใหส มนุ ไพรแหง งา ยและสะดวกในการเกบ็ รักษา เชน รากหรอื ลาํ ตน ใตด ิน เปลือกไม หรอื ผล ควรหั่นหรอื ฝานเปนชิ้นบาง ๆ กอนทาํ ใหแหง และการทําสมุนไพรใหแ หง อาจใชว ิธีตากแดด อบ ในตูอ บ หรือผงึ่ ในทร่ี ม 1 วัตถุดบิ สมุนไพรบางชนิดตอ งการกระบวนการแปรรูปเฉพาะ ทัง้ นเี้ พอื่ ทําใหส ว นทนี่ าํ มาใชมคี วาม บรสิ ทุ ธเิ์ พ่ิมขึน้ ลดระยะเวลาในการทําใหแหง ปอ งกันการทาํ ลายจากเช้อื รา เชอื้ จลุ นิ ทรียอื่นและแมลง ลดความเปน พิษทีม่ ีอยูในสมนุ ไพรลง และทําใหส รรพคณุ ในการรักษาเพม่ิ ขนึ้ แนวปฏิบตั ใิ นการแปรรูป เฉพาะทีใ่ ชกนั ทัว่ ไป ไดแ ก การคดั เลอื กเบอ้ื งตน การปอกเปลือกรากและเหงา การตมในน้าํ การนึง่ การ แชน าํ้ การดอง การกล่ัน การรมควัน การยาง การหมัก ตามขบวนการธรรมชาติ การใสป ูน และการสับ เปนชนิ้ กระบวนการแปรรูปทเ่ี ก่ียวของกบั การทําใหม ีรปู รางบางอยา ง การมัด และการทาํ ใหแ หง ดว ยวธิ ี พิเศษอาจมผี ลตอ คุณภาพของวัตถุดิบสมนุ ไพร2 สําหรบั ตวั ยาที่มีคุณในการรักษาโรคในขณะเดียวกนั ก็มีสว นทเ่ี ปน โทษอยดู ว ย และตวั ยาบาง ชนดิ มฤี ทธ์แิ รงหรอื มีพษิ ดังนั้นการนํามาใชทาํ ยาจะตอ งเขาใจถงึ วธิ ีพิเศษในการเตรยี ม เพ่อื ปองกนั ไมให เกิดโทษหรือพิษอนั อาจมอี ันตรายถึงชวี ิตได จงึ ไดระบวุ ิธีฆาฤทธิ์ยาอยา งถูกตองไว นอกจากนต้ี ัวยาบาง ชนิดมสี รรพคุณหลายอยา ง หากจะใชใ หไดผ ลตรงตามสรรพคุณท่ตี องการ จาํ เปน ตองเตรียมใหถ กู วิธี เชน ชะเอมเทศมสี รรพคณุ ระบายความรอ น ขับพิษ แกไ อ ขบั เสมหะ โดยท่วั ไปมกั ใชเขาในตํารบั ยา รักษาอาการไอมเี สมหะมาก พษิ จากฝแ ผล คอบวมอักเสบ หรือพษิ จากยาและอาหาร สว นชะเอมเทศผัด นํ้าผึ้งมีสรรพคณุ บาํ รงุ มามและกระเพาะอาหาร เสริมช่ี ทาํ ใหการเตนของชพี จรมแี รงและกลับคืนสภาพ ปกติ โดยทว่ั ไปมักใชเ ขา ตํารบั ยารกั ษาอาการมามและกระเพาะอาหารออ นเพลยี ไมม แี รง ชข่ี องหวั ใจ พรอง ปวดทอง ชพี จรเตน ไมสมาํ่ เสมอ1 การเตรยี มตวั ยาพรอ มใชตามศาสตรก ารแพทยแ ผนไทย การเตรยี มตัวยาพรอ มใช โดยท่วั ไปนาํ สวนทีใ่ ชเ ปนยามาแลว ผา นการคดั เลือก การลาง การ ตดั เปนชิ้นทเ่ี หมาะสมแลว ใชค วามรอนทาํ ใหแ หง เพ่ือสะดวกในการเก็บรักษา วธิ เี ตรยี มตัวยาพรอ มใชน ้ัน

Page 45 คมู อื การใชส มนุ ไพรไทย-จีน 35 แตกตางกันไปตามชนิดของพชื สวนที่ใชเ ปนยาและความเคยชินของแตล ะทอ งที่ วธิ ีการที่ใชบ อยโดยแยก กลา วตามสว นทใ่ี ชเ ปน ยา3 ดังน้ี 1. รากและสวนท่อี ยใู ตด ิน กอนอน่ื คดั ขนาดทีพ่ อ ๆ กนั เอาไวด วยกนั เพื่อจะไดสะดวกในการ แปรสภาพตอ ไป จากนัน้ ลางดนิ และสง่ิ สกปรกท่ีตดิ อยใู หสะอาด เอารากฝอยออกใหห มด หากวา เปนพชื ทมี่ ีเนื้อแขง็ แหง ไดยาก ตอ งหน่ั เปน ช้ินที่เหมาะสมกอ น หากเปนพืชท่ไี มแขง็ นํามาผานกระบวนการให ความรอนตามแตชนิดของพืชนนั้ พชื ทใี่ ชห ัวและรากสว นมากประกอบดวยโปรตนี แปง เอนไซม หาก ผา นการใหความรอ นแบบตม น่ึง จะทาํ ใหสะดวกในตอนทาํ แหง หลังจากผา นความรอน นํามาตัดเปน ช้ิน แลวอบใหแหงในอณุ หภูมทิ ่ีเหมาะสม 2. เปลือก หนั่ เปน ชน้ิ ขนาดพอดี ตากใหแหง 3. ใบและทง้ั ตน ในพชื บางชนดิ ท่มี นี าํ้ มนั หอมระเหย ควรผงึ่ ไวใ นท่รี ม ไมควรตากแดด และ กอ นที่ยาจะแหง สนิท ควรมัดเปน กําปองกนั การหลดุ รว งงาย เชน กะเพราแดง สะระแหน เปนตน โดยทัว่ ไป เก็บใบหรือลําตนมาลา งใหส ะอาด แลว นํามาตากแดดใหแ หงสนทิ จากนั้นจงึ เก็บใหมดิ ชดิ ระวังอยา ใหข นึ้ ราได 4. ดอก หลงั จากเกบ็ มาแลว ตากแหง หรอื อบใหแ หง แตค วรรักษารปู ดอกไวใหส มบรู ณไมใ ห ตัวยาถูกทาํ ลายสูญเสียไป เชน ดอกกานพลู 5. ผล โดยทั่วไปเกบ็ แลว ก็ตากแดดใหแหงไดเลย มีเพยี งบางอยา งเทานั้นทตี่ องหัน่ เปน ชิ้นกอน ตาก หรืออบดว ยความรอนกอ น 6. เมล็ด เก็บผลมาตากใหแหง แลว จึงเอาเปลอื กออก เอาเมล็ดออก เชน ชุมเห็ดไทย บางอยา ง เกบ็ เปน ผลแหงเลยกม็ ี การแพทยแผนไทยไดก าํ หนดกระบวนการแปรรูปเฉพาะของสมนุ ไพร4 ดังน้ี 1. การสะตุ คอื การทําใหต ัวยามีฤทธ์อิ อนลง หรอื ทําใหพิษของตัวยานอยลง หรือ ทําใหต วั ยา น้ันสะอาดขน้ึ หรอื ทําใหตัวยานั้นสะอาดปราศจากเช้อื โรค หรือ ทําใหตวั ยานั้นสลายตัวลง เชน เกลอื เมอื่ สะตุแลว จะละเอียด ผสมยางา ยขน้ึ และฤทธอิ์ อ นลง เปนตน - การสะตุสารสม เอาสารสมมาบดใหล ะเอียด นํามาใสหมอดนิ เอาตง้ั ไฟจนสารสม ละลาย ฟูขาวดีแลว ยกลงจากไฟนาํ มาใชเ ปนยาได - การสะตุรงทอง เอารงทองมาบดใหละเอยี ดแลว หอดว ยใบบวั หรอื ใบขา 7 ชนั้ นําไปปง ไฟจนสุกกรอบดี จงึ นําไปใชป รงุ ยาได

Page 46 36 กรมพฒั นาการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลอื ก - การสะตุมหาหิงค นํามหาหิงคมาใสภาชนะไว เอาใบกะเพราแดงใสนาํ้ ตม จนเดือด เทนํ้า ใบกะเพราแดงตม รอ น ๆ เทลงละลายมหาหิงค แลว นาํ มากรองใหสะอาดจึงใชได - การสะตุเปลอื กหอย นําเปลอื กหอยใสใ นหมอดนิ ตั้งไฟจนเปลอื กหอยนน้ั สกุ ดีแลว จงึ ยกลง จากไฟ ท้ิงไวใ หเ ยน็ นํามาใชปรุงยาได - การสะตยุ าดาํ นํายาดาํ ใสในหมอ ดนิ เตมิ นํา้ เลก็ นอ ย ยกข้ึนตงั้ ไฟจนยาดํานน้ั กรอบดแี ลว จึงนําไปใชป รงุ ยา 2. การประสะ มีความหมายดงั นี้ 2.1 การทาํ ใหพิษของตัวยาออนลง เชน การประสะยางสลัดได เตรียมโดยนาํ ตัวยาท่ีจะ ประสะใสลงในถว ย ใชน้ําตมเดือด ๆ เทลงไปในตวั ยาน้ัน กวนจนนาํ้ เย็น แลวเทนํ้าท้งิ ไปแลว เทนาํ้ เดอื ดลง ไปอีก กวนจนนํ้าเยน็ ทําอยา งน้ีประมาณ 7 ครง้ั จนตวั ยาสุกดแี ลวจงึ นาํ ไปปรงุ ยาได 2.2 การทําความสะอาดตัวยา เชน ลา งเอาส่งิ สกปรกออก ลา งเอาดินออก 2.3 ตัวยานน้ั มีจํานวนเทา ยาทง้ั หลาย เชน ยาประสะกะเพรา ใสใ บกะเพราหนกั เทาตัวยาอน่ื ๆ ท้ังหมดรวมกนั เปน ตน 2.4 ใชใ นชอ่ื ของยาทกี่ ระทาํ ใหบ รสิ ทุ ธ์ิ เชน ยาประสะนา้ํ นม เปนยาท่ีชว ยทําใหน าํ้ นมมารดา บริสทุ ธิ์ ปราศจากโทษตอ ทารก 3. การฆา ฤทธย์ิ า คอื การทําใหพิษของตวั ยาท่มี ีพิษมากหมดไป หรอื เหลืออยูนอยจนไมเ ปน อนั ตรายตอผใู ชย า เชน การฆาสารหนู ทําใหส ารหนทู ม่ี ีพษิ มากหมดพษิ ไป สามารถนําไปใชทํายาได เปนตน - การฆาสารหนู เอาสารหนูมาบดใหล ะเอียด ใสในฝาละมีหรือหมอดิน บีบนา้ํ มะนาวหรือ น้ํามะกรดู ลงไปใหท ว มยา ตง้ั ไฟจนแหง ทาํ ใหไ ด 7-8 ครง้ั จนสารหนกู รอบดแี ลวจงึ นํามาใชท ํายาได ให นาํ ภาชนะทีใ่ ชแ ลว ทุบทาํ ลาย แลวฝง ดนิ ใหเ รยี บรอ ย (ปจจุบนั หามใชป รงุ ยาแผนโบราณ) - การฆา ปรอท นําทองแดง ทองเหลือง หรอื เงิน ใสไวในปรอท ใหปรอทกินจนอมิ่ (ปรอท แทรกตวั ไปในเนื้อโลหะนั้น ๆ เต็มท่ี) แลวจงึ นาํ ไปใชท ํายา นยิ มทํายาตม (เปนยาอันตราย) - การฆา ลูกสลอด (บางตาํ ราเรยี กวาการประสะลกู สลอด ยาทมี่ ีฤทธ์แิ รง ควรใชคาํ วาฆา ฤทธ์ิยา) มีหลายวธิ ี เชน (ก) เอาลูกสลอดหอรวมกบั ขาวเปลอื ก ใสเ กลือพอควร นาํ ไปใสห มอ ดนิ ตม จนขาวเปลอื ก แตกบานทัว่ กนั เอาลูกสลอดมาลา งใหส ะอาด ตากใหแหง จึงนําไปปรุงยาได

Page 47 คมู ือการใชสมนุ ไพรไทย-จนี 37 (ข) ปอกเปลอื กลกู สลอดออกใหห มด ลางใหสะอาด หอ ผา ใสในหมอหงุ ขา ว กวนจน ขาวแหง ทาํ ใหไ ด 3 คร้งั แลว เอาลกู สลอดมาค่วั ดวยนา้ํ ปลาอยา งดีใหเ กรียม นาํ ไปหอผา ทับเอานํ้ามัน ออก จงึ นาํ มาใชป รงุ ยาได (ค) เอาลูกสลอดแชน้ําปลารา ปากไหไว 1 คนื แลว เอายดั ใสในผลมะกรูด ใสห มอ ดิน ปด ฝา สุมดวยไฟแกลบ เม่อื สุกดีแลว จึงนาํ ไปใชปรุงยา พรอมทง้ั ผลมะกรูด (ง) เอาลกู สลอดตมกับใบมะขาม 1 กํามอื ใบสม ปอย 1 กาํ มือ เม่ือสุกดแี ลวจึงเอา เนอื้ ในลกู สลอดมาใชป รงุ ยา - การฆาชะมดเชด็ โดยหั่นหัวหอม หรอื ผิวมะกรดู ใหเปนฝอยละเอยี ด ผสมกับชะมดเชด็ ใสลงบนใบพลู หรือชอนเงิน นําไปลนไฟเทยี น จนชะมดละลายนานพอสมควร หอมดีแลว จงึ กรองเอา นาํ้ ชะมดเช็ดไปใชป รุงยา 4. การทาํ ยารสรอนแรงใหฤ ทธิ์ออ นลง ตัวยาที่มฤี ทธิ์รอนแรง เชน หสั คุณท้ัง 2 เปลาทงั้ 2 รากตองแตก ถา นาํ มาปรงุ ยาในปริมาณมาก อาจเปน อันตรายแกค นไขได ควรทําใหฤทธ์อิ อ นลงเสียกอน โดยสบั ยาใหเปน ช้ินเล็ก ๆ คลกุ เคลาสุราใหช ุม ใสก ระทะตั้งไฟคัว่ ใหแ หง แลวจึงใชป รงุ ยา การเตรียมตวั ยาพรอ มใชต ามศาสตรก ารแพทยแผนจนี การเตรียมตัวยาพรอมใช เปน ศาสตรแขนงหนึง่ ในศาสตรก ารแพทยแผนจนี ซ่ึงสามารถอธบิ าย และประเมินผลในเชิงวทิ ยาศาสตรเพ่อื ใหเกิดเปนระบบ มีความสมบูรณ สะดวกตอการศึกษาและสามารถ ประยุกตใชไดจรงิ สมุนไพรทผี่ านประบวนการเตรียมโดยวธิ พี เิ ศษ จะเกิดการเปลีย่ นแปลงทง้ั ทางกายภาพ และทางเคมี และผลของการเปลย่ี นแปลงดงั กลา วทาํ ใหเกิดผลการรกั ษาตามตองการได เชน การเตรยี ม ตัวยาพรอ มใชจ ะชว ยลดพษิ ของยา ชว ยเพ่มิ ประสิทธภิ าพของยา ชว ยใหฤทธขิ์ องยาสม่าํ เสมอและออกฤทธ์ิ ตามตอ งการ ชว ยใหส ะดวกใช และชวยในการเก็บรักษาตวั ยา รวมท้งั ชวยขจัดสง่ิ แปลกปลอมทไี่ มใ ชสวน ที่ใชท าํ ยาและขจดั กล่นิ อนั ไมพงึ ประสงค การเตรียมตวั ยาพรอ มใชข องสมนุ ไพรแตละชนิดมวี ตั ถุประสงคที่ ชดั เจนโดยมที ฤษฎีการแพทยแผนจีนชวยชน้ี ํา และตอ งอาศัยศาสตรท ่ีเก่ียวของอนื่ ๆ มาสนับสนนุ ไดแ ก เคมี เภสัชวทิ ยา ชีวโมเลกลุ พันธวุ ิศวกรรม ภูมคิ มุ กันวทิ ยา สถติ ิ ฯลฯ เภสชั ตํารับของจนี (Pharmacopoeia of the People’s Republic of China) ไดก าํ หนดมาตรฐาน การเตรยี มตัวยาพรอ มใช โดยกาํ หนดคาํ นิยามของวิธีการเตรยี มตา ง ๆ ทเี่ ปน มาตรฐานระดบั ชาติ ดังนี้ 1. การทาํ ความสะอาด5 สมุนไพรท่ไี ดคดั แยกเอาสวนที่ไมตองการออก (เชน ตวั ยาบางชนิดใชเฉพาะเนือ้ ผล สวนผิว

Page 48 38 กรมพัฒนาการแพทยแ ผนไทยและการแพทยทางเลอื ก ไมใ ช บางชนดิ ใชเ ฉพาะราก ไมใชกาน) และนํามาทําความสะอาดแลว เรยี กวา วตั ถดุ บิ สมุนไพรทส่ี ะอาด ซ่ึงจะนาํ ไปหน่ั แปรรูปโดยวิธพี เิ ศษ จาํ หนาย หรือใชป รงุ ยา การทําความสะอาดสมนุ ไพรทําไดโดย การคดั เลอื ก การฝดหรอื รอน การลา ง การห่ัน การ แช ปด ดวยแปรง การถู การบด ฯลฯ ตามมาตรฐานคุณภาพท่ีกาํ หนด 2. การห่นั 5-9 นอกจากกาํ หนดไวว า หัน่ สมุนไพรสดหรือแหงแลว โดยทัว่ ไปกอ นการห่ันสมนุ ไพร จะตองนํา สมุนไพรไปแชน้าํ สกั ครู ลา งน้าํ ใหละอาด ใสภ าชนะปดฝาไวเพอ่ื ใหออ นนุมและทําใหห่นั ไดงา ย แตป ริมาณ นํ้าและระยะเวลาทใ่ี ชใ นการแชมคี วามสําคัญมาก เพราะหากใชป รมิ าณนํ้ามากหรือแชนานเกนิ ไปจะทาํ ให ตัวยาสูญเสยี ฤทธ์ิ และหากห่นั ชน้ิ ใหญห รอื หนาเกนิ ไปเวลาตม จะทาํ ใหตัวยาไมล ะลายออกมาหรอื ละลาย ออกไมหมด สมนุ ไพรท่หี นั่ แลว ควรรบี ทําใหแหง การห่นั สมนุ ไพรอาจหัน่ เปน แวน เปนทอน เปน ชน้ิ หรือซอยเปนช้นิ เล็ก ๆ โดยท่ัวไปเภสชั ตาํ รับของจีนไดก าํ หนดขนาดและความหนาของวตั ถดุ ิบสมนุ ไพรไวด ังน้ี 2.1 การหน่ั เปนแวน แวนบางมากจะมีความหนานอ ยกวา 0.5 มลิ ลิเมตร แวนบางจะมี ความหนาประมาณ 1-2 มิลลเิ มตร และแวนหนาจะมีความหนาประมาณ 2-4 มลิ ลิเมตร 2.2 การห่นั เปน ทอน เปนขอ หรอื เปน ปลอง ความยาวประมาณ 10-15 มิลลิเมตร 2.3 การห่นั เปน ช้ิน รูปส่เี หลยี่ ม ตา ง ๆ ขนาดความยาวประมาณ 8-12 มิลลเิ มตร 2.4 การห่ันหรือซอยเปน ชน้ิ เลก็ ๆ สาํ หรบั สมุนไพรประเภทเปลือก ขนาดความกวา งประมาณ 2-3 มลิ ลิเมตร และสมุนไพรประเภทใบ ขนาดความกวางประมาณ 5-10 มิลลิเมตร นอกเหนอื จากวิธีห่ันดังกลา วแลว สมนุ ไพรบางชนดิ อาจใชว ธิ ีบด หรอื ตํา หรือทุบ เปนตน 3. การทาํ ใหแ หง2,6-9 การเตรียมวตั ถดุ ิบสมุนไพรแหงนั้นควรรักษาปรมิ าณความชนื้ ของสมุนไพรใหต่าํ สุด เพอ่ื ลด การทาํ ลายจากเชอ้ื รา และลดการเจริญของเชอ้ื จลุ ินทรียอ น่ื ๆ ขอมลู เกี่ยวกบั ปรมิ าณความชนื้ ที่เหมาะสม ของวัตถดุ ิบสมุนไพรแตล ะชนดิ อาจหาไดจ ากเภสัชตาํ รบั หรอื จากมอโนกราฟทีเ่ ปนทางการอ่นื ๆ พชื สมนุ ไพรสามารถทาํ ใหแ หงไดห ลายวิธี ไดแก การผึ่งในทร่ี ม ทีอ่ ากาศถา ยเทดี (มีรม เงาบัง ไมใหไ ดร ับแสงอาทิตยโดยตรง) วางเปน ช้ันบาง ๆ บนแผงตากในหอ งหรอื ในอาคารทก่ี รมุ ุงลวด ตาก แดดโดยตรงหากเหมาะสม ทาํ ใหแ หง ในเตาอบ หอ งอบ หรือโดยเครอื่ งอบแหง พลังแสงอาทิตย ใชค วาม รอนจากไฟทางออ ม การอบ การทําใหแหง ดวยความเย็น ถา เปน ไปได ใหควบคมุ อณุ หภูมิและความชืน้

Page 49 คูมือการใชสมุนไพรไทย-จีน 39 เพื่อหลีกเล่ียงการสลายตัวของสารเคมีท่ีเปนสารออกฤทธิ์ วิธีการและอุณหภูมิท่ีใชในการทาํ แหงอาจมี ผลกระทบอยางมากตอ คณุ ภาพของวัตถดุ ิบสมุนไพรได เชน การตากในทร่ี ม จะเปนวิธที ด่ี กี วา เพอ่ื รักษา หรอื ลดการจางของสขี องใบและดอกใหน อยทีส่ ดุ และควรใชอ ณุ หภมู ิต่ําในกรณที วี่ ัตถดุ บิ สมุนไพรมีสาร ที่ระเหยได ควรมีการบนั ทึกสภาวะท่ใี ชใ นการทาํ ใหแ หง ดว ย ในกรณีของการผง่ึ ใหแ หง ไวใ นท่ีโลง ควรแผว ัตถดุ ิบสมุนไพรเปนชน้ั บาง ๆ บนแผงตาก และหมั่นคนหรือกลบั บอ ย ๆ เพอ่ื ใหอ ากาศถา ยเททัว่ ถงึ แผงตากควรจะอยูห า งจากพน้ื มากพอ และควร พยายามใหวัตถดุ ิบสมุนไพรแหงอยางสมํ่าเสมอเพอ่ื หลกี เลย่ี งการเกดิ เช้ือรา ไมควรตากวัตถดุ บิ สมนุ ไพร บนพืน้ โดยตรง ถา เปน พืน้ ปูนซีเมนตหรอื คอนกรตี ควรวางวตั ถุดบิ สมุนไพรบนผืนผา ใบหรอื ผาชนดิ อื่นที่ เหมาะสม สถานทท่ี าํ ใหว ตั ถุดบิ แหง ตอ งไมใ หแ มลง หนู นก สตั วรังควานอ่นื ๆ หรอื สัตวเ ลี้ยงเขาถงึ ได สําหรบั การทําใหแหงภายในอาคาร ควรกาํ หนดระยะเวลาการทําใหแหง อณุ หภูมิ ความชื้น และสภาวะ อ่ืน ๆ โดยคํานึงถึงสวนของพืชทใ่ี ชเ ปน ยา (ราก ใบ ลาํ ตน เปลอื ก ดอก ฯลฯ) และสารธรรมชาติทร่ี ะเหย งาย เชน น้าํ มันหอมระเหย เปนหลัก 4. 5-9 การแปรรปู โดยวธิ เี ฉพาะ กระบวนการแปรรปู เฉพาะของสมนุ ไพร โดยท่ัวไปจะใชไฟเขามาเกีย่ วขอ ง และเปนวิธีท่ใี ช กันมาก ไมว าจะผัดหรอื สะตุ แมดูจะงาย แตหากระดับไฟ (ไฟออน ไฟแรง) ทีใ่ ชไ มเหมาะสม (ผัดใหมี กลิน่ หอม หรอื ผัดใหเกรยี ม) จะสง ผลตอ การรกั ษาได เชน ขา ว (กหู ยา) ขาวบารเ ลย (มา ยหยา) หากจะ กระตุน การทาํ งานของมา ม ชวยใหฤทธเิ์ จริญอาหารดขี น้ึ จะตองนาํ ไปผัดกอ นใช หรอื ไปจู หากใชด บิ จะ มีสรรพคุณบาํ รุงช่ี เสริมมา ม แตฤ ทธิค์ อนขางแรง เม่อื รับประทานแลวจะทําใหทองอืดได จงึ ตองนํามาผดั ใหเกรียมกอนใช นอกจากจะชว ยบํารุงชแี่ ละเสรมิ มา มแลว ยังไมทําใหเกดิ อาการทองอืดได สาํ หรับตัวยา ประเภทเมลด็ หรือผลเลก็ ๆ ตอ งนํามาผดั กอนใช เพอื่ ใหมกี ลน่ิ หอมและเมือ่ นํามาตมจะทําใหสารสําคัญ ออกมางาย ตวั ยาที่เปน ยาเย็นเมอ่ื นํามาผดั จะทําใหฤทธิ์ของยาไมแ รงเกินไป เปนตน การแพทยแ ผนจนี ไดก ําหนดกระบวนการแปรรปู เฉพาะของสมุนไพร5-9 ดังน้ี 4.1 การผดั (stir-baking) แบง เปน 2 ประเภท คอื การผัดธรรมดา และการผดั โดยใชร ําขาวสาลี (ก) การผดั ธรรมดา หมายถงึ การนาํ วัตถดุ บิ สมุนไพรท่ีสะอาดใสในภาชนะที่เหมาะสม ผดั โดย ใชร ะดบั ไฟออน ๆ จนกระท่ังไดต รงตามขอ กาํ หนด นําออกจากเตา แลวตง้ั ทง้ิ ไวใ หเ ยน็ หากตองการผัด จนกระทัง่ ไหมเกรียมใหผดั โดยใชระดับไฟแรง ผัดจนกระทั่งผิวนอกเปนสีนํ้าตาลและรอยแตกเปนสเี ขม นําออกจากเตา แลว ต้งั ทงิ้ ไวใ หเยน็ สําหรับสมนุ ไพรทตี่ ดิ ไฟในระหวา งการผดั อาจพรมนา้ํ เลก็ นอ ย แลว

Page 50 40 กรมพฒั นาการแพทยแ ผนไทยและการแพทยทางเลอื ก ผดั จนกระทง่ั ตวั ยาแหง (ข) การผัดโดยใชรําขาวสาลี หมายถงึ การนาํ รําขาวสาลใี สล งในภาชนะที่เหมาะสม แลวให ความรอ นจนกระทัง่ มีควนั ออกมา เติมวตั ถดุ ิบสมนุ ไพรทสี่ ะอาดลงไป คนอยา งรวดเร็วจนกระท่ังผวิ ของ ตัวยาเปนสเี หลอื งเขม นําออกจากเตา แลว รอนเอาราํ ขาวสาลีออก โดยท่วั ไปใชร าํ ขา วสาลี 10 กโิ ลกรมั ตอ สมุนไพร 100 กโิ ลกรัม 4.2 การค่วั (scalding) หมายถงึ การนาํ ทรายท่ีสะอาดหรือเปลือกหอยท่ีบดเปนผงใสใ นภาชนะที่ เหมาะสม แลว ใหค วามรอ นท่อี ุณหภูมิสงู เติมวตั ถดุ ิบสมนุ ไพรทส่ี ะอาดลงไป คนอยางสมํ่าเสมอ จนกระทัง่ ตัวยากรอบ เอาออกจากเตา รอนเอาทรายออก ตั้งท้ิงไวใหเ ย็น 4.3 การสะตุ (calcining) แบง เปน 2 ประเภท คอื การสะตแุ บบเปด และการสะตแุ ลว จมุ ใน ของเหลวทก่ี าํ หนด (ก) การสะตุแบบเปด หมายถงึ การนําวัตถดุ บิ สมนุ ไพรทสี่ ะอาดมาทุบใหแตกเปนชน้ิ เลก็ ๆ แลว นาํ ไปวางบนเปลวไฟท่ไี มมีควนั หรือใสใ นภาชนะที่เหมาะสม สะตุจนกระทงั่ ตัวยากรอบ เปราะ หรือ รอ นแดง จากนน้ั นาํ ออกจากเตา ตงั้ ทง้ิ ไวใ หเ ยน็ แลว บดเปน ผงละเอยี ด สําหรับตวั ยาประเภทเกลอื อนนิ ทรีย ทม่ี นี ํา้ ผลกึ ไมจาํ เปน ตองสะตจุ นรอนแดง แตใ หน าํ้ ผลกึ ระเหยออกอยางสมบรู ณ (ข) การสะตุแลว จมุ ในของเหลวทก่ี าํ หนด หมายถงึ การนาํ วตั ถดุ บิ สมนุ ไพรทีส่ ะอาดมาสะตุ จนกระทั่งตัวยารอนแดง แลวนาํ ไปจุมลงไปในของเหลวที่กําหนดเพื่อลดอุณหภูมิจนกระท่ังตัวยากรอบ เปราะ (ทาํ ซ้ําถา จาํ เปน ) นําตวั ยาไปทาํ ใหแ หง บดเปน ผงละเอียด 4.4 การเผาใหเ ปน ถาน (carbonizing) หมายถึงการเผาสมุนไพร (ระวังอยา ใหเปนขเี้ ถา) โดย รักษาคุณภาพของตวั ยาไว หากเปนการเผาโดยวธิ ผี ดั ใหใสว ตั ถดุ ิบสมุนไพรที่สะอาดลงในภาชนะที่รอ น แลว ผดั โดยใชระดบั ไฟแรง จนกระทง่ั ผวิ นอกของตวั ยามสี เี ขม และเนอ้ื ในเปลยี่ นเปนสเี หลอื งเขม พรมน้ํา เลก็ นอย เอาออกจากเตา แลว นาํ ไปตากแหง หากเปน การเผาโดยวธิ ีสะตุ ใหใสว ตั ถดุ บิ สมุนไพรท่ีสะอาด ลงในภาชนะสาํ หรบั สะตุที่มีฝาปดมดิ ชิด อบตัวยาใหท่ัว ตง้ั ทง้ิ ไวใ หเย็น แลว เอาตวั ยาออกมาใช 4.5 การนงึ่ (steaming) หมายถึงการนาํ วัตถดุ ิบสมนุ ไพรทสี่ ะอาดมาคลกุ เคลา กับสารปรุงแตง ท่เี ปนของเหลวใหเขากัน นําไปใสในภาชนะนึ่งท่ีมีฝาปดมิดชิด น่ึงจนกระท่ังสารปรุงแตงท่ีเปนของเหลว แทรกซมึ เขา ในเนอ้ื ตัวยา แลวนาํ ไปตากแหง 4.6 การตม (boiling) หมายถงึ การนําวัตถดุ ิบสมุนไพรทีส่ ะอาดมาตมกบั นํ้าหรือสารปรุงแตงท่ีเปน ของเหลว จนกระทัง่ นาํ้ หรอื สารปรุงแตงแทรกซมึ เขาเนอื้ ในตัวยา แลวนาํ ไปตากแหง