Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 199 คติธรรม คำกลอน

199 คติธรรม คำกลอน

Description: 199 คติธรรม คำกลอน

Search

Read the Text Version

1 | 1 9 9 คา ก ล อ น ส อ น ใ จ : ม ห า บ้ า น น อ ก              

2 | 1 9 9 คา ก ล อ น ส อ น ใ จ : ม ห า บ้ า น น อ ก  คานา การบนั ทึกเรื่องราวทีเ่ กิดข้ึน โดยเฉพาะย่ิง คติธรรม คากลอน เป็น  การง่ายเพือ่ เรียนรู้ธรรมและฝึกใจใหส้ งบสขุ ทง้ั เป็นอาหารสมอง เพ่ิม  สติปัญญาในการดาเนินชีวิต แต่ละวนั และในวนั ทีเ่ รามีเวลาหยดุ ดลู ม  หายใจ ในช่วงทีข่ า้ พเจ้าทางานเป็นเจ้าหนา้ ที่ ของมหาจฬุ าอาศรมของ มหาวิทยาลยั และไปครูอาจารย์สอนพิเศษทีม่ หาจฬุ าลงกรรราชวิทยาลยั วิทยาเขตนครราชสีมา ตอ้ งกราบขอบพระคณุ พระสงฆ์ทกุ รูปทีใ่ หก้ าลงั ใจ และญาติธรรมที่ อปุ ถมั ภ์ดูแลพระสงฆ์ จนทาใหก้ ารเป็นอยู่ในสมณะเพศ ดารงประพฤติ พรหมจรรย์ได้ ข้าพเจ้าจึงหาเวลารวมรวบ เรียบเรียงคติคากลอนสอนใจ เพือ่ เป็นธรรมบรรณาการ ก่อนจากมหาจุอาศรม และลาไปสอบพระธรรมทูต สายต่างประเทศแลว้ เดินทางทางานทีป่ ระเทศองั กฤษเพือ่ เป็นอาสาสมคั ร เพือ่ งานพระศาสนา ในช่วงนนั้ ไม่มีเวลาและทรัพย์พิมพ์ จึงมาพิมพ์ทีห่ ลงั  ดงั นนั้ งานรวมคติเล่มเล็กๆ นี้ หากจะมีประโยชน์ ข้าพเจ้า ขอบูชา พระคณุ ของผพู้ ระคณุ ทกุ ท่านทีเ่ ป็นเจ้าของคติธรรมนน้ั ๆ ซ่ึงมาจากทีต่ ่างๆ ความผิดพลาดตกบกพร่องประการใด ต้องขออภยั และหวงั ว่าคงไดร้ ับ เมตตานเุ คราะห์จากท่านผรู้ ู้ เมตตาชี้แนะแนวทางใหเ้ กิดสติปัญญาดว้ ย ดว้ ยธรรมไมตรี มหาบา้ นอก (พระมหาปกานนท์ พทุ ธิเมธี นธ.เอก,ปธ.๖,พธ.ม.)  วดั ศรีรตั นาราม แมนเชสเตอร์ ประเทศองั กฤษ 

3 | 1 9 9 คา ก ล อ น ส อ น ใ จ : ม ห า บ้ า น น อ ก  ปณามคาถา                                                 ผทู้ ช่ี ื่อวา่ “”                  

4 | 1 9 9 คา ก ล อ น ส อ น ใ จ : ม ห า บ้ า น น อ ก                                             “วายเมเถว ปุรโิ ส กยิรา”  เกดิ เป็นคนควรเพียรพยายามรา่ ไปจนกว่าจะพบความส่าเรจ็                

5 | 1 9 9 คา ก ล อ น ส อ น ใ จ : ม ห า บ้ า น น อ ก                                       บณั ฑิตจะตอ้ งเวน้ สงิ่ ทไ่ี ม่เป็นประโยชน์ ยดึ ถอื เอาแต่สง่ิ ท่ีเป็นประโยชนเ์ ทา่ น้ัน และเป็นอยู่ด้วยสตปิ ัญญา             

6 | 1 9 9 คา ก ล อ น ส อ น ใ จ : ม ห า บ้ า น น อ ก                                                    

7 | 1 9 9 คา ก ล อ น ส อ น ใ จ : ม ห า บ้ า น น อ ก     แพเ้ ปน็ บันได ชนะเป็นสะพาน ประสบการณ์เป็นบทเรียน    หากปรารถนาจะไปใหถ้ ึงจุดสงู สดุ จงเรม่ิ ตน้ จากจุดต่าสุด                  “โงไ่ ม่เป็น เปน็ ใหญย่ าก แต่ถ้าโง่มาก ๆ กย็ ากทจี่ ะเปน็ ใหญ่”  อปุ มาชีวติ  หยาดน้า่ ค้างซ่ึงโปรยปรายลงมาจากเบอ้ื งบนในยามราตรแี ละจับตาม ต้นไม้ ใบหญา้ จนเปียกชุ่ม มองเห็นไดช้ ดั เจนตอนรงุ่ อรุณนนั้ ไม่นานเลย พอ แสงพระอาทติ ยก์ ล้าขนึ้ และลมพัดผ่านไปมา ชั่วครเู ดียวเท่านนั้ กพ็ ลันเหอื ดแหง้ หายไป จะเหลอื ไว้เพยี งแตค่ ราบพอให้เห็นรอยเท่านั้นเอง ชีวิตของทุกคนก็ไมต่ ่างอะไรกับหยาดน่้าค้างเลย เพาระเม่ือเกดิ ขึ้นแล้ว  มากวนั นานคืน กต็ ้องกา้ วสู่วัยชรา อันเปน็ วัยที่แห้งเหย่ี ว อับเฉา  เตรยี มทอดรา่ งลงทง้ิ ในทสี่ ุด คลา้ ยหยาดน่า้ ค้าง ทต่ี อ้ งสลายตวั ออก เมือ่ สิ้นรัตติกาล ฉะนั้น ทางชีวติ มิไดร้ าบรนื่ เหมอื นทางซึง่ โรย 

8 | 1 9 9 คา ก ล อ น ส อ น ใ จ : ม ห า บ้ า น น อ ก  ด้วยดอกกลุ าบ แตม่ นั ทัง้ ลนื่ ทัง้ รก คดเค้ียว นอกจากน้ี ยงั เต็มไปด้วยหลุมพราง และหว้ งเหวอนั น่าหวาดเสียวย่งิ หนกั ทางชวี ิต จงึ เปน็ ทางทุรกันดารทส่ี ุดของบรรดาทางท้ังหลาย กระแสชวี ิต ไมต่ ่างอะไรกบั กระแสนา่้ บางแหง่ กไ็ หลเอื่อย บางแห่งก็วกวนหมนุ เวยี น บางแห่งก็ไหลเชีย่ วอย่างน่าหวาดเสียว ชวี ติ กอ่ ตัวขึน้ มาจากธรรมชาตอิ ยา่ งหนงึ่ ซึง่ ผกู มัดรดั รึงมนษุ ย์ทั้งหลายใหเ้ กาะอยู่กบั โลก และแล้ว กบ็ ังคบั ใหว้ ิ่งกระหืดกระหอบไปตามความเปลี่ยนแปลงของโลก อันไม่ มีการหยดุ หยอ่ นผ่อนพัก ชวี ิตได้สลายตวั ลงเปน็ ฉาก ๆ ตอน ๆ แลว้ กอ่ ตวั ข้ึนใหม่ ดังบท ละคร บางทกี ็เป็นเหมอื นดอกไม้เพราะเตบิ โตตูมอยูใ่ นเบ้อื งตน้ เบ่งบานในท่านกลาง และร่วงโรยในทส่ี ุด ในระหวา่ งน้ันกถ็ กู แมลงท่ีปรารถนาเกสรเข้าชอนไช ให้รว่ งหล่น โรยราเรว็ เข้า ชวี ติ น้ี ถกู แมลงคือ ความเจ็บ เพราะอนั ตรายตา่ ง ๆ  และความตรอมใจความคบั แค้นใจไชชอนทา่ ให้อับเฉา ชวี ิตเปน็ ความฝัน ชัน้ หนึ่งแลว้ ยังหลงใหลงมงายกับเหตุการณต์ ่าง ๆทีเ่ กดิ ขน้ึ ในชีวิตชีวาเปน็ จริงอกี จึงเป็นฝนั ทซ่ี อ้ นฝนั ............        

9 | 1 9 9 คา ก ล อ น ส อ น ใ จ : ม ห า บ้ า น น อ ก   “ปากหนอปากปากบน่ ปากคนบ้า ปากปลารา้ ปลาเจา่ ปากเปา่ หู ปากสนุ ัขปากนินทาปากปลาทู ปากลบหล่ปู ากเสรจ็ เครง็ ปากเฮงซวย ปากมดี โกนผสมเกลอื เจอื น่้าผง้ึ ปากหวานซง้ึ น่าพาปากบ้าหวย ปากขโ้ี มปากสวดปากอวดรวย ปากไม่ช่วยปากสอพลอขอกนิ  ปากอัปรีย์หมาวัดกัดเจา้ ของ ปากจองหองปากจญั ไรเหา่ ไม่สิ้น ปากซุบซิบปากอิจฉาปากราคนิ ปากหวานล้ินปากเบ้ียวปากเทย่ี วทา ปากดีเด่นปากขดู ปากรูดทรัพย์ ปากชอบสบั ชอบจกิ ปากพลิกหา ปากป้องพวกปกปิดผดิ ตา่ รา ปากทายทา้ ปากพล่อยปากร้อยเงนิ  ปากหอยปู ปากตลาดขาดธรรมะ ปากดา่ พระเณรชีไม่มีเขิน ปากเป็นพษิ ปากกวนปากสว่ นเกิน ปากสรรเสริญปากปลอบปากชอบชม ปากบัณฑติ ปากนักปราชญ์ฉลาดลา่้ ปากมธี รรมรองรับไมท่ บั ถม ปากคนพาลปากคนโงป่ ากโสมม ปากคยุ ข่มซา่้ ซากเฮ้อปากคน ชศรนี อก                    “โชคอยู่ท่ีการศกึ ษา วาสนาอยู่ท่ี ความเพยี ร”  ”ทา่ นว่า คนท่นี อนรอวาสนา เหมือนสุนขั นอนรอน่้าข้าว ฉะน้ัน เราไม่ต้องรอราชรถมาเกย” 

10 | 1 9 9 คา ก ล อ น ส อ น ใ จ : ม ห า บ้ า น น อ ก  ๗   “                   “สะอาด ขยนั ประหยดั ซื่อสัตย์ เสียสละ สามคั คี”     “ไม่หลงสว่ นเกนิ ไมเ่ พลินอบายมขุ ไมแ่ ก่สุขส่วนตน เป็นคนกลา้ เสยี สละ”    “ออ่ นนอ้ ม ถอ่ มตน จิตใจสภุ าพ ซมึ ซาบใจชน ผู้คนสรรเสริญ น่ารักเหลอื เกิน เพราะอ่อนน้อมถอ่ มตน  “ เตาะแตะ ต้วมเตี้ยม ตมู ตาม เตง่ ตงึ โตงเตง ตอ้ งตาย” .....             “เยาวชนเอ่ย........... พอ่ แม่หวังพ่ึงพาจา้  ครเู ล่าหวังให้สร้างชือ่  ชาตกิ ็หวงั พึ่งฝีมือ พทุ ธศาสตร์ฤา หวงั ให้เจ้าเปน็ คนดี” 

11 | 1 9 9 คา ก ล อ น ส อ น ใ จ : ม ห า บ้ า น น อ ก                   ๑สภาพแวดล้อมภูมปิ ระเทศ อตุ นุ ยิ าม ๒พอ่ แม่เผา่ พันธ์ พีชนิยาม ๓กรรมทส่ี ร้างสรรมา กรรมนิยาม ๔จติ ใจท่ีต่างกัน จิตนิยาม ๕เรือ่ งธรรมดา ธรรมชติ ธัมมนยิ าม   “     ”    “ได้พบเหน็ การท่าความดี ไดม้ ีความปรองดอง ได้มองเห็นสัจจธรรม ไดน้ ้อมน่าพระสัทธรรม”   

12 | 1 9 9 คา ก ล อ น ส อ น ใ จ : ม ห า บ้ า น น อ ก       อยู่ให้เขารกั จากใหเ้ ขาเสียดาย ตายใหเ้ ขาคดิ ถึง” ทีเ่ ราต้องมี ความรดู้ ี การงานดี ประพฤตดิ ี” ในวยั ชวี ติ                    “หลักฐาน หลกั การ หลกั ปฏบิ ัติ”   “ไดเ้ ห็น กเ็ ปน็ บุญตา เจรจาเปน็ บุญปาก อุปัฏฐากกเ็ ป็นบุญใจ” คนเรามี หน้า  1.หน้านอก บอกความงาม 2.หนา้ ใน บอกความดี 3.หนา้ ที่บอกความสามารถ  เม่ือ  “                    มองให้เห็นโลก โลกภายนอกกวา้ งไกล ใคร ๆรู้ โลกภายใน ลึกซ้ึงอยู่ รู้บา้ งไหม จะมองโลก ภายนอก  มองออกไกล จะมองโลก ภายใน ใหม้ องตน  

13 | 1 9 9 คา ก ล อ น ส อ น ใ จ : ม ห า บ้ า น น อ ก           ดุ    ห้        “แก้ขา่ วรา้ ย กระจายข่าวดี มมี นษุ ย์สมั พนั ธ์  ป้องกันภัยสารพัด บ่าบดั ทุกข์ประชาชน ท่าตนเป็นตัวอยา่ ง                   “         เดินทางไกลได้ทนนาน อาหารย่อยดี มอี าพาธน้อย จิตค่อยตง้ั มนั่ เป็นสมาธิเร็ว 

14 | 1 9 9 คา ก ล อ น ส อ น ใ จ : ม ห า บ้ า น น อ ก    หรือเพอ่ื เรยี น เพ่อื สอบ ตอบถูกต้อง เพ่ือสนองหนง่ึ ไม่เป็นสอง จงึ แขง่ ขนั  หรือเปน็ บณั ฑติ อภสิ ิทธ์ิ ฐานนันดร์ แผน่ กระดาษ ฤาสา่ คญั เหมือนสัจธรรม    วัดจะดี มีหลักฐาน เพราะบ้านชว่ ย บา้ นจะสวย เพราะมีวดั ดัดนสิ ยั  บา้ นกับวัด ผลดั กันช่วย จึงอวยชยั  ถา้ ขดั กนั กบ็ รรลัย ทัง้ สองทาง  อนั บา้ นเรือน ใหญโ่ ต รโหฐาน มเี สาธาร หลายต้น จึงทนไหว เกดิ เป็นคน อยู่เดยี ว ก็เปลี่ยวใจ ต้องอาศัย พวกพ้อง พ่ีน้องนา   ไมใ่ ห้เจ็บตวั  ไม่ใหเ้ จ็บใจ ไม่ใหเ้ สยี งาน ไม่ใหเ้ สียเพ่ือน  มีหลวงพ่อ ๕ องคก์ ็คงสุขใจ หลวงพ่อย้ิม แยม้ แจม่ ใส เย็น  

15 | 1 9 9 คา ก ล อ น ส อ น ใ จ : ม ห า บ้ า น น อ ก    จนเงนิ ทอง ขา้ วไมเ่ ป็นไร จนอะไรไม่วา่ แต่อย่าจนความดี  หน้าทช่ี าวของประมง คอื จับ ปลา หนา้ ที่ของพ่อค้า คอื หาผลก่าไร หนา้ ทขี่ องศิลปนิ คอื สร้างศลิ ปะ หน้าทีข่ องพระ คือ สอนมนษุ ย์ หน้าที่ของชาวพุทธ คอื ท่าดี หนา้ ทข่ี องศิษย์ทีด่ คี ือกตัญญูกตเวทีต่ออาจารย์   ในยามวิบัติ จะเห็นใจ ของมิตร ในยามศึกประชติ จะเหน็ นา่้ ใจทหาร ในยามสน้ิ ทรพั ย์ จะเหน็ น่้าใจภรรยา ในยามอนาถา จะเหน็ น่้าใจของญาติ  ปง้ิ ปลาหมอ งอแลง้ กลบั นี้ค่าข่า เจ็บแลว้ จา่ ใส่กระบาลนา่ ขานไข ผิดแลว้ รบี กลบั ตัวเปลี่ยนหวั ใจ จะมีใครมาวอนไมส่ อนตวั     อนั เพอ่ื นดี มีหน่งึ ถงึ จะนอ้ ย ดีกว่ามเี พื่อนรอ้ ยทีค่ ดิ ริษยา เหมือนเกลือมีนัดหนอ่ ยดอ้ ยราคา ยงั มคี า่ กว่านา่้ เค็มเตม็ ทะเล

16 | 1 9 9 คา ก ล อ น ส อ น ใ จ : ม ห า บ้ า น น อ ก     “ศษิ ย์ดตี อ้ งมีครู เป็นหมู ต้องมมี ัน เปน็ สตรตี อ้ งมีถัน”              ทรัพย์นี้ มิอยู่ไกล ใครปญั ญาไว หาไดบ้ ่นาน ท่วั แคว้นแดนดนิ มีสน้ิ ทกุ สถาน ผูใ้ ดเกียจคร้าน บพ่ บพานเอย        ความคดิ ทีป่ ราศจากข้อมลู เป็นความวา่ งเปล่า ขอ้ มลู ทปี่ ราศจากความคิดก่ากบั เป็นความมดื บอด   เปน็ หลักของบา้ น เปน็ พลเมืองดขี องชาติ เปน็ ญาติพระศาสนา    มวี าสนาเปน็ ทุน มีบญุ เป็นยา มีเมตตาเป็นบา้ น มีลกู หลานเป็นผา้ หม่  มอี ารมณ์เป็นเพื่อนที่ดี

17 | 1 9 9 คา ก ล อ น ส อ น ใ จ : ม ห า บ้ า น น อ ก   ดูคนดี ชวั่ ดูที่การกระทา่  ดผู นู้ ่า ดูทีก่ ารเสียสละ ดพู ระ ดูทก่ี ิจวตั ร ดคู ฤหัสถ์ ดูทีค่ วามขยัน ดเู พอ่ื นดูทค่ี วามจรงิ ใจ ดูผู้ใหญด่ ูท่พี รหมวหิ าร ดูผู้น้อยดูท่ีความออ่ นน้อม      โลกนี้ คือ โรงละคร ปวงนิกรเราท่านเกิดมา ตา่ งร่ายร่าทา่ ที่ท่า ตามลีลาของบทละคร บางครัง้ สขุ เศร้า บางคราวสุข บางทกี ท็ กุ ข์หวั อกสะท้อน มีรา้ งมีรกั มจี ากมีจร พอจบละครชวี ติ ก็ลา อันวรรคตอนละครชีวิต เป็นสง่ิ น่าคิดนะท่านเจ้าขา กวา่ ฉากจะปิดชวี ิตจะลา ตอ้ งทรมาน์กนั เหลือประมาณ มใิ ชเ่ ทวาจะมาอมุ้ สม มใิ ชพ่ ระพรหมจะมาเสกสรรค์ มใิ ช่ศุกร์ เสาร์ อาทติ ย์หรือจันทร์ จะยากดมี จี นก็สุดแท้แต่วิถี กกแหง่ กรรมทา่ ดีกไ็ ดด้ ี ทา่ ชัว่ แล้กม็ แี ต่เลวทราม ความดที า่ ไวถ้ ึงคราวตายจาก กม็ คี นอยากช่วยแบกชว่ ยหาม หากท่าชว่ั ก็พาตวั ตกตา่ ๆ ถึงมหี นา้ ก็คว่าเหมือนหอยโข่งหอยแครงฯ  

18 | 1 9 9 คา ก ล อ น ส อ น ใ จ : ม ห า บ้ า น น อ ก    หลงตัว ลมื ตาย หลงกาย ลมื แก่ หลงเมีย ผัว ลมื พอ่ แม่  สังขารแก่ ไมเ่ ห็นโลงศพ ไม่หล่ังนา้่ ตา                                เปน็ ผู้ น่า ไมเ่ สียสละ เป็นพระไม่นิ่งเปน็ หญิงไมเ่ หนียม  เปน็ คนจนไม่เจียม เป็นคนรวยไมจ่ ุนเจอื ใช้ไมไ่ ด้ ลอ่ ไม่อยาก ถากไม่เข้า เย้า ไม่รกั ชกั ไมห่ ลง      เผาไม่ไหม้ ศลี     ใกลไ้ มร่ ้อน เมตตา    นอนไมม่ าก ความเพียร    ปากไมโ่ ป้ง เกบ็ ความลับ    โกงไม่เปน็ ก ตญั ญตู ่อโลก

19 | 1 9 9 คา ก ล อ น ส อ น ใ จ : ม ห า บ้ า น น อ ก    ส่งให้สูง ศีลปรงุ ให้สวย ศีลท่าให้นวย ศีลชว่ ยใหร้ อด                ก้าวที่หน่ึง พงึ หมน่ั ขั้นศกึ ษา กา้ วไปหามาไว้ให้สงู ส่ง กา้ วทสี่ องตอ้ งขยันถอื ม่นั คง กา้ วให้ตรงจุดจ้องต้องทา่ งาน ก้าวสามตามหลักรกั ษา กา้ วนนี้ ับทรัพย์ทวีมหี ลักฐาน ก้าวสีม่ เี งินต้องเดนิ งาน ก้าวช่านาญงานขยายไดม้ ากมี ก้าวที่หา้ ถ้ารวยใหช้ ่วยญาติมิตรและชาติศาสนก์ ษตั ริย์ พฒั นศรี ก้าวที่หกอกสามคั คี ก้าวให้ดมี จี ิตคิดกาลไกล กา้ วทีเ่ จ็ด วเิ ศษศรมี ศี ีลสตั ย์ ก้าวนีจ้ ัดสัตย์ซื่อเช่ือถอื ได้ ก้าวแปดถ้าใหด้ มี วี ินยั ก้าวไปชว่ ยชนคนลอื ชา ก้าวทีเ่ ก้าเข้ายดึ ประพฤตธิ รรม เก้าท้าวน่าท่าใจไมใ่ หห้ มอง ท่าให้มคี วามสุขสมดังปอง เชิญพ่นี อ้ งยึดก้าวเก้า เท้าสุขเอย  

20 | 1 9 9 คา ก ล อ น ส อ น ใ จ : ม ห า บ้ า น น อ ก          กา่ หนดเดอื น ด้วยพระจนั ทร์  กา่ หนดวนั ด้วยพระอาทิตย์ กา่ หนดจิตด้วยสมถะกมั มฏั ฐาน กา่ หนดสังขาร ดว้ ยวปิ สั สนากัมมัฏฐาน                                                    

21 | 1 9 9 คา ก ล อ น ส อ น ใ จ : ม ห า บ้ า น น อ ก                หนแี ก่ไมไ้ ด้ หนเี จบ็ ไมพ่ ้น ทกุ คนต้องตาย ต้องจากไกลของรกั   เปน็ ไปตามหลักกรรมเอย                  อยา่ ปล่อยให้ วนั เวลา ครา่ ชีวิต   โดยไม่คดิ ท่าสิง่ ใด ให้พนู เพ่ิม   สรา้ งความดี ทวีไว้ ใฝต่ ่อเตมิ    ช่ัวอยา่ เสรมิ สร้างเลย เสบยแล   

22 | 1 9 9 คา ก ล อ น ส อ น ใ จ : ม ห า บ้ า น น อ ก                              ก้านบัว บอกลึกตื้น ชลธาร   มารยาท ส่อสันดาน  ชาติเชอื้    โงฉ่ ลาดอาจทราบได้เพราะ คา่ ขาน หย่อมหญ้าเห่ียวแหง้ บอกร้าย แสลงดนิ     ขยันท่ามาหากิน  ขยัน ไมบ่ ินสงู นกั   สันโดษ  รักความสะอาด  ศีล  ฉลาดสะสม  อารกั ขา  นิยมสามคั คี  สามคั คี  มีความกตญั ญู  กตัญญู 

23 | 1 9 9 คา ก ล อ น ส อ น ใ จ : ม ห า บ้ า น น อ ก                          บริวารมาเพราะน้่าใจมี บริวารหนีเพราะน้่าใจลด บรวิ ารหมดเพราะน่้าใจไมม่ ี          เงนิ ซ้ือเตยี งนอนได้  แตซ่ ้ือการหลบั เป็นสุขไมไ่ ด้ เงนิ ซื้อกระดาษปากาได้  แต่ซอ้ื ความเป็นกวีไม่ได้ เงินซอ้ื อาหารดี ๆได้  แตซ่ ื้อความอยากรบั ประทานไมไ่ ด้ เงินซอ้ื ความประจบสอพลอได้ แต่ซื้อความความจรงิ ใจไม่ได้ เงินซื้อการตามใจได้  แตซ่ อื้ ความจงรักภักดีไม่ได้ เงินซอ้ื เพชรนิลจนิ ดาได้  แต่ซอ้ื ความงามไมไ่ ด้ เงินซ้อื ความสนกุ สุข ชวั่ คราวได้ แตซ่ ื้อความสุขไมไ่ ด้ เงินซอ้ื เพอ่ื ร่วมทางได้  แต่ซื้อเพือ่ นแทไ้ ม่ได้ เงินซื่ออา่ นาจราชศกั ดิไ์ ด้  แตซ่ อ้ื ปญั ญาไมไ่ ด้ เงนิ ซอื้ อาวธุ ยุทธภันฑ์ได้ แต่ซอื้ สนั ตสิ ุขไมไ่ ด้ เงนิ ซอื้ เมยี ทีส่ วยๆได้  แตซ่ ้ือแม่ทดี่ ีของลกู ไมไ่ ด้ เงนิ สา่ คญั ก็ต่อเม่อื จา่ เป็นตอ้ งใชเ้ ท่าน้ัน  

24 | 1 9 9 คา ก ล อ น ส อ น ใ จ : ม ห า บ้ า น น อ ก   อนั วสิ ยั คนดีนั้น ยอ่ มไม่ระลกึ ถึงและจดจ่าคณุ ท่เี คยท่าไวแ้ ก่ผู้อื่น ไมบ่ ญุ คุณ แตย่ อ่ มระลึกและจดจ่าพระคณุ ท่คี นอื่นท่าไว้แก่ตนเสมอ และหาโอกาสที่จะ  สนองพระคณุ ท่าน                                        

25 | 1 9 9 คา ก ล อ น ส อ น ใ จ : ม ห า บ้ า น น อ ก                                                                           

26 | 1 9 9 คา ก ล อ น ส อ น ใ จ : ม ห า บ้ า น น อ ก                                                               

27 | 1 9 9 คา ก ล อ น ส อ น ใ จ : ม ห า บ้ า น น อ ก                                                                          

28 | 1 9 9 คา ก ล อ น ส อ น ใ จ : ม ห า บ้ า น น อ ก                                                                                

29 | 1 9 9 คา ก ล อ น ส อ น ใ จ : ม ห า บ้ า น น อ ก    “    โ     ตาย                                               

30 | 1 9 9 คา ก ล อ น ส อ น ใ จ : ม ห า บ้ า น น อ ก                                  นี                                                        

31 | 1 9 9 คา ก ล อ น ส อ น ใ จ : ม ห า บ้ า น น อ ก                                                               

32 | 1 9 9 คา ก ล อ น ส อ น ใ จ : ม ห า บ้ า น น อ ก  คาถาเรียกเงนิ (จากหลวงพ่อเดช สุมโน) ทกุ เช้า หลงั จากสวดมนต์ภาวนา ก่อนเปิ ดร้าน คา้ ขาย ใหเ้ สกคาถาว่า “พทุ ธงั เป็นเงิน ธมั มงั เป็นทอง สงั ฆงั เป็นข้าวของ เงินทองไหลมาเทมา คาถากนั ทกุ ข์ กูว่าแลว้ โลกนีม้ ีปัญหา  ไม่นินทา ก็ชื่นชม หรือเฉยๆ สามประเภททีว่ ่ามา ไม่ผิดเลย ใครวางเฉยไม่ได้ จะบา้ ตาย เพือ่ น เพือ่ นทีด่ ีมีหน่ึงถึงจะนอ้ ย ดีกว่ามีเพือ่ นร้อย ทีค่ ิดริษยา เหมือนเกลือ มีนิดหน่อยดอ้ ยราคา ยงั มีค่ากว่าน้าเค็ม เต็มทะเล เสกคาถาแก้โลกธรรม เมือ่ มีลาภ ยศ เสียง สรรเสริญ นินทา สขุ ทกุ ข์ ท่านใหเ้ สกคาถาว่า “ เกิดข้ึนตงั้ อยู่ดบั ไป หรือมึงไม่จากกู กูก็จะจากมึง”  เซ่ออย่ใู นวดั  แม้จะเซ่อ ๆ เผลอๆ อย่ใู นวดั ดีกว่า จรจดั อย่ใู นซอย แม้จะมีบญุ นอ้ ย แต่ทาบ่อยๆ ดีกว่าผู้ประมาท ขาดสติธรรม” 

33 | 1 9 9 คา ก ล อ น ส อ น ใ จ : ม ห า บ้ า น น อ ก อดไม่ได้  เราอย่าเป็นประเภท รู้หมด แต่อดไม่ได้ จะอายเขา ท่วมหัว บางครง้ั เรา อาจจะเป็นแบบ มีความท่วมตวั เอาหวั ไม่รอด หรือ ความรู้ท่วมหวั เอาตวั ไม่รอด” พบเพ่ือจาก เมื่อเราเจอใหฝ้ ึ กทาใจไวว้ ่า “ เราพบเพือ่ รอวนั จาก  เราไม่มามาก ก็รอวนั หมดไป” ใจจะไดส้ ขุ เย็น คบคนใหด้ หู น้า ซื้อผา้ ใหด้ ูเนือ้ นน้ั หมายว่า เวลาจะคบใคร ใหม้ ีสติว่า “เขามีหนา้ ทีท่ งั้ สาม คือหนา้ นอก หนา้ ใน และหนา้ ที่ ทงั้ สามหนา้ งามสมบรู ณ์ไหม ผา้ ทีเ่ ราจะซื้อสวมใส่เนือ้ ดีอย่างไร” ซ้ือคอมฯ จะซื้อคอมหรือของงใหส้ อยใหด้ วู ่า เหมาะสมกบั งานทีใ่ ช้ จาเป็นกบั งานทีท่ า อย่าไปจดจาว่า ถูกหรือแพงมากไป หรือหลงใหลของใหม่ จนลืม ของเก่า  ได้เก่าลืมใหม่ อย่าเป็นแบบประเภท “ลืมของทีด่ ีมีคณุ ค่า และมวั เมาบ้าของใหม่ จนเสียชาติ”   

34 | 1 9 9 คา ก ล อ น ส อ น ใ จ : ม ห า บ้ า น น อ ก   สิ่งทีย่ าก ยากอะไรก็ไม่อยากเท่าปฏิสงั ขรณ์ ถอนอะไรก็ไม่ยาก ถอนทิฐิมานะ ละอะไรก็ไม่ยากเท่าตณั หา  หาอะไรก็ไม่ยาก เท่าหาตน   ละครชีวิต โลกนี้ คือโรงละคร ทกุ บทตอนเราแสดงไปตามลีลา บางคราทกุ ข์บางคราสขุ  บางตอนโศกบางตอนเศร้า พอจบโรง ก็ลาโลกกนั ไป คาถาชนะ ชนะความชว่ั ดว้ ยการทาดี ชนะความตระหนีก่ ารดว้ ยให้ ชนะความไม่พอใชด้ ว้ ยการอดออม ชนะคนปากมอมดว้ ยสจั จะ ชนะผใู้ หญ่ดว้ ยการถ่อมตน ชนะคนเสมอกนั ดว้ ยความพยายาม ชนะทกุ ข์ทง้ั ปวงดว้ ยประพฤติธรรม  

35 | 1 9 9 คา ก ล อ น ส อ น ใ จ : ม ห า บ้ า น น อ ก 164.     จากหนงึ่ จึงเป็นเรา รวมกนั เข้าจงึ เปน็ หนึ่ง   165. อย.ู่ ...... อยู่คนเดียว แสนสบาย แต่ไมส่ นกุ อยู่สองครองทกุ ข์ แสนสนุก แตไ่ มส่ บาย  166. อยเู่ พ่ือตน  อยเู่ พอ่ื ตน อยูไ่ ดช้ วั่ คราว อยู่เพื่อสาว อยู่ไดเ้ พียงขณะ อยเู่ พื่อพระ อยไู่ ดเ้ พ่ือชมุ ชน  167.คากลอนสอนจติ คตธิ รรมคากลอนไว้สอนจติ เพ่อื ให้คดิ เตอื นใจใฝก่ ุศล แต่ญาตโิ ยมหญงิ ชายได้ทุกคน หมั่นฝึกตนให้พูดคิดและทาดี เราจะได้เป็นคนไม่ประมาท จะไม่ขาดปัญญาหาเหตุผล เพ่อื นทุกคนโปรดจาไว้ใส่ใจเอยฯ     

36 | 1 9 9 คา ก ล อ น ส อ น ใ จ : ม ห า บ้ า น น อ ก 168. แก่-เจ็บ-ตาย  อันความแก่แน่นอนไม่ผ่อนผัน คิดและวันนั้นรึงดึงสังขาร ฟันที่มั่นพลันคลอนหนังหย่อนยาน ชรากาลผลาญพร้าให้อาลัย ทั้งดวงตาฝ้าไปมองไม่เห็น หูก็เป็นเช่นกันกายสั่นไหว ผมกลับหงอกชอกช้าระกาใจ มองตรงไหนก็ไม่งามรูปทรามเอย คราเจ็บไข้ไม่สบายวุ่นวายเหลอื ช่างน่าเบ่อื เน้อื หนังโอ้สังขาร เป็นทุกข์ย่งิ จรงิ น่าทรมาน กว่าวายปราณผ่านพ้นจาทนไป ไม่เจ็บกายใจหมดทุกข์จึงสุขสม พระโคดมข่มจติ น่าพสิ มัย ไม่ยึดมั่นพลันถอนลูกศรใจ จติ แจ่มใสไร้ทุกข์สมสุขเอย. 169. อยู่ที่ใจ สุขทุกข์อยู่ท่ีใจมใิ ช่หรอื ถ้าใจถอื ก็เป็นทุกข์ไม่สุกใส ถ้าไม่ถอื ก็เป็นสุขไม่ทุกข์ใจ เราอยากได้ความสุขหรอื ทุกข์นา

37 | 1 9 9 คา ก ล อ น ส อ น ใ จ : ม ห า บ้ า น น อ ก 170.จงทากับเพ่อื นมนุษย์โดยคิดว่า...  เขาเป็นเพ่อื น เกดิ แก่เจ็บ ตาย ของเรา. เขาเป็นเพ่อื น เวียนว่ายอยู่ในวัฎฎสงสารด้วยกันกะเรา. เขาก็ตกอยู่ใต้ อานาจกเิ ลส เหมอื นเรา ย่อมพลั้งเผลอไปบ้าง. เขาก็มีราคะ โทสะ โมหะ ไม่น้อยไปกว่าเรา. เขาย่อมพลั้งเผลอบางคราว เหมอื นเรา. เขาก็ไม่รู้ว่าเกดิ มาทาไม เหมอื นเรา ไม่รู้จักนพิ พานเหมอื นเรา. เขาโง่ในบางอย่าง เหมอื นท่ีเราเคยโง่. เขาก็ตามใจ ตัวเองในบางอย่าง เหมอื นท่ีเราเคยกระทา. เขาก็อยากดี เหมอื นเรา ที่อยาก ดี-เด่น-ดัง. เขาก็มักจะกอบโกย และ เอาเปรียบ เม่อื มีโอกาสเหมอื นเรา. เขามีสิทธทิ ี่จะบ้า ดี-เมาดี-หลงดี-จมดี เหมอื นเรา. เขาเป็น คนธรรมดา ที่ยึดมั่น ถอื มั่น อะไรต่างๆ เหมอื นเรา. เขาไม่มี หน้าที่ ท่ีจะเป็นทุกข์ หรอื ตายแทนเรา. เขาเป็น เพ่อื น ร่วมชาติ ร่วมศาสนา กะเรา. เขาก็ ทาอะไร ด้วย ความคิดชั่วแล่น และ ผลุนผลัน เหมอื นเรา. เขามี หน้าท่ี รับผดิ ชอบ ต่อครอบครัวของเขา มใิ ช่ของเรา.

38 | 1 9 9 คา ก ล อ น ส อ น ใ จ : ม ห า บ้ า น น อ ก เขามีสิทธิ ที่จะมีรสนยิ ม ตามพอใจของเขา. เขามีสิทธิ ท่ีจะเลอื ก ( แม้ศาสนา ) ตามพอใจของเขา. เขามีสิทธิ ท่ีจะใช้ สมบัติ สาธารณะ เท่ากันกับเรา. เขามีสิทธิ ท่ีจะเป็นโรคประสาท หรอื เป็นบ้า เท่ากับเรา. เขามีสิทธิ ที่จะขอความช่วย เหลอื เห็นอกเห็นใจ จากเรา. เขามีสิทธิ ที่จะได้รับอภัย จากเรา ตามควรแก่กรณี. เขามีสิทธิ ที่จะเป็นสังคมนยิ ม หรอื เสรีนยิ ม ตามใจเขา. เขามีสิทธิ ท่ีจะเห็นแก่ตัว ก่อนเห็นแก่ผู้อ่นื . เขามีสิทธิ แห่งมนุษย์ชน เท่ากัน กับเรา , สาหรับจะอยู่ในใลก. ....ถ้าเราคิดกันอย่างน้ี จะไม่มีการ ขัดแย้งใดๆเกดิ ข้ึน (พุทธทาส ภกิ ขุ) 171.# Don't find advisors that know how to 'do it.' Find advisors who 'do it.' อย่าหาท่ีปรึกษาที่รู้วธิ ีการทา ให้หาท่ีปรึกษาที่ 'ลงมอื ทา' 172. # to know just not to do is not to know. รู้ แต่ไม่ได้ลงมอื ทา มีค่า เท่ากับไม่รู้ 173. # ถ้าเรามีเงนิ คนละ 1 บาท แล้วเอามาแลกกัน เรายังคงมีเงนิ คนละ 1 บาท เท่าเดมิ แต่ถ้าเรามีความคดิ ดีๆ คนละ 1 ความคดิ แล้วเอามาแลกกัน เรา จะมีความคิดดีๆ คนละ 2 ความคดิ

39 | 1 9 9 คา ก ล อ น ส อ น ใ จ : ม ห า บ้ า น น อ ก 174.ความรักไม่ไช่ การเป็นคนดีพร้อม สมบูรณ์ ของใคร ความรักคอื การหาใครสักคนท่ีช่วยให้คุณเป็นคนดีที่สุดเท่าท่ีคุณดีได้ 175. ความมหัศจรรย์ของ \"marketing\" คอื สามารถ ขายกอ้ นหนิ ท่ีไร้ราคา ให้มีมูลค่ามหาศาลได้ 176. ความสวยของผู้หญงิ มีเวลาเป็นเคร่อื งทาลาย 177.ถ้าเราสู้ เราอาจจะชนะหรอื อาจจะแพ้ แต่ถ้าเราไม่สู้ เราจะแพ้ 178.ไม่มีใครปีนบันไดได้สาเร็จ ในขณะท่ีมอื ทั้ง 2 ข้างยังซุกอยู่ในกระเปา๋ กางเกง 179.Internet เป็นได้ทั้งศัตรูที่ร้ายกาจ และเป็นมติ รแท้ท่ีแสนประเสรฐิ ของนัก ธุรกจิ ทุกประเภท 180.วธิ ีเดียวที่จะเอาชนะความกลัวในส่งิ ใดส่งิ หนึ่งได้ คอื ลุกข้ึนเผชญิ หน้ากับส่งิ นั้นด้วยความกล้าหาญ 181. การที่จะประสบความสาเร็จนั้น เราต้องเป็นคนท่ีง่ายท่ีจะเร่มิ และยากที่จะ เลกิ 182. ทาในส่งิ ท่ีเคยทา ก็จะได้ในส่งิ ที่เคยได้ ทาในส่งิ ท่ีไม่เคยทา ก็จะได้ในส่งิ ท่ีไม่ เคยได้ 183.มีหลักการ ไม่มีวธิ ีการ = ไปไม่ถึงเป้าหมาย, มีวธิ ีการ ไม่มีหลักการ = ไปผิดเป้าหมาย, มีหลักการ และวธิ ีการ = ไปถึงเป้าหมาย ที่ถูกต้อง 184. ผู้รู้....คอื ผู้ท่ีรู้ว่าตนรู้อะไร และ รู้ว่าตนไม่รู้อะไร

40 | 1 9 9 คา ก ล อ น ส อ น ใ จ : ม ห า บ้ า น น อ ก 185.#ข Give a man a fish, and you feed him for a day. Teach a man to fish, and you feed him for life. 186.#ข้อคิด เทียน...ที่นาไปจุดให้เทียนเล่มอ่นื มันจะไม่สูญเสียความสว่างในตัวเอง แต่มันจะย่งิ ทาให้ห้องสว่างไสวข้ึน 187 การลุกข้ึนจุดเทียนนั้น ดีกว่าการนั่งบ่นอยู่ในความมดื 188.ด คนเรามี 2 ประเภทคอื 1. รวยให้คนอ่นื ดู 2. มองดูคนอ่นื รวย 189. พูด 1 ฟุต สู้ทา 1 น้วิ ไม่ได้ คนที่ปรับปรุงไม่ได้ ก้าวหน้าไม่ได้ 190.ต่อยอดอนาคต กาหนดปัจจุบัน สบื สานอดีต ถ้าเรายังจนอยู่ ทาอย่างไรถึงจะ รวย ลอง 191. ไม่จาเป็นท่ีต้องเป็นคนเก่งเท่านั้น ท่ีจะเป็นครูของเราได้ คนไม่เก่งก็เป็นครูของ เราได้ 192.เพราะคนไม่เก่งก็ทาให้เราได้เรียนรู้ว่าเขา ทาอย่างไร พูดอย่างไร คดิ อย่างไร เราจะได้ไม่ทา, พูดและคดิ แบบเขา 193.เวลาเป็นของมีค่าท่ีสุด เงนิ ทองหมดไป ยังหามาใหม่ได้ เวลาหมดไป ถึงจะมี เงนิ แสนล้าน ก็ไม่สามารถหาซ้อื กลับมาใหม่ได้ ดังนั้นการใช้เวลา จึงควรคดิ ให้ดี แต่ถ้าไม่มีจะกนิ ก็ต้องหาเงินทองมาซ้อื ข้าวกนิ ก่อน 194.วธิ ีคิดของคนรวย คนจน ซ้อื ส่งิ ที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้, คนชั้นกลาง ซ้อื ส่งิ ท่ี ก่อให้เกดิ รายจ่าย, คนรวย ซ้อื ส่งิ ที่ก่อให้เกดิ รายได้

41 | 1 9 9 คา ก ล อ น ส อ น ใ จ : ม ห า บ้ า น น อ ก 195.การออกกาลังกายท่ีดีที่สุดสาหรับจติ ใจ คอื การก้มลงแลว้ ช่วยคนอ่นื ให้ลุกข้ึน เม่อื คุณช่วยคนอ่นื ให้ได้ในส่งิ ที่เขา 196. คนเราล้มแล้วต้องลุกแต่อย่าลุกบ่อยนัก และ ผู้แพ้คอื ผู้ท่ีล้มเลกิ เท่านั้น 197.#ข้อคิด วสิ ัยทัศน์ที่ปราศจากการลงมอื ทา คอื ฝันกลางวัน การลงมอื ทา โดยขาดวสิ ัยทัศน์ คอื ฝันร้าย #ข้อคดิ Vision without action is Daydream. Action without vision is Nightmare. 198.#ข้อคิด ความย่งิ ใหญ่ของชีวติ ไม่ใช่การไม่เคยเป็นผู้ล้มเหลว แต่อยู่ที่การลุก ข้ึนมาทุกครั้ง ที่ล้มเหลวต่างหาก 199. พบเพ่อื ลา คนเราเกดิ มาแล้ว ก็เดินทางไปสู่ความตาย “ พบกันเพ่อื รอวันจาก มีมากก็รอเพ่อื วันหมด “ อีกมมุ ก็บอกเราวา่ จากกนั เพอื่ รอวันพบ จบกันเพื่อรอวันเร่ิมต้น  

42 | 1 9 9 คา ก ล อ น ส อ น ใ จ : ม ห า บ้ า น น อ ก ...............พ้นรัก.............. ความรักท่ีดาเนนิ ไปในทศิ ทางท่ีถกู ต้องชอบธรรม มีความพอใจด้วยกนั ทกุ ฝ่ ายมีรากฐานอยคู่ คู่ ณุ ธรรม ยอ่ มให้เกิดความอบอนุ่ ใจ มีความรู้สกึ ปลอดภยั เมื่ออยใู่ กล้หรืออยทู่ ่ามกลางคนอนั เป็นท่ีรัก ทาให้จิตใจร่าเริง แจม่ ใส มีกาลงั ใจในการทาความดี ขยนั หมนั่ เพียรเพ่ือตนและเพ่ือคนที่ตนรัก รู้สกึ ตนวา่ มีคา่ และพร้อมที่จะประพฤตคิ ณุ ธรรมตา่ งๆ เชน่ ความเสียสละ เป็นต้น น่ีคือคณุ ที่พอมองเห็นได้ในปัจจบุ นั สว่ นโทษของความรักมีอยมู่ าก เชน่ เป็นต้นเหตแุ หง่ ความเศร้าโศกเสียใจ พไิ รราพนั ความริษยา ความเกลียดชงั ผ้อู ่ืนที่เข้าใจ มาแยง่ สงิ่ ที่รักของตน ความวิตกกงั วลั หว่ งใย ความท่ีใจต้องคอยจดจอ่ อย่กู บั คนอนั เป็นที่รัก รู้สกึ ไมอ่ ิสระ จติ ใจถกู จองจาผกู พนั อรารมณ์รักคอยหนว่ งเหนี่ยวจิตใจ ให้วนเวียนอยกู่ บั คนที่ตนรักนนั้ ยงิ่ หมกหมนุ่ มากก็ยง่ิ ทกุ ข์มาก ในกรณีที่ความรักสลาย เป็นพษิ ขนึ ้ มาอีกก็ยง่ิ เห็นโทษของมนั มากขนึ ้ ผ้ทู ่ีจิตใจพ้นจากกระแสแหง่ ความรักอย่างโลกๆ แล้ว ยอ่ มได้รับการอดุ หนนุ จากกระแสธรรมซงึ่ สงบเยือกเย็นกว่า ปลอดภยั กวา่ ไมต่ ้องเสี่ยงตอ่ โทษที่แฝงอยใู่ นความรักนนั้ เป็นผ้ปู ลอดโปร่งแท้จริง ที่มา: dhamma4ever

43 | 1 9 9 คา ก ล อ น ส อ น ใ จ : ม ห า บ้ า น น อ ก นิสัยนักศึกษา.............  \".....เพ่อื มใิ ห้ความผิดหวังเป็ นพษิ แก่จติ ใจของเรา ขอให้สร้างนิสัยเป็ นนักศึกษาขนึ้ คือมองเหตุการณ์ต่างๆ ท่เี กดิ ขนึ้ แก่เราในแง่ของการศกึ ษา เรียนรู้เพ่อื ประโยชน์ต่อการ พฒั นาชีวติ จะสังเกตได้ว่าเหตุการณ์เดยี วกัน ถ้ ามองในแง่ ร้ ายอาจให้ ทุกข์ แก่ เราอย่ างมาก แต่ถ้ามองในแง่ดีและแง่ของการศึกษาเรียนรู้แล้ว อาจให้ความสุขความพอใจแก่เราได้ \"...สองคนยลตามช่อง คนหน่ึงมองเหน็ โคลนตม คนหน่ึงตาแหลมคม มองเหน็ ดาวอยู่พราวพราย ส่งิ ท่เี ราเหน็ ว่าดีในเบือ้ งต้น อาจกลายเป็ นร้ายในบัน้ ปลาย ตรงกันข้าม ส่งิ ท่เี ราเหน็ ว่าร้าย อาจกลายเป็ นดกี ็ได้...\" ชีวิตจะต้องเดนิ ทางผ่านประสบการณ์เป็ นอันมาก ความรู้ความเข้าใจในชีวิตนัน้ เป็ นวิทยาการอันสูงเย่ียมกว่าวทิ ยาการ ใดๆ เม่ือเข้าใจชีวิตดแี ล้ว จะเป็ นผู้มีชีวติ อยู่อย่างเป็ นทกุ ข์น้อยท่สี ุด หรือไม่มีทุกข์ทางใจเลย มีชีวติ และทางานอย่างสงบเหมือนดอกไม้ ออกดอก ตมู บาน ส่งกล่นิ หอม ร่วงโรยไปทกุ ขัน้ ตอนทาอย่างสงบ.....\"     

44 | 1 9 9 คา ก ล อ น ส อ น ใ จ : ม ห า บ้ า น น อ ก  จบเอวงั        รณ์      หากทา่ นชว่ ยพมิ พ์        มหาบา้ นนอก เขียนรวมไว้ สมัยอยู่จ่าพรรษาท่ี    

45 | 1 9 9 คา ก ล อ น ส อ น ใ จ : ม ห า บ้ า น น อ ก              


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook