Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ทักษะการเอาใจเขามาใส่ใจเราทางดิจิทัล (Digital Empathy)

ทักษะการเอาใจเขามาใส่ใจเราทางดิจิทัล (Digital Empathy)

Description: ทักษะการเอาใจเขามาใส่ใจเราทางดิจิทัล (Digital Empathy)

Search

Read the Text Version

ทกั ษะการเอาใจเขา มาใสใ่ จเราทางดิจทิ ัล (Digital Empathy) 2 l ทกั ษะการเอาใจเขามาใส่ใจเราทางดจิ ิทัล

ท�ำไมต้องเรียนร้มู ารยาท ทางอินเทอร์เนต็ ในโลกยคุ ดจิ ทิ ลั เทคโนโลยี และอนิ เทอรเ์ นต็ เพมิ่ ความสะดวกสบายและทำ� ใหเ้ ราไดพ้ บประสบการณ์ ใหม่ ๆ ในโลกไซเบอร์ ไดร้ บั รเู้ ร่อื งราวของผคู้ นและสถานที่จากทุกมุมโลก ไดพ้ บปะตดิ ตอ่ พูดคุย กบั คนทเี่ รารกั ผา่ นชอ่ งทางออนไลน์ ผคู้ นจำ� นวนมากไดเ้ ขา้ มาแลกเปลยี่ นความคดิ เหน็ และความรสู้ กึ ผา่ นชอ่ งทางออนไลน์ อย่างไรก็ตาม จากทเ่ี คยคาดหวังว่าอินเทอร์เน็ตจะสร้างโลกไร้พรมแดนและ ช่วยสร้างสรรคส์ งิ่ ดี ๆ ใหม้ นษุ ยชาตดิ ว้ ยการรวมโลกเปน็ อนั หนงึ่ อนั เดยี วกนั โลกทผ่ี คู้ นชว่ ยเหลอื กนั ดว้ ยการแบง่ ปนั ขอ้ มลู ขา่ วสาร แตใ่ นปจั จบุ นั สถานการณบ์ นโลกไซเบอรก์ ลบั ไมเ่ ปน็ ดงั คาดหวงั การโพสต์ และการแสดงความคดิ เหน็ ของผใู้ ช้งานอินเทอรเ์ น็ตและในสงั คมออนไลนม์ ีการใชถ้ อ้ ยค�ำหยาบคาย ตอบโตก้ นั ดว้ ยอารมณ์โดยไม่ค�ำนงึ ถึงเหตผุ ลเมื่อเผชญิ หนา้ กบั ผ้เู ห็นต่าง และแสดงออกถึงอคติ ย่ิงไปกว่านน้ั ในชว่ งหา้ ปที ่ีผ่านมา อัตราการกลัน่ แกลง้ บนโลกไซเบอร์และการสรา้ งความเกลยี ดชงั ทางสงั คมออนไลนส์ งู ขน้ึ อยา่ งนา่ เปน็ หว่ ง ความนริ นามของโลกไซเบอรแ์ ละการไมต่ อ้ งเผชญิ หนา้ กนั ของผใู้ ชง้ าน ทำ� ใหผ้ โู้ พสตร์ สู้ กึ วา่ ไมต่ อ้ งรบั ผดิ ชอบตอ่ การกระทำ� ของตนเองกบั ผใู้ ชง้ านคนอนื่ ไมก่ ลวั การตอบโต้จากฝ่ายตรงข้ามและไม่ค�ำนึงถึงความรู้สึกนึกคิดและผลกระทบท่ีจะเกิดข้ึนกับอีกฝ่าย ปญั หาเหลา่ นเ้ี กดิ จากการขาดความเอาใจเขามาใสใ่ จเราทางดจิ ทิ ลั พลเมอื งดจิ ทิ ลั ต้องม.ี .. การเอาใจเขามาใส่ใจเราทางดจิ ทิ ลั จึงเปน็ ประเด็นท่พี ลเมืองดจิ ิทัลควรให้ความสำ� คญั ไมแ่ พ้เร่อื งอื่น การเรยี นรมู้ ารยาททางอนิ เทอร์เน็ต (Digital Etiquette) และการเอาใจเขามาใส่ใจเราทางดิจทิ ลั (Digital Empathy) เป็นทักษะท่ชี ว่ ยใหเ้ ราใชเ้ ทคโนโลยอี ย่างมีจรยิ ธรรม รจู้ ักการสอ่ื สารและมี ปฏสิ ัมพันธ์กบั ผูใ้ ชง้ านอ่นื ด้วยมารยาทอันดี รู้จกั เอาใจเขามาใส่ใจเรา โดยเข้าอกเข้าใจและเห็นอก เหน็ ใจผทู้ ่มี คี วามแตกตา่ งจากเรา ไมเ่ พกิ เฉยเมือ่ เห็นผอู้ ื่นได้รับการปฏิบตั อิ ยา่ งไมถ่ กู ต้องในสงั คม และมสี ว่ นรว่ มในการสรา้ งสรรคส์ ังคมใหด้ ขี นึ้ อันเปน็ คุณลกั ษณะของพลเมอื งประชาธปิ ไตย Digital Empathy l 3

มารยาททางอนิ เทอร์เน็ต คอื อะไร มารยาททางอนิ เทอร์เน็ต (Digital Etiquette หรอื Netiquette) คอื ธรรมเนยี มปฏบิ ตั เิ กย่ี วกบั การประพฤตติ นอยา่ งสภุ าพในการตดิ ตอ่ สอื่ สารกบั ผอู้ นื่ ทางเครือข่ายหรือไซเบอรส์ เปซ ไม่ว่าจะเป็นทางโทรศัพท์ อเี มล การสนทนา สว่ นตัวหรอื บนกระดานสนทนาสาธารณะ ในโซเชยี ลมเี ดยี หรอื การพดู คยุ ใน เกมออนไลน์ มารยาททางอนิ เทอรเ์ นต็ หลายอยา่ งเปน็ เหมอื นมารยาททางสงั คม เมอ่ื เรามปี ฏสิ มั พนั ธก์ บั ผอู้ นื่ โดยพบปะพดู คยุ กนั แบบเหน็ หนา้ เชน่ การปฏบิ ตั กิ บั ผอู้ นื่ เหมอื นทเ่ี ราตอ้ งการใหเ้ ขาปฏบิ ตั ติ อ่ เรา การใหเ้ กยี รตแิ ละหลกี เลยี่ งการดถู กู หรอื ทำ� ให้ เขาอบั อาย การชว่ ยเหลอื ผอู้ นื่ เมอื่ เขาตอ้ งการ เปน็ ทน่ี า่ แปลกใจวา่ ในโลกอนิ เทอรเ์ นต็ มารยาททางสงั คมเหล่านี้ถูกละเลยไปเม่ือเราติดต่อสื่อสารกับ ผอู้ น่ื ผา่ นหนา้ จอ เมอ่ื เขา้ สโู่ ลกออนไลนผ์ ใู้ ชง้ านบางคนสญู เสยี การควบคมุ อารมณแ์ ละมารยาทเหลา่ น้ี ทนั ทีเมือ่ ไมเ่ ห็นด้วยกบั ความคิดเห็นของผใู้ ชง้ านคนอน่ื หรือมคี วามรูส้ กึ รุนแรงตอ่ เนอื้ หาของข่าว บางข่าว พวกเขาเหล่านัน้ ใช้ถ้อยค�ำรนุ แรงทีผ่ ิดไปจากการพดู กับผอู้ ื่นในชวี ติ จริง มีการโต้ตอบกนั ในช่องทางแสดงความคิดเห็นสาธารณะของส่ือสงั คมออนไลน์ จนบางครั้งเกิดสงครามทางอารมณ์ (Flame War) การโตต้ อบลกั ษณะนยี้ งั สง่ ผลรบกวนผใู้ ชง้ านคนอนื่ ทไี่ มม่ สี ว่ นเกยี่ วขอ้ งแตเ่ ขา้ มาอา่ น ให้เกิดความรำ� คาญไดเ้ ช่นกัน บางคร้ังผใู้ ชง้ านบางคนอาจสง่ ขอ้ ความสว่ นตวั ไปดา่ ทออกี ฝา่ ยหนงึ่ สาเหตเุ พราะไมช่ อบความคดิ เหน็ ตา่ งของคน ๆ นนั้ ในโลกไซเบอรผ์ ใู้ ชง้ านจำ� นวนมากไม่ได้เปิดเผยช่อื จริง และไม่อาจรู้อัตลักษณ์ ทแี่ ทจ้ รงิ ของแตล่ ะคน เชน่ อายุ เพศ อาชพี หรอื ศาสนา คนจำ� นวนมากจงึ มแี นวโนม้ ทจี่ ะวจิ ารณผ์ อู้ นื่ ดว้ ยถ้อยค�ำรุนแรงโดยไมย่ ั้งคิด กล่ันแกลง้ ผอู้ ่นื ด้วยความคึกคะนอง และไมใ่ หเ้ กยี รตหิ รอื เคารพกัน ตามอตั ลกั ษณ์ทางสังคมเหมือนในชวี ิตจรงิ ผลกระทบ.. บางครง้ั การขาดมารยาททางอนิ เทอรเ์ นต็ ไดน้ ำ� ไปสคู่ วามรนุ แรงทส่ี ง่ ผลกระทบตอ่ ผถู้ กู กระทำ� การใชว้ าจาทแ่ี สดงถงึ อคตติ อ่ กลมุ่ คนทมี่ อี ตั ลกั ษณท์ างสงั คมแงใ่ ดแงห่ นงึ่ ด้วยคำ� หยาบคาย อาจเกินเลยจนกลายเปน็ การใชว้ าจาแสดงความเกลยี ดชงั ทาง ออนไลน์ (Online Hate Speech) และในหลายกรณี ผใู้ ช้งานบางคนไมเ่ คารพ 4 l ทกั ษะการเอาใจเขามาใส่ใจเราทางดจิ ิทลั

ต่อมารยาทในโลกออนไลน์และกฎหมายในชีวิตจริง อาศัยความเป็นสื่อใหม่ของอินเทอร์เน็ตท่ีมี ลกั ษณะนริ นาม (Anonymity) สามารถปกปดิ ตวั ตนในโลกออนไลน์ จงึ แสดงพฤตกิ รรมโดยเจตนาทจี่ ะ คุกคามหรอื กล่ันแกลง้ ทำ� ลายชอื่ เสยี งของผใู้ ชง้ านคนอน่ื จนมผี ลกระทบรา้ ยแรงในชีวิตจริง เชน่ การกลัน่ แกลง้ บนโลกไซเบอร์ (Cyberbullying) การสวมรอยบัญชีผใู้ ชง้ านผอู้ ืน่ (Impersonation) และการโจรกรรมไซเบอร์ (Hacking) มารยาททางอนิ เทอรเ์ นต็ สำ� คัญอย่างไร เทคโนโลยดี ิจทิ ลั ได้เปลีย่ นรปู แบบวิธกี ารทีผ่ ้คู นตดิ ตอ่ และมปี ฏิสมั พันธก์ ันเรือ่ ยมา จากระยะเร่ิมตน้ ทผี่ ใู้ ช้งานติดตอ่ ส่อื สารกันเพยี งการสง่ อเี มล ปจั จบุ ันโลกไซเบอร์ไดว้ วิ ัฒนาการจนมีลกั ษณะของ ความเป็น “ชุมชน” ซง่ึ มผี ู้ใชง้ านทห่ี ลากหลายจ�ำนวนมากเขา้ มาตดิ ตอ่ สอ่ื สารกันผ่านช่องทางและ แพลตฟอรม์ ตา่ ง ๆ โดยผใู้ ชง้ านอนิ เทอรเ์ นต็ มสี ถานะเปน็ “พลเมอื งดจิ ทิ ลั ” ซงึ่ ไมไ่ ดห้ มายถงึ พลเมอื ง ทม่ี คี วามสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยหี รอื อปุ กรณด์ จิ ทิ ลั ตา่ ง ๆ เทา่ นนั้ หากแตเ่ ปน็ พลเมอื งทมี่ ที กั ษะ ในการรเู้ ท่าทันสือ่ สารสนเทศและดจิ ทิ ัล และรจู้ กั การใชเ้ ทคโนโลยีอยา่ งมีความรับผิดชอบ พน้ื ทใี่ น โลกออนไลน์ เชน่ เฟซบุ๊ก ที่หลายคนคดิ ว่าเป็นพ้ืนท่สี ่วนตวั แตค่ วามจริงแลว้ พื้นท่ใี นสงั คมโซเชียล เปน็ พ้นื ทีก่ ึ่งสาธารณะ คลา้ ยหอ้ งกระจกใสทีเ่ รามพี นื้ ท่สี ่วนตวั กจ็ ริง แตใ่ คร ๆ ก็มองเหน็ พืน้ ทน่ี ัน้ ดงั นน้ั เมอื่ ต้องการติดต่อสอื่ สารกับพลเมอื งดจิ ทิ ลั คนอ่ืน ผูใ้ ช้งานควรเรยี นรู้แนวทางปฏิบตั ิและมี ปฏสิ มั พนั ธก์ บั ผใู้ ชง้ านคนอน่ื ในโลกไซเบอรไ์ ดอ้ ยา่ งเหมาะสม โดยมจี ติ สำ� นกึ ความเปน็ พลเมอื งดจิ ทิ ลั (Digital Citizenship) พน้ื ฐาน คือ รจู้ กั ประพฤตแิ ละปฏบิ ัติตนให้เหมาะสมและมคี วามรับผิดชอบ เมอื่ ใชเ้ ทคโนโลยี มมี ารยาททางอนิ เทอรเ์ นต็ (Digital Etiquette) คอื รจู้ กั มารยาท ธรรมเนยี มปฏบิ ตั ิ วธิ วี างตวั ใหเ้ หมาะสมเมอ่ื มปี ฏสิ มั พันธ์กบั ผ้อู น่ื ทางสงั คมออนไลน์ แนวทางเหล่านีไ้ ดก้ �ำหนดขนึ้ มา ใหท้ กุ คนเรยี นรแู้ ละปฏบิ ตั ติ าม รบั ทราบวา่ พฤตกิ รรมใดควรทำ� หรอื ไมค่ วรทำ� เพอื่ ใหส้ งั คมออนไลน์ มคี วามสงบสุข และสร้างบรรยากาศทเี่ ปน็ มติ รและผ่อนคลายแก่ผู้ใชง้ านทุกคน Digital Empathy l 5

มารยาท ทางอนิ เทอรเ์ นต็ ที่ควรรู้ ผใู้ ชง้ านอนิ เทอรเ์ นต็ ทงั้ เดก็ และผใู้ หญค่ วรไดเ้ รยี นรมู้ ารยาททางอนิ เทอรเ์ นต็ เพราะทกุ คนควรมมี ารยาท ในการติดต่อส่ือสารในโลกไซเบอร์ที่มีความหลากหลายของอัตลักษณ์ทางสังคมและวัฒนธรรม เพือ่ สรา้ งจติ ส�ำนึกความเปน็ พลเมืองดจิ ทิ ัลที่ดี โดยเฉพาะเดก็ ๆ ควรไดร้ บั การสอนมารยาททาง อนิ เทอรเ์ นต็ ตง้ั แตเ่ ลก็ การฝกึ มารยาททางอนิ เทอรเ์ นต็ นน้ั เดก็ ไมไ่ ดเ้ รยี นรแู้ คค่ วามสภุ าพเรยี บรอ้ ย เทา่ นนั้ แตเ่ ขายงั มโี อกาสฝกี ฝนการมปี ฏสิ มั พนั ธก์ บั คนอน่ื เคารพความเปน็ สว่ นตวั และใหเ้ กยี รตผิ อู้ น่ื รจู้ ักการเป็นคูส่ นทนาทีด่ ี และชว่ ยเหลือผู้ใชง้ านคนอื่นหากเขาตอ้ งการความชว่ ยเหลือ การสอนให้ เด็กเรยี นรู้มารยาททางอนิ เทอรเ์ น็ต ใหย้ ึดมาตรฐานความประพฤติเดียวกับมารยาททางสงั คมใน ชวี ิตจรงิ ดงั ทไี่ ดก้ ลา่ วมา แตเ่ นื่องจากเทคโนโลยีการสื่อสารในปจั จบุ ันมคี วามหลากหลายมากขน้ึ มารยาททางอินเทอร์เน็ต จึงเปลยี่ นไปตามช่องทางการติดต่อสือ่ สารในแตล่ ะประเภทอกี ดว้ ย เช่น มารยาทในการใช้ มารยาทในการใช้ กระดานสนทนาสาธารณะ สอ่ื สงั คมออนไลน์ มารยาทในการใช้ โทรศัพท์ มารยาทในการใช้ มารยาทในการเล่น โปรแกรมวิดีโอคอล เกมออนไลน์ ดังนัน้ การสอนมารยาททางอินเทอร์เนต็ ให้เด็ก พ่อแมแ่ ละโรงเรยี นควรเน้นสอนหลกั การพ้ืนฐาน เสียก่อน เพราะหากแยกเป็นข้อ ๆ แล้วมารยาททางอินเทอร์เน็ตนั้นมีมากมาย และมารยาทใน การใช้เครือข่ายจะแตกต่างกันไปในแต่ละเครือข่าย และเด็กอาจไม่คุ้นเคยกับอุปกรณ์ดิจิทัลหรือ แอปพลิเคชันทุกอย่าง เมอื่ เด็กเรยี นรหู้ ลกั การของมารยาททางอนิ เทอร์เน็ต เขาจะนำ� ไปประยุกต์ ได้เองเม่ือเตบิ โตขึน้ เชอรี่ กอร์ดอน ผู้เชย่ี วชาญด้านเดก็ ได้แนะนำ� หลกั การ 5 ขอ้ ของมารยาททาง อนิ เทอร์เนต็ ทพี่ ่อแม่ควรสอนใหล้ กู ดงั น้ี 6 l ทักษะการเอาใจเขามาใส่ใจเราทางดจิ ิทัล

1 ปฏิบตั ติ ่อผอู้ ืน่ เหมอื นทีต่ อ้ งการใหเ้ ขาปฏิบัติตอ่ เรา ในการส่ือสารออนไลน์ให้ยึดมาตรฐานความประพฤติเดียวกับการสื่อสารในชีวิตจริง “เอาใจเขา มาใสใ่ จเรา” สิ่งใดที่ไม่ควรทำ� ในโลกแห่งความเปน็ จริง สงิ่ นนั้ กไ็ มค่ วรทำ� ในโลกออนไลน์ดว้ ย เช่น เคารพความเป็นส่วนตัวของผอู้ น่ื ทอ่ี ย่รู ว่ มกันบนอินเทอรเ์ น็ต ไมบ่ กุ รกุ หรือเขา้ ถงึ ขอ้ มูลสว่ นบุคคลของผอู้ นื่ โดยไมไ่ ดร้ ับอนญุ าต ไม่ยดั เยียดเรอ่ื งที่ เราสนใจใหผ้ ้อู น่ื มากไป การส่งคำ� รอ้ งขอ (Request) เล่นเกมใหเ้ พอ่ื นมากเกนิ ไป หรือการแอบแฝงโฆษณา ไมว่ ่าจะเป็นในช่องคอมเมนตข์ ายของในอนิ สตาแกรมดารา คอมเมนตฝ์ ากเพจรา้ นในเพจดัง ทกั แชต็ เพ่อื ขายตรง ล้วนเปน็ สิ่งทผี่ ดิ มารยาท 2 โพสต์แต่ขอ้ ความทดี่ ี 3 คดิ กอ่ นคลิก และเป็นจริง ตรวจสอบข้อความซ�้ำอีกครั้งก่อนส่ง สง่ิ ใดไมก่ ลา้ พดู ตอ่ หนา้ สง่ิ นนั้ ยอ่ มไมค่ วร ไมต่ อ้ งรบี รอ้ นสง่ หรอื แชรโ์ พสต์ หลกี เลยี่ ง พดู ในโลกออนไลน์ ไมใ่ ชค้ ำ� หยาบ ขอ้ ความ การโพสต์สเตตัสค�ำหยาบคายท่ีเขียน เสยี ดสี ไมส่ ง่ ขอ้ ความ หรอื ภาพลามก คร�่ำครวญกล่าวโทษผู้อ่ืน ใช้ภาษาที่ อนาจารใหผ้ อู้ นื่ ไมส่ ง่ ขอ้ ความหลอกลวง สภุ าพชนทว่ั ไปพงึ ใช้ ระมดั ระวงั การเขยี น หรือข่าวปลอม ไม่กลนั่ แกล้งผู้อน่ื บน หรือสง่ ขอ้ ความตา่ ง ๆ บนอินเทอรเ์ นต็ โลกไซเบอร์ และระมัดระวงั การโพสต์ เพ่ือไม่ให้ผู้อ่านหรือรับข้อมูลเสียเวลา หรือเรื่องราวภาพท่ีลงในโซเชียลแล้ว ส่งข้อมูลเท่าท่ีจ�ำเป็น และใช้ภาษาที่ อาจมปี ัญหาตามมาในอนาคต ทั้งกบั ถกู ต้องตามหลกั ไวยากรณ์ ตนเอง สมาชกิ ครอบครวั โรงเรยี น หรอื ท่ที ำ� งาน 5 หลีกเล่ียงการโต้ตอบ 4 รกั ษาข้อมูลส่วนตวั ของเพอื่ น โดยใชอ้ ารมณบ์ นโลกไซเบอร์ และผ้ใู ช้งานอ่นื เคารพความเหน็ ทแ่ี ตกตา่ ง ไมใ่ ช้ภาษาทีก่ อ่ ให้ เพ่ือนคือคนที่ไว้ใจเราและมักแบ่งปันเรื่องราวส่วนตัว เกดิ การแตกแยกหรอื เสยี ดสี หลกี เลย่ี งสงคราม ในชวี ติ จริงต่อกันเสมอ จงึ เปน็ มารยาทอันดีทเี่ ราจะไม่ แหง่ การโตแ้ ยง้ ทไี่ มร่ จู้ บ เนน้ การอภปิ รายอยา่ ง แบง่ ปนั ขอ้ มลู สว่ นตวั ของเพอ่ื น สง่ ตอ่ รปู หรอื เรอื่ งราว มีเหตผุ ล ใหอ้ ภัยในความผดิ ของผูอ้ ืน่ หาก ทอี่ าจทำ� ใหเ้ พอื่ นหรอื คนอนื่ อบั อายโดยไมไ่ ดร้ บั อนญุ าต ต้องการแจ้งผู้ท่ีท�ำผิดมารยาททางอินเทอร์เน็ต เช่น ภาพลับของเพ่ือน ภาพเพอ่ื นตอนเมา หรือนอน ควรบอกอยา่ งสภุ าพและเปน็ สว่ นตวั ไมร่ ูส้ กึ ตัว รวมไปถึงข้อมูลส่วนตวั ของผูอ้ ื่น สำ� หรับ การแฮกข้อมูลหรือสวมรอยบัญชีการใช้งานผู้อ่ืนนั้น นอกจากจะผิดมารยาทแล้วยังผิดกฎหมายอีกด้วย Digital Empathy l 7

ไมส่ ง่ อเี มลทม่ี ขี อ้ ความโฆษณา หลีกเลี่ยงการเขียน โดยไมไ่ ดร้ บั อนญุ าตจากผรู้ บั (Spam) ค�ำหยาบและคำ� ด่าทอ ไม่สวมรอยบญั ชี ไม่โพสต์ หรอื แชรภ์ าพและ ใชง้ านของผูอ้ ่ืน เนอ้ื หาท่ีผดิ กฎหมาย ไม่ส่งขอ้ ความไร้สาระหรือไม่เกยี่ วข้องกบั เน้อื หา อยา่ โพสต์ หรือแท็กรูปของผอู้ ืน่ กอ่ น (Flood) ในชอ่ งทางสาธารณะอนั อาจรบกวน ได้รบั การอนุญาต โดยเฉพาะ ผูใ้ ชง้ านคนอ่นื ท่กี ำ� ลงั สนทนากนั อยู่ ภาพที่อาจทำ� ให้เขาอบั อาย อยา่ คาดหวังว่าอีกฝา่ ย จะตอบข้อความในทนั ที เหลา่ นเ้ี ปน็ หลกั พืน้ ฐานของมารยาททางอนิ เทอร์เนต็ ท่สี ามารถนำ� ไปประยุกตใ์ หเ้ ขา้ กบั เครือข่าย อ่ืน ๆ ได้ไม่ยาก เนอ่ื งจากผูใ้ ช้งานอนิ เทอรเ์ น็ตมจี �ำนวนมากขึ้นเรือ่ ย ๆ และมีอัตลักษณท์ างสงั คม ทหี่ ลากหลาย ทำ� ใหม้ ารยาททางอนิ เทอรเ์ นต็ อาจไมส่ ามารถควบคมุ พฤตกิ รรมการมปี ฏสิ มั พนั ธท์ าง ออนไลน์ของทุกคนได้เต็มท่ี เพราะกฎเกณฑ์มารยาทเป็นเพียงการบังคับควบคุมจากภายนอก การสรา้ งจติ สำ� นกึ ของผใู้ ชง้ านจากภายในใหม้ คี วามรบั ผดิ ชอบ มสี ว่ นรว่ ม และมงุ่ เนน้ ความเปน็ ธรรม ในสังคมจึงเปน็ การสร้างจิตสำ� นกึ ความเป็นพลเมืองทยี่ งั่ ยืนกว่า การสรา้ งจิตสำ� นึกพลเมืองดิจิทัล ใหร้ จู้ ักเอาใจเขามาใสใ่ จเราทางดจิ ิทัล (Digital Empathy) และพรอ้ มทีจ่ ะชว่ ยเหลอื ผู้อ่นื ในชุมชน จงึ เป็นเร่อื งทชี่ ว่ ยเติมเตม็ มารยาททางอินเทอร์เน็ตใหผ้ ู้ใช้งานใช้เทคโนโลยอี ย่างมีจริยธรรม 8 l ทักษะการเอาใจเขามาใสใ่ จเราทางดจิ ิทลั

การเอาใจเขามาใสใ่ จเรา ทางดจิ ทิ ัล คืออะไร การเอาใจเขามาใสใ่ จเรา (Empathy) คอื ความสามารถในการรบั รู้และเขา้ ใจความรู้สึกและมมุ มอง ของผอู้ น่ื เหมือนการไปยืนในจุดทคี่ น ๆ นน้ั กำ� ลังเผชญิ สถานการณ์บางอยา่ งอยู่ และเข้าใจว่าเขา ก�ำลงั รู้สกึ อยา่ งไร นกั จติ วิทยาแดเนยี ล โกลแมน และพอล เอก็ แมนไดแ้ บ่งรูปแบบของการเอาใจเขา มาใสใ่ จเรา ออกเป็น 3 อย่าง ได้แก่ การเข้าถงึ มมุ มองความคิด การเขา้ ถงึ อารมณ์ความร้สู กึ การแสดงออกถงึ การเออื้ เฟอ้ื (Cognitive Empathy) คือ (Emotional Empathy) คือ (Compassionate Empathy) ความสามารถในการเข้าใจ ความสามารถในการเข้าถงึ ความรสู้ ึกและความคิดของ และแบ่งปันอารมณ์ความรู้สกึ เปน็ ทักษะท่ีสงู กว่าทักษะ ผอู้ ื่น เชน่ เข้าใจวา่ เขากำ� ลงั ของผ้อู ื่นมาไว้ที่ตนเอง เช่น สองประเภทขา้ งต้น โดยมี การรู้สึกเจบ็ ปวดไปพรอ้ มกบั ความร้สู กึ เหน็ อกเห็นใจผู้อน่ื เศร้าและสบั สน แล้วปรารถนาใหเ้ ขาพน้ จาก คน ๆ นนั้ ความยากลำ� บากนั้น ดว้ ย การกระท�ำหรือการเขา้ ไป ชว่ ยเหลอื เท่าทีจ่ ะท�ำได้ การเอาใจเขามาใส่ใจเราทางดิจิทัล (Digital Empathy) คอื การท่ี พลเมืองดิจิทัลพัฒนาความสามารถในการคาดเดาความรู้สึกและ มมุ มองของบคุ คลอน่ื ทไ่ี ดต้ ดิ ตอ่ สอื่ สารทางออนไลน์ ซง่ึ อาจเปน็ บคุ คล ทเ่ี ราไมร่ จู้ กั ในชวี ติ จรงิ ไมเ่ คยเหน็ หนา้ หรอื รจู้ กั ชอ่ื จรงิ เปน็ คนทอี่ ยู่ ในชมุ ชนที่มีความหลากหลายทางวัฒนธรรม เพศ และเชื้อชาตติ า่ ง จากเรา พวกเขาตา่ งมมี มุ มอง ทศั นคติ และการมองโลกทแี่ ตกตา่ งกนั แตเ่ ราสามารถเขา้ ใจ เคารพมมุ มอง ความคดิ และความรสู้ กึ ของเขา สถานการณท์ เ่ี ขากำ� ลงั เผชญิ อยดู่ ว้ ยความเหน็ อกเหน็ ใจ เขา้ ใจความรสู้ กึ และมมุ มองของพวกเขา และแสดงความเออ้ื เฟอ้ื เมอื่ พวกเขามปี ญั หา หรอื ได้รับการปฏบิ ตั ทิ ไ่ี ม่เป็นธรรมจากผู้อน่ื ในโลกออนไลน์ Digital Empathy l 9

โดยปกติแล้วในชีวิตจริง การเอาใจเขามาใส่ใจเราเกิดจากความเข้าใจในความรู้สึกนึกคิดของผู้อ่ืน รับร้อู ารมณ์ และความตอ้ งการของเขาทีก่ ำ� ลงั เผชญิ กับเหตุการณต์ า่ ง ๆ โดยคาดเดาความรู้สึก และอารมณ์ของคน ๆ น้ันจากการสังเกตภาษากาย แววตา น�้ำเสียง และลักษณะการพูด แต่ใน โลกออนไลน์ อวัจนภาษาในการสนทนาและการสื่อสารผ่านเทคโนโลยีถูกลดทอนลง บางครั้ง การสอ่ื สารกนั มเี พยี งตวั อกั ษรทพี่ มิ พบ์ นหนา้ จอ โดยไมเ่ หน็ หนา้ ตาของอกี ฝา่ ย ผา่ นถอ้ ยคำ� ทปี่ ราศจาก นำ�้ เสยี ง สหี นา้ และแววตา ทำ� ใหก้ ารรบั รแู้ ละคาดเดาความรสู้ กึ ของอกี ฝา่ ยหนง่ึ เปน็ ไปไดย้ าก และอาจเกดิ ความเขา้ ใจผดิ ได้ ยงิ่ ไปกวา่ นน้ั บางครง้ั การพดู คยุ กบั คนทไ่ี มร่ จู้ กั ในโลกไซเบอร์ ที่เห็นเพียงช่ือผู้ใช้งานและรูปโพรไฟล์อาจท�ำให้เราหลงลืม ไปว่าก�ำลังติดต่อกับคนท่ีมีตัวตนจริง ดังน้ันมารยาททาง อินเทอร์เน็ตและการเอาใจเขามาใส่ใจเราทางดิจิทัลจึงถูก ละเลยไปในการส่ือสารทางออนไลน์ ท�ำไมเราจึง... ? ขาดความเห็นอกเหน็ ใจผู้อน่ื เมือ่ อยใู่ นโลกออนไลน์ การรู้จักเอาใจเขามาใส่ใจเรามีส่วนส�ำคัญในการธ�ำรงรักษาสังคมให้เอ้ืออาทร ช่วยเหลือกัน ท้งั สังคมในชีวติ จรงิ และในโลกออนไลน์ เนือ่ งจากในโลกไซเบอร์เปน็ สังคมของพลเมอื งดิจิทัลที่ มีอัตลกั ษณ์หลากหลาย โลกทศั นแ์ ละวัฒนธรรมแตกตา่ งกนั แต่ทกุ คนลว้ นเช่ือมตอ่ กันด้วย อินเทอร์เน็ตและอปุ กรณ์ดิจทิ ลั และดว้ ยความเป็นสอื่ ใหมท่ ีผ่ ูใ้ ช้งานส่อื สารกันผา่ นหนา้ จอ ไม่ได้ ตดิ ตอ่ สอื่ สารกนั แบบซงึ่ หนา้ เหมอื นในชวี ติ จรงิ จงึ ยากทจี่ ะเขา้ ใจและรบั รอู้ ารมณค์ วามเจบ็ ปวด ของอกี ฝา่ ย เดก็ ทอ่ี ยกู่ บั หนา้ จอมากเกนิ ไปยงั ทำ� ใหม้ ปี ฏสิ มั พนั ธก์ บั บคุ คลอนื่ ในชวี ติ ลดลง การใช้ เทคโนโลยสี มยั ใหมจ่ งึ ทำ� ใหร้ ะดบั ของการเอาใจเขามาใสใ่ จเราของผคู้ นลดลงไป โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ ในเดก็ รุน่ ใหม่ที่โตมากับคอมพวิ เตอร์ 10 l ทกั ษะการเอาใจเขามาใส่ใจเราทางดจิ ิทัล

จากผลการศึกษาของมหาวิทยาลัยมิชิแกนที่วิจัยความสัมพันธ์ของเทคโนโลยี สมัยใหม่กับระดับการเอาใจเขามาใส่ใจเราพบว่าระดับของการเอาใจเขา มาใส่ใจเราของกลุ่มตัวอย่างเด็กวัยรุ่นในโรงเรียนของสหรัฐอเมริกาลดลง ถึงระดับต�่ำอย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อน ยิ่งไปกว่าน้ัน การที่ผู้ใช้งานสามารถ เปดิ เผยตัวจรงิ ของตนเองหรอื ไมก่ ็ได้ จึงมีมจิ ฉาชีพและผู้ใชง้ านทล่ี ะเมดิ มารยาท และจริยธรรมทางดจิ ิทลั ใช้สื่อออนไลน์ในทางทผ่ี ิดและสร้างความเดือดรอ้ นให้ผู้อืน่ ในชมุ ชนออนไลน์ มกี ารใชว้ าจาหยาบคาย มกี ารสอ่ื สารทเี่ กลยี ดชงั ทางออนไลน์ มกี ารหลอกลวง หรอื ลอ่ ลวงทางอนิ เทอรเ์ นต็ การโจรกรรมหรอื การโจมตที างไซเบอร์ และการกลน่ั แกลง้ บนโลกไซเบอรเ์ พม่ิ ขน้ึ อยา่ งนา่ ตกใจ การเลน่ วดิ โี อเกม ทม่ี ีเนือ้ หารนุ แรง เช่น เกมต่อสู้ท�ำสงครามยงั มสี ว่ นสง่ เสริมใหเ้ ด็ก มีพฤตกิ รรมกา้ วร้าว และขาดการเอาใจเขามาใส่ใจเราทางดิจทิ ัล การใช้เทคโนโลยีโดยไม่รู้เท่าทันเช่นน้ี ท�ำให้ผู้ใช้งานอินเทอร์เน็ตจ�ำนวนไม่น้อยโดยเฉพาะ เดก็ รนุ่ ใหมท่ เี่ ขา้ สโู่ ลกออนไลนห์ ลงลมื ไปวา่ ตนเองกำ� ลงั มปี ฏสิ มั พนั ธก์ บั คนจรงิ ๆ ทม่ี คี วามรสู้ กึ อารมณ์และความเจ็บปวดไดเ้ ม่อื อ่านขอ้ ความทส่ี ่งผลลบตอ่ จติ ใจของเขา การเอาใจเขามาใส่ใจเรา ทางดิจิทัลสำ� คญั อย่างไร การสร้างทักษะการเอาใจเขามาใส่ใจเราทางดิจิทัล และการส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีอย่างมี จรยิ ธรรมใหก้ บั พลเมอื งดจิ ทิ ลั จงึ เปน็ ความคาดหวงั ทจี่ ะชว่ ยลดปญั หาเหลา่ นี้ เนอ่ื งจากการเอาใจเขา มาใสใ่ จเราของพลเมอื งดจิ ทิ ลั จะชว่ ยสรา้ งสายใยความรสู้ กึ ระหวา่ งผใู้ ชง้ านรว่ มกนั สรา้ งความรสู้ กึ ห่วงใย มเี มตตา และเอือ้ อาทรให้แมแ้ ต่กบั คนท่เี ราไมร่ ู้จกั และคนที่ถูกรงั แกบนโลกไซเบอร์ คนทถ่ี กู ปฏิบัติอย่างไม่เปน็ ธรรมโดยสมาชิกอ่นื ในสงั คมออนไลน์ และ ยงั มสี ว่ นทำ� ใหผ้ มู้ พี ฤตกิ รรมกลนั่ แกลง้ ผอู้ นื่ บนโลกไซเบอร์ หรอื ใชว้ าจา แสดงความเกลียดชงั ผอู้ น่ื ทางออนไลนห์ นั มารับร้คู วามรสู้ ึกนึกคดิ และรู้จักแบ่งปันความรู้สึกของผู้ถูกกระท�ำบ้าง ซึ่งจะท�ำให้เขา ปรบั เปลยี่ นพฤตกิ รรมการใชเ้ ทคโนโลยใี นทางทผ่ี ดิ หนั มาเอาใจเขา มาใสใ่ จเรา และรจู้ ักการใชเ้ ทคโนโลยอี ยา่ งมีจริยธรรมมากขนึ้ Digital Empathy l 11

การสร้างทักษะ การเอาใจเขามาใส่ใจเราทางดจิ ทิ ลั การฝกึ ทกั ษะการเอาใจเขามาใสใ่ จเราในชีวติ จรงิ นั้น ปกตทิ ำ� ไดย้ ากกวา่ การเรยี นรู้ธรรมเนยี มหรอื กฎระเบียบต่าง ๆ เนื่องจากการเอาใจเขามาใส่ใจเราน้ันเป็นกระบวนการเรียนรู้ภายในจิตใจของ แต่ละคน ต้องใช้ความเข้าใจในอารมณ์ความรู้สึกของผู้อื่นราวกับได้ไปยืนในจุดที่เขาเป็นอยู่จริง การฝึกฝนให้เด็กได้รู้จักการเอาใจเขามาใส่ใจเรานั้นจึงไม่ใช่เพียง “การท่องจำ� ” แตเ่ ปน็ “การสร้างประสบการณ”์ ทตี่ อ้ งใช้ระยะเวลา ฝกึ ฝน เดก็ ๆ จงึ ตอ้ งรจู้ กั เอาใจเขามาใสใ่ จเราจรงิ ๆ ไมใ่ ชเ่ พยี งแคร่ จู้ กั ว่า “การเอาใจเขามาใส่ใจเรา” คืออะไร เดก็ จะต้องมปี ระสบการณ์ ทางความร้สู ึก ตอ้ งรจู้ กั ความหลากหลายทางวัฒนธรรมของผคู้ น และทัศนคตกิ ารมองโลกทีแ่ ตกตา่ งกนั จึงจะสามารถเอาใจเขามาใสใ่ จเราได้ เม่ือเป็นเช่นน้ันแล้ว การสรา้ งทักษะการเอาใจเขามาใสใ่ จเราทางดจิ ทิ ลั นั้นจงึ มคี วามซบั ซอ้ น เนอื่ งจากการสื่อสารใน โลกออนไลนโ์ ดยมากเปน็ การส่อื สารจากระยะไกล และไม่เห็นหน้าของผใู้ ช้งาน จึงไม่สามารถรับรู้ การตอบสนองผา่ นสหี นา้ และทา่ ทางของอีกฝา่ ยไดใ้ นทันที พ่อแม่และโรงเรียนมีบทบาทส�ำคัญมากในการสอนเด็กให้รู้จักการเอาใจเขามาใส่ใจเราทางดิจิทัล เมอ่ื ใชง้ านอินเทอร์เน็ต เนือ่ งจากเด็กจะเร่ิมหดั ใช้อุปกรณด์ ิจิทัลจากทบ่ี ้าน และเริม่ มีปฏสิ มั พันธ์ ทางสงั คมกับเพอื่ นวัยเดยี วกนั ที่โรงเรียน พ่อแม่ควรสังเกตและคอยเฝ้าดกู ิจกรรมออนไลนข์ องลกู วา่ เขาเลน่ อะไรและมปี ฏสิ มั พนั ธก์ บั คนอนื่ ในโลกออนไลนอ์ ยา่ งไรบา้ ง เดก็ วยั 8-9 ปชี อบทจ่ี ะทดลอง โดยไมค่ อ่ ยคำ� นงึ ถงึ ผลทตี่ ามมาจากการกระทำ� ของตนเอง เชน่ อาจไมเ่ ขา้ ใจ ความแตกตา่ งระหวา่ งการลอ้ เลน่ กบั การกลน่ั แกลง้ ผอู้ น่ื พอ่ แมค่ วรสอนลกู ว่าเดก็ ทกุ คนต่างมีความคดิ และความรสู้ กึ โดยเร่ิมจากการพดู คุยถงึ คนที่ ถกู กลั่นแกล้งวา่ เขาจะร้สู ึกอย่างไร พวกเขาหดหู่ หรือรสู้ ึกสนุกกบั การถูก แกลง้ สอนเดก็ ใหเ้ ขา้ ใจความคดิ และอารมณข์ องผอู้ น่ื ทต่ี กอยใู่ นสถานการณ์ ตา่ ง ๆ ใหเ้ ดก็ ไดร้ จู้ กั เหน็ อกเหน็ ใจผอู้ นื่ และใชอ้ นิ เทอรเ์ นต็ อยา่ งมจี รยิ ธรรม The UK Safer Internet Center ได้แนะน�ำวธิ กี ารสรา้ งทกั ษะการเอาใจ เขามาใสใ่ จเราทางดิจทิ ลั ให้แก่เดก็ 4 ขอ้ ดงั นี้ 12 l ทักษะการเอาใจเขามาใสใ่ จเราทางดิจิทลั

1เลน่ บทบาทสมมติ สรา้ งเรอื่ งราว หรอื เรอื่ งเล่า ฝกึ ใหเ้ ดก็ คดิ ในมมุ มองของผอู้ นื่ การอา่ นนทิ าน และใหเ้ ดก็ เลน่ บทบาทของตวั ละคร และรว่ มกนั สนทนา ถงึ เรอื่ งราวนั้น ๆ จะช่วยให้เด็กเร่ิมเขา้ ใจมุมมอง ความรู้สึก และอารมณข์ องผ้อู นื่ เชน่ นิทานเร่ือง ราชสหี ก์ บั หนู ลองใหเ้ ดก็ ไดแ้ สดงความคดิ เหน็ วา่ หนรู สู้ กึ อยา่ งไรเมอื่ สงิ โตปฏเิ สธทจี่ ะเปน็ เพอ่ื นดว้ ย ทำ� ไมสงิ โตจงึ ทำ� เชน่ นนั้ เมอ่ื สงิ โตตดิ บว่ งนายพรานและหนไี มไ่ ดจ้ ะรสู้ กึ อยา่ งไร เมอ่ื หนเู ขา้ มาชว่ ยเหลอื แลว้ ความรสู้ กึ ของสงิ โตเปลย่ี นไปอยา่ งไร เนอื้ หาของเรอื่ งควรปรบั ไปตามวยั ของเดก็ เรอื่ งทมี่ ตี วั ละคร และภูมหิ ลงั ทซี่ ับซ้อนและหลากหลายอาจเหมาะสำ� หรับเดก็ โต เมื่อเด็กคนุ้ ชินเรือ่ งราวในนทิ านแลว้ ลองเล่าเรื่องราวสมมติท่ีเกิดข้ึนบนโลกไซเบอร์ให้เด็กได้จินตนาการและ สรา้ งความรสู้ กึ จากการสวมบทบาท เชน่ เรอื่ งราวของเดก็ ชายทถี่ กู กลน่ั แกลง้ บนโลกไซเบอร์ เดก็ ผู้หญิงทถี่ กู เพื่อนปล่อยขา่ วลือในกล่มุ ไลน์ การใหเ้ ดก็ ไดล้ องสวมบทบาทท่หี ลากหลาย ทงั้ ผู้กระท�ำและผู้ถกู กระทำ� จะช่วยให้ พวกเขามโี อกาสไดม้ องเหตกุ ารณส์ มมตจิ ากหลายมมุ เดก็ จะเรมิ่ รบั รมู้ มุ มองและความรสู้ กึ ของผอู้ นื่ เมอ่ื พวกเขาเขา้ สโู่ ลกไซเบอร์ นเี่ ปน็ วธิ ชี ว่ ยเสรมิ สรา้ งทกั ษะการเอาใจเขามาใสใ่ จเราทางดจิ ทิ ลั โดยที่ เด็กไมจ่ �ำเปน็ ตอ้ งรนู้ ยิ ามความหมายของค�ำนี้เลย 2 สอนเด็ก ใหร้ ู้จกั ค�ำ ท่ีเก่ยี วกับความรสู้ ึก สอนเดก็ ใหเ้ รยี นรแู้ ละเขา้ ใจความรสู้ กึ ของตนเอง เพราะเดก็ จำ� เปน็ ตอ้ งรบั รคู้ วามรสู้ กึ ของตนเองกอ่ นจะ เขา้ ใจความรสู้ กึ ของผอู้ น่ื เปน็ เรอ่ื งยากทจ่ี ะรไู้ ดอ้ ยา่ งแทจ้ รงิ วา่ ผใู้ ชง้ านอนื่ กำ� ลงั รสู้ กึ อยา่ งไรในโลกออนไลน์ ทสี่ อ่ื สารจากทางไกลผา่ นตวั อกั ษรบนหนา้ จอ การคาดเดาความรสู้ กึ ของคสู่ นทนาผา่ นหนา้ จอจงึ จำ� เปน็ ตอ้ งใชป้ ระสบการณแ์ ละการสงั เกต เดก็ อาจยงั ไมร่ จู้ กั การเอาใจเขามาใสใ่ จเราเมอ่ื ใชง้ านอนิ เทอรเ์ นต็ ในระยะแรก เนอื่ งจากยงั ขาดประสบการณท์ างความรสู้ กึ ดงั นน้ั เราอาจเพมิ่ “คลงั ศพั ท”์ โดยการสอน ใหเ้ ดก็ จำ� แนกความรสู้ กึ ตา่ ง ๆ ในชวี ติ จรงิ เสยี กอ่ น เพอ่ื ชว่ ยใหเ้ ดก็ ออ่ นไหวตอ่ ความรสู้ กึ ไดด้ ขี นึ้ โดยผา่ น การสอนคำ� ศพั ทท์ บี่ อกถงึ ความรสู้ กึ ตา่ ง ๆ พอ่ แมอ่ าจสอนใหเ้ ดก็ รจู้ กั คำ� ทเี่ กย่ี วกบั ความรสู้ กึ ไปพรอ้ ม กบั ตวั อโิ มจิ (Emoji) ท่ีบ่งบอกความรสู้ ึกในรูปแบบของภาษาและสญั ลักษณ์ ช่วยใหเ้ ด็กไดเ้ รียนรู้ ความหลากหลายของอารมณค์ วามรสู้ กึ แล้วใหพ้ วกเขาลองบอกวา่ ตัวเองก�ำลังรู้สึกอย่างไรผา่ นค�ำ และสญั ลักษณ์เหล่านี้ เชน่ โลง่ ใจ ผิดหวงั กงั วล หวาดกลวั เสยี ใจ ผ่าน เรอ่ื งราวทพ่ี วกเขาเจอในชวี ติ จรงิ เชน่ เมอ่ื ไดร้ บั คำ� ชมหรอื ถกู ตำ� หนิ เมอื่ ไดเ้ ลน่ ของเลน่ หรอื ดรู ายการ โทรทศั นต์ า่ ง ๆ เมอ่ื เดก็ ไดเ้ ขา้ ใจความรสู้ กึ ของตนเองแลว้ จะเปน็ กา้ วแรกทพ่ี วกเขาจะสามารถเขา้ ใจ ความรสู้ ึกของคนอน่ื ทง้ั ในชวี ิตจรงิ และในโลกออนไลน์ Digital Empathy l 13

3 เรียนรู้ท่จี ะแสดง ความเหน็ ในแงบ่ วก เมื่อพูดถงึ การเอาใจเขามาใสใ่ จเรา เรามักคดิ ถงึ ความรู้สึกและ อารมณ์ในแงล่ บเพียงอย่างเดียว แตก่ ารแบง่ ปันความรสู้ ึกในแงบ่ วก เชน่ รู้สึกยินดเี ม่อื ไดร้ บั คำ� ชมก็ เป็นการเรยี นรู้ทักษะการเอาใจเขามาใสใ่ จเราเชน่ เดียวกนั กิจกรรมในห้องเรยี นสามารถช่วยให้เด็ก เร่ิมตน้ การเรียนรู้การร่วมยนิ ดีไปกับผอู้ ่ืน ตัวอย่างเช่น คุณครูแจกกระดาษที่มีชื่อนกั เรยี นแตล่ ะคน เขยี นอยหู่ รอื ใหน้ กั เรยี นใสเ่ สอ้ื ยดื แลว้ ใหเ้ พอ่ื นรว่ มชน้ั แตล่ ะคนแลกเปลย่ี นเขยี นคำ� ชมหรอื ความรสู้ กึ ดี ทมี่ ตี ่อเดก็ คนน้ัน เดก็ แต่ละคนในห้องจะได้เรียนรกู้ ารแบ่งปันความรู้สกึ ดี ๆ ทีไ่ ดท้ ั้งจากการแสดง ความรู้สึกดีต่อผู้อืน่ และจากการได้รับค�ำชมจากเพอื่ น ๆ จากน้นั ให้เด็ก เปรียบเทียบประสบการณ์ความรู้สึกของตนเองระหว่างการได้รับค�ำชม กบั การถกู วจิ ารณใ์ นแงล่ บ เดก็ จะไดเ้ รยี นรวู้ า่ ไมม่ ใี ครชอบคำ� พดู ในเชงิ ลบ และเรยี นรทู้ จี่ ะเอาใจเขามาใสใ่ จเราทางดจิ ทิ ลั เมอื่ ตอ้ งการแสดงความคดิ เหน็ ในโลกไซเบอร์ ยอ่ มจะระมดั ระวงั และไมว่ พิ ากษว์ จิ ารณผ์ อู้ นื่ โดยใชอ้ ารมณ์ 4 สรา้ งสังคมแห่งการยอมรบั และเคารพความแตกต่าง • ยอมรบั ความคดิ เหน็ ทแี่ ตกตา่ ง เดก็ ทย่ี งั ไมม่ ปี ระสบการณช์ วี ติ มากนกั ยงั ไมโ่ ตพอทจ่ี ะเขา้ ใจวา่ ผคู้ นบนโลกนต้ี า่ งคนกต็ า่ งความคดิ และมมุ มอง เราอาจจะรสู้ กึ แบบหนง่ึ ในขณะทค่ี นอน่ื อาจจะรสู้ กึ อกี แบบกเ็ ปน็ ได้ พอ่ แมแ่ ละโรงเรยี นควรสอนใหเ้ ด็กเข้าใจถึงความส�ำคญั ของการไม่ด่วนตัดสนิ ผูอ้ นื่ ไม่วพิ ากษว์ ิจารณ์ผูอ้ ่ืนโดยไม่ไตรต่ รองท้งั ในชวี ติ จรงิ และในโลกอินเทอรเ์ น็ต ในห้องเรียนคณุ ครู อาจยกเหตกุ ารณห์ รอื เรอ่ื งราวขน้ึ มา และเปดิ กวา้ งใหเ้ ดก็ ไดแ้ สดงความคดิ เหน็ ตอ่ เรอ่ื งนน้ั จากมมุ มอง ของแตล่ ะคน เดก็ ๆ จะพบว่ามมี มุ มองทีห่ ลากหลายจากเพ่อื นในหอ้ งถึงแม้จะฟังเรื่องราวเดยี วกนั เมอื่ จบการแสดงความคดิ เห็น เด็กจะพบวา่ เราอาจเห็นด้วยหรือไมเ่ หน็ ด้วยกบั คนอื่นก็ได้ สอนให้เด็กได้เรียนรู้ว่า ไม่มีค�ำตอบที่ถูกหรือผิดในการมองโลก และการแสดงความคิดเหน็ ตอ่ เร่อื งใดเร่ืองหน่งึ เราต้องเรยี นร้ทู ีจ่ ะสรา้ งสังคม แหง่ การยอมรับ เพอื่ ฝกึ ทักษะให้เด็กไดร้ ู้จกั แสดงความคิดเหน็ อย่างถกู ต้อง ให้เกยี รติ และรับฟงั ความคิดเห็นของผอู้ ่ืน 14 l ทักษะการเอาใจเขามาใสใ่ จเราทางดจิ ทิ ัล

• ยอมรบั ความหลากหลายทางสงั คมและวฒั นธรรม เม่อื เด็กได้เรยี นรู้สังคมแหง่ การยอมรบั ในชีวติ จริงแลว้ พอ่ แม่และโรงเรียนจงึ ฝึกใหเ้ ด็กเรียนรู้ท่จี ะเขา้ สูส่ ังคมการแสดงความคดิ เหน็ ในโลก ออนไลน์ สอนใหเ้ ดก็ เรยี นรวู้ า่ ผใู้ ชง้ านในโลกไซเบอรม์ าจากทกุ มมุ โลก พวกเขาตา่ งมคี วามหลากหลาย ของอตั ลกั ษณท์ างสงั คมและวฒั นธรรม มมี มุ มองความเห็นทแี่ ตกต่างกนั ไม่ควรด่วนตัดสินผู้อื่นหรือ วฒั นธรรม ความเชื่ออืน่ วา่ ผดิ และไม่ควรใชอ้ ารมณ์ในการตอบโต้ เราควรร้จู ักมองเร่ืองราวตา่ ง ๆ ผ่านมมุ มองของพวกเขาบา้ ง จะท�ำให้เราลดอคติ และมีทักษะการเอาใจเขามาใสใ่ จเราทางดจิ ิทัล ดว้ ยวิธีนี้ เดก็ จะได้เรยี นรูก้ ารใช้เทคโนโลยอี ย่างมคี วามรับผดิ ชอบ มจี รยิ ธรรม และรจู้ กั การเอาใจ เขามาใสใ่ จเราทางดจิ ทิ ัล เช่นเดียวกับการท�ำกิจกรรมหรือการสื่อสารอื่นในชีวิตจริงที่ ต้องติดต่อกับผู้อ่ืนในสังคม พลเมืองดิจิทัลต้องรู้จักการใช้ เทคโนโลยีและอุปกรณ์ดิจิทัล สื่อสารบนโลกไซเบอร์อย่าง มจี รยิ ธรรม อนั หมายถงึ การมจี ติ สำ� นกึ พลเมอื ง รจู้ กั ธรรมเนยี ม และมารยาทในการใชง้ าน และการมปี ฏสิ มั พนั ธท์ ดี่ ตี อ่ ผใู้ ชง้ าน คนอ่ืน รวมไปถึงการมีน�้ำใจเอื้อเฟื้อ และมีการเอาใจเขามา ใส่ใจเราทางดิจิทัล การรู้จักมารยาททางอินเทอร์เน็ตเป็นเรื่องส�ำคัญในยุคข้อมูลข่าวสาร เพราะ ในโลกออนไลน์ทีอ่ วัจนภาษาถกู จ�ำกดั การส่อื สารและตีความหมายของผู้สอื่ สารจึงต้องระมดั ระวงั มากขนึ้ ตอ้ งรจู้ กั กฎกตกิ าทใี่ ชร้ ว่ มกนั เพอื่ ไมใ่ หเ้ กดิ ความเขา้ ใจผดิ ในการสอ่ื สาร และรกั ษาบรรยากาศ ทดี่ ใี นสงั คมออนไลน์ นอกจากนี้ การเอาใจเขามาใสใ่ จเราทางดจิ ทิ ลั ยงั ชว่ ยเตอื นให้รับรวู้ ่า เรากำ� ลังมี ปฏสิ มั พนั ธก์ ับผอู้ ่นื ที่มอี ารมณค์ วามรสู้ กึ นกึ คดิ เชน่ กัน ไมใ่ ช่หนุ่ ยนต์หรอื ตวั ละครดจิ ทิ ลั ในเกม ทำ� ให้ เรารจู้ กั ยบั ยง้ั ชงั่ ใจเมอ่ื จะสอ่ื สารในทางลบกบั ผอู้ นื่ เชน่ ความคดิ ทจ่ี ะกลน่ั แกลง้ ผอู้ น่ื ทางไซเบอร์ ละเมดิ สทิ ธคิ วามเปน็ สว่ นตวั หรอื ขอ้ มลู ผใู้ ชง้ านคนอน่ื หรอื แสดงวาจาเกลยี ดชงั ผอู้ น่ื ทางออนไลนไ์ ม่เพียงเพราะเร่ืองเหล่านั้นเป็นเรื่อง ผิดกฎกติกามารยาท แตเ่ พราะเรามีจติ ส�ำนกึ ของการพลเมอื งดิจิทัลท่ดี ีที่ เขา้ ใจความรสู้ กึ และอารมณข์ องผอู้ นื่ ทอ่ี าจไดร้ บั ผลกระทบจากการกระทำ� เชงิ ลบทง้ั ในสังคมออนไลนแ์ ละในชวี ติ จรงิ ยง่ิ ไปกวา่ นนั้ การเอาใจเขามาใสใ่ จเราทางดจิ ทิ ลั ทำ� ใหเ้ รยี นรกู้ ารอยรู่ ว่ มกบั ผอู้ น่ื ในสงั คมพหวุ ฒั นธรรม ท่ีพลเมอื งดจิ ิทัลคนอ่นื มีอตั ลกั ษณท์ างสังคมท่หี ลากหลาย ทง้ั อายุ เพศ เชื้อชาติ และศาสนา ทำ� ให้ รจู้ กั ละอคติ และมองเรอื่ งราวหรอื เหตกุ ารณใ์ นจดุ ทพ่ี วกเขาเปน็ อยู่ รจู้ กั แสดงความคดิ เหน็ โดยเคารพ ความแตกต่างของมุมมองแต่ละคน ภายใต้กรอบกติกามารยาททางอินเทอร์เน็ต การเอาใจเขา มาใสใ่ จเราทางดจิ ทิ ลั จงึ เปน็ การฝกึ ทกั ษะการรเู้ ทา่ ทนั สอื่ สารสนเทศ และดจิ ทิ ลั ซงึ่ จะชว่ ยสรา้ งพลเมอื ง ประชาธปิ ไตยไดอ้ ย่างยงั่ ยืน Digital Empathy l 15

เอกสารอา้ งองิ มมี ารยาทกอ่ นใชอ้ นิ เทอรเ์ นต็ [online]. แหลง่ ทมี่ า http://www1.si.mahidol.ac.th/Healtygamer/ information/article/128997 [17 กมุ ภาพันธ์ 2562] เฟอ่ื งลดา สรานี สงวนเรอื ง. Netiquette “มารยาทเนต็ ” ทคี่ นยคุ ใหมล่ มื คดิ [online]. แหลง่ ทมี่ า https://today.line.me/th/pc/article/Netiquette+“มารยาทเน็ต”+ทค่ี นยุคใหมล่ มื คดิ +เฟือ่ ง ลดา-vPwD3E [27 กมุ ภาพันธ์ 2562] สฤณี อาชวานนั ทกลุ . กฎหลกั ของมารยาทเนต็ – เอกสารประกอบการเสวนา “กตกิ าพลเมอื งชาวเนต็ ” [online]. แหล่งที่มา https://thainetizen.org/docs/the-core-rules-of-netiquette/ [18 กมุ ภาพนั ธ์ 2562] Bariso, Justin. There Are Actually 3 Types of Empathy. Here’s How They Differ--and How You Can Develop Them All [online]. แหลง่ ทม่ี า https://www.inc.com/justin-bariso/ there-are-actually-3-types-of-empathy-heres-how-they-differ-and-how-you-can-develop- them-all.html [18 กุมภาพนั ธ์ 2562] Digital Etiquette [online]. แหลง่ ทม่ี า https://mwhitmoredigitalcitizenship.weebly.com/ digital-etiquette.html [20 กุมภาพันธ์ 2562] Drayton, Morgan. How the use of the Internet is causing us to lose Empathy [online]. แหลง่ ทีม่ าhttps://artsandhumanitiesacademy.wordpress.com/2014/01/24/ empathy-loss/ [28 กมุ ภาพันธ์ 2562] Gordon, Sherry. 5 Things to Teach Your Kids About Digital Etiquette. Teaching digital etiquette can keep kids from becoming cyberbullies [online]. แหลง่ ท่ีมา https://www.verywellfamily.com/things-to-teach-your-kids-about-digital-etiquette- 460548?utm_term=digital%20etiquette&utm_content=p1-main-1-picture&utm_medium =sem&utm_source=google&utm_campaign=adid-8c937dc7-3d23-467b-9f0b-3cd- 4dd6c9452-0-ab_gsb_ocode-4505 [20 กมุ ภาพนั ธ์ 2562] How to teach digital empathy [online]. แหลง่ ทม่ี า https://edtechnology.co.uk/Blog/ how-to-teach-digital-empathy/ [19 กุมภาพันธ์ 2562] 16 l ทกั ษะการเอาใจเขามาใสใ่ จเราทางดจิ ทิ ัล



ทักษะการเอาใจเขามาใส่ใจเราทางดจิ ทิ ลั (Digital Empathy) พิมพ์คร้ังท่ี 1 : มิถุนายน 2562 จ�ำนวนการพิมพ์ : 2,000 เล่ม เขียนและเรียบเรียง : ดร.สรานนท์ อินทนนท์ บรรณาธิการ : เข็มพร วิรุณราพันธ์, ลักษมี คงลาภ ฝ่ายศิลป์/ออกแบบรูปเล่ม : อรสุมน ศานติวงศ์สกุล จัดพิมพ์และเผยแพร่ : มูลนิธิส่งเสริมส่ือเด็กและเยาวชน (สสย.) 6/5 ซอยอารีย์ 5 พหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ โทรศัพท์ 02-617-1919 E-mail : [email protected] Website : www.childmedia.net พิมพ์ท่ี : บรษิ ัท วอล์ค ออน คลาวด์ จ�ำกดั 77/62 หมู่ 6 หม่บู ้านแก้วขวญั 1 ถนนล�ำลกู กา11 ตำ� บลคคู ต อ�ำเภอลำ� ลูกกา จงั หวัดปทุมธานี 12130 โทรศพั ท์ 02-987-4031 แฟกซ์ 02-987-4913 E-mail : [email protected]