Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore อนัตตา บังคับบัญชาไม่ได้จริงหรือ

อนัตตา บังคับบัญชาไม่ได้จริงหรือ

Description: อนัตตา บังคับบัญชาไม่ได้จริงหรือ

Search

Read the Text Version

(1) อนัตตา บงั คบั บญั ชาไมไ่ ด้ จริงหรือ ? (ปรญิ ญา ๓ ?) อนตั ตา บงั คับบญั ชาไมไ่ ด้ จรงิ หรอื ? (ปรญิ ญา ๓ ?) พวกน้ีต้ังใจทํา เปนอตั ตา ธรรมะทง้ั หลายตองเปนอนัตตา บังคับบญั ชาไมไ ด จริงดวย เปน อัตตาท้ังนนั้ _18-1133 �����.indd 1 ภิกษรุ ปู หนง่ึ 12/18/2561 BE 1:23 PM

พมิ พค์ ร้งั ที่ ๑ : ธนั วาคม ๒๕๖๑ จานวนพิมพ์ ๕๐๐๐ เลม่ จุดประสงคใ์ นการพมิ พ์ : เพื่อเป็ นพุทธบูชา, จรรโลงพระศาสนา ผูจ้ ดั พมิ พ์ : คุณกลั ยาณี รพีพรรณ, คุณภมู ิเดช ตรีถาวร ทพญ.อจั ฉรา กล่ินสุวรรณ์ ท่านท่ีสนใจใครศ่ ึกษา ตอ้ งการหนังสือ หรือมีกุศลจิตในการออก ทุนทรพั ยร์ ่วมจดั พมิ พเ์ ป็ นธรรมทาน ติดตอ่ ไดท้ ี่ ชมรมกลั ยาณธรรม โทร. ๐๒-๗๐๒-๗๓๕๓ คุณลลิญตา ปรีตะนนท์ โทร. ๐๘๗-๓๓๔-๔๒๙๑ คุณภูมิเดช ตรีถาวร โทร. ๐๘๓-๖๐๔-๖๖๘๘ คุณศุภชาติ รพีพรรณ โทร. ๐๘๑-๖๒๕-๘๖๖๖ ภาพปก : เคอุณ๋จังเคล.า..กแตะ พสิ จู น์อกั ษร : ท่านพระมหากีรติ ธีรปญฺโ (หมอตน้ ) คุณศุภชาติ รพพี รรณ, คุณภมู ิเดช ตรีถาวร ทพญ.อจั ฉรา กล่ินสุวรรณ,์ คุณลลิญตา ปรีตะนนท์ ผูถ้ อดคาบรรยาย : คุณทศั นีย์ อญั มณีเจริญ ฯลฯ พิมพท์ ี่ : บริษัท ธนาเพรส จากดั โทร. ๐๒-๒๑๕-๗๒๒๐ สพพฺ ทานํ ธมฺมทานํ ชินาต.ิ การให้ธรรม ย่อมชนะการใหท้ ัง้ ปวง _18-1133 �����.indd 2 12/18/2561 BE 1:23 PM

อนัตตา บังคับบญั ชาไมไ่ ด้ จริงหรือ ? (ปริญญา ๓ ?) _18-1133 �����.indd 3 ภิกษรุ ูปหนง่ึ 12/18/2561 BE 1:23 PM

โยคา เว ชายเต ภรู ิ อโยคา ภรู สิ งฺขโย ภวาย วภิ วาย จ เอตํ เทฺวธา ปถํ ตฺวา ตถตฺตานํ นิเวเสยยฺ ยถา ภรู ิ ปวฑฒฺ ต.ิ ปัญญายอ่ มเกิดเพราะการประกอบแล ความส้ ินไปแหง่ ปัญญา เพราะการไม่ประกอบ บณั ฑิตรทู้ าง ๒ แพรง่ แหง่ ความเจริญและความเส่ือมนัน่ แลว้ พงึ ต้งั ตนไวโ้ ดยประการ ที่ปัญญาจะเจริญข้ นึ ได้ (ขุ. ธ.) สุขํ ยาว ชรา สีลํ สุขา สทธฺ า ปติฏฺ ตา สุโข ปญฺ าย ปฏิลาโภ ปาปานํ อกรณํ สุขํ. ศีลนาความสุขมาใหต้ ราบเท่าชรา ศรทั ธาท่ีต้งั มนั่ แลว้ นาความสุขมาให้ การไดเ้ ฉพาะซ่ึงปัญญานาความสุขมาให้ การไม่ทาบาปท้งั หลายนาความสุขมาให้ (ข.ุ ธ.) _18-1133 �����.indd 4 12/18/2561 BE 1:23 PM

(๑()1 ) คำนำ สมฺ พาโธ ฆราวาโส รชาปโถ อพฺโภกาโส ปพฺพชฺ ชา ... ฆราวาสเป็ นที่คบั แคบ เป็ นทางมาแหง่ กิเลส เพยี งดงั ธุลี บรรพชาเป็ นโอกาสอนั ปลอดโปรง่ การที่ผูอ้ ยคู่ รองเรือนจะประพฤติ พรหมจรรยใ์ หบ้ ริสุทธ์ิ บริบรู ณโ์ ดยส่วนเดียว ดุจสงั ขท์ ่ีขดั แลว้ น้ ี มิใชเ่ ป็ นฐานะที่ใครๆ จะพงึ ทาไดโ้ ดยง่าย อยา่ กระน้ันเลย เราพงึ ปลงผมและหนวด นุ่งหม่ ผา้ กาสาวพสั ตร์ ออกจากเรือน บวช เป็ นผูไ้ มม่ ีเรือนเถิด สมยั ต่อมา เขาละกองโภคสมบตั ินอ้ ยใหญ่ และเครือญาตินอ้ ยใหญ่ ปลงผมและหนวด นุ่งหม่ ผา้ กาสาวพสั ตร์ ออกจากเรือน บวช เป็ นผูไ้ มม่ ีเรือน ... (จฬู หตั ถปิ โทปมสตู รท่ี ๗ ม. ม.ู ) (เพอื่ ท่ีจะไดท้ ากิจในพระพทุ ธศาสนา มีความถึงพรอ้ มดว้ ย สิกขาและสาชพี มีการศึกษาและต้งั ใจรกั ษาศีล อบรมอินทริย- สงั วร มีความสนั โดษดว้ ยจวี รเป็ นเครื่องบริหารกาย ดว้ ยบิณฑบาต เป็ นเครื่องบริหารทอ้ ง จะไปทางทิศาภาคใดๆ ก็ถือไปไดเ้ อง ดุจนกมีแตป่ ี กและทอ้ งของตวั เป็ นภาระ จะบินไปทางทิศใด เมื่อใด ก็ไปไดท้ นั ที นอกจากน้ ียงั ตอ้ งมีสมั ปชญั ญะในฐานะท้งั ๗ ยงั ตอ้ ง ชอบเสพเสนาสนะอนั สงดั เพื่อที่จะไดป้ ระกอบความเพยี รในการ เผากิเลส ถา้ สามารถก็ควรเจริญรปู -อรูปสมาบตั ิ แต่ที่แน่นอนคือ หากปรารถนาอาสวกั ขยญาณ ซ่ึงก็คือ มรรคญาณอนั กระทาใหแ้ จง้ พระนิพพาน ก็ตอ้ งเจริญวิปัสสนา แลว้ วิปัสสนาคืออะไร ? จะเจริญ ไดอ้ ยา่ งไร ? ... คงตอ้ งติดตามต่อไป ...) _18-1133 ��������.indd 1 12/18/2561 BE 1:51 PM

( 2 ) (๒) บทวา่ สมฺ พาโธ ฆราวาโส ความวา่ แมถ้ า้ วา่ สามีภรรยา อยใู่ นเรือนกวา้ ง ๖๐ ศอก หรือระหวา่ งรอ้ ยโยชน์ ถึงเชน่ น้ัน ฆราวาสก็ชอ่ื วา่ คบั แคบ เพราะความหมายวา่ ๒ สามีภรรยาน้ัน มีความกงั วล มีความหว่ งใยกนั คาวา่ รชาปโถ ไดแ้ ก่ ฐานท่ีต้งั ข้ นึ แหง่ ธุลีคือราคะเป็ นตน้ . แมจ้ ะกล่าววา่ ทางมาแหง่ ธุลี ก็ควร บรรพชาเป็ นประหน่ึงกลางเเจง้ เพราะความหมายวา่ ไม่ขอ้ ง ฉะน้ัน จงึ ชื่อวา่ อพั โภกาส จริงอยู่ ผูบ้ วชแลว้ แมอ้ ยใู่ นเรือน ยอด ปราสาทแกว้ และเทพวิมานเป็ นตน้ ที่มีประตหู นา้ ต่างมิดชดิ ท่ีเขาปกปิ ดไว้ ก็ไม่ขอ้ ง ไม่ขดั ไมต่ ิด ดว้ ยเหตุน้ัน จงึ ตรสั วา่ บรรพชาปลอดโปรง่ อยา่ งยง่ิ อีกอยา่ งหนึ่ง ฆราวาส ชื่อวา่ คบั แคบ เพราะไม่มีโอกาสทาบุญ ชอื่ วา่ รชาปถะ เพราะเป็ นที่ รวมแหง่ ธุลีคือกิเลส ดุจสถานท่ีกองขยะท่ีเขาไม่ระวงั บรรพชา ช่ือวา่ อพั โภกาส เพราะมีโอกาสทาบุญไดต้ ามสะดวก ... เมื่อพดู ถึงความคบั แคบของคฤหสั ถ์ หมายถึง ความแออดั ยดั เยียดดว้ ยกิเลสอกุศล ความอยากมี อยากได้ ความกงั วลดว้ ย วตั ถุกามและกิเลสกามท้งั หลาย ตอ้ งมีภารกิจคิดหาโปรเจกตใ์ หม่ๆ เพ่อื รายไดท้ ่ีเพิ่มข้ นึ เพอื่ จะไดแ้ สวงหาวตั ถุกามไดม้ ากข้ นึ ท้งั ยงั ตอ้ ง หว่ งใยฝักใฝ่ ถึงคนในครอบครวั อนาคตของบุตรธิดาและของตนเอง มีเรื่องใหห้ ลงระเริง ผกู พนั ยึดมนั่ รอ้ ยแปดพนั ประการ จึงเป็ นเหตุ ใหเ้ จริญกุศลไดน้ อ้ ย หรือบางคนแทบไม่มีโอกาสไดเ้ จริญกุศล ไมม่ ี โอกาสไดเ้ ขา้ วดั เขา้ วา ไมม่ ีกลั ยาณมิตรคอยช้ นี าส่ิงท่ีเป็ นสาระท่ีแท้ จริงของชวี ิต ไหนเลยจะไดศ้ ึกษาพระธรรมคาสอนเลา่ ? ... _18-1133 ��������.indd 2 12/18/2561 BE 1:51 PM

(๓( )3 ) หนั มาดูบรรพชิตคือนักบวชท้งั หลาย สอู้ ุตสา่ หส์ ละเครือญาติ พรอ้ มท้งั สมบตั ิพสั ถานมากบา้ ง นอ้ ยบา้ ง ทาใหเ้ บากาย เบาจติ ก็เพือ่ หวงั พิชติ กิเลสอกุศลธรรม ดว้ ยการปฏิบตั ิธรรม ตามที่ไดฟ้ ัง ไดศ้ ึกษามาจากคาสอนของพระสมั มาสมั พุทธเจา้ บา้ งแลว้ จงึ ไดม้ ี ศรทั ธา ออกบวชถวายอุระในพระพทุ ธศาสนา ก็เพือ่ หวงั ท่ีจะพน้ จากกองทุกขท์ ้งั ปวง (ในยุคน้ ี อาจจะหาผูท้ ี่บวชดว้ ยศรทั ธา เขา้ ใจ คาสอนมากอ่ น และมีเป้าหมายของการบวชท่ีถูกตอ้ งไดย้ าก ... ?) แต่เม่ือบวชมาแลว้ แทนท่ีจะเร่งเรียนรู้ ศึกษาหลกั คาสอนของ พระพทุ ธเจา้ ใหก้ ระจา่ ง เพอ่ื เป็ นสุตาวุธ (อาวุธคือความรขู้ ้นั ปรยิ ตั ิ) แลว้ หลีกเรน้ เป็ นปวเิ วกาวุธ (อาวุธคือความสงดั กาย สงดั ใจ) แลว้ นาคาสอนไปปฏิบตั ิ ใหเ้ กิดปัญญาวุธ (อาวุธคือวปิ ัสสนาและ มรรคปัญญา) ไวต้ อ่ สกู้ บั กิเลสมารท้งั หลาย แต่กลบั หลงใหลคลอ้ ย ตามสงั คม ท่ีตอ้ งแขง่ ขนั กบั การพฒั นาวตั ถุ เพอ่ื เลื่อนระดบั ของตน หรือเพอ่ื ใหช้ วี ิตดารงอยู่ ใหเ้ ป็ นท่ียอมรบั ของสงั คม โดยที่ไมต่ อ้ ง กงั วลใจ ตอ้ งมียศถาบรรดาศกั ด์ิ มีวุฒิบตั ร มีดีกรีรบั รอง ตอ้ งมีที่ อยทู่ ี่แน่นอน มีรถส่วนตวั มี ๆๆๆ และมี จนชีวติ เป็ นเชน่ กบั คฤหสั ถไ์ ปเสียแลว้ นอกจากศีรษะและจีวรเท่าน้ันที่ต่างกนั ? ... ในยุคท่ีโลกแคบมาก ไมว่ า่ จะเป็ นคฤหสั ถห์ รือบรรพชิต หรือ ไมว่ า่ ใครๆ ก็สามารถติดตอ่ สื่อสาร พดู จาปราศรยั กนั ได้ ไม่วา่ จะ อยู่ ณ สถานที่ใดบนโลก (หรือนอกโลกก็ตาม หากมีคลื่นติดตอ่ ) เพราะความเจริญกา้ วหนา้ ของเทคโนโลยี ยุคดิจทิ ลั ส่ีจุดศนู ย์ (Digital 4.0) จงึ ทาใหโ้ ลกท้งั โลกสามารถมาอยใู่ นหนา้ จอของ คอมพิวเตอร์ แท็บเล็ต หรือสมารท์ โฟนก็ยงั ได้ เป็ นยุคท่ีมีเพียง _18-1133 ��������.indd 3 12/18/2561 BE 1:51 PM

( 4 ) (๔) สมารท์ โฟนเครื่องเดียว ก็สามารถทาธุรกรรมไดท้ ุกอยา่ ง ท้งั ที่ผูใ้ ช้ อยภู่ ายในบา้ นพกั หรือท่ีใดก็ตาม ไม่วา่ จะเป็ นการจา่ ยเงิน โอนเงิน จา่ ยค่าโทรศพั ท์ ค่าน้า คา่ ไฟ ซ้ ือตวั๋ ภาพยนตร์ ตวั๋ เคร่ืองบิน ตวั๋ รถบสั ตวั๋ รถไฟ ซ้ ือสินคา้ ออนไลน์ไดส้ ารพดั ดงั่ แกว้ มณีชอื่ โชติรส นึกอะไรก็ไดส้ มตามความปรารถนา (สาหรบั คนมีบุญเท่าน้ัน ...) ท้งั ขอ้ มลู ขา่ วสารก็มากลน้ จนเหลือจะคณนา เป็ นขอ้ มลู แบบ มหึมา (Big Data) ไมว่ า่ จะเป็ นขา่ วสารการเมือง ขา่ วตา่ งประเทศ สารคดีต่างๆ ความรทู้ ุกแขนง ทุกอาชพี มีใหศ้ ึกษาคน้ ควา้ กนั ได้ ไม่จากดั แมแ้ ตค่ วามรูด้ า้ นศาสนา ก็มีใหเ้ รียนรูไ้ ดท้ ุกศาสนา ... แตอ่ นิจจา ! ผูใ้ ด ใครบา้ ง จะรูห้ รือไม่วา่ ขอ้ มลู ท้งั หลายแหล่ เหล่าน้ันไดผ้ ่านการตรวจสอบ โดยมีหน่วยงานท่ีกลนั่ กรองจนเป็ น ขอ้ มลู ที่บริสุทธ์ิ เชอื่ ถือไดร้ อ้ ยเปอรเ์ ซ็นตแ์ ลว้ หรือไม่ ? (ในปัจจุบนั มีหน่วยงานหน่ึง ทาการพสิ ูจน์เร่ืองราวต่างๆ ส่วนใหญ่จะเป็ น เรื่องอาหารการกิน เรื่องสุขภาพ ... ที่แพรส่ ะพดั ในอินเทอรเ์ น็ต จนเป็ นท่ีฮือฮา มีท้งั ที่เช่ือถือไดแ้ ละไม่น่าเช่ือถือ มีสโลแกนของ รายการวา่ ชวั รก์ ่อนแชร์ เช็คใหแ้ น่วา่ ที่แชรน์ ัน่ ชวั ร.์ .. สานักขา่ วไทย อสมท.) เนื่องจากทุกคนที่มีความรู้ สามารถที่จะอพั โหลดขอ้ ความ หรือคลิปวดี ีโอทุกเรื่องลงในอินเทอรเ์ น็ต เฟสบุ๊ค ไลน์ อินสตา- แกรม ยทู ปู ฯลฯ ไดโ้ ดยไม่ยาก จึงเป็ นเร่ืองท่ีผบู้ ริโภคสื่อ จะตอ้ ง มีวิจารณญาณในการรบั ขอ้ มลู โดยที่ยงั ไม่ควรจะเชอ่ื งา่ ยจนเกินไป แต่ควรจะตอ้ งศึกษา สอบทาน เทียบเคียงขอ้ มลู เหล่าน้ัน จนกวา่ จะไดค้ วามกระจา่ งแจง้ ชดั เจนเสียก่อน _18-1133 ��������.indd 4 12/18/2561 BE 1:51 PM

(๕()5 ) โดยเฉพาะ เร่ืองพระธรรมคาสอนของพระสมั มาสมั พุทธเจา้ ก็ยงิ่ จะตอ้ งมีความละเอียดรอบคอบ มีศรทั ธาพรอ้ มท้งั ปัญญาท่ีจะ ไตร่ตรอง ศึกษา พิสูจน์ หาเหตุผล และหลกั ฐานที่มาอยเู่ สมอ มีหลกั สาคญั ๒ ประการ ที่ผูศ้ ึกษาปฏิบตั ิพระธรรมคาสอนจะตอ้ ง มีอยตู่ ลอดเวลา คือ ๑. ตอ้ งมีหลกั ฐานที่มา ๒. ตอ้ งมีเหตุและผล ที่ไมข่ ดั กนั (อาคมยุตตฺ ิ อตฺถยุตตฺ ิ ยตุ ตหิ าระ เนตติปกรณ์) ท้งั พระ วนิ ัย พระสตู ร พระอภิธรรม ท้งั พทุ ธพจน์ อรรถกถา ฎีกา ท้งั ปริยตั ิ ปฏิบตั ิ ปฏิเวธ เชน่ เดียวกบั พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ ท่ีไม่เคยขดั กนั และอธิศีล อธิจิต อธิปัญญา ท่ีตอ้ งไม่ขดั แยง้ กนั เพราะเหตุวา่ ทุกคนเชอ่ื มนั่ ในความคิดเหน็ และแนวทาง ปฏิบตั ิของตนเอง มีนอ้ ยคนนักท่ีจะยอมรบั ความจริงวา่ ความคิด เห็นของตนเองผิด แมแ้ ตโ่ จรท่ีปลน้ แลว้ ถูกจบั ไดท้ ้งั ของกลาง ถูก ตดั สินจาคุกแลว้ เวลาท่ีเพือ่ นนักโทษถามวา่ ตอ้ งคดีอะไร ? ก็ยงั ตอบวา่ เขาหาวา่ ผมไปปลน้ มา ! ... เพราะฉะน้ัน จะเชอ่ื เหตุผลของตนเองเท่าน้ันไม่ได้ ตอ้ งมี หลกั ฐานที่มาดว้ ย ถา้ เป็ นสาวกของพระสมั มาสมั พทุ ธเจา้ จะตอ้ ง ศึกษา ปฏิบตั ิและตรสั รูต้ ามพระพทุ ธเจา้ มิใชร่ ูเ้ ห็นเอง ตรสั รูด้ ว้ ย ตนเอง ซึ่งก็เท่ากบั วา่ เป็ นพระพทุ ธเจา้ องคใ์ หม่ หรือมีบา้ งท่ีอา้ งวา่ ไดค้ น้ พบธรรมที่สญู หายไปนาน หรือวิธีปฏิบตั ิท่ีหายสาบสญู ไปแลว้ ซึ่งไมม่ ีอยใู่ นพระไตรปิ ฎก อรรถกถา ฎีกา นี่กเ็ ท่ากบั ไดต้ ้งั ตวั เป็ น ศาสดาคนใหม่แลว้ ก็ข้ ึนอยกู่ บั วา่ ใครเคยเป็ นสานุศิษยข์ องผูน้ ้ ีมา ในอดีต ก็จะเคารพนับถือยอมรบั ในคาสอนเหล่าน้ัน ซ่ึงก็จะไมไ่ ด้ มีพระรตั นตรยั เป็ นสรณะ แต่มีบุคคลเหลา่ น้ันเป็ นสรณะแทน ... _18-1133 ��������.indd 5 12/18/2561 BE 1:51 PM

( 6 ) (๖) อาจจะมีนักศึกษาและนักปฏิบตั ิธรรมหลายท่าน ที่ยงั คงเขา้ ใจ สบั สนวา่ สพฺเพ ธมฺ มา อนตฺ ตา ธรรมท้งั หลายท้งั ปวงไมม่ ีตวั ตน บงั คบั บญั ชาไมไ่ ด้ จึงเขา้ ใจวา่ การปฏิบตั ิธรรมตอ้ งไม่ต้งั ใจจดจอ้ ง หากต้งั ใจ จะเป็ นอตั ตาตวั ตน จงึ ทาใหท้ ่านเหล่าน้ันปฏิเสธการทา สมาธิ ไมส่ วดมนต์ ไม่สมาทานศีล ๕ หรืออุโบสถศีล เจริญ วปิ ัสสนาแบบเรื่อยๆ อะไรจะเกิดก็แลว้ แตเ่ หตุปัจจยั เพราะเขา้ ใจวา่ เม่ือธรรมะเป็ นอนัตตา ทาอะไรไมไ่ ด้ ต้งั ใจไมไ่ ด้ ถา้ ต้งั ใจทาจะ กลายเป็ นอตั ตาไป ซ่ึงเป็ นความเขา้ ใจที่ยงั ไมต่ รงตอ่ หลกั ธรรมนัก จึงใครท่ ี่จะใหท้ ่านท้งั หลาย ไดท้ ราบเหตุผลท่ีแทจ้ ริง และที่ อา้ งอิงหลายแหง่ ซึ่งแสดงความเป็ นอนัตตา โดยท่ีไม่ใชเ่ ป็ นเพียง ความคิดเห็นสว่ นตวั เท่าน้ัน เพราะ สพฺเพ ธมฺ มา อนตฺ ตา ธรรมะ ท้งั หลายท้งั ปวงเป็ นอนัตตา ไมม่ ีตวั ตนแตอ่ ยา่ งใด ? จงึ ทาได้ ปฏิบตั ิได้ ทาสมาธิได้ เพราะการทาส่ิงเหลา่ น้ ี ก็เป็ นอนัตตา ... ดว้ ยความปรารถนาดีอยา่ งจริงใจ ภกิ ษุรปู หนงึ่ (ปรารภปี ใหม่ ม.ค. ๒๕๖๑) (พมิ พเ์ มื่อ ธ.ค. ๒๕๖๑) _18-1133 ��������.indd 6 12/18/2561 BE 1:51 PM

(๗( )7 ) คำชีแ้ จงและอนุโมทนา ขออนุโมทนาตอ่ ผูม้ ีสว่ นในการจดั สรา้ งหนังสือเล่มน้ ีข้ นึ ท้งั ผู้ ท่ีตรวจทาน พิสูจน์อกั ษร ผูถ้ อดเทปคาบรรยาย ผูอ้ อกทุนทรพั ย์ ในการจดั พิมพ์ และผูร้ ่วมสมทบทุน ตลอดจนผูท้ ี่ไดอ้ า่ นทุกท่าน โดยเฉพาะ ผูท้ ่ีเคยเป็ นครูบาอาจารย์ เคยเป็ นสหายธรรม ขอให้ ท่านท้งั หลายไดโ้ ปรดเปิ ดใจใหก้ วา้ งข้ นึ เพอ่ื ท่ีจะไดม้ ีขอ้ มลู ใหม่ๆ ใหค้ ิดคน้ พิจารณาจนไดส้ ติปัญญาที่เพ่มิ พนู ยง่ิ ข้ ึน ขอใหท้ ุกท่านเจริญเมตตา ปรารถนาดีต่อกนั เมตตาเป็ น อนัตตา ความต้งั ใจเจริญเมตตาก็เป็ นอนัตตา ขอใหศ้ ึกษาและ ปฏิบตั ิตามพระธรรมวนิ ัย โดยแยกใหอ้ อกระหวา่ งธรรมของบุคคล กบั ธรรมของพระพุทธเจา้ ในพระไตรปิ ฎก เพ่ือเป็ นประโยชน์เก้ ือกูล แก่ตนเองและผูอ้ ่ืน เพื่อเชดิ ชูพระศาสนา เพ่ือสรา้ งสมบารมี เป็ น ปัจจยั แก่มรรค ผล พระนิพพาน ในอนาคตกาลอนั ใกลน้ ้ ี ... เหน็ หน้ากนั เม่ือเช้า สายตาย สายอยู่สขุ สบาย บา่ ยม้วย บา่ ยยงั รื่นเริงกาย เยน็ ดบั ชีพนา เย็นอยหู่ ยอกลกู ดว้ ย ค่าม้วยดับสูญ ฯ _18-1133 ��������.indd 7 12/18/2561 BE 1:51 PM

(8) กลอนภกิ ขุภาวะ ๑. เป็ นภกิ ษุ ภาวะ แสนประเสริฐ เพศเลอเลศิ มุ่งตรง ทรงสิกขา รกั ษาศีล ธรรมดี มีเมตตา พูนปัญญา พารูแ้ จง้ เจาะแทงใจ ๒. แสนสุขสม รม่ รน่ื ช่ืนชีวิต ไม่ตอ้ งคดิ จติ วุ่นวน ถงึ คนไหน ไม่ว่าบุตร ภรยิ า หรือว่าใคร จงึ ปลอดภยั ไดส้ ุข ทุกเวลา ๓. คฤหสั ถ์ ปัดกงั วล ไม่พน้ จติ ยงั ตอ้ งคิด หว่ งใย ในวงศา ท้งั การงาน ว่านเครือ ทรพั ยน์ านา เป็ นทีม่ า พาทุกข์ ไม่สุขใจ ๔. ถา้ ไม่อยาก ทุกขม์ าก ใหย้ ากนกั ตอ้ งหาหลกั พ่งึ พา ทอี่ าศยั พระไตรรตั น์ ปัดเป่ า เขม่าใจ เป็ นเหตใุ ห้ ไม่กงั วล พน้ โอฆา ๕. ถา้ แมน้ เรา ชาวพุทธ ไม่หยดุ ยง้ั เพมิ่ พลงั หวงั ใจ ไตรสกิ ขา ท้งั ฌานเพ่ง เรง่ ฝึ กหดั วิปัสสนา ในไม่ชา้ พาถึงแกน่ แดนนิพพาน _18-1133 ��������.indd 8 12/18/2561 BE 1:51 PM

( 9 ) (๘) สารบาญ เร่อื ง หนา้ ๑. อารมั ภกถา, อรรถะของ “รตน”, โสตาปัตติยงั คะ ๔ ๑,๒ ๒. ธรรมบรรยายบางส่วน ปี ใหม่ พ.ศ. ๒๕๖๑ ๓ ทาน ศีล ไม่ใชภ่ าวนา แต่พฒั นาเป็ นภาวนาได้ ๓ ๓. อนัตตา บงั คบั บญั ชาไมไ่ ด้ จริงหรือ ? ๑๐ ๔. อนัตตา บงั คบั ไม่ได้ ทรพั ยส์ ินจึงเสียหายสญู ส้ ิน ๑๑ ๕. อนัตตา เก่ียวขอ้ งกบั วิปัสสนา-ปริญญา อยา่ งไร ? ๑๖ ๖. เรื่องภิกษุ ๕๐๐ เจริญวปิ ัสสนา, ภิกษุเรียนกมั มฏั ฐาน ๑๗ ๗. ทางแหง่ ความหมดจด (วิสุทธิมรรค) ๑๘ ๘. ญาตปริญญาแปลวา่ อะไร ? คืออะไร ? ๓๐ ญาตปริญญาเป็ นท้งั ขน้ั ปริยตั ิและปฏิบตั ิ ๓๐ ๙. ปริญญา ๓ คือ วสิ ุทธิ ๗ ๓๑ ๑๐. ขนั ธ์ ๕ และนิพพาน เป็ นอนัตตา เป็ นสุญญตา ๓๓ โลกียขนั ธ์ โลกุตตรขนั ธ์ อุปาทานขนั ธ์ ขนั ธุปาทาน ๓๓ ๑๑. วสิ ุทธิขนั ธ์ กบั ขนั ธวิมุติ ตา่ งกนั อยา่ งไร ? ๓๔ ๑๒. อนัตตา กบั สุญญตา ต่างกนั อยา่ งไร ? ๓๕ ๑๓. โลกียขนั ธ์ โลกุตตรขนั ธเ์ ป็ นของสูญ ต่างกนั อยา่ งไร ? ๓๘ ๑๔. กมั มสั สกตาญาณ กบั วปิ ัสสนาญาณ ? ๔๓ ๑๕. กาล ๔ อยา่ ง ทาใหบ้ รรลุธรรม ๔๔ ๑๖. ภทั เทกรตั ตสูตร ๔๗ ๑๗. ผูม้ ีราตรีหนึ่งเจริญ ๔๘ _18-1133 ��������.indd 9 12/18/2561 BE 1:51 PM

((๙10) ) สารบาญ เรอ่ื ง หนา้ ๑๘. ความเขา้ ใจผิด เรื่อง สติ ปัญญาทางโลก ๕๐ ๑๙. สภาวลกั ษณะ สามญั ญลกั ษณะ คือ อะไร ? ๕๔ ๒๐. แทรกพระรตั นตรยั ก่อนเขา้ ใจสภาวธรรม ๕๖ ๒๑. สภาวลกั ษณะ สามญั ญลกั ษณะ ตา่ งกนั อยา่ งไร ? ๕๘ ๒๒. ตารางความต่างของสภาวลกั ษณะกบั สามญั ญลกั ษณะ ๕๙ ๒๓. สภาวลกั ษณะ ก็คือ ปัจจตั ตลกั ษณะ, สามญั ญลกั ษณะ ก็คือ ไตรลกั ษณ์ ๕๙ ๒๔. สภาวลกั ษณะ เรียกวา่ วิเสสลกั ษณะ, สามญั ญลกั ษณะ เรียกวา่ อริยกรธรรม ๖๐ ๒๕. สมมุติ กบั บญั ญตั ิ ตา่ งกนั อยา่ งไร ? ๖๑ ๒๖. คาที่เก่ียวขอ้ งกบั ไตรลกั ษณ์ ๔ คา ๖๔ ๒๗. สภาวลกั ษณะเป็ นอารมณข์ องญาตปริญญา, ไตรลกั ษณเ์ ป็ นอารมณข์ องตีรณ-ปหานปริญญา ๖๖ ๒๘. สภาวลกั ษณะหรือปัจจตั ตลกั ษณะหรือวเิ สสลกั ษณะ เป็ นอารมณข์ องญาตปริญญา ๖๗ ๒๙. สามญั ญลกั ษณะหรือไตรลกั ษณเ์ ป็ นอารมณข์ อง- ตีรณปริญญาและปหานปริญญา ๖๗ ๓๐. สภาวลกั ษณะมีในทุกข์ สมุทยั นิโรธ มรรค สจั จวิมุติ, ไตรลกั ษณน์ ับเน่ืองในทุกขสจั ๖๙ ลกั ขณาทิจตุกกะของจติ ๖๙ _18-1133 ��������.indd 10 12/18/2561 BE 1:51 PM

( 11 ) (๑๐) สารบาญ เรื่อง หนา้ ๓๑. สภาวธรรมเป็ นปรมตั ถธรรม, ไตรลกั ษณเ์ ป็ นบญั ญตั ิพิเศษ ๗๐ ๓๒. สภาวลกั ษณะเป็ นตวั กาหนดปรมตั ถธรรม ๔, ไตรลกั ษณเ์ ป็ นอาการของปรมตั ถธรรม ๓ ๗๒ ๓๓. สภาวลกั ษณะเป็ นส่วนหนึ่งของลกั ขณาทิจตุกกะ, ไตรลกั ษณเ์ ป็ นส่วนหน่ึงของอาทีนวะ ๗๗ ๓๔. สามญั ญลกั ษณะเป็ นส่วนหน่ึงของอาทีนวะ ๗๘ ๓๕. เทศนาหาระ ๖ อยา่ ง (เนตติปกรณ)์ ๗๙ ๓๖. มรรค ๓ ประเภท สุญญตะ อนิมิตตะ อปั ปณิหิตะ ๘๑ ๓๗. นิพพาน ๒ สอุปาทิเสสนิพพาน อนุปาทิเสสนิพพาน ๘๓ ๓๘. อตั ตศพั ทห์ รืออตั ตา มีความหมาย ๔ อยา่ ง ๙๓ ๓๙. อนัตตา บงั คบั บญั ชาไม่ได้ จงึ ไมต่ อ้ งใชห้ น้ ี ๙๕ ๔๐. ภาคผนวก ตารางความตา่ งและเหมือนกนั ของโลกียขนั ธก์ บั โลกุตตรขนั ธ,์ อุปาทานขนั ธก์ บั ขนั ธุปาทาน, วิสุทธิขนั ธก์ บั อุปาทานขนั ธ,์ วสิ ุทธิขนั ธก์ บั ขนั ธวิมุติ, ขนั ธ์ ๕ กบั อุปาทาน- ขนั ธ์ ๕, ญาตปริญญา ตีรณปริญญาและปหานปริญญา ๑๐๑ ๔๑. บทสง่ ทา้ ย วปิ ัสสนามีอารมณอ์ ดีต อนาคตและปัจจุบนั ๑๑๐ _18-1133 ��������.indd 11 12/18/2561 BE 1:51 PM

(๑( ๑1)2 ) ธมมฺ ศพั ท์ มอี รรถมากมาย ไม่ใชส่ ิง่ ทม่ี ีจริงเทา่ นัน้ ๑. ธรรมะศพั ท์ มอี รรถ เป็ นอเนก ท่านสรรเสก กนั งายงม จมโมหา ทุกอรรถลว้ น ควรรชู้ ดั อนัตตา จงนาพา อยา่ ยึดมนั่ ใหห้ วนั่ ใจ ๒. สภาวะ ปริยตั ิ สจั จธรรม เร่งจดจา พรา่ เรียน เพียรแกไ้ ข อีกเญยยะ ญายะ ปัญญาไว บุญอาไพ ใจปกติ สมาธิธรรม ๓. ท้งั คุณะ นิสสตั ตะ วกิ าระ ปัจจยะ อาปัตติ ยงั มหิ นา ปัจจยุบบนั วสิ ยะ เหตุธรรม อยา่ ถลา คดั คา้ น จะบานปลาย ๔. แมน้ ิพพาน บญั ญตั ิ จดั เป็ นธรรม มหิ นาซ้า เป็ นอนัตตา ท่านวา่ ไว้ เชิญพิสูจน์ พดู ไมเ่ ช่ือ เบ่ือบรรยาย ในวินัย สมุฏฐานสีสะ ปริวาร ๕. อนั อิทงั สจั จา- ภินิเวสน์ เป็ นสาเหตุ ยึดเอา แลว้ กล่าวขาน น้ ีเท่าน้ัน ท่ีมจี ริง ส่ิงอ่ืนคา้ น เที่ยวทดั ทาน ราน-ลน อลเวง ๖. หากซ่ือตรง จริงใจ อยา่ งที่วา่ ...โมนาดว้ ย ช่วยแกไ้ ข ใชข่ ม่ เหง เท่ียวตาหนิ ติเตียน เบียดเบียนเอง ไมย่ าเกรง บาปกรรม จะตามทนั ๗. ควรเมตตา มองโลก ในแงด่ ี จะสุขศรี ใชช้ ีวี อยา่ งสรา้ งสรรค์ อยา่ มวั แต่ เพ่งโทษ เที่ยวโจษจนั ชีวิตสน้ั ไมก่ ี่วนั ก็พลนั ตาย ... ธรรมศพั ท์ ในปฏสิ ัมภทิ ามรรค ๑๑ อรรถ ธมฺ มศพั ท์ ในบทวา่ ธมฺ มฏฺ ติ ิ าณิน้ ี ยอ่ มปรากฏในอรรถวา่ ๑. สภาวะ ๒. ปัญญา ๓. บุญ ๔. บญั ญตั ิ ๕. อาบตั ิ ๖. ปริยตั ิ ๗. นิสสตั ตตา ๘. วกิ าร ๙. คุณ ๑๐. ปัจจยั ๑๑. ปัจจยุปบนั เป็ นตน้ . (อฏฺ . ญาณกถา ขุ. ปฏ.ิ ๖๘/๔๗) แทจ้ รงิ แลว้ ธมฺมศพั ทน์ ้ ีมีความหมายต่าง ๆ เป็ นอเนกประการเป็ นตน้ วา่ ๑. สภาวธรรม ๒. ปริยตั ิธรรม ๓. ปัญญาธรรม ๔. ญายธรรม ๕. สจั จธรรม ๖. ปกติธรรม ๗. ปุญญธรรม ๘. เญยยธรรม ๙. สมาธิธรรม ๑๐. คุณธรรม ๑๑. นิสสตั ตนิชชีวธรรม ๑๒. อาปัตติธรรม ๑๓. วกิ ารธรรม ๑๔. ปัจจยธรรม ๑๕. ปัจจยปุ ปันนธรรม ๑๖. เหตุธรรม ๑๗. วสิ ยธรรม ๑๘. บญั ญตั ิธรรม ๑๙. นิพพานธรรม (ธรรมบทมหาฎกี ามี ๑๙ อรรถ คนั ถารัมภวณั ณนา หนา้ ๖) _18-1133 ��������.indd 12 12/18/2561 BE 1:51 PM

( 13 )(๑๒) ธรรมศัพท์ ในอภิธานัปปทีปกิ า ๑๔ อรรถ ธมมฺ ศพั ท์ เป็ นไปในอรรถ ๑)สภาวะ ๒)ปรยิ ตั ิธรรม ๓)ปัญญา ๔)ความ สมควร ๕)สจั จะ ๖)ปกติ ๗)บุญ ๘)เญยยธรรม ๙)คุณธรรม ๑๐)ความประพฤติ ๑๑)สมาธิ ๑๒)นิสสตั ตนิชชีวธรรม ๑๓)อาบตั ิ ๑๔)เหตุเป็ นตน้ (คาถาที่ ๗๘๔) อนัตตา บังคบั บัญชาไมไ่ ด้ แตท่ ำได้ ๑. อนัตตา เป็ นหนึ่ง ในไตรลกั ษณ์ เพื่อประจกั ษ์ หลกั ธรรม นาวถิ ี มรรคองค์ ๘ ควรเจริญ เดินใหด้ ี อยา่ เสียที ท่ีกาเนิด เกิดเป็ นคน ๒. ทุกขสจั จดั เป็ น อนัตตา ปริญญา กาหนดรู้ บงั เกิดผล สมุทยั อนัตตา พลา่ ผจญ เป็ นตน้ หน พาวน จนส้ ินแรง แต่ทวา่ มีกิจนา ทาใหแ้ จง้ ๓. นิโรธสจั ก็จดั เป็ น อนัตตา อยา่ เคลือบแคลง บ่งชดั อนัตตา มคั คสจั ขจดั ทุกข์ สุขสาแดง ทากิจใน ส่ีอยา่ ง ต่างแต่วา่ ปหานา ครา่ ตดั สมุทยั ๔. อริยสจั ท้งั ส่ี ท่ีตรสั ไว้ นิโรธแทง- ตลอด ปลอด-นุสยั ปริญญา กาหนดรู้ ทุกขตา อนาลยั ไกลทุกข์ สุขสาราญ ใหส้ บั สน จนหลงกิจ ผิดรา้ วฉาน ๕. สจั ฉิกา- ตพั พะ ทาใหแ้ จง้ ทาใหค้ รา้ น การบุญ วา้ วุ่นใจ ภาวนา กิจเจริญ ดาเนินไป สวดตานาน มนตรา หาท่องไม่ ศรทั ธาไร้ โอนอ่อน ผ่อนเมตตา ๖. อยา่ หลงคา อนัตตา วา่ ใช่ตน มวั แต่โจษ โทษผูอ้ ื่น ดว้ ยโมหา มวั แต่กลวั อตั ตา จนรนราน อวชิ ชา จึงบงั ปิ ด สนิทใจ แมข้ องตน คนสตั ว์ ก็มิใช่ ๗. ทานไมใ่ ห้ ศีลก็ไม่ สมาทาน หาผูใ้ ด เป็ นเจา้ ของ มองไม่เจอ สมาธิ ไมอ่ บรม ขม่ จิตใจ ๘. มุง่ ปัญญา เกินเหตุ อาจเป็ นโทษ เพราะหลงคิด ผิดอรรถ อนัตตา ๙. อรรถนานา อนัตตา มิใชต่ น มิอยูใ่ น อานาจปอง ของใคร ๆ ๑๐. หาสาระ ท่ีแทจ้ ริง ก็มิได้ สูญสลาย ความจีรงั อยา่ พล้งั เผลอ เรง่ ทาบุญ บาปตอ้ งละ แน่นะเธอ อยา่ ละเมอ หลงอรรถ อนัตตา ... _18-1133 ��������.indd 13 12/18/2561 BE 1:51 PM

(๑(๓1)4 ) อนัตตามอี รรถตา่ ง ๆ (๑๑ อรรถ) อนตฺ ตตา อนัตตา ช่ือวา่ ไมใ่ ชต่ วั ตน เพราะอรรถว่า ๑. อสารกฏฺ เ น ไมม่ สี าระ ไมม่ แี ก่น ไม่มีแกน ไมม่ ีตวั ตน ไมม่ ี ผูส้ รา้ ง ไมม่ ผี ูเ้ สวย ไมม่ ีผูบ้ นั ดาล ผูค้ รอง ๒. สุญฺ โต เพราะเป็ นสภาพท่ีวา่ งเปล่าจากความเป็ นสตั ว์ บุคคล ตวั ตน เป็ นเพียงกระบวนธรรม ๓. อสฺ สามิกโต เพราะเป็ นสภาพที่ไมม่ เี จา้ ของ ไมเ่ ป็ นของใคร ปราศจากผูค้ รอบครอง เป็ นสภาวธรรม ๔. อวสวตฺ ตนโต เพราะไมเ่ ป็ นไปในอานาจ ไมอ่ ยใู่ นอานาจของ ใคร ไมข่ ้ นึ ต่อผูใ้ ด บงั คบั บญั ชาไมไ่ ด้ ๕. อนิสฺ สรโต เพราะไมเ่ ป็ นใหญ่ในตวั จะบงการใชอ้ านาจ บงั คบั ไมไ่ ด้ เป็ นไปตามเหตุปัจจยั ๖. อกามการิยโต เพราะเป็ นสภาพที่ไมอ่ าจทาไดต้ ามความอยาก คือ จะใหเ้ ป็ นไปตามความปรารถนามไิ ด้ ๗. อตฺ ตปฏิกฺเขปโต เพราะปฏิเสธอตั ตา ขดั แยง้ ต่อความเป็ นอตั ตา ไมม่ ตี วั ตนต่างหากมาแทรกซอ้ นอยู่ในกระบวน ธรรม ๘. สุทฺ ธสงฺ ขารปุญฺ ชโต เพราะเป็ นกองแห่งสงั ขารลว้ น ๆ ๙. สุทฺ ธธมฺ มปุญฺ ชโต เพราะเป็ นกองแหง่ ธรรมลว้ น ๆ ๑๐. ยถาปจฺ จยปวตฺ ตโิ ต เพราะเป็ นไปตามเหตุปัจจยั เป็ นความสมั พนั ธ์ กนั ขององคป์ ระชุมต่าง ๆ ๑๑. องฺ คสมภารโต เพราะเป็ นการประกอบกนั ข้ ึนของสว่ นยอ่ ยต่าง ๆ เกิดจากสว่ น ประกอบยอ่ ย ๆ (จากหนังสือไตรลกั ษณ์ ของสมเดจ็ พฒุ าจารย์ ปยตุ ฺโต) _18-1133 ��������.indd 14 12/18/2561 BE 1:51 PM

๑1อนัตตา บงั คับบัญชาไม่ได้ จริงหรือ ? อารัมภกถา นโม ตสสฺ ภควโต อรหโต สมมฺ าสมพฺ ุทธฺ สฺส เป็ นบุญเท่าใด ที่ไดเ้ กิดมาในกาเนิดมนุษย์ ผูม้ ีอาการ ๓๒ ครบถว้ นบริบูรณ์ ไม่พิการทางกาย ไมว่ ิปริตผิดเพ้ ยี นทางใจ. เป็ น บุญแค่ไหน ท่ีไดเ้ กิดมาในประเทศไทย อนั อุดมสมบูรณ์ไปดว้ ย ธรรมชาติ ทรพั ยากร และผูค้ นท่ีมีอธั ยาศยั ไมด่ ุรา้ ย ไมป่ ่ าเถื่อน. เป็ นบุญสกั เพยี งไร ท่ีไดเ้ กิดมาพบพระพทุ ธศาสนา ที่ยงั มิไดเ้ สื่อม สูญ จนไม่สามารถนาคาสอนมาปฏิบตั ิ ใหเ้ กิดความสุขท้งั ในชาติ ปัจจุบนั และอนาคตชาติ หรือเพอ่ื ความส้ ินชาติได.้ และเป็ นบุญ มากลน้ จนสุดใจ ท่ีไดย้ อมรบั นับถือพระรตั นตรยั วา่ เป็ นสรณะ เป็ นที่พงึ่ เป็ นที่ยดึ ถือ เป็ นคติ และเป็ นท่ีไปในเบ้ ืองหนา้ จติ ฺตกี ตํ มหคฺฆญฺจ อตุลํ ทุลลฺ ทสสฺ นํ อโนมสตฺตปรโิ ภคํ รตนํ เตน วจุ ฺจต.ิ ท่ีเรียกวา่ รตั นะ ก็เพราะเหตุวา่ ๑. ทาใหเ้ กิดความยนิ ดี ๒. เป็ นวตั ถุที่มีค่ามาก ๓. เป็ นสิ่งชงั่ ประมาณไมไ่ ด้ ๔. เป็ นของเห็น ไดย้ าก ๕. เป็ นเคร่ืองบริโภคสาหรบั ผูไ้ มต่ า่ ทราม (นิรุตตสิ ารมญั ชุสา) รตั นะ = ร + ต + น เคร่ืองปล้ ืมใจคือแกว้ อนั ประเสริฐ ร  รมุ-ยนิ ดี ทาใหผ้ ูน้ ับถือไดร้ บั ความยนิ ดีมีสุข ต  ตรฺ-ขา้ ม ทาใหข้ า้ มพน้ อบายและวฏั ฏทุกข์ น  นี-นาไป นาใหไ้ ปส่สู ุคติและพระนิพพาน _18-1133 (�����).indd 1 12/18/2561 BE 2:18 PM

๒2 อนตั ตา บงั คับบญั ชาไม่ได้ จรงิ หรอื ? ขอแสดงมุทิตาจิตต่อท่านผูอ้ ่านและตนเอง ที่ไดล้ าภอนั ไดโ้ ดย ยาก คือ ความไดเ้ กิดเป็ นมนุษย์ ไดพ้ บพระพุทธศาสนา ไดฟ้ ัง พระสทั ธรรม เหลือก็เพียงแตก่ ารปฏิบตั ิธรรม ใหส้ มควรแกธ่ รรม อนั จะเป็ นเหตุที่ทาใหบ้ รรลุเป็ นพระโสดาบนั พระสกทาคามี พระ อนาคามี พระอรหนั ต์ เรียกวา่ โสตาปัตตยิ งั คะ (สกทาคามิยงั คะ อนาคามิยงั คะ อรหตั ตยงั คะ) มี ๔ ประการ คือ ๑. สปั ปุรสิ ูปสงั เสวะ การเสพคบสตั บุรุษ ๒. สทั ธมั มสั สวนะ การฟังพระสทั ธรรม ๓. โยนิโสมนสกิ าร การกระทาไวใ้ นใจโดยแยบคาย ๔. ธมั มานุธมั มปฏิปัตติ การปฏิบตั ิธรรมสมควรแก่ธรรม ขอ้ ๑.สปั ปุริสูปสงั เสวะ และขอ้ ๒.สทั ธมั มสั สวนะ เป็ นปัจจยั เก้ ือกูลตอ่ สุตมยปัญญา ขอ้ ๓. โยนิโสมนสิการ การใครค่ รวญ มนสิการ คิดพิจารณาตามที่ไดฟ้ ังธรรมมาจากสตั บุรุษ สงเคราะห์ เป็ นจินตามยปัญญา เพื่อตอ่ ยอดพฒั นาใหเ้ ป็ นขอ้ ที่ ๔ อนั เป็ น ภาวนามยปัญญา ขอ้ ๔. ธมั มานุธมั มปฏิปัตติ การปฏิบตั ิโลกีย- ไตรสิกขา เพอื่ ใหส้ มควรแกโ่ ลกุตตรธรรม ๙ กิจฺโฉ มนุสฺสปฏลิ าโภ กิจฉฺ ํ มจจฺ าน ชีวติ ํ กิจฉฺ ํ สทฺธมฺมสฺสวนํ กจิ โฺ ฉ พทุ ธฺ านมุปปฺ าโท. ความไดอ้ ตั ภาพเป็ นมนุษยเ์ ป็ นการยาก ชีวติ ของสตั วท์ ้งั หลาย เป็ นอยยู่ าก การฟังพระสทั ธรรมเป็ นของยาก การอุบตั ิข้ นึ แหง่ พระพุทธเจา้ ท้งั หลายเป็ นการยาก (ขุ. ธ.) _18-1133 (�����).indd 2 12/18/2561 BE 2:18 PM

๓3อนัตตา บงั คบั บัญชาไมไ่ ด้ จรงิ หรือ ? ธรรมบรรยายบางสว่ น ปใี หม่ พ.ศ. ๒๕๖๑ ทาน ศีล ไม่ใชภ่ าวนา แตพ่ ฒั นาเปน็ ภาวนาได้ ภาวนาคืออะไร ? การใหท้ าน เรียกวา่ เป็ นภาวนาหรือยงั ? ... หลกั ปฏิบตั ิ ๓ ระดบั ก็คือ ทาน ศีล ภาวนา. การใหท้ าน เท่าน้ันยงั ไม่เป็ นภาวนา การรกั ษาศีล ยงั ไม่เป็ นภาวนา แต่ถา้ เมื่อไร กระทาทานน้ันใหพ้ ฒั นามากข้ นึ เอามาระลึก เอามาตรึก เอามามนสิการ เอามาใส่ใจ เอามาทาใหเ้ หน็ ประโยชน์ของทาน มากๆ การหวนระลึก หรือวา่ นอ้ มราลึกบ่อย ๆ ในเรื่องของทาน ท่ีเราไดท้ าไวแ้ ลว้ นัน่ แหละ เป็ นภาวนาแลว้ เรียกวา่ จาคานุสสติ ศีลท่ีต้งั ใจสมาทานรกั ษา งดเวน้ เป็ นศีลเท่าน้ัน ไม่ไดเ้ ป็ น ภาวนา แตเ่ มื่อไร นามาตรึกมาตรอง จะยนื เดิน นัง่ หรือนอน ก็ตรึกตรองเรื่องศีลท่ีตนรกั ษา สมาทาน นามามนสิการ อะไรคือ ศีล ? มีลกั ษณะอยา่ งไร ? มีกิจอยา่ งไร ? มีอะไรเป็ นเหตุใกล้ ? ผลปรากฏเป็ นเชน่ ไร ? อานิสงสข์ องศีลเป็ นอยา่ งไร ? โทษของ การลว่ งศีลเป็ นอยา่ งไร ? เป็ นท่ีรกั ใคร่ของพระอริยเจา้ อยา่ งไร ? นามาใส่ใจ มนสิการเรื่อยๆ บ่อยๆ อยา่ งน้ ี เรียกวา่ สลี านุสสติ เป็ นภาวนาแลว้ (จาคา-สีลานุสสติ เป็ น ๒ ในสมถกรรมฐาน ๔๐) การท่ีเราจะพฒั นาในเรื่องทาน ในเรื่องศีลใหเ้ ป็ นภาวนาไดน้ ้ ี ตอ้ งมีสุตมยปัญญาพอสมควร ถา้ ไม่ฟังธรรมะ ไม่ศึกษาใหม้ าก ดว้ ยเป้าหมายที่ถูกตอ้ ง ก็จะไม่มีการพฒั นา เพราะฉะน้ัน การฟัง พระธรรมจึงเป็ นเบ้ ืองตน้ ของการพฒั นา หรือการภาวนานัน่ เอง _18-1133 (�����).indd 3 12/18/2561 BE 2:18 PM

๔4 อนัตตา บังคับบญั ชาไม่ได้ จริงหรอื ? ภาวนาคือพฒั นา ภาวนา แปลวา่ เจริญ อบรม ทาสิ่งไมม่ ี ใหม้ ีข้ นึ ส่ิงใดมีแลว้ ทาใหด้ ารงอยู่ ต้งั มนั่ แลว้ ก็กา้ วหนา้ ต่อไป เพราะฉะน้ัน การฟังธรรมะจดั วา่ เป็ นกุศลขน้ั ภาวนา ภาวนาแลว้ ตอ้ งรมู้ ากกวา่ เดิม ถา้ รเู้ ท่าเดิม เป็ นฐิติภาคิยะ พระพทุ ธเจา้ ไม่ ทรงสรรเสริญ ไม่ตอ้ งพดู ถึงหานภาคิยะ ก็คือ ยงิ่ ฟังยงิ่ จาไมไ่ ด้ เพราะไม่ต้งั ใจจดจา หานภาคิยกุศล แปลวา่ กุศลที่เป็ นไปฝักฝ่ าย แหง่ ทางเสื่อม เน่ืองจากขาดความเพียร ขาดกลั ยาณมิตร แลว้ ก็ ไม่ทาใหต้ ิดตอ่ จึงไม่ทาใหเ้ จริญ ไม่พฒั นา แต่ถา้ ฟังแลว้ อนั ไหน สาคญั ขยนั จด จดแลว้ ยงั ไมเ่ ขา้ ใจ ก็ตอ้ งซกั ถาม หากลั ยาณมิตร สนทนา ใครค่ รวญ นามาพจิ ารณามากข้ นึ ๆ อยา่ งน้ ีจึงทาใหเ้ ป็ น ภาวนา เราก็จะมีความรู้ ความเขา้ ใจเพิ่มข้ ึน เป็ นวิเสสภาคิยะ เพราะฉะน้ัน เราก็ควรสารวจตนเอง ปี เกา่ กาลงั จะหมดไป ปี ใหมก่ ็กาลงั จะกา้ วเขา้ มาแลว้ เรามีการพฒั นา มีภาวนามากนอ้ ย แคไ่ หน ? ถา้ มีการอบรม มีการศึกษาธรรมะและเขา้ ใจดี มีการ พฒั นา ตอ้ งสามารถลดละกิเลสไดบ้ า้ ง นอกจากจะรมู้ ากข้ นึ แลว้ กิเลสตอ้ งลดลงดว้ ย ถา้ ทรงพระไตรปิ ฎก แต่วา่ รกั ษาศีลไมค่ อ่ ย ได้ อยา่ งน้ ีแสดงวา่ ไมไ่ ดภ้ าวนา ถา้ มีสุตมยปัญญาดี หมายถึงวา่ ฟังธรรมะแลว้ เขา้ ใจถูกตอ้ งแลว้ จะรูเ้ ลยวา่ ศีลน้ันเป็ นบาทฐาน ของสมาธิ คนมีกาย วาจาสงบแลว้ ตามสูตรท่านวา่ วินยั เป็ น เหตแุ ห่งสงั วร ดว้ ยปาติโมกขสงั วร อินทริยสงั วร อาชวี ปาริสุทธิ ปัจจยสนั นิสิตศีล จตุปาริสุทธิศีล ๔ อยา่ งน้ ี เรียกวา่ สงั วร สงั วรเป็ นเหตใุ หเ้ กิดอวิปฏิสาร ไม่เดือดรอ้ นใจ อวิปฏิสาร เป็ นเหตขุ องปราโมทยค์ ือปี ติอยา่ งอ่อน ปราโมทยเ์ ป็ นปัจจยั แก่ _18-1133 (�����).indd 4 12/18/2561 BE 2:18 PM

๕5อนตั ตา บงั คับบญั ชาไมไ่ ด้ จรงิ หรอื ? ปี ตทิ ี่มีกาลงั ปี ตเิ ป็ นปัจจยั แก่ปัสสทั ธิ ความสงบกายใจ ปัสสทั ธิ เป็ นปัจจยั แก่ความสุข สุขก็จะเป็ นปัจจยั แก่สมาธิ สมาธิก็จะ เป็ นปัจจยั แก่วิปัสสนา มรรค ผล ... (ประโยชนแ์ หง่ วินยั เปน็ ต้น วิ. ปรวิ าร, กิมัตถยิ สูตร องฺ. ทสก., เอกาทสก.) เพราะฉะน้ัน ถา้ ศีลไมด่ ีจะทาใหเ้ กิดปราโมทยป์ ี ติไดไ้ หม ? ... ยอ่ มไม่ได้ เม่ือไมม่ ีปี ติปราโมทย์ ยอ่ มจะเจริญสมถวปิ ัสสนาไมไ่ ด้ นอกจากจะเขา้ ใจผิด จะภาวนาไดต้ อ้ งฟังธรรมะ ศึกษาคน้ ควา้ ธรรมะใหเ้ ขา้ ใจกอ่ น ถา้ ยงั ไม่เขา้ ใจ แลว้ ก็คิดแตว่ า่ เราภาวนาไปกอ่ น โดยที่ศีลไม่ บริสุทธ์ิ ก็ไมเ่ ป็ นไร เด๋ียวภาวนาไดผ้ ลแลว้ ศีลจะบริสุทธ์ิเอง อยา่ งน้ ี ไม่ใชค่ าสอนของพระพุทธเจา้ ตอ้ งมีสุตมยปัญญาก่อน สีลมยปัญญาจึงจะตามมา ทาใหร้ วู้ า่ การลว่ งศีลเป็ นอาณาวีตกิ - มนั ตราย เป็ นอนั ตรายตอ่ การบรรลุธรรมและสุคติภมู ิ สาหรบั พระภิกษุ การลว่ งศีลคือตอ้ งอาบตั ิแลว้ ไม่แสดงคืน จะเป็ นเครื่อง ก้นั ของการบรรลุฌาน มรรคผล แมค้ ฤหสั ถ์ ถา้ ลว่ งศีลอยเู่ สมอ แลว้ ไมส่ มาทาน ต้งั ใจวา่ จะของดเวน้ ไม่ลว่ งศีลเชน่ น้ันอีก ก็เป็ น เครื่องก้นั ต่อการเจริญภาวนาเชน่ กนั ฉะน้ัน ผูท้ ี่ปฏิบตั ิภาวนาโดย ที่ศีลยงั บกพรอ่ งอยู่ ก็แสดงวา่ เขายงั ไมไ่ ดศ้ ึกษาอะไรมา หรือ ศึกษาไมด่ ี ทาใหเ้ ขา้ ใจผิด เพราะฉะน้ัน ก็เป็ นเคร่ืองตดั สินไดเ้ ลย ถา้ มีผูบ้ อกวา่ เขาได้ ฌาน เขาเป็ นพระอริยบุคคล แต่วา่ เขายงั ผิดศีลอยู่ ยอ่ มไม่ใช่ ฐานะที่จะมีได้ ยงั ไมน่ ่าเช่อื ถือ ซึ่งการมีศีลหรือทุศีลน้ัน คนทวั่ ๆ ไปรไู้ ดย้ าก แต่วา่ ข้นั หยาบที่สุดที่เหน็ ไดง้ า่ ยๆ ก็คือ ถา้ เป็ น _18-1133 (�����).indd 5 12/18/2561 BE 2:18 PM

๖6 อนัตตา บงั คับบญั ชาไม่ได้ จริงหรอื ? พระภิกษุ มีความสารวมในปาติโมกขสงั วรศีลหรือไม่ ? มีความ ต้งั ใจ จงใจล่วงละเมิดสิกขาบทบางขอ้ หรือไม่ ? ถา้ เป็ นคฤหสั ถ์ ยงั ด่ืมสุรา ผิดลกู ผิดเมียผูอ้ ื่นอยหู่ รือเปลา่ ? เป็ นตน้ เร่ืองอ่ืนไมม่ ี ทางรู้ ถา้ ไมไ่ ดศ้ ึกษาพระวินัยอยา่ งละเอียด เพราะวา่ ใครมีศีล หรือไม่มีศีล จะพงึ รูไ้ ดก้ ็ตอ่ เม่ือไดอ้ ยรู่ ว่ มกนั ตอ้ งใชเ้ วลาพอสมควร และคนมีปัญญาเท่าน้ัน จึงจะรูไ้ ดว้ า่ ใครมีศีลหรือใครไม่มีศีล ... ทุกวนั น้ ี ท้งั คฤหสั ถแ์ ละบรรพชติ ส่วนใหญจ่ ะคลอ้ ยไปตาม สงั คมชาวโลก ถือเอาความสะดวกสบายเป็ นเกณฑ์ ไมไ่ ดย้ ดึ หลกั คาสอนเป็ นสาคญั แต่ถือการพฒั นาวตั ถุ และคุณภาพของชีวิตท่ี พรงั่ พรอ้ มดว้ ยกามสุขเป็ นหลกั คาสอนในหลายส่วนจงึ ถูกละเลย และดดั แปลง หากเทียบคาสอนและหลกั ปฏิบตั ิ ตามสานักต่างๆ กบั พระไตรปิ ฎก อฏั ฐกถา และฎีกา ก็จะทราบไดว้ า่ มีการ ปรบั ปรุง เปลี่ยนแปลงไปหลากหลายรปู แบบ หลกั คาสอนของพระพุทธเจา้ น้ ีเป็ นสจั ธรรม ไม่วา่ ยุคสมยั ไหน ก็จะเป็ นไปตามปกติธรรมดาเชน่ น้ ี เป็ นความจริง เพราะฉะน้ัน ถา้ ศีลไม่ดี ภาวนาก็ไม่เจริญ มีแต่ความเขา้ ใจผิด เป็ นมิจฉา ปฏิบตั ิ มิจฉาสมาธิก็มีดว้ ย นัง่ สมาธิไปก็เหน็ โน่น เห็นนี่ ไปเหน็ นรกสวรรคก์ ็มี เห็นอะไรมากมายไปหมด ก็ใหร้ วู้ า่ ไม่ถูกตอ้ งแลว้ ถา้ เจรญิ สมั มาสมาธิแลว้ ตอ้ งไม่เห็นอะไรอยา่ งอ่ืน นอกจาก อารมณก์ รรมฐานเท่าน้ัน ถา้ เจรญิ วิปัสสนาจะไม่เหน็ อะไรอยา่ งอื่น นอกจากสภาวะนามรูป และความไม่เที่ยง เป็ นทุกข์ เป็ นอนัตตา เท่าน้ัน ถา้ เห็นอะไรอยา่ งอื่นนอกจากน้ ี ตอ้ งท้ ิงไป ตอ้ งกลบั มาที่ อารมณก์ รรมฐาน มิฉะน้ันแลว้ ก็มีโอกาสหลงทางไดง้ ่าย _18-1133 (�����).indd 6 12/18/2561 BE 2:18 PM

๗7อนตั ตา บังคบั บญั ชาไมไ่ ด้ จรงิ หรือ ? เพราะฉะน้ัน สุตมยปัญญาจงึ เป็ นสิ่งสาคญั มากๆ ซ่ึงก็น่า พจิ ารณา เพราะวา่ ในยุคน้ ี เราไดพ้ บพระอรหนั ตส์ กั องคห์ น่ึง หรือยงั ? ไดพ้ บพระอริยเจา้ สกั องคห์ นึ่งไหม ? เราจะเชอ่ื ได้ อยา่ งไรวา่ ท่านที่สอนปฏิบตั ิน้ ี สอนถูกตอ้ งท้งั หมด โดยเฉพาะ ถา้ ไมไ่ ดม้ ีหลกั ฐานอา้ งอิงจากพระไตรปิ ฎก อฏั ฐกถา พรอ้ มท้งั เหตุผลที่สมกนั เราจะเช่อื ถือไดอ้ ยา่ งไรวา่ ท่านสอนถูกตอ้ ง ส่วน ใหญก่ ็จะเช่ือใจตวั เราเอง เชือ่ วา่ เราเลือกทางไม่ผิด เลือกอาจารย์ ไม่พลาด แตใ่ จเรา เชอื่ ไดไ้ หม ? ... เพราะฉะน้ัน จงึ จะตอ้ งมีหลกั คาสอนเป็ นเคร่ืองเทียบเคียง พระพทุ ธเจา้ มอบพระธรรมวินัยไวใ้ ห้ เป็ นศาสดาแทน แตท่ ุกวนั น้ ี ชาวพุทธไมช่ อบศึกษาพระธรรมวนิ ัย ใหล้ ะเอียด เขา้ ใจวา่ เสียเวลา สฟู้ ังธรรมยอ่ ๆ จากครอู าจารย์ แลว้ ปฏิบตั ิเลยดีกวา่ ถา้ จะใหแ้ ต่ละคน ตา่ งคนต่างแยกยา้ ยกนั ไปอ่าน พระไตรปิ ฎกเองที่บา้ น จะมีคนอา่ นกนั ไหม ? อ่าน แตไ่ ม่รเู้ ร่ืองอีก เหน็ ไหมวา่ มนั ยาก ฉะน้ัน จึงตอ้ งพงึ่ ตวั เองใหม้ าก โดยที่เรา ตอ้ งมีความเพยี ร ตอ้ งคน้ ควา้ พิจารณา เทียบเคียง ไม่เชื่อง่าย แต่ยงั ไม่ตอ้ งคดั คา้ น ตามที่ทรงแสดงไวใ้ นกาลามสตู ร (องฺ. ติก.) แลว้ ก็เป็ นสิ่งไม่ใชง่ ่าย ตอ้ งเพียรในการคน้ ควา้ ในการอ่าน การฟัง และอยา่ เชื่อง่ายเด็ดขาด เพราะถา้ เช่อื ง่ายแลว้ จะตกเป็ นทาสทาง ความคิดของบุคคล ... ยอมเป็ นทาสของพระพทุ ธเจา้ หรือเปล่า ? ถา้ เป็ นทาสของพระพทุ ธเจา้ มอบกายถวายชีวติ ใหพ้ ระองคไ์ ปเลย มีแตเ่ จริญ ไม่มีเสื่อม ทา้ ใหพ้ สิ จู น์ ... ! หลกั คาสอนในพระไตรปิ ฎกตอ้ งไมข่ ดั กนั แลว้ ก็ตอ้ งมีเหตุผล เพียงแตเ่ หมือนกบั วา่ เราตวั เต้ ีย แลว้ มีผลไมห้ วานมาก แต่มนั อยู่ _18-1133 (�����).indd 7 12/18/2561 BE 2:18 PM

๘8 อนัตตา บังคับบญั ชาไม่ได้ จรงิ หรอื ? บนตน้ ไมส้ งู ทาอยา่ งไร เราจงึ จะไดม้ นั มา เราก็ตอ้ งพยายามหา บนั ได หาโตะ๊ หาเกา้ อ้ ี หาอะไรมาต้งั ใหม้ นั สูงข้ นึ ใชไ่ หม เพอื่ ตนเองจะไดข้ ้ นึ ไปยนื เก็บผลไมไ้ ด้ เป็ นการพฒั นาตวั เอง ไมใ่ ชไ่ ป เหน่ียวก่ิง เหน่ียวกา้ น ไปตดั ตน้ เลย อนั น้ ีก็ไม่ใชส่ ิ่งท่ีถูกตอ้ ง เพราะฉะน้ัน การที่จะเขา้ ใจคาสอนในพระไตรปิ ฎก ก็ตอ้ งมีท้งั ศรทั ธาและมีท้งั ปัญญา โดยที่ตอ้ งคอยเชค็ ตวั เองอยเู่ สมอวา่ เรารู้ มากข้ นึ หรือเปลา่ ? เราลดละกิเลส โดยเฉพาะโมหะ ความไม่รู้ ไดม้ ากข้ นึ ไหม ? ถา้ เรารมู้ ากข้ นึ สามารถควบคุมจิตใจ ควบคุม กิเลสอกุศลไดด้ ว้ ย อนั น้ ีแสดงวา่ เราเริ่มพฒั นาแลว้ แต่ก็มีหลาย ขน้ั ตอนมากๆ เลยที่จะตอ้ งพฒั นา จนกวา่ จะส้ ินกิเลสโดยแทจ้ ริง ปี ใหม่น้ ี ปรารภธรรมเก่ียวกบั เรื่องไตรลกั ษณ์ ไตรลกั ษณอ์ ยู่ ท่ีไหน ? ... อยทู่ ี่ตวั เราน่ีแหละ รอบๆ ตวั เราก็มีแต่ไตรลกั ษณ์ ท้งั น้ัน วนั ๆ หน่ึง เราเหน็ หรือคิดถึงไตรลกั ษณบ์ า้ งไหม ? ท่าน บอกวา่ ไมม่ ีตวั ตน แลว้ ที่มานัง่ อยนู่ ี่ ใคร ? บอกวา่ ไมม่ ีตวั ตน ถา้ เขามาเอากระเป๋ าของเราไป จะเป็ นอยา่ งไร ? กระเป๋ าน้ันเป็ น อนัตตา ไม่ใชข่ องเรา จะยอมใหไ้ หม ? ... ไม่ยอม เพราะฉะน้ัน จะตอ้ งเขา้ ใจความจริง เร่ืองการปฏิบตั ิธรรม เรื่องของไตรลกั ษณ์ กบั เรื่องของสมมุติบญั ญตั ิ ถา้ สบั สน จะกล่าวคาสอนเป็ นปฏิปักษ์ หรือเป็ นการทาลายคาสอนของพระพุทธเจา้ เชน่ มีผูก้ ล่าวสอนวา่ เพราะไม่เขา้ ใจธรรม จงึ สอนใหท้ าสมาธิ ลมื ไปว่า ธรรมะเป็ น อนตั ตา บงั คบั บญั ชาไม่ได้ ทาไม่ได้ เหน็ ขณะน้ ี ใครทา เกิดข้ นึ เองตามเหตปุ ัจจยั สอนใหท้ าเห็น (จกั ขวุ ญิ ญาณ) ก็ผิด สมาธเิ ป็ นธรรมะ สอนใหท้ าสมาธิ ก็ผิด ... _18-1133 (�����).indd 8 12/18/2561 BE 2:18 PM

๙9อนัตตา บังคับบัญชาไมไ่ ด้ จริงหรือ ? คาสอนอยา่ งน้ ี ถูกไหม ? ... ไมถ่ ูกตอ้ ง ธรรมะเป็ นอนัตตา ถูกไหม ? ... บงั คบั บญั ชาไมไ่ ด้ ถูกหรือเปล่า ? ... แลว้ แตเ่ หตุปัจจยั เพราะฉะน้ัน ถา้ ใครต้งั ใจทา ก็แสดงวา่ ไมย่ อมใหเ้ ป็ นไปตามปัจจยั ... ใชห่ รือเปล่า ? ... ผิดกนั ไปไกลจากท่ีพระพทุ ธเจา้ สอนมากเลย ถา้ ผูฟ้ ังไมไ่ ดส้ ะสมสมั มาทิฏฐิมามากพอ หรือวา่ ไม่ไดศ้ ึกษาพระ ธรรมมาอยา่ งดี เม่ือไปฟังคาสอนเชน่ น้ ีแลว้ ก็จะเหน็ ดว้ ย เป็ น ความจริงนี่ ธรรมท้งั หลายบงั คบั บญั ชาไม่ได้ ... คลอ้ ยตามไปเลย ขอ้ ความท่ีผูก้ ล่าวดว้ ยความเห็นเชน่ น้ ี เหมือนกบั จะเขา้ ใจวา่ เมื่อธรรมะเป็ นอนัตตา บงั คบั บญั ชาไมไ่ ด้ จึงไม่ควรฝืนทาสิ่งที่ไม่ เป็ นธรรมชาติ ไม่เป็ นปกติธรรมดา เชน่ การทาสมาธิ แมแ้ ต่ การสมาทานศีล ๕ หรืออุโบสถศีล การสวดมนตแ์ ลว้ อธิษฐาน ต้งั เป้าหมายเพ่ือบรรลุมรรค ผล นิพพาน หรือความต้งั ใจพากเพียร เจริญวปิ ัสสนา ฯลฯ โดยไปเปรียบเทียบกบั การเห็นคือจกั ขุวิญญาณ เป็ นตน้ ซึ่งเป็ นวบิ ากจิต เป็ นผลของกรรม (แมก้ รรมเป็ นตวั จดั สรร ก็จริง แต่ถา้ เห็นแลว้ จิตจะเป็ นอกุศล พระพทุ ธเจา้ สอนใหม้ ี อินทริยสงั วร ไม่ใหม้ อง ไมใ่ หด้ ู บญั ญตั ิสิกขาบทสาหรบั พระภิกษุ และแมผ้ ูส้ มาทานอุโบสถศีล ไม่ใหด้ หู นัง ฟังเพลงอนั เป็ นการเลน่ ท่ีเป็ นขา้ ศึกแกพ่ รหมจรรย์ รวมท้งั การประดบั ตกแต่งรา่ งกาย ปรบั อาบตั ิ คือ โทษไวด้ ว้ ย ... น้ ีเป็ นการหา้ มจิตเห็นในสิ่งที่ไม่มี ประโยชน์ แต่ทาใหเ้ กิดโทษ เรียกวา่ สาตถกสมั ปชญั ญะ มีปัญญา ในอนั ท่ีจะพิจารณาถึงส่ิงท่ีเป็ นประโยชน์ และไม่เป็ นประโยชน์ ซึ่ง เป็ นขน้ั แรกของสมั ปชญั ญะ ๔ ในฐานะ ๗ อนั เป็ นการปฏิบตั ิ ...) _18-1133 (�����).indd 9 12/18/2561 BE 2:18 PM

๑๐10 อนัตตา บังคบั บัญชาไมไ่ ด้ จรงิ หรือ ? แต่การทาสมาธิในพระพุทธศาสนา ดว้ ยความเขา้ ใจถูกตอ้ ง เป็ นกุศลท่ีพระพุทธเจา้ ทุกพระองคท์ รงสรรเสริญ เป็ นอธิจิตตสิกขา เป็ นสมถภาวนาท่ีควรเจริญ เป็ นส่วนของไตรสิกขา เพอื่ ความ บริบูรณแ์ หง่ อริยมรรคมีองค์ ๘ อนั เป็ นทางดาเนินเพอ่ื ความเป็ น พระอริยบุคคล เพ่ือความพน้ จากทุกขท์ ้งั ปวง ... อนัตตา บงั คับบัญชาไม่ได้ จริงหรอื ? ตอ่ จากน้ ีไป จะมาปรารภเร่ืองไตรลกั ษณว์ า่ อนัตตา บงั คบั บญั ชาไม่ได้ ทาอะไรไม่ไดจ้ ริงหรือเปล่า ? หรือวา่ จะตอ้ งทา อนัตตาบงั คบั บญั ชาไมไ่ ด้ แต่พระพทุ ธเจา้ สอนวา่ ตอ้ งทาหรือไม่ ตอ้ งทา ปลอ่ ยใหเ้ ป็ นไปตามเหตุปัจจยั หรือตอ้ งทาอะไรบา้ ง ? คาสอนท่ีบอกวา่ ปลอ่ ยใหเ้ ป็ นไปตามเหตุปัจจยั น้ ีไม่ไดม้ ีอยู่ ในพระไตรปิ ฎก อฏั ฐกถาเลย ไม่มีเลย แต่ท่านแสดงไวอ้ ยา่ งน้ ีวา่ ธรรมะท้งั หลายเป็ นไปตามเหตปุ ัจจยั แตไ่ ม่ไดบ้ อกวา่ บงั คบั ไม่ได้ หรือวา่ ทาอะไรไม่ได้ คาวา่ บงั คบั บญั ชาไม่ได้ ใชอ้ ธิบาย คาวา่ อนัตตา ไมใ่ ชข่ อ้ ปฏิบตั ิ ไม่ใชใ่ หเ้ ราเอามาปฏิบตั ิ ไม่ใชว่ า่ แลว้ แตเ่ หตุปัจจยั ตอ้ งไม่ต้งั ใจ และทาอะไรไมไ่ ด้ มีแตว่ า่ ตอ้ งทา ถา้ คุณไม่ทา คุณจะตอ้ งมีโทษ อาจจะพน้ จากภาวะภิกษุก็ได้ เชน่ ถา้ พระภิกษุไมร่ กั ษาพระวนิ ัย ไปจบั ตอ้ งกายหญิง ไปเสพเมถุน ... จะเป็ นอยา่ งไร ? ถา้ บงั คบั บญั ชาไมไ่ ด้ ปลอ่ ยไปตามเหตุปัจจยั ราคะเกิด อยากทาอะไรก็แลว้ แตเ่ หตุปัจจยั มีหวงั พระศาสนา เส่ือมไปนานแลว้ ผูค้ ิดเชน่ น้ ี ทาเชน่ น้ ี ก็ตอ้ งตกอบายภูมิแน่นอน เพราะฉะน้ัน ตอ้ งเขา้ ใจคาวา่ อนตั ตา น้ ีใหด้ ี พระวนิ ัยน้ ี ตอ้ งต้งั ใจทา ตอ้ งต้งั ใจรกั ษา ถา้ ไม่รกั ษา พระคุณเจา้ จะพน้ จาก _18-1133 (�����).indd 10 12/18/2561 BE 2:18 PM

๑๑อนตั ตา บังคบั บญั ชาไมไ่ ด้ จรงิ หรอื ? 11 ความเป็ นพระภิกษุไป หรือวา่ จะตอ้ งไปตกนรกหมกไหม้ ไปเกิด ในอบายภูมิ เพราะฉะน้ัน คาวา่ อนตั ตา บงั คบั บญั ชาไมไ่ ดน้ ้ ี ใชก้ บั วปิ ัสสนา เพือ่ อธิบายสภาวธรรมเท่าน้ัน ไมค่ วรใชค้ าพดู น้ ี พรา่ เพรื่อ จะทาใหค้ นฟังหลง เขา้ ใจผิด วปิ ริตผิดเพ้ ยี นไปได้ ... เป็ นลกู ตอ้ งกตญั ญูต่อพอ่ แม่ ถูกไหม ? ... แตอ่ าจารยบ์ อกวา่ ธรรมะเป็ นอนัตตา ตา่ งคนตา่ งอยกู่ ็แลว้ กนั พอ่ แมก่ ็อยสู่ ่วนพอ่ แม่ ลกู อยากจะทาอะไรก็แลว้ แตเ่ หตุปัจจยั อยา่ งน้ ีไดไ้ หม ? ... ถา้ เกิด เขา้ ใจผิด มนั จะสวนทางกบั ทางโลกหมดเลย ไปทางานก็ทาแบบ เชา้ ชามเยน็ ชาม เจา้ นายมาตาหนิ ทาไมยงั ไม่ทา ? ทาไมยงั ไม่ เสร็จ ? ลกู นอ้ งบอกเจา้ นายวา่ มนั เป็ นไปตามเหตุปัจจยั ธรรมะ เป็ นอนัตตา บงั คบั บญั ชาไมไ่ ด้ ... เหน็ ไหมวา่ มนั ขดั กบั การดาเนิน ชีวติ ตามหนา้ ท่ีท่ีตอ้ งทา ขดั กบั ทางโลก เพราะฉะน้ัน คนท่ีเขา้ ใจ อนัตตาแบบน้ ี จะดารงชีวติ อยเู่ ป็ นสุขไมไ่ ด้ จะยุง่ ยากมากในโลกน้ ี อนัตตา บังคับไม่ได้ ทรัพยส์ ินจงึ เสียหายสูญสิ้น มีตวั อยา่ งเป็ นอุทาหรณ์ สะทอ้ นชีวติ จริง ของผูท้ ี่เขา้ ใจวา่ ธรรมะท้งั หลายท้งั ปวงเป็ นอนัตตา บงั คบั บญั ชาไม่ได้ จะเลา่ ใหฟ้ ัง มีชายผูห้ นึ่ง ไดศ้ ึกษาธรรมะ และไดร้ บั คาสอนเกี่ยวกบั เรื่อง อนัตตาที่บงั คบั บญั ชาไมไ่ ด้ พอ่ แม่ท้ ิงทรพั ยส์ ินสมบตั ิไวใ้ หห้ ลายสิบ ลา้ นบาท แลว้ ก็จากไปตามยถากรรม เขานาเงินไปลงทุนทาธุรกิจ ทาไปทามาก็เสียหาย ขาดทุน ภรรยาก็บอกสามีผูน้ ้ ีวา่ ทาไมจึง เป็ นเชน่ น้ ี ? มนั ตอ้ งปรบั ปรุงแกไ้ ขนะ สามีบอกวา่ ก็ธรรมะเป็ น อนัตตา จะทาอยา่ งไรได้ แลว้ แตเ่ หตุปัจจยั ถา้ บงั คบั บญั ชาได้ _18-1133 (�����).indd 11 12/18/2561 BE 2:18 PM

๑๒12 อนัตตา บังคับบญั ชาไม่ได้ จรงิ หรือ ? คงไมเ่ สียหายอยา่ งน้ ี ภรรยาก็พดู อะไรไม่ออก เพราะนับถือและ ฟังคาสอนจากอาจารยค์ นเดียวกนั เช่อื ถือเหมือนกนั ไปลงทุนคร้งั ท่ี ๒ ก็เสียหาย ขาดทุนอีก ภรรยาก็บ่น สามี ก็แยง้ ข้ นึ มาวา่ ธรรมะเป็ นอนัตตา จะใหท้ าอยา่ งไร ? ถา้ ทาได้ มนั ก็กลายเป็ นอตั ตาน่ะสิ ... ในท่ีสุด สามีภรรยาคู่น้ ี ก็หมดตวั บา้ นถูกยดึ ตอ้ งไปเชา่ บา้ นอยู่ สามีลม้ ป่ วย ผลสุดทา้ ยก็เสียชีวติ ไปตามยถากรรมของใครก็ของคนน้ันจริงๆ ภรรยาก็ยงั คงปฏิบตั ิ ตามแนวทางน้ ีอยู่ คือ ธรรมะเป็ นอนัตตา บงั คบั บญั ชาไม่ได้ ... น้ ีเป็ นเร่ืองจริง ที่น่าสลดใจวา่ ธรรมะในการครองเรือน ใน การใชช้ วี ิต ทาธุรกิจการคา้ ทุกแขนงวิชา พระพทุ ธเจา้ ทรงสอน ไวใ้ หค้ ฤหสั ถม์ ากมาย แตส่ ามีภรรยาคนู่ ้ ีไมไ่ ดน้ ามาใช้ แตก่ ลบั ไป นาธรรมะส่วนละเอียดซึ่งเป็ นเรื่องของวิปัสสนา สาหรบั ผูท้ ี่ตอ้ งการ ออกจากวฏั ฏะ มาใชก้ บั การทาธุรกิจ ผิดที่ผิดทาง จึงทาใหช้ วี ติ ลม้ เหลว ไมเ่ กิดประโยชน์สุขต่อตนเองและครอบครวั หลายคนท่ีมีความเขา้ ใจผิดในพระธรรมส่วนละเอียด ไม่อาจ นาคาสอนของพระพุทธเจา้ มาประยุกตใ์ ช้ ใหเ้ ขา้ กบั การดาเนินชวี ิต ใหเ้ ป็ นสุข ในฐานะท่ีเป็ นคฤหสั ถ์ เพราะความเขา้ ใจผิดในขอ้ ธรรม ชน้ั สงู ในความเป็ นอนัตตาน้ ี เป็ นความเหน็ ผิดท่ีมีแต่ความยดึ มนั่ ถือมนั่ สงั เกตไดจ้ าก ถา้ ใครมีความเหน็ อ่ืนที่ไมเ่ หมือนของตนเอง จะเขา้ ใจวา่ เขาเหลา่ น้ันเห็นผิดหมด กลายเป็ นปฏิปักษ์ แมค้ นท่ี เคยเป็ นเพอื่ น เป็ นสหายธรรมกนั มาก่อน ถา้ ไปฟังธรรมจากครูบา อาจารยอ์ ื่น ที่นอกจากอาจารยข์ องตน ก็จะละคลายความเป็ นมิตร ถึงกบั เลิกคบหากนั เลยก็มี บางคนถือวา่ เป็ นศตั รดู ว้ ยซ้า _18-1133 (�����).indd 12 12/18/2561 BE 2:18 PM

๑๓อนตั ตา บงั คับบัญชาไมไ่ ด้ จรงิ หรือ ? 13 แมใ้ นเรื่องศีลก็มีคาสอนที่ผิดเพ้ ยี นวา่ ต้งั แต่พระโสดาบนั ข้ นึ ไปเทา่ น้ันท่ีจะรกั ษาศีลไดบ้ ริสุทธ์ิ อาจารยบ์ างทา่ นจึงสอนลูกศิษยว์ า่ ปุถุชนผดิ ศลี บา้ งก็เป็ นเรอื่ งปกติ เพราะไม่ใชพ่ ระอริยบุคคล จึง ทาใหล้ กู ศิษยไ์ ม่ระวงั ในเรื่องศีล ไมม่ ีการต้งั ใจสมาทานศีล เพราะ ธรรมะเป็ นอนัตตา บงั คบั ไม่ได้ ถา้ จะบงั คบั ใหม้ ีศีลบริสุทธ์ิ ก็จะ ผิดปกติ กลายเป็ นอตั ตา แมจ้ ะดูหนังฟังเพลงก็เจริญสติปัฏฐานได้ ไม่มีการบงั คบั เพราะสติก็เป็ นอนัตตา จะเกิดขณะใด เม่ือไรก็ได้ ลกู ศิษยบ์ างท่านจงึ ยงั ดื่มเบียร์ ดื่มสุรากนั อยู่ เนื่องจากอาจารย์ เคยสอนวา่ แมเ้ จา้ สรกานิศากยะก็เป็ นผูช้ อบดื่มสุราและฟังธรรม ปฏิบตั ิธรรม ยงั สามารถบรรลุเป็ นพระโสดาบนั ได้ ... (ส.ํ มหา.) มีลกู ศิษยบ์ างท่านไปถามอาจารยว์ า่ ลกู ศิษยอ์ ีกคนหนึ่งชอบ ดื่มเบียร์ ทาไมอาจารยไ์ ม่หา้ ม มนั ไมด่ ี อาจารยต์ อบวา่ เขาตอ้ ง รตู้ วั ของเขาเอง ถา้ หา้ มแลว้ เขาจะฟังหรือ อยา่ ลืมวา่ ธรรมะเป็ น อนัตตา บงั คบั บญั ชาไมไ่ ด้ ถา้ บงั คบั ได้ อาจารยก์ ็คงจะหา้ มแลว้ ตกลงวา่ ธรรมเรื่องทิศ ๖ หนา้ ท่ีท่ีอาจารยพ์ งึ กระทาต่อลกู - ศิษย์ ซ่ึงพระพทุ ธเจา้ ตรสั สอนไว้ ในสงิ คาลกสูตร (ท.ี ปา.) อาจารยท์ ่านน้ ีก็คงไม่ไดศ้ ึกษา จึงไมท่ ราบวา่ จะตอ้ งปฏิบตั ิต่อ ลกู ศิษยอ์ ยา่ งไร ? ชา่ งน่าสลดใจเสียจริง ! ... เหลา่ น้ ีเป็ นบางตวั อยา่ งของหลายท่านที่เขา้ ใจวา่ ธรรมะเป็ น อนัตตา บงั คบั บญั ชาไมไ่ ด้ ชวี ิตจะลม้ เหลว ไม่มีการพฒั นาเลย สวดมนตก์ ็ไมส่ วด ไมม่ ีการสมาทานศีล ไมม่ ีการทาสมาธิ ทาบุญ ใหท้ านก็ไม่ค่อยไดท้ า เพราะถือวา่ ทาบุญกบั อาจารย์ ฟังธรรมจาก _18-1133 (�����).indd 13 12/18/2561 BE 2:18 PM

๑๔14 อนตั ตา บงั คับบญั ชาไม่ได้ จริงหรอื ? อาจารยไ์ ดบ้ ุญมากกวา่ ไม่ค่อยเคารพพระภิกษุดว้ ยซ้า เพราะ เห็นวา่ พระภิกษุส่วนใหญ่ไมค่ อ่ ยรกั ษาพระวนิ ัยกนั ... ทาใหร้ สู้ ึกวา่ ผูเ้ ขา้ ใจเชน่ น้ ี ไม่ไดเ้ หน็ แทจ้ ริงวา่ ธรรมะเป็ นอนัตตาอยา่ งท่ีกล่าว แต่ยงั มียึดมนั่ ถือมนั่ อยู่อยา่ งมากทีเดียว ในทุกวนั น้ ี พระภิกษุไมค่ ่อยรกั ษาพระวินัยกนั ก็จริง เราเหน็ กนั บา้ งไหม ? ไปดใู น YouTube สิ มีเร่ืองเป็ นขา่ วประจา ท้งั ดื่ม เหลา้ เมายา แสวงหาเรี่ยไรเงินทอง ขายยาบา้ ทาเรื่องบดั สีกบั สีกา แยง่ กนั เป็ นเจา้ อาวาส ฆ่ากนั ตายเรื่องผลประโยชน์ก็มี แต่วา่ ถา้ เราเจอพระภิกษุ เราควรจะไหวไ้ หม ? ไหวไ้ ดไ้ หม ? ... เราไหว้ นอ้ มถึงพระอริยเจา้ ได้ แต่ถา้ พระภิกษุเขา้ มาทาอาการไม่น่าเล่ือม- ใสกบั เรา มายกั ค้ ิวหลิ่วตากบั เรา เราควรไหวไ้ หม ? ... ควรถวาย ความรวู้ า่ เป็ นพระภิกษุควรมีความละอาย ไม่ควรทาผิดพระวนิ ัย ... ถึงแมว้ า่ พระทาผิดศีลอยู่ แต่เราไม่รวู้ า่ ท่านทาผิดศีล ไม่เห็นต่อ- หนา้ เรากราบไหวไ้ ด้ เราเคารพได้ แตถ่ า้ เราเหน็ ท่านทาผิดศีล ต่อหนา้ เราจะไม่แสดงความเคารพก็ได้ เป็ นการแสดงใหเ้ ห็นวา่ เราไม่สนับสนุน ไม่เคารพเอ้ ือเฟ้ ื อตอ่ ผูท้ าลายพระศาสนา ถา้ เรารกั พระพุทธศาสนา เราไมค่ วรเกรงใจบุคคล พระภิกษุ ท่านจะทาผิดศีลหรือไม่ เราก็ไม่รเู้ รื่องของท่าน แต่เวลาท่ีเราจะ ทาบุญใหท้ าน เราก็เคารพท่าน เหมือนกบั ท่านเป็ นพระอรหนั ต์ เป็ นการถวายสงั ฆทาน ไม่ใชท่ ากบั บุคคล แต่ถา้ ท่านมาทาผิดศีล ต่อหนา้ เรา เราจะไม่เคารพ เพราะเขากาลงั ทาลายพระธรรม คาสอนของพระพทุ ธเจา้ เราจะไมส่ นับสนุนคนที่มาทาลายคาสอน เราสามารถบอกท่านไดเ้ ลยวา่ ถา้ เป็ นพระภิกษุในพระพทุ ธศาสนา _18-1133 (�����).indd 14 12/18/2561 BE 2:18 PM

๑๕อนตั ตา บงั คับบัญชาไมไ่ ด้ จรงิ หรอื ? 15 จะไมท่ าอยา่ งน้ ี นี่คือ เราไมเ่ กรงใจบุคคล เราเกรงใจและเคารพ พระรตั นตรยั เคารพพระธรรมวนิ ัยที่เป็ นองคศ์ าสดา พระนางปชาบดีโคตมีกราบไหวพ้ ระภิกษุ เพราะท่านเป็ นพระ ภิกษุณี แมม้ ีพรรษาต้งั ๑๐๐ จะตอ้ งกราบไหวพ้ ระภิกษุแมท้ ี่บวช ในวนั น้ัน แต่ไมต่ อ้ งไหวส้ ามเณร ภิกษุณีไม่ไหวส้ ามเณร เพราะ สามเณรเป็ นอนุปสมั บนั ภิกษุณีเป็ นอุปสมั บนั ภิกษุณีสงู กวา่ สามเณรและหา้ มวา่ กล่าวสงั่ สอนพระภิกษุ แตถ่ ามไดว้ า่ พระคุณ- เจา้ เจา้ คะ พระเถระเขาทากนั เชน่ น้ ีไดห้ รือเปล่าเจา้ คะ ? ถามได้ ไมไ่ ดส้ อน แต่ถาม อยา่ งน้ ีไม่ผิด (ภิกษุณีสงั่ สอน ด่าวา่ พระภิกษุ ตอ้ งอาบตั ิปาจิตตีย)์ โยมก็เหมือนกนั ไม่ตอ้ งสอนตรงๆ แค่ถามวา่ พระคุณเจา้ เจา้ คะ พระภิกษุตามพระธรรมวินัย จะรบั เงินทองได้ หรือเปล่าเจา้ คะ ? ถามอยา่ งน้ ีก็ได้ เป็ นการเตือนโดยออ้ ม ... อนั น้ ี เป็ นการทาตามพระวนิ ัย ไม่ใชค่ วามเห็นของบุคคล เพราะวา่ ยุคน้ ี เหน็ กนั ชดั ๆ แลว้ คนสว่ นใหญ่ชอบกลา่ วตคู่ าสอน ของพระพทุ ธเจา้ วา่ พน้ ยุคสมยั แลว้ พระพุทธเจา้ อนุญาตใหส้ งฆ์ ร้ ือถอนสิกขาบทเล็กนอ้ ยได้ แต่ความจริงแลว้ ทาอยา่ งน้ันไม่ได้ พระอรหนั ตท์ ้งั หลาย ท่านก็ไม่ยอมที่จะร้ ือถอนพระวินัยทุกขอ้ ... เรามีหนา้ ที่อยา่ งหน่ึง พทุ ธศาสนิกชนควรจะตอ้ งเป็ นผูร้ กั ษา คาสอนและปฏิบตั ิตามคาสอนของพระพุทธเจา้ ถา้ ปรารถนาจะพน้ ทุกขจ์ ริง มีพระรตั นตรยั เป็ นที่พ่งึ จริงหรือเปลา่ ? หรือวา่ มีบุคคล เป็ นท่ีพงึ่ ถา้ เราพ่งึ บุคคล เราเหน็ แก่หนา้ บุคคล อีกหน่อยเราก็ เป็ นสาวกของบุคคลน้ันไป แต่ถา้ เราเหน็ แก่พระรตั นตรยั เราก็จะ เป็ นลกู ศิษยข์ องพระรตั นตรยั ตลอดไป จนกวา่ จะพน้ จากวฏั ฏทุกข์ _18-1133 (�����).indd 15 12/18/2561 BE 2:18 PM

๑๖16 อนัตตา บังคับบัญชาไม่ได้ จรงิ หรอื ? เพราะฉะน้ัน ก็ข้ นึ อยกู่ บั ความหนักแน่นในใจของเราวา่ เรามี ศรทั ธามนั่ คงในพระรตั นตรยั จริงหรือเปล่า ? เราเชอื่ กรรมและผล ของกรรมจริงไหม ? เราเขา้ ใจคาสอนของพระพุทธเจา้ แคไ่ หน ? ถา้ เขา้ ใจคาสอนจริง เราก็ตอ้ งกลา้ พดู ในส่ิงท่ีถูกตอ้ ง แตก่ ็ตอ้ งดู กาลเทศะเหมือนกนั พดู ไดต้ ามสถานการณแ์ ละความเหมาะสม ปี ใหมน่ ้ ี เราจะมาปรารภเรื่องของไตรลกั ษณ์ เพราะวา่ เป็ น หลกั การสาคญั อนั น้ ีเป็ นขน้ั ปริยตั ิเท่าน้ัน แต่ถา้ เราเขา้ ใจข้นั ปริยตั ิดี เราก็สามารถนาไปปฏิบตั ิได้ แตว่ า่ ถา้ เร่ิมตน้ เขา้ ใจปริยตั ิ ไม่ดี ไม่มีสุตมยปัญญาแลว้ ปฏิบตั ิก็เพ้ ยี นหมด เพราะวา่ อนิจจงั ทุกขงั อนตั ตา เป็ นเรอื่ งของทุกขสจั ไม่ใช่เรอ่ื งของมคั คสจั มคั คสจั ตอ้ งนามาปฏิบตั ิ ทุกขสจั ไม่ใชใ่ หเ้ อามาปฏิบตั ิ ทุกขสจั เอาไวก้ าหนดรู้ แต่วา่ คาสอนที่ไมม่ ีสุตมยปัญญาดีพอ จะสบั สน เขา้ ใจวา่ เป็ นอนัตตา บงั คบั บญั ชาไมไ่ ด้ ก็เลยคิดวา่ ถา้ เช่นน้ัน ก็อยา่ ไปทาอะไรเลย เพราะบงั คบั บญั ชาไม่ได้ ทาไมไ่ ด้ แลว้ แต่ เหตุปัจจยั น้ ีเป็ นการเขา้ ใจผิดเพ้ ยี นอยา่ งมากๆๆๆ ... อนตั ตา เกีย่ วขอ้ งกบั วปิ ัสสนา-ปริญญา อยา่ งไร ? สพฺเพ สงฺ ขารา อนิจฺ จา สงั ขารท้งั หลายท้งั ปวง ไมเ่ ท่ียง สพฺเพ สงฺ ขารา ทุกฺขา สงั ขารท้งั หลายท้งั ปวง เป็ นทุกข์ สพฺเพ ธมฺ มา อนตฺ ตา ธรรมท้งั หลายท้งั ปวง เป็ นอนัตตา สงั ขารท้งั หลาย (จิต ๘๙ เจตสิก ๕๒ รปู ๒๘) เวน้ พระ นิพพาน (เพราะพระนิพพาน เป็ นวสิ งั ขาร ไมม่ ีปัจจยั ปรุงแต่ง) เอาเฉพาะที่เป็ นโลกียะ (มรรคก็เป็ นสงั ขารธรรม แต่เป็ นโลกุตตระ _18-1133 (�����).indd 16 12/18/2561 BE 2:18 PM

๑๗อนตั ตา บงั คบั บัญชาไมไ่ ด้ จรงิ หรือ ? 17 ไมไ่ ดเ้ ป็ นอารมณข์ องวิปัสสนา ก็ตอ้ งเวน้ ดว้ ย) ส่วนธรรมท้งั หลาย เป็ นท้งั โลกียะและโลกุตตระ นิพพานเป็ นธรรมก็จริง แตใ่ นที่น้ ี เป็ นไปในวปิ ัสสนา พระนิพพานไม่ไดเ้ ป็ นอารมณข์ องโลกียวิปัสสนา เพื่อเบ่ือหน่าย คลายกาหนัด แตเ่ ป็ นอารมณข์ องโลกุตตรมรรค ทาใหป้ ระหานกิเลสเป็ นสมุจเฉท ในท่ีน้ ี จงึ ตอ้ งเวน้ ดว้ ย) คาสอนของพระพทุ ธเจา้ กวา้ งขวางมาก มีนัยหลากหลาย พระพุทธเจา้ แสดงธรรมกบั คนน้ ีแค่น้ ี แต่ไมใ่ ชธ่ รรมะมีความหมาย แคน่ ้ ี มีความหมายหลายหลาก เพียงแต่ทรงแสดงตามอธั ยาศยั ของบุคคล ... มาดูตวั อยา่ ง ท่ีพระพุทธเจา้ ทรงแสดงธรรมตาม อธั ยาศยั ของบุคคลผูฟ้ ัง ไมใ่ ชเ่ หวีย่ งแหเหมือนในยุคปัจจุบนั น้ ี ... เรือ่ งภกิ ษุ ๕๐๐ เจรญิ วปิ ัสสนา พระศาสดา เม่ือประทบั อยใู่ นพระเชตวนั ทรงปรารภภิกษุ ๕๐๐ รูป ตรสั พระธรรมเทศนาน้ ีวา่ สพฺเพ สงฺ ขารา เป็ นตน้ (คาวา่ ภิกษุ ความหมายหนึ่งในหลายความหมายคือ ผูเ้ ห็น ภยั ในวฏั ฏะ (สงฺสาเร ภยํ อิกขฺ ตตี ิ ภกิ ขฺ )ุ เป็ นภิกษุโดยขอ้ ปฏิบตั ิ ถา้ เป็ นภิกษุโดยเพศ ตอ้ งปลงผมและหนวด นุ่งหม่ ผา้ กาสาวะ บวชตามพระวินัย แต่ถา้ โดยขอ้ ปฏิบตั ิ ใครก็ตาม จะเป็ นมนุษย์ หรือเทวดา เป็ นบรรพชิตหรือคฤหสั ถ์ เป็ นสตรีหรือบุรุษ ถา้ เป็ น ผูอ้ บรมสติปัฏฐาน ชอ่ื วา่ เป็ นภิกษุ เพราะเห็นภยั ในวฏั ฏสงสาร) ภกิ ษุเรียนกมั มฏั ฐาน ดงั ไดส้ ดบั มา ภิกษุเหลา่ น้ัน เรียนกรรมฐานในสานักพระ ศาสดาแลว้ แมพ้ ากเพียรพยายามอยใู่ นป่ า ก็ไมบ่ รรลุพระอรหตั _18-1133 (�����).indd 17 12/18/2561 BE 2:18 PM

๑๘18 อนตั ตา บังคับบญั ชาไม่ได้ จรงิ หรือ ? จงึ คิดวา่ เราจกั เรียนกรรมฐานใหว้ ิเศษข้ นึ ดงั น้ ีแลว้ ไดไ้ ปส่สู านัก พระศาสดา. เป็ นธรรมเนียมท่ีวา่ ผูท้ ี่มุ่งปฏิบตั ิธรรม ตอ้ งเรียน กรรมฐานจากพระพทุ ธเจา้ หรือครบู าอาจารย์ จนหมดความสงสยั แลว้ หลีกเรน้ ไปปฏิบตั ิ ถา้ ปฏิบตั ิแลว้ ไมบ่ รรลุ กาหนดเวลา ๓ เดือน ตอ้ งบรรลุ ถา้ ไมบ่ รรลุก็กาหนด ๖ เดือน ถา้ ไม่บรรลุก็ กาหนด ๙ เดือน ถา้ ไมบ่ รรลุก็กลบั ไปเฝ้าพระพทุ ธเจา้ ไปขอ กรรมฐานเพ่มิ ไปขอความรูค้ วามเขา้ ใจเพ่มิ พระพุทธเจา้ จะให้ กรรมฐานเพ่มิ (ตอ้ งมีสุตมยปัญญา เรียนกรรมฐานกอ่ น แลว้ หลีก เรน้ ไปปฏิบตั ิ เม่ือไมบ่ รรลุจึงกลบั มาขอกรรมฐานเพิ่ม ไม่ไดม้ ีการ สอบอารมณเ์ หมือนในยุคปัจจุบนั น้ ี) เรียนกรรมฐานต้งั แต่เบ้ ืองตน้ ศีล สมาธิ ปัญญา จนกระทงั่ ถึงความเป็ นพระอรหนั ต์ ตอ้ งเรียน หมดแลว้ จึงไปปฏิบตั ิ ทางแหง่ ความหมดจด (วสิ ทุ ธิมรรค) พระศาสดาทรงพจิ ารณาวา่ กรรมฐานอะไรหนอแล เป็ นที่ สบายของภิกษุเหลา่ น้ ี ? จึงทรงดาริวา่ ภิกษุเหล่าน้ ี ในกาล แหง่ พระพุทธเจา้ ทรงพระนามวา่ กสั สปะ ตามประกอบแลว้ ใน อนิจจลกั ษณะ ส้ ิน ๒ หม่ืนปี ภิกษุ ๕๐๐ รูปน้ ี เป็ นเพ่ือนกนั มา เกิดในสมยั พระพุทธเจา้ กสั สปะ ชาติปัจจุบนั ก็มาเจอกนั อีก ใชเ้ วลา ๒ หมื่นปี ไดเ้ จริญ วิปัสสนาประเภทเดียวกนั นอ้ มไปทางอนิจจลกั ษณะ อยา่ คิดวา่ ท่านเจริญแต่ทางอนิจจงั อยา่ งเดียว ความเป็ นจริง ภิกษุเหลา่ น้ ี เจริญอนิจจลกั ษณะเป็ นส่วนมาก เป็ นส่วนใหญ่ เพราะภิกษุเหล่าน้ ี เป็ นผูท้ ่ีมากดว้ ยอธโิ มกข์ ยงิ่ ดว้ ยศลี จะนอ้ มไปทางอนิจจงั แตก่ ็ _18-1133 (�����).indd 18 12/18/2561 BE 2:18 PM

๑๙อนัตตา บงั คับบัญชาไม่ได้ จรงิ หรือ ? 19 ตอ้ งรูว้ า่ สิ่งใดไมเ่ ท่ียง สิ่งน้ันเป็ นทุกข์ ส่ิงใดแปรปรวนดว้ ย ทน อยไู่ ม่ไดด้ ว้ ย สิ่งน้ันเป็ นอนัตตา (บงั คบั บญั ชาไมไ่ ด)้ เพราะไตร- ลกั ษณไ์ มไ่ ดแ้ ยกจากกนั รไู้ ตรลกั ษณอ์ ยา่ งหน่ึง ก็ตอ้ งรอู้ ีก ๒ อยา่ งดว้ ย แตว่ า่ จะนอ้ มไปทางอยา่ งไหนมาก ... ภิกษุ ๕๐๐ รูป เหลา่ น้ ี นอ้ มไปทางอนิจจลกั ษณะมาก พระพทุ ธเจา้ ทรงดาริวา่ การแสดงคาถาดว้ ยอนิจจลกั ษณะ น้ันแลแก่เธอท้งั หลายเพียง ๑ คาถา ยอ่ มควร พระพุทธเจา้ ทรงแสดงคาถาเดียวเก่ียวกบั เรื่องอนิจจงั ไม่ตอ้ ง แสดงอีก ๒ คาถา เน่ืองจากแสดงคาถาเดียว ก็สาเร็จประโยชน์แลว้ ภิกษุเหล่าน้ ียอ่ มแทงตลอดทุกขลกั ษณะและอนัตตลกั ษณะดว้ ย ดงั น้ ีแลว้ ตรสั วา่ ดูก่อนภิกษุท้งั หลาย สงั ขารแมท้ ้งั ปวงใน ภพท้งั หลายมีกามภพเป็ นตน้ เป็ นสภาพไม่เท่ียงเลย เพราะอรรถวา่ มีแลว้ ก็ไมม่ ี (หุตฺวา อภาวตฺเถน) ดงั น้ ีแลว้ จงึ ตรสั พระคาถาน้ ีวา่ สพฺเพ สงฺ ขารา อนิจฺ จาติ ยทา ปญฺ าย ปสฺ สติ อถ นิพฺพินฺ ทติ ทุกฺเข เอส มคฺ โค วิสุทฺ ธิยา. เมื่อใด บุคคลเห็นดว้ ยปัญญาว่า สงั ขารท้งั ปวง ไม่เทย่ี ง เม่ือน้นั ยอ่ มหน่ายในสงิ่ ทีเ่ ป็ นทุกขท์ ่ีตนหลง นนั ่ แหละเป็ นทางแห่งความหมดจด (วิสุทธิมรรค) วิสุทธิมรรค หมายถึง ทางแหง่ ความบริสุทธ์ิ คือ ไตรสิกขา ในท่ีน้ ี เนน้ วิปัสสนาท่ีเป็ นโลกียะ ถา้ เป็ นโลกุตตระ คือ มรรคมี องค์ ๘ ที่เกิดกบั มคั คจิต _18-1133 (�����).indd 19 12/18/2561 BE 2:18 PM

๒๐20 อนตั ตา บงั คับบัญชาไมไ่ ด้ จรงิ หรือ ? วิสุทธิมรรค คือ ทางเดินที่ทาใหถ้ ึงพระนิพพาน เป็ นเหตุที่ ทาใหถ้ ึงพระนิพพาน เรียกวา่ สมั ปาปกเหตุ (เหตุท่ีทาใหถ้ ึง) พระนิพพาน ช่ือวา่ วิสุทธิ แตเ่ หตุท่ีทาใหถ้ ึงวิสุทธิ เรียกวา่ วิสุทธมิ รรค ฉะน้ัน วิสุทธิมรรคจึงมี ๒ อยา่ ง คือ โลกียะและ โลกุตตระ ไดแ้ ก่ไตรสิกขานัน่ เอง ไตรสิกขาท่ีเป็ นโลกียะเป็ นวิสุทธิ- มรรคที่เป็ นปุพพภาค คือเบ้ ืองตน้ ของพรหมจรรย์ ไตรสิกขาที่เป็ น โลกุตตระก็เป็ นวสิ ุทธิมรรค เป็ นมคั คขณะ เป็ นมคั คพรหมจรรย์ พระพุทธเจา้ ทรงแสดงวา่ สงั ขารท้งั หลาย ในภพท้ังหลาย ฉะน้ัน การเจริญวิปัสสนา นอกจากพจิ ารณาสงั ขารในตวั เองแลว้ ภายนอกตวั เองก็ตอ้ งพจิ ารณาดว้ ย ... เจริญวปิ ัสสนาไปในกามภมู ิ รวมท้งั เทวภมู ิ พรหมภูมิดว้ ย ทาไมตอ้ งเจริญวิปัสสนาในพวก เทวดาดว้ ย ? ... เป็ นเร่ืองของศรทั ธาพรอ้ มท้งั ปัญญา ถา้ เราเจริญ วปิ ัสสนา นอ้ มเขา้ ไปในสิ่งใด ก็จะเบื่อหน่ายคลายกาหนัดในสิ่งน้ัน เจริญวิปัสสนาในทุกขสจั ในอุปาทานขนั ธ์ ๕ เพื่อท่ีจะไมต่ อ้ ง กลบั มามีขนั ธ์ ๕ อีก เพื่อใหเ้ กิดความเบื่อหน่าย คลายกาหนัดใน ขนั ธ์ ๕ จงึ ตอ้ งพิจารณา ท้งั เทวดา พรหม สตั วเ์ ดรจั ฉาน สตั ว์ อบายท้งั หลาย เพ่ือใหเ้ บ่ือหน่าย คลายกาหนัดจากภพภูมิท้งั ปวง จึงจะบรรลุความเป็ นพระอรหนั ตไ์ ด้ พระพทุ ธเจา้ ใหพ้ จิ ารณาท้งั อดีต อนาคต ปัจจุบนั ภายใน ภายนอก หยาบ ละเอียด ทราม ประณีต มีในท่ีไกล ในท่ีใกล้ แต่วา่ วปิ ัสสนาของคนยุคน้ ี เอาเฉพาะปัจจุบนั อยา่ งเดียว ภายใน อยา่ งเดียว ขดั กบั พระไตรปิ ฎกพทุ ธพจน์และอฏั ฐกถา แต่คนสว่ น ใหญก่ ลบั เล่ือมใส เพราะขาดสุตมยปัญญา ไมไ่ ดม้ ีพระรตั นตรยั _18-1133 (�����).indd 20 12/18/2561 BE 2:18 PM

๒๑อนตั ตา บงั คบั บัญชาไม่ได้ จรงิ หรือ ? 21 เป็ นท่ีพึ่ง ไมไ่ ดม้ ีคาสอนเป็ นท่ีพง่ึ จะเป็ นการเจริญท่ีมากไปดว้ ย อภิชฌาและโทมนัส พิจารณาแต่ภายในเท่าน้ันเป็ นอภิชฌา ไม่ให้ พจิ ารณาภายนอก ก็เป็ นโทมนัส ใหพ้ จิ ารณาแตป่ ัจจุบนั เท่าน้ัน เป็ นอภิชฌา ไมใ่ หพ้ ิจารณาอดีต อนาคต เป็ นโทมนัส ... สองบทวา่ สพฺเพ สงฺ ขารา เป็ นตน้ ความวา่ เม่ือใด บณั ฑิตยอ่ มเหน็ ดว้ ยวปิ ัสสนาปัญญาวา่ ขนั ธท์ ้งั หลายท่ีเกิดข้ นึ แลว้ ในภพท้งั หลาย มีกามภพเป็ นตน้ ช่ือวา่ ไมเ่ ที่ยง เพราะตอ้ งดบั ในภพน้ัน ๆ เอง ... สงั ขารต้งั แต่อบายภมู ิ อเวจีมหานรก จนกระทงั่ ถึงอรูปพรหม เป็ นสงั ขาร คือ สภาพท่ีมีปัจจยั ปรุงแตง่ ขนั ธ์ ๕ ขนั ธ์ ๔ ขนั ธ์ ๑ ทุกภพภมู ิไม่เท่ียง ไม่ไดม้ ีเพียงภพมนุษยเ์ ท่าน้ัน แตม่ ีถึง ๓๑ ภูมิ และ ๓๑ ภูมิน้ ีอยใู่ นจกั รวาลเดียว แลว้ ก็ไม่ไดม้ ีเพยี งจกั รวาลเดียว แตม่ ีถึงแสนโกฏิจกั รวาลนับไม่ถว้ น ตอ้ งนอ้ มพิจารณาโดยอนุมาน เม่ือพิจารณาสงั ขารท้งั หลายวา่ ไม่เท่ียงเป็ นตน้ ก็คือ เขา้ ไป ทาปรญิ ญา ๓ ในสงั ขารท้งั หลาย ในภพภมู ิเหล่าน้ันใหถ้ ว้ นทวั่ ปริญญา ๓ ไดแ้ ก่ ญาตปริญญา ตีรณปริญญาและปหานปริญญา ถา้ สามารถทาปริญญา ๓ ในสงั ขารท้งั หลายไดบ้ ริบรู ณ์ จะ ทาใหเ้ กิดความเบื่อหน่าย ไม่ยนิ ดี ไมเ่ ห็นสาระในสงั ขารเหล่าน้ัน แตก่ ารรวู้ า่ เป็ นเพยี งนามธรรม รูปธรรมเท่าน้ัน รเู้ ท่าน้ ี เพียงทา ใหค้ วามยดึ ถือความเป็ นอตั ตาลดลง ไมไ่ ดท้ าใหเ้ บื่อหน่าย ยงั ตอ้ ง รดู้ ว้ ยวา่ นามธรรม รูปธรรมเหลา่ น้ ีไมไ่ ดเ้ กิดข้ ึนลอยๆ พระเจา้ ไม่ไดส้ รา้ ง แต่เกิดจากเหตุปัจจยั น้ ีเป็ นญาตปรญิ ญา _18-1133 (�����).indd 21 12/18/2561 BE 2:18 PM

๒๒22 อนัตตา บังคับบัญชาไม่ได้ จรงิ หรือ ? แต่วา่ ประจกั ษ์แจง้ แค่ ๒ ญาณข้นั ตน้ ยงั ไม่ไดเ้ บื่อหน่าย ยงั ยนิ ดีอยู่ จึงตอ้ งเขา้ ไปพิจารณาวา่ สงั ขารที่เป็ นนามรูปเหล่าน้ ีเกิด จากปัจจยั ลว้ นไมเ่ ท่ียง เพราะแปรปรวน เสื่อมส้ ินไป เป็ นทุกข์ เพราะถูกเบียดเบียน ทนไดย้ าก เป็ นอนัตตาดว้ ย เขา้ ไปควบคุม ไม่ใหแ้ กเ่ จบ็ ตาย ไมไ่ ด้ การพจิ ารณาอยา่ งน้ ี เรียกวา่ เป็ นตรี ณ- ปรญิ ญา ถา้ เราพจิ ารณาไดบ้ รบิ รู ณใ์ นขนั ธ์ ๕ เหลา่ น้ ี กจ็ ะทา ใหเ้ กิดความเบ่ือหน่าย คลายกาหนัด ... จึงเป็ นปหานปรญิ ญา ถา้ พิจารณาสงั ขารเหลา่ น้ ีไดบ้ ริบูรณ์ เมื่อน้ัน จะทาใหเ้ บ่ือ หน่ายในทุกข์ คือ อุปาทานขนั ธ์ ๕ อนั เน่ืองดว้ ยการบริหาร ขนั ธน์ ้ ี ต้งั แต่ต่ืนเชา้ ข้ นึ มา ตอ้ งบริหารขนั ธม์ าก ตอ้ งกิน ตอ้ งด่ืม ตอ้ งถ่ายอุจจาระ ปัสสาวะ ตอ้ งไปซกั ผา้ ทาความสะอาดบา้ น เน่ืองดว้ ยขนั ธ์ ๕ ท้งั หมดเลย การบริหารขนั ธ์ ๕ น้ ียุง่ มากๆ แต่วา่ เราทนได้ เพราะมนั มีอสั สาทะ ยงั ทาใหเ้ รายนิ ดีอยู่ คือมนั แก่อยา่ งไรเราก็ยนิ ดี เขา่ ทรุด ก็ไปหาหมอ เรายงั ยนิ ดีกบั มนั อยู่ เพราะมีอสั สาทะ นามรูป ภายในมีอสั สาทะมากกวา่ นามรปู ที่อยภู่ ายนอก อสั สาทะแต่ละท่ี แต่ละอยา่ งไมเ่ ท่ากนั เม่ือมีอสั สาทะมากๆ จงึ ทาใหเ้ ราไมเ่ บื่อ หน่ายจากส่ิงเหลา่ น้ ี แตถ่ า้ เราพิจารณาใหเ้ ห็นโทษของมนั มากๆ อสั สาทะจะคลายลง อสั สาทะในที่น้ ีเป็ นชื่อของตณั หา ความยนิ ดี ความติดขอ้ ง ความเพลิดเพลิน เพราะวา่ ทุกขสจั ก็เป็ นเหตุทาให้ เกิดตณั หาดว้ ย (ตณั หาเป็ นสมุทยั เหตุใหเ้ กิดทุกข์ ทุกขก์ ็เป็ น อารมณ์ เป็ นอารมั มณปัจจยั เป็ นที่ยึดถือของตณั หา) _18-1133 (�����).indd 22 12/18/2561 BE 2:18 PM

๒๓อนตั ตา บงั คบั บัญชาไมไ่ ด้ จรงิ หรือ ? 23 เม่ือน้ัน ยอ่ มหน่ายในทุกข์ อนั เน่ืองดว้ ยการบริหารขนั ธน์ ้ ี เมื่อหน่ายยอ่ มแทงตลอดสจั จะท้งั หลายดว้ ยสามารถแหง่ กิจ มีการ กาหนดรทู้ ุกข์ เป็ นตน้ (ทุกฺขปรชิ านนาทิวเสน) ดว้ ยสามารถแหง่ กิจ มี ๔ กิจ คือ ทาปริญญากิจในทุกข์ ทาปหานกิจในสมุทยั ทาสจั ฉิกิรยิ ากิจในนิโรธ ทาภาวนากิจในมรรค ชาวพทุ ธตอ้ งทากิจในพทุ ธศาสนา ๔ กิจน้ ี ทาโสฬสกิจ ๑๖ คร้งั คือ โสดาปัตติมรรค สกทาคามิมรรค อนาคามิมรรคและ อรหตั ตมรรค (ทากิจ ๔ รอบ ในอริยสจั ๔ ในมรรคท้งั ๔) หลกั การตา่ ง ๆ เหลา่ น้ ี ควรแม่นยา จะไดไ้ มห่ ลง เพราะทุกวนั น้ ี การคา้ ประสบความสาเร็จอยทู่ ่ีโฆษณา แมก้ ระทงั่ ธรรมปฏิรูปใน ทุกวนั น้ ี ก็อาศยั โฆษณา ถา้ เราไปหลงคาโฆษณา โดยท่ีไมม่ ี หลกั การ ไมม่ ีสุตมยปัญญาดีพอ เราก็อาจจะพลาดได้ บาทพระคาถาวา่ เอส มคฺ โค วิสุทฺ ธยิ า ความหน่ายใน ทุกข์ นัน่ เป็ นทางแหง่ ความหมดจด คือ ทางแหง่ ความผ่องแผว้ อนั ท่ีจริง ขอ้ ปฏิบตั ิในพุทธศาสนาข้นั สูง คือ ใหเ้ บ่ือหน่ายใน ขนั ธ์ ๕ แตว่ า่ ใหเ้ บ่ือดว้ ยปี ติโสมนัส (นิพพทิ าญาณ) เห็นความ จริงแลว้ เกิดโสมนัส เห็นสจั ธรรมท่ีพระพทุ ธเจา้ ทรงสอนไว้ เกิด ปี ติโสมนัสวา่ เป็ นสจั ธรรมความจริง ไม่ใชต่ วั เรา ของเรา มนั ไม่ เท่ียง แปรปรวนอยา่ งน้ ีเอง เป็ นที่ต้งั ของทุกขอ์ ยา่ งน้ ีเอง จงึ ทาให้ เกิดปี ติโสมนัส น้ ีเป็ นขอ้ ปฏิบตั ิที่ถูกตอ้ ง นิพพิทาญาณ เป็ นปัญญาท่ีประจกั ษ์แจง้ ความจรงิ แลว้ ทาให้ เบ่ือหน่าย ตอ้ งมีปี ติโสมนัสและตอ้ งมีศีลดีมาก สมาธิจติ ที่ดี จึงจะ พิจารณาสงั ขารท้งั หลายเหล่าน้ ีได้ เกิดความสงบ เป็ นสุข _18-1133 (�����).indd 23 12/18/2561 BE 2:18 PM

๒๔24 อนัตตา บังคับบญั ชาไมไ่ ด้ จริงหรือ ? ฉะน้ัน ขอ้ ปฏิบตั ิคือวิสุทธิมรรค ตอ้ งนอ้ มไปที่จะรูแ้ จง้ ทุกขสจั โดยท่ีญาตปรญิ ญา รูแ้ จง้ สภาวลกั ษณะ ตรี ณปรญิ ญา รูแ้ จง้ ไตรลกั ษณ์ (สามญั ญลกั ษณะ) ปหานปรญิ ญา รูแ้ จง้ ไตรลกั ษณ์ จนสามารถที่จะละกิเลสได้ (โลกียวิปัสสนาเป็ นตทงั คปหาน) ในเวลาจบเทศนา ภิกษุเหล่าน้ันต้งั อยใู่ นพระอรหตั ตผลแลว้ เทศนาไดส้ าเร็จประโยชน์ แมแ้ กบ่ ริษัทท่ีประชุมกนั แลว้ ดงั น้ ีแล เรือ่ งภกิ ษุ ๕๐๐ รูปพวกแรก จบ แมใ้ นพระคาถาท่ี ๒ เรื่องก็อยา่ งน้ันเหมือนกนั ก็ในกาลน้ัน พระผูม้ ีพระภาคเจา้ ทรงทราบความท่ีภิกษุเหลา่ น้ัน ทาความเพยี ร ในอนั กาหนดสงั ขาร โดยความเป็ นทุกขแ์ ลว้ ตรสั วา่ ดูก่อนภิกษุ ท้งั หลาย ขนั ธแ์ มท้ ้งั ปวงเป็ นทุกขโ์ ดยแท้ เพราะอรรถวา่ ถูกทุกข์ บีบค้นั (ปฏิปีฬนตเฺ ถน ทกุ ขฺ า) ขนั ธถ์ ูกเบียดเบียนตลอดเวลา ต้งั แตเ่ ชา้ มา เราอยเู่ ป็ นสุข ไหม ? จะนอนใหเ้ ป็ นสุขท้งั วนั ไดไ้ หม ? ... ไมไ่ ด้ หรือคนชอบกิน ก็กินใหเ้ ป็ นสุขท้งั วนั ? ... ไม่ได้ ฉะน้ัน เราจะอยนู่ ่ิงๆ ไม่ไดเ้ ลย แลว้ ร่างกายของเราก็อยนู่ ิ่งไม่ได้ ระบบหวั ใจ ปอด เลือด อยนู่ ิ่ง ไม่ได้ ตอ้ งเคล่ือนไหวตลอดเวลา เพราะมนั เป็ นทุกข์ ทนอยยู่ าก ขนั ธ์ ๕ ตวั เองเป็ นทุกข์ เพราะเกิดดบั เป็ นที่ต้งั ของความ ทุกขน์ านาประการ แต่เพราะวา่ มีเครื่องบาบดั ทุกข์ เมื่อยก็เปล่ียน อิริยาบถก็เป็ นสุขแลว้ หวิ ก็ไปกิน ฉะน้ัน เรามีเครื่องบาบดั ทุกข์ จนกระทงั่ ทุกวนั น้ ี เราไม่ไดพ้ จิ ารณาวา่ ชีวิตเป็ นทุกข์ พอจะมี ทุกข์ เราป้องกนั ไวแ้ ลว้ ยงั ไม่ทนั หวิ ถึงเวลาอาหาร เราก็กินแลว้ _18-1133 (�����).indd 24 12/18/2561 BE 2:18 PM

๒๕อนตั ตา บังคบั บญั ชาไม่ได้ จริงหรอื ? 25 ป้องกนั ไวก้ ่อน จงึ ไม่เหน็ ทุกข์ (ความเป็ นจริง การเจริญวิปัสสนา ไมใ่ ชเ่ พอื่ จะเหน็ เฉพาะทุกขเวทนา แตเ่ พื่อจะเหน็ แจง้ ทุกขลกั ษณะ และทุกขอริยสจั ) ฉะน้ัน บางคร้งั เม่ือทุกขเวทนาเกิดข้ นึ เราควร พิจารณา ก่อนท่ีจะเปลี่ยนอิริยาบถหรือเปล่ียนความคิด ไมเ่ ชน่ น้ัน เราจะไม่คุน้ เคยกบั ทุกข์ เราก็จะอดทนต่อทุกขเวทนาไม่ได้ แมส้ ุข เวทนาหรืออุเบกขาเวทนาก็เป็ นทุกข์ เป็ นสงั ขารท่ีมีทุกขลกั ษณะ ถา้ แอรด์ บั เราตอ้ งรีบเปิ ดประตหู นา้ ต่าง หรือรีบออกจาก หอ้ งไปเลย หรือเปล่า ? ถา้ เป็ นเชน่ น้ ี ก็จะไม่มีความอดทนตอ่ ความรอ้ น เพราะไม่ไดฝ้ ึกไวท้ ี่จะพิจารณาทุกข์ เราจะไมย่ อมทน ... การปฏิบตั ิธรรมเจริญวปิ ัสสนาตอ้ งพจิ ารณาท้งั สุขและทุกข์ ท้งั อดีต อนาคตและปัจจุบนั ตามพระพุทธพจน์และอฏั ฐกถา และตาม ความเป็ นจริง เพราะกิเลสไม่ไดย้ ดึ ถือภายในเท่าน้ัน และไมไ่ ด้ ยดึ ถือเพียงปัจจุบนั แต่ท้งั อดีตและอนาคต ก็ยึดมนั่ ถือมนั่ ดว้ ย พระภิกษุ ๕๐๐ รปู น้ ี ในอดีต สงั่ สมการเจริญวปิ ัสสนา พจิ ารณาทุกขานุปัสสนามา แสดงวา่ อธั ยาศยั คือ เป็ นพวกที่มาก ดว้ ยปัสสทั ธิ ยง่ิ ดว้ ยสมาธินทรยี ์ คนท่ีชอบทาสมาธิ จะนอ้ มไป พิจารณาความเป็ นทุกข์ คนท่ีฝักใฝ่ ในศีล มากดว้ ยอธิโมกข์ ยงิ่ ดว้ ยสทั ธนิ ทรยี ์ จะนอ้ มไปพิจารณาทางอนิจจงั คนที่มีปัญญา มากดว้ ยเวท ยงิ่ ดว้ ยปัญญนิ ทรยี ์ จะพจิ ารณานอ้ มไปทางอนัตตา ภิกษุ ๕๐๐ รูปกลุ่มน้ ี เป็ นผูย้ งิ่ ดว้ ยสมาธินทรีย์ มากดว้ ย ปัสสทั ธิ พระพุทธเจา้ ทรงแสดงเร่ืองของทุกข์ ดงั น้ ีแลว้ จงึ ตรสั พระคาถาน้ ีวา่ _18-1133 (�����).indd 25 12/18/2561 BE 2:18 PM

๒๖26 อนัตตา บังคบั บญั ชาไม่ได้ จริงหรอื ? สพฺเพ สงฺ ขารา ทุกฺขาติ ยทา ปญฺ าย ปสฺ สติ อถ นิพฺพนิ ฺ ทติ ทุกฺเข เอส มคฺ โค วิสุทฺ ธยิ า. เม่ือใด บุคคลเห็นดว้ ยปัญญาว่า สงั ขารท้งั ปวง เป็ นทุกข์ เม่ือน้นั ยอ่ มหน่ายในสงิ่ ที่เป็ นทุกขท์ ่ีตนหลง นนั ่ แหละ เป็ นทางแห่งความหมดจด คาถาเดียว แสดงปหานปริญญาเลย แตก่ ็รวมปริญญา ๒ เบ้ ืองตน้ ไวแ้ ลว้ แสดงอริยสจั ๓ อยา่ งโดยตรง คือ สงั ขารท้งั ปวง เป็ นทุกขสจั การเห็นดว้ ยปัญญาจนหน่าย เป็ นโลกียมคั คสจั ทางแห่งความหมดจด เป็ นโลกุตตรมคั คสจั ความหมดจดเป็ น นิโรธสจั เป็ นที่รกู้ นั วา่ สงั ขารท้งั ปวงเกิดจากสมุทยั สจั คาถา เดียวแสดงอริยสจั ๔ ผูท้ ่ีฟัง ไดส้ งั่ สมบารมีในอดีตมามาก ขณะ ฟังก็ปฏบิ ตั ิตาม จบคาถาจึงไดบ้ รรลุธรรมแลว้ ... บรรดาบทเหล่าน้ัน บทวา่ ทุกฺ ขา ความวา่ ชื่อวา่ เป็ นทุกข์ เพราะอรรถวา่ ถูกทุกขบ์ ีบค้นั . ปี ฬนตั โถ-เบียดเบียน ขนั ธ์ ๕ เบียดเบียนกนั เอง และเบียดเบียนสิ่งอ่ืนดว้ ย รูปขนั ธเ์ บียดเบียน รูปขนั ธ์ รปู ขนั ธเ์ บียดเบียนนามขนั ธ์ ๔, นามขนั ธ์ ๔ เบียดเบียน นามขนั ธ์ ๔, นามขนั ธ์ ๔ ก็เบียดเบียนรปู ขนั ธด์ ว้ ย ตา่ งคนตา่ ง เบียดเบียนตนเอง เบียดเบียนซ่ึงกนั และกนั บางคร้งั ก็ยงั ไป เบียดเบียนขนั ธ์ ๕ สนั ตติอ่ืนอีกดว้ ย แมใ้ นพระคาถาท่ี ๓ ก็มีนัยเชน่ น้ันเหมือนกนั ในพระคาถา ที่ ๓ น้ ี พระผูม้ ีพระภาคเจา้ ทรงทราบความท่ีภิกษุเหล่าน้ันเป็ นผู้ ตามประกอบแลว้ ในอนั กาหนดสงั ขารโดยความเป็ นอนัตตา ในกาล กอ่ นอยา่ งส้ ินเชงิ แลว้ _18-1133 (�����).indd 26 12/18/2561 BE 2:18 PM

๒๗อนัตตา บังคับบัญชาไมไ่ ด้ จริงหรือ ? 27 ในอดีต ภิกษุ ๕๐๐ รูปกลุม่ น้ ี สงั่ สมมาทางดา้ นปัญญามาก มีปัญญินทรีย์ นอ้ มไปในทางอนัตตา. จงึ ตรสั วา่ ดูก่อนภิกษุ ท้งั หลาย ขนั ธแ์ มท้ ้งั ปวงเป็ นอนัตตาแท้ เพราะอรรถวา่ ไมเ่ ป็ นไป ในอานาจ (อวสวตตฺ นตฺเถน อนตฺตา) ดงั น้ ีแลว้ จงึ ตรสั พระคาถาน้ ีวา่ สพฺเพ ธมฺ มา อนตฺ ตาติ ยทา ปญฺ าย ปสฺ สติ อถ นิพฺพินฺ ทติ ทุกฺเข เอส มคฺ โค วิสุทฺ ธิยา. เม่ือใด บุคคลเห็นดว้ ยปัญญาว่าธรรมท้งั ปวงเป็ น อนตั ตา เมื่อน้นั ยอ่ มหน่ายในสง่ิ ทีเ่ ป็ นทุกขท์ ่ีตนหลง นนั ่ แหละ เป็ นทางแห่งความหมดจด ทรงแสดงวา่ ธรรมะเป็ นอนัตตา ไม่อยใู่ นอานาจบงั คบั บญั ชา บงั คบั บญั ชาไมไ่ ด้ หมายถึง สภาวธรรม ที่เนน้ ทุกขสจั ไม่ได้ เกี่ยวกบั การเอามาปฏิบตั ิ คือ เราไปหา้ มความเป็ นทุกขสจั ไม่ได้ จะไปบงั คบั ควบคุมความเป็ นทุกขสจั ไม่ได้ เพราะทุกขสจั มีความ เกิดข้ นึ ต้งั อยแู่ ละดบั ไป จะไปหา้ มไมใ่ หม้ นั เกิด ไม่ใหม้ นั แก่ ไม่ใหม้ นั เจบ็ ไมใ่ หม้ นั ตาย ไม่ได้ เม่ือไดป้ ัจจยั ก็ตอ้ งเกิด เป็ นไป ทุกขสจั หา้ มไม่ได้ แตม่ คั คสจั มีอานาจหา้ มได้ กิเลสจะเกิด หา้ มไม่ใหเ้ กิดได้ กิเลสมีอยู่ หา้ มไม่ใหม้ ีได้ คืออบรมตนใหเ้ ป็ น พระอรหนั ต์ แต่ปุถุชนยงั ทาไมไ่ ด้ เพราะปัจจยั ยงั ไมพ่ รอ้ ม เพราะ ฉะน้ัน ก็ตอ้ งสงั่ สม สรา้ งปัจจยั ดว้ ยการฝึกฝนอบรม ไมใ่ ชป่ ลอ่ ย ใหเ้ ป็ นไปตามเหตุปัจจยั ถา้ เราเขา้ ใจอยา่ งน้ ี จะไมส่ บั สน ใหท้ ราบวา่ ธรรมชาติ สภาวธรรมเท่าน้ัน ไปหา้ มไมไ่ ด้ บงั คบั บญั ชาไมไ่ ด้ แต่ทุกขสจั _18-1133 (�����).indd 27 12/18/2561 BE 2:18 PM

๒๘28 อนตั ตา บังคับบัญชาไม่ได้ จริงหรือ ? ตอ้ งกาหนดรู้ มคั คสจั ตอ้ งฝึกอบรม ตอ้ งเจริญ สมุทยั สจั ตอ้ งละ ตอ้ งขดั เกลา นิโรธสจั ก็ตอ้ งทาใหแ้ จง้ ตอ้ งมุ่งมนั่ ตอ้ งต้งั ใจดว้ ย เพราะความมุ่งมนั่ ความต้งั ใจ แมเ้ จตนาท่ีจะบงั คบั ควบคุมจิตก็ เป็ นอนัตตา ตอ้ งนามาพจิ ารณาดว้ ย ถา้ เราไม่สบั สน จะเขา้ ใจวา่ จุดประสงคท์ ่ีพระพุทธเจา้ ทรงแสดงวา่ บงั คบั บญั ชาไม่ได้ หมาย ความวา่ เราไปบงั คบั สภาวธรรมไม่ได้ แตว่ า่ เรื่องขอ้ ปฏิบตั ิ เป็ น เร่ืองของการอบรม เป็ นเรื่องของการขดั เกลา เป็ นเรื่องที่จะตอ้ ง กระทาความพากเพยี รพยายาม สงั ขารท้งั หลายท้งั ปวงเป็ นทุกขสจั เป็ นอนัตตา แมท้ ุกขสมุทยั (สมุทยั สจั ) ทุกขนิโรธ (นิโรธสจั ) ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา (มคั คสจั ) ก็เป็ นอนัตตา บงั คบั บญั ชาไมไ่ ดเ้ หมือนกนั แต่การ เหน็ แจง้ ประจกั ษ์อนิจจงั ทุกขงั อนัตตา เนน้ เฉพาะโลกียธรรมท่ี เป็ นทุกขส์ จั และสมุทยั สจั เท่าน้ัน เพื่อความเบ่ือหน่าย คลายกาหนัด สลดั คืน สว่ นโลกุตตรธรรม ๒ ขา้ งทา้ ย ไมต่ อ้ งเหน็ แจง้ เพยี งแต่ ศึกษาใหร้ ไู้ วว้ า่ ธรรมท้งั ปวง รวมอริยสจั ท้งั ๔ ก็เป็ นอนัตตา แตม่ ีกิจเฉพาะตนที่จะตอ้ งกระทาเท่าน้ัน ทุกขสจั ตอ้ งกาหนดรูด้ ว้ ย ปริญญา ๓ (ญาต-ตีรณ-ปหานปริญญา) สมุทยั สจั ตอ้ งละดว้ ย ปหาน ๓ (ตทงั ค-สมุจเฉท-นิสสรณปหาน) นิโรธสจั ตอ้ งทาให้ แจง้ ดว้ ยสจั ฉิกิริยา ๓ (โลกีย-ทสั สน-ภาวนาสจั ฉิกิริยา) มคั คสจั ตอ้ งเจริญดว้ ยภาวนา ๒ (โลกีย-โลกุตตรภาวนา) บรรดาบทเหลา่ น้ัน สองบทวา่ สพฺเพ ธมฺ มา พระผูม้ ีพระ ภาคเจา้ ทรงประสงคเ์ อาขนั ธ์ ๕ น้ ีเอง บทวา่ อนตฺ ตา ความวา่ ชอื่ วา่ อนตั ตา คือ วา่ งเปลา่ (สุ ฺ ตา) ไมม่ ีเจา้ ของ (อสฺสามิกา) _18-1133 (�����).indd 28 12/18/2561 BE 2:18 PM

๒๙อนัตตา บังคบั บัญชาไมไ่ ด้ จรงิ หรือ ? 29 ไดแ้ ก่ ไมม่ ีอิสระ (อนิสฺสรา–ไมเ่ ป็ นใหญ)่ เพราะอรรถวา่ ไม่เป็ น ไปในอานาจ (อวสวตฺตนตฺเถน) เพราะใครๆ ไม่อาจใหเ้ ป็ นไปใน อานาจวา่ ธรรมท้งั ปวงจงอยา่ แก่ จงอยา่ ตาย (มา ชรี นฺตุ มา มยี นฺตุ วเสวตฺเตตุ น สกฺกา) (ข.ุ ธ. ๔๓/๑๐๓) สพฺเพ ธมฺ มา อนตฺ ตา ในท่ีน้ ี หมายถึง ขนั ธ์ ๕ เท่าน้ัน ไม่รวมพระนิพพาน ท่านแสดงวา่ ขนั ธ์ ๕ เป็ นอนัตตา หมายถึง เป็ นอารมณข์ องวิปัสสนา ตอ้ งเอามาพจิ ารณาวา่ ไมเ่ ที่ยง เป็ นทุกข์ เป็ นอนัตตา ฉะน้ัน อารมณข์ องวปิ ัสสนาตอ้ งเป็ นขนั ธ์ ๕ เท่าน้ัน แตพ่ ระนิพพานไม่ไดเ้ ป็ นอารมณข์ องโลกียวปิ ัสสนา เพราะวา่ ส่ิงที่ จะเอามาเป็ นอารมณข์ องโลกียวิปัสสนา เพอ่ื ใหเ้ กิดความเบื่อหน่าย คลายกาหนัด เป็ นสิ่งที่มีโทษ ส่ิงท่ีเป็ นอารมณข์ องโลกียวิปัสสนา เป็ นส่ิงท่ีมีโทษ ที่เราตอ้ งออกจากสิ่งน้ ีใหไ้ ด้ ก็คือ อุปาทานขนั ธ์ ๕ แตพ่ ระนิพพานไม่ใชส่ ิ่งท่ีมีโทษ พระนิพพานและอริยมรรค ไมต่ อ้ งนามาเจริญวิปัสสนา แต่ ตอ้ งพิจารณาเสมอๆ วา่ เป็ นอิฏฺ ™ (น่าปรารถนา) กนฺต (น่าใคร่) มนาป (น่าพอใจ) มรรค ผล นิพพานเป็ นโลกุตตระ เป็ นอิฏฺ ™ กนฺต มนาป (น่าปรารถนา น่าใคร่ น่าพอใจ) ไมใ่ ชเ่ ป็ นสิ่งท่ีจะ ตอ้ งนามาทาใหเ้ บื่อหน่าย คลายกาหนัด แต่อุปาทานขนั ธ์ ๕ เป็ นสิ่งท่ีตอ้ งทาใหเ้ บื่อหน่าย คลายกาหนัด ฉะน้ัน บทน้ ี สพฺเพ ธมฺ มา อนตฺ ตา ในที่น้ ีจึงหมายถึง ขนั ธ์ ๕ เท่าน้ัน เพราะวา่ ตอ้ งเอามาเป็ นอารมณข์ องวิปัสสนา แตพ่ ระนิพพาน รวมท้งั มรรค ผล ไมต่ อ้ งนามาเป็ นอารมณข์ องวิปัสสนา แต่เป็ นอารมณข์ อง ญาตปริญญาได้ โดยขน้ั การศึกษา _18-1133 (�����).indd 29 12/18/2561 BE 2:18 PM

๓๐30 อนตั ตา บังคบั บัญชาไมไ่ ด้ จริงหรอื ? ญาตปริญญาแปลวา่ อะไร ? คอื อะไร ? ในยุคปัจจุบนั เราคงเคยไดย้ นิ นักปฏิบตั ิธรรมชกั ชวนกนั ไป เจริญวิปัสสนา นักศึกษาธรรมะก็คงจะคุน้ กบั คาวา่ วิปัสสนา แต่ อาจจะไม่คุน้ เคยกบั คาวา่ ปรญิ ญา ซึ่งตามความเป็ นจริงแลว้ คือ สิ่งเดียวกนั เพียงแต่ปริญญา มีความหมายกวา้ งกวา่ วิปัสสนาบา้ ง เพราะปริญญาจาแนกออกเป็ น ๓ ประการ ไดแ้ ก่ ญาตปรญิ ญา ตรี ณปรญิ ญาและปหานปรญิ ญา คาวา่ ญาตปริญญา แปลวา่ ปัญญาเคร่ืองกาหนดรใู้ นสิ่งท่ีรู้ มาแลว้ คือ รจู้ ากการเรียนและจากการคิดคน้ การพิจารณามาแลว้ หมายถึง สุตมยญาณ จนิ ตามยญาณและภาวนามยญาณบางสว่ น ญาตปริญญาเป็นทง้ั ขน้ั ปรยิ ัตแิ ละปฏบิ ัติ ขอ้ ความโดยตรง ในปรมัตถมัญชุสา มหาฎีกา วิสุทธิมรรค ญาณทสั สนนิทเทส ว่าดว้ ยประเภทแห่งปรญิ ญาเป็ นตน้ แสดงวา่ อภญิ ฺ าปญฺ าตอิ าทนี อตฺ โถ เหฏฺ €า วุตฺ โตเยว. อปิ จ สุตมยาย, จนิ ฺ ตามยาย, เอกจฺ จภาวนามยาย จ อภวิ ิสฏิ ฺ €าย ภมู ิ ปรญิ ฺ นฺ ตราน อวิสยภาวโต. น หิ นามรปู ปรจิ ฺ เฉทปจฺ จย- ปรคิ ฺ คหณวเสน ตรี ณปรญิ ฺ าทนี ปวตฺ ติ อตฺ ถิ. อรรถของคาท้งั หลาย มีอภิญญาปัญญาเป็ นตน้ ไดก้ ลา่ วแลว้ ในหนหลงั นัน่ เอง. อีกอยา่ งหน่ึง ธรรมท้งั หลายท่โี ยคาวจรรูแ้ ลว้ ดว้ ยปัญญาอนั วิเศษยงิ่ ซึ่งสาเรจ็ ดว้ ยการฟัง สาเรจ็ ดว้ ยการคิด และสาเรจ็ ดว้ ยภาวนาบางอยา่ ง ช่อื วา่ ธรรมท่ีโยคาวจรรแู้ ลว้ ดว้ ย _18-1133 (�����).indd 30 12/18/2561 BE 2:18 PM

๓๑อนตั ตา บงั คับบญั ชาไม่ได้ จริงหรือ ? 31 ปัญญาอนั ยงิ่ . ชื่อวา่ เป็ นภมู ิหนึ่งโดยเฉพาะ เพราะไมเ่ ป็ นวิสยั แหง่ ปริญญาอื่น. ดว้ ยวา่ ความเป็ นไปแหง่ ตีรณปรญิ ญาเป็ นตน้ ดว้ ย อานาจการกาหนดนามรูปและการกาหนดปัจจยั จะมีอยู่ ก็หามิได้ ปริญญา ๓ คอื วสิ ทุ ธิ ๗ อภิญญาปัญญา หมายถึง ญาตปริญญา ปริญญาปัญญา หมายถึง ตีรณปริญญา ปหานปัญญา หมายถึง ปหานปริญญา ญาตปรญิ ญา เป็ นการพิจารณาสภาวลกั ษณะ กิจ ผล ปรากฏ และเหตุใกลใ้ หเ้ กิดของโลกียธรรม คือ อุปาทานขนั ธ์ ๕ กาหนดรสู้ ภาวะของนามรปู พรอ้ มท้งั ปัจจยั เพื่อละสกั กายทิฏฐิที่ ยดึ ถือวา่ เป็ นอตั ตา ภูมิของญาตปรญิ ญาอยใู่ นระดบั ของวปิ ัสสนา ญาณ ๒ ขน้ั แรก คือ นามรูปปริจเฉทญาณ (ทิฏฐิวสิ ุทธิท่ี ๓) และปัจจยปริคคหญาณ (กงั ขาวติ รณวสิ ุทธิท่ี ๔ – จุลลโสดาบนั ) ตรี ณปรญิ ญา เป็ นการพิจารณาไตรลกั ษณข์ องนามรูปและ ปัจจยั ท่ีไดป้ ระจกั ษ์แจง้ มาแลว้ เพื่อใหเ้ กิดความเบ่ือหน่าย คลาย กาหนัด พรอ้ มท่ีจะสละคืน ภมู ิของตรี ณปรญิ ญาอยใู่ นระดบั ของ วปิ ัสสนาญาณ ๒ ขน้ั ถดั มา คือ กลาปสมั มสั สนญาณและ อุทยพั พยญาณ แต่ยงั อยใู่ นระดบั ของตรุณวปิ ัสสนา (ระดบั อ่อน) เพราะยงั ละวปิ ัสสนูปกิเลสไมไ่ ด้ หากสามารถผ่านวปิ ัสสนูปกิเลสได้ เรียกวา่ พลวอุทยพั พยญาณ (ระดบั มีกาลงั กลา้ ) เป็ นมคั คามคั ค- ญาณทสั สนวสิ ุทธิท่ี ๕ (สมั มสั สนญาณและตรุณอุทยพั พยญาณไม่ จดั อยใู่ นวิสุทธิใด เพราะยงั ไมผ่ ่านวิปัสสนูปกิเลส ...) _18-1133 (�����).indd 31 12/18/2561 BE 2:18 PM

๓๒32 อนตั ตา บังคบั บญั ชาไมไ่ ด้ จรงิ หรอื ? ปหานปรญิ ญา เป็ นการพจิ ารณาไตรลกั ษณ์ ขน้ั พลววปิ ัสสนา (วิปัสสนาท่ีมีกาลงั ) ทาใหเ้ บื่อหน่าย คลายกาหนัด ละวปิ ัลลาส กิเลสอกุศลไดโ้ ดยตทงั คปหาน ต้งั แต่ภงั คานุปัสสนาญาณเป็ นตน้ ไป (เร่ิมจากพลวอุทยพั พยญาณแลว้ ) เริ่มเป็ นปฏิปทาญาณทสั สนวิสุทธิ ท่ี ๖ จนถึงอนุโลมญาณ บรรลุมคั คญาณเม่ือไร นัน่ จึงเป็ น โลกุตตรปหานปริญญา เป็ นญาณทสั สนวสิ ุทธิท่ี ๗ โดยมีสีลวสิ ุทธิ ท่ี ๑ และจติ ตวสิ ุทธิที่ ๒ เป็ นบาทฐาน รวมเป็ นวสิ ุทธิ ๗ พระนิพพานและอรยิ มรรค ไมไ่ ดเ้ ป็ นอารมณข์ องปริญญา ๓ เพราะอารมณข์ องปริญญา ๓ เป็ นทุกขสจั เท่าน้ัน (รวมสมุทยั ดว้ ย) แต่ก็ตอ้ งศึกษาเรียนรใู้ หเ้ กิดสุตมยปัญญา แลว้ นามาใครค่ รวญคิด พิจารณาใหเ้ กิดความรคู้ วามเขา้ ใจ ไม่มีความเขา้ ใจผิด ไม่มีความ เห็นผิด (บางคนเขา้ ใจผิดวา่ นิพพานและอริยมรรคอนั เป็ นโลกุตตระ เป็ นส่ิงที่เที่ยง เป็ นอตั ตา) ซ่ึงเป็ นจินตามยปัญญา ท้งั ๒ ขน้ั น้ ีก็ จดั เป็ นญาตปริญญาดว้ ย แต่ไม่ตอ้ งนามาทาตีรณปริญญา ไม่ตอ้ ง พิจารณาโดยความไม่เที่ยง เป็ นทุกข์ เป็ นอนัตตา การพิจารณาเป็ นการเริ่มทาใหม้ ีความเขา้ ใจมากข้ ึน (ภาวนา) ขณะท่ีเรามีการนอ้ มไปที่จะใหเ้ หน็ ความจริงวา่ ไม่เที่ยง เป็ นทุกข์ เป็ นอนัตตา ก็ตอ้ งอาศยั ความคิดและเขา้ ไปเห็นใหไ้ ด้ ตอนที่นอ้ ม เขา้ ไปเพอ่ื จะเหน็ เป็ นข้นั ภาวนา ตอนคิดใคร่ครวญเป็ นจนิ ตามย- ปัญญา (ขาดกนั ไม่ได)้ ขณะฟังก็ตอ้ งคิดตาม ถา้ ฟังแลว้ เขา้ ใจ เป็ นสุตมยปัญญา ถา้ ฟังแลว้ เอาไปใครค่ รวญ เอาไปคิด แลว้ ได้ ความเขา้ ใจเพ่ิมข้ นึ เป็ นจนิ ตามยปัญญา (นัยของเนตตปิ กรณ์) _18-1133 (�����).indd 32 12/18/2561 BE 2:18 PM