Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือสมุนไพรเพื่อสุขภาพ

คู่มือสมุนไพรเพื่อสุขภาพ

Description: คู่มือสมุนไพรเพื่อสุขภาพ

Search

Read the Text Version

สมุนไพรเพื่อสุขภาพ 1

สมุนไพรเพือ่ สขุ ภาพ 2 คาํ นาํ ปจจุบันพืชสมุนไพรเปนที่นิยมใชในการรักษาโรคภัยไขเจ็บหรือบรรเทาอาการเจ็บปวย เบ้ืองตนสามารถนํามาใชเปนอาหาร ปรุงเปนเครื่องด่ืมตางๆ ทดแทนสารเคมีปองกันกําจัดศัตรูพืชกันอยาง แพรหลาย เพราะมคี วามปลอดภัยในการใชม ักไมม ผี ลขา งเคียง อันมีมาแตโ บราณและสบื ตอ กนั มาจนกลายเปน ภมู ปิ ญ ญาทอ งถน่ิ โดยเปา หมายการพฒั นาหมูบา นวงั กระจบั ต.คอทราย จ.สิงหบุรี ตองการใหเกิดการเรียนรู ดานเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งสมุนไพรเปนอีกทางเลือกหนึ่งเพ่ือความเขมแข็งของชุมชน โดยมีปราชญชาวบาน นามวา ลุงยุย ปานทอง สง เสรมิ ใหพ ชื สมุนไพรเปนทางเลือกหนึ่งในการดูแลสุขภาพเบื้องตนของคนในชุมชน และเปน การลดรายจายในการดแู ลสขุ ภาพและรกั ษาพยาบาล สํ า นั ก ง า น พั ฒ น า สั ง ค ม แ ล ะ ค ว า ม ม่ั น ค ง ข อ ง ม นุ ษ ย จั ง ห วั ด สิ ง ห บุ รี ไ ด เ ล็ ง เ ห็ น ค ว า ม สํ า คั ญ ของภมู ปิ ญ ญา จงึ ไดจดั ทาํ โครงการ “การจัดการความรูภูมปิ ญ ญาผสู ูงอายจุ งั หวดั สิงหบ ุรี” ซ่ึงไดรับความรวมมือ จากศูนยประสานงานภาคเอกชนจังหวัดสิงหบุรี ขับเคลื่อนภายใตโครงการดังกลาวและไดจัดทําคูมือ “สมุนไพรเพ่อื สขุ ภาพ” ข้ึน เพ่ือใหคนรุน หลงั โดยเฉพาะปจ จุบนั เยาวชนจํานวนไมม ากนกั จะทราบถึงประโยชน ของสมุนไพร เปนการกระตุนใหชุมชนและผูท่ีสนใจเกิดความสนใจ มีทัศนคติที่ดีตอการนําสมุนไพรมาใช ดแู ลสุขภาพและมกี ารปลกู พชื สมนุ ไพรเพมิ่ ข้นึ จนนาํ ไปสกู ารสรางงาน สรางรายไดตอไป

สารบัญ สมนุ ไพรเพื่อสขุ ภาพ 3 เรื่อง หนา สมนุ ไพรบํารุงรางกาย 4 ความหมายและความสาํ คญั 4 สรรพคุณทางยาและวิธกี ารทํา 5 - สรรพคุณของยาขนานตางๆ 5 - สรรพคณุ ของสมุนไพรแตล ะชนิด 14 การปลกู พชื สมนุ ไพร 41 การทําสมุนไพรไลแมลง 44 อางองิ 46

สมนุ ไพรเพอ่ื สขุ ภาพ 4 สมุนไพรบาํ รงุ รา งกาย ความหมายของพชื สมุนไพร พืชสมนุ ไพร หมายถงึ พชื ทีใ่ ชท าํ เปน ยารกั ษาโรค โดยใชส วนตางของพืชชนิดเดียวหรือหลาย ชนิดพรอ มกนั พชื สมนุ ไพรเปน กลมุ พืชทีอ่ ยูในความสนใจและมผี ศู กึ ษาทางดานพฤกษศาสตรพ ืน้ บานมากท่ีสุด ยารกั ษาโรคปจ จุบนั หลายขนานท่ีผลิตเปนอุตสาหกรรม ไดมาจากการศึกษาวิจัยการใชพืชสมุนไพรพื้นบาน ของกลมุ ชนพืน้ เมอื งตามปาเขาหรือในชนบท ทไ่ี ดรบั การถา ยทอดมาจากบรรพบุรุษทไี่ ดสังเกตวาพชื ใดนาํ มาใช บําบัดโรคได มสี รรพคุณอยางไร จากการเรียนรูดวยประสบการณและการทดลองแบบพื้นบานท่ีไดท้ังขอดี และขอ ผิดพลาด ความสําคัญของพชื สมุนไพร 1. สนับสนุนและพัฒนาวชิ าการและเทคโนโลยีพนื้ บานอันไดแก การแพทยแผนไทย เภสัช กรรมแผนไทย การนวดไทย สมนุ ไพรและเทคโนโลยีพื้นบาน เพื่อใชประโยชนในการแกไขปญหา สุขภาพของชุมชน 2. สนบั สนนุ และสงเสรมิ การดแู ลรักษาสขุ ภาพของตนเอง โดยใชสมุนไพรการแพทยพ ื้นบา น การนวดไทย ในระดบั บุคคล ครอบครวั และชมุ ชน ใหเปนไปอยา งถูกตอ งเปนระบบสามารถปรับประสานการ ดูแลสุขภาพแผนปจจุบนั ได อาจกลาวไดว า สมนุ ไพรสาํ หรับสาธารณสุขมูลฐานคือสมุนไพรท่ีใชในการสงเสริม สขุ ภาพ และการรักษาโรค/อาการเจ็บปว ยเบ้อื งตน เพอ่ื ใหประชาชนสามารถพ่งึ ตนเองไดม ากขึ้น ประโยชนข องพชื สมุนไพร 1. สามารถรักษาโรคบางชนิดได ซึ่งบางชนิดอาจมีราคาแพงและตองเสียคาใชจายมาก อกี ท้งั อาจหาซอ้ื ไดยากในทอ งถนิ่ นน้ั 2. ใหผลการรักษาไดดใี กลเ คียงกับยาแผนปจ จบุ นั และใหค วามปลอดภัยแกผูใชมากกวาแผนปจจุบัน 3. สามารถหาไดง ายในทองถ่ินเพราะสวนใหญไดจากพืชซึ่งมีอยูท่ัวไปทั้งในเมืองและชนบท 4. มรี าคาถกู สามารถประหยัดคา ใชจา ยในการซ้ือยาแผนปจ จุบัน ท่ีตองส่ังซื้อจากตางประเทศ เปนการลดการขาดดุลทางการคา 5. ใชเ ปน ยาบํารุงรกั ษาใหร างกายมีสขุ ภาพแขง็ แรง 6. ใชเปนอาหารและปลกู เปน พืชผักสวนครวั ได เชน กะเพรา โหระพา ขิง ขา ตําลึง 7. ใชใ นการถนอมอาหารเชน ลกู จนั ทร ดอกจันทรแ ละกานพลู 8. ใชปรงุ แตง กลิ่น สี รส ของอาหาร 9. สามารถปลกู เปน ไมประดบั อาคารสถานท่ตี า งๆ ใหสวยงาม เชน คนู ชุมเห็ดเทศ 10. ใชปรุงเปน เครอ่ื งสาํ อางเพ่อื เสรมิ ความงาม เชน ตะไครหอม ไพล 11. ใชเ ปน ยาฆาแมลงในสวนผกั และผลไม เชน สะเดา ตะไคร 12. เปน การอนุรักษม รดกไทยใหประชาชนในแตละทองถิ่น รูจักชวยตนเองในการ นําพืช สมนุ ไพรในทอ งถิน่ ของตนมาใชใ หเกดิ ประโยชนต ามแบบแผนโบราณ 13. ทาํ ใหคนเหน็ คุณคาและกลับมาดําเนนิ ชีวติ ใกลชดิ ธรรมชาติย่ิงขน้ึ 14. ทําใหเกิดความภูมใิ จในวฒั นธรรม และคุณคาของความเปนไทย

สมุนไพรเพ่อื สขุ ภาพ 5 สรรพคณุ ทางยาและวธิ กี ารทํา สรรพคุณของยาขนานตางๆ สูตรรกั ษาฟน ใหแ ขง็ แรง นําสม กบมาผสมกบั เปลือกขอยสด เกล็ดพมิ เสนและเกลืออยา งละ พอประมาณ (ไมม อี ตั ราสวนที่แนนอน) มาโขลกใหละเอียด แลวเกบ็ ใสถงุ แชต ูเย็น เ วลาใชกแ็ บงขึ้นมาอม อม ไดท กุ วัน ฟน จะไดสวยและคงทน สมุนไพรบํารุงรางกาย (ยาเลือดยาลม) หรือเรียกวา สมุนไพรพ้ืนบานชนิดเหลือง หรือ สมนุ ไพรบํารงุ รางกายลุงยยุ สว นผสม โหระพา ไพล แมงลกั กะเพรา ขิง ขา ขม้นิ ตะไคร มะกรดู กระเทียม ดีปลี พริกไทย วานน้ํา กระชาย(รวมสวนผสมท่ีแหงแลวทุกชนิด คร้ังละประมาณ 2 กิโลกรัม โดยใชตะไคร และขา ใหม ากกวา ชนิดอ่นื เน่ืองจากตะไครมสี รรพคณุ รกั ษากระดูก ขามีสรรพคุณขับไขมันในเสนเลือด สวน พรกิ ไทยและดีปลีใชเปนสวนผสมนอยกวาชนิดอน่ื เนอื่ งจากมฤี ทธ์ริ อ น สงผลใหเ กิดความดันโลหิตสูงได) สรรพคณุ อัมพฤกษ อมั พาต จุก-เสยี ดทอ ง แนน ทอง คอเลสเตอรอล ไขมันในเลือดปวด ตามขอตามกระดูก ทาํ ใหเลือกสบู ฉีด โรคเลือดลมผดิ ปกติ วิธีรับประทาน วันละ 2 คร้ัง หลังอาหารเชา-เย็น คร้ังละ 1 เม็ด (มีท้ังชนิดผงและชนิดเม็ด ชนดิ ผง 1 ชอนชาผสมนํา้ รอนเพ่ือใหสว นละลาย นอกจากนยี้ ังสามารถรบั ประทานรว มกับอาหารหรือผสมนํ้าผึ้งได) สมนุ ไพรสตู รฟา ทลายโจร หรือเรยี กกันวา สมุนไพรบํารุงรางกายลุงยุยสูตรฟาทะลายโจร สวนผสม ฟาทะลายโจร ชะพลู หนุมานประสานกาย ไพล หญาหนวดแมว ทองพันช่ัง พังพวยบก ใชสว นผสมท่แี หง ทั้งหมด โดยใชป ริมาณมากนอยตางกัน ดังน้ี 1. ฟาทะลายโจรมากทสี่ ุด (ลดไข ความดัน) 2. ชะพลู (ลดนํ้าตาลในเลือดและเชอ้ื ราในรา งกาย)และทองพนั ชง่ั (ตานเชื้อมะเร็ง) 3. พังพวยบก (มะเร็งในกระแสเลอื ด) 4. ไพล (ชว ยสมานแผล) หนุมานประสานกาย (ชวยไอเร้ือรัง มีสารสเตอรอยด)และหญา หนวดแมว (ชวยขบั ปส สาวะ)นอยที่สดุ

สมนุ ไพรเพื่อสขุ ภาพ 6 สรรพคณุ เสรมิ สรา งภมู ิตานทาน บาํ รงุ รา งกาย รกั ษาเบาหวาน ริดสีดวง วัณโรค ภูมแิ พ ถอนพษิ ตานทานมะเรง็ วธิ ีรับประทาน ใชผสมน้ําผึ้งปนเปนลูกกลอนรับประทานคร้ังละ 2 เม็ด ทานกอนอาหาร เชา -เยน็ (มีทั้งชนิดผงและเมด็ ชนิดผงใช 1 ชอนชาผสมน้ําผึ้ง การใชน้ําผึ้งเพ่ือชวยลดความขมของยาได) นอกจากนี้ ยังสามารถใชส ูดดมไดเ น่ืองจากจะชว ยใหร ะบบการหายใจสะดวกมากยิง่ ข้นึ นํา้ มะขาม สวนผสม 1. มะขามเปย ก(ทแ่ี กะเมลด็ แลว ใหมๆ) 1 กิโลกรมั 2. นา้ํ ตาลทราย 2 กโิ ลกรัม 3. น้าํ สะอาด 3 ลิตร 4. เกลือปน 1 ชอ นชา

สมุนไพรเพือ่ สุขภาพ 7 วิธีทํา 1. ลางสมมะขามเปย กใหส ะอาด แลว นาํ นาํ้ ท่ีมีอยู 3 ลิตร แชมะขาม 1 ลติ ร โดยแชไ วสัก คร่งึ ช่ัวโมงเพื่อใหสมมะขาม เปอ ยยุย ออกมารวมกบั นํ้า 2. กรองดวยผา ขาวบาง เอาแตนํ้า กากท่ีเหลอื ทิง้ ไป 3. นาํ นํา้ มะขามทคี่ ้ันได ใสหมอตน ใสน้ําสะอาดที่เหลือ 2 ลิตร ใชไฟแรงพอเดือด ราไฟลง เคีย่ วไฟออนๆ ประมาณ 5 นาที 4. ใสน าํ้ ตาลทราย เกลือ เคยี่ วประมาณ 10 นาที แลวยกลง ท้งิ ไวใ หเ ย็นดื่มกับนา้ํ แข็งทุบ สรรพคุณ เปนยาระบายออนๆ นํา้ ดอกอัญชัน สว นผสม 1. ดอกอญั ชัน 3 ขีด 2. กระชายดํา 0.5 ขดี 3. น้าํ ตาลทราย 1 กิโลกรมั 4. นา้ํ สะอาด 6 ลิตร 5. เกลอื 0.5 ชอนชา วธิ ีทาํ 1. นาํ ดอกอญั ชันและกระชายดาํ ลา งนาํ้ ใหสะอาด 2. ใสล งหมอน้าํ สะอาด ตม นาํ้ ใหเ ดอื ด ประมาณ 15-20 นาที จนดอกอัญชนั ซดี เปน สีขาว ละลายตง้ั ไฟใหเ ดอื น ประมาณ 3 นาที ยกลง 3. พักไวใหเยน็ กรองอกี ครงั้ กรอกใสขวดเกบ็ ไวใ นตเู ย็น จะไดน าํ้ ดอกอญั ชนั สมี วงเขม สรรพคณุ แกร อนใน กระหายนํ้า

สมนุ ไพรเพ่ือสขุ ภาพ 8 นา้ํ วา นกาบหอย สว นผสม 1. วานกาบหอย 4 ขีด 2. น้ําตาลทราย 1 กิโลกรมั 3. น้ําสะอาด 6 ลติ ร 4. เกลอื 0.5 ชอ นชา หมายเหตุ : ถา ใชใบวา นกาบหอยมากสีจะเปนสีชมพูเขม วิธีทาํ 1. นําใบวา นกาบหอยสด ลางนา้ํ ใหส ะอาด 2. ห่ันใบวา นกาบหอยตามขวางใหเ ปนชิ้นเล็กๆ 3. ใสล งในหมอนาํ้ สะอาด ตมน้าํ ใหเ ดือดประมาณ 15 นาที 4. กรองเอาแตนา้ํ ใสนา้ํ ตาลทราย คนใหละลาย ตั้งไฟใหเดอื ดประมาณ 3 นาที ยกลง 5. พกั ไวใหเย็น กรองอกี ครัง้ กรอกใสขวดเก็บไวในตเู ยน็ จะไดนํ้าวานกาบหอยสีชมพูออน สรรพคุณ แกร อ นใน กระหายนา้ํ ฟกชาํ้ ภายใน นาํ้ ใบเตย

สมนุ ไพรเพอ่ื สุขภาพ 9 สว นผสม 1. ใบเตยสดๆ 200 กรัม 2. นํ้าตาลทราย 1 ถวยตวง 3. นํา้ สะอาด 7 ถวยตวง 4. เกลือ วิธที ํา 1. นําใบเตยหอมสดๆ มาลา งทาํ ความสะอาดแลวห่นั เปนทอนๆ 2. ใสห มอ ตมดวยนํา้ สะอาด พอเดอื ด ราไฟลงเคย่ี วไปเรอื่ ยๆ จนเหน็ สขี องใบเตยเขยี วออนๆ 3. กรองใบเตยออก จนเหลอื แตนา้ํ 4. ใสน ํา้ ตาลทราย เกลือเล็กนอ ยแลว ยกลง ทิ้งไวใ หเย็น 5. รับประทานกบั น้าํ แขง็ ทบุ สรรพคณุ แกออ นเพลีย บาํ รุงหวั ใจ นา้ํ ขิง สว นผสม 1. ขิงแก 1 กิโลกรัม 2. น้ําตาลทราย 3. นา้ํ สะอาด 3 ลิตร วธิ ที าํ 1. นําขงิ แกมาลา งน้ําใหส ะอาดแลวทุบพอแตก 2. นําขิงทีท่ ุบพอแตก ใสห มอตม ใสน าํ้ สะอาด ตมใหเ ดอื ดแลวลดไฟลง ตมตอไปจนน้ําขงิ ละลายผสมออกมากบั น้าํ จนเปน สีเหลอื งออน พอเดอื ด ราไฟลง เค่ยี วไฟออนๆ ประมาณ 5 นาที 3. ใสน ้ําตาลทราย คนใหเขา กบั นาํ้ ขิงยกลง รบั ประทานเปน น้ําขิงรอ นๆหรอื ใสนาํ้ แขง็ ทบุ กไ็ ด สรรพคณุ แกทอ งอืด ขบั ลม และแกอ าการคล่นื ไสอ าเจยี น

สมุนไพรเพอ่ื สขุ ภาพ 10 น้าํ ตะไคร สวนผสม 1. ตะไครแกง 3 ขดี 2. ตะไครห อม 2 ขีด 3. ใบเตย 2 กิโลกรัม 4. น้ําตาลทราย 1 กิโลกรัม 5. นา้ํ สะอาด 6 ลติ ร 7. เกลอื 2 ชอนชา หมายเหตุ : ถา ผสมน้าํ แข็ง ใชน าํ้ ตาล 1.5 กิโลกรมั วิธที าํ 1. นําตน ตะไครตัดใบออก ลางนาํ้ ใหส ะอาด ใบเตย ลา งนา้ํ ใหส ะอาด 2. ตดั เปน ทอ นสัน้ ๆ ใสลงในหมอน้ําสะอาด ตม น้ําใหเดอื ดประมาณ 15 นาที 3. กรองเอาแตนา้ํ ใสน าํ้ ตาล คนใหล ะลาย ต้งั ไฟใหเดอื ดประมาณ 3 นาที 4. พกั ไวใหเ ย็น กรองอกี คร้ัง กรอกใสข วดเกบ็ ไวใ นตเู ยน็ จะไดน้าํ ตะไครมสี เี หลือง อมเขียวออ นใสๆ มกี ลิ่นหอมตะไครและใบเตย สรรพคุณ บรรเทาอาการไขหวดั ขบั เหงือ่ ขับลม ขบั ปส สาวะ กระหายนํ้า

สมุนไพรเพอ่ื สขุ ภาพ 11 ข้ีผึ้งสมุนไพร หรือ ข้ีผึ้งลงุ ยุย สว นผสม 1. ไพล 1 กโิ ลกรมั 2. ขม้ิน 1 กิโลกรมั 3. ตะไครหอม 0.5 กโิ ลกรัม 4. ขีผ้ ึง้ 0.5 กโิ ลกรัม 5. วาสลนี 3 กโิ ลกรมั 6. น้ํามนั ดอกทานตะวัน 2 กิโลกรมั 7. การบูร 1 กิโลกรมั 8. พมิ เสน 0.5 กิโลกรมั 9. เมนทอน 3 ขดี 10. ผวิ มะกรดู 1 กิโลกรมั (หั่นเรยี บรอยแลว) หมายเหตุ ถา ทาํ นอ ยลดตามสวน ใชใบแหง ทงั้ หมด วธิ ีทาํ 1. นาํ นํา้ มันดอกทานตะวนั เทใสกระทะ 2 กโิ ลกรมั ต้งั ไฟปานกลาง 2. นาํ สมุนไพร ขมน้ิ มะกรูดมาทอดใหก รอบ 3. นาํ ขี้ผึง้ และวาสลีน มาผสมใหล ะลายเขา กันเคย่ี วในหมอ ตั้งไฟ 4. พอขี้ผ้งึ และวาสลนี ละลายแลว นาํ การบรู พมิ เสน เมนทอนมาผสมกวนใหเ ขากัน 5. นา้ํ สมนุ ไพรทที่ อดไดที่แลวนํามากรองดวยผาขาวบาง 4 ชั้น กรองลงในหมอใหสะอาด เทลงไปในหมอวาสลีนและขผี้ ึง้ ที่เตรียมไวคนใหเขากนั ใหเปนเนื้อเดียวกนั 6. แลว นํามาใสขวดหรอื ภาชนะท่ีเตรียมไว ปดฝาใหสนทิ ตัง้ ทิง้ ไวใหแข็งตัวประมาณ 1 ช่วั โมง สรรพคุณ ใชทาบรรเทาอาการเคลด็ ขัด ยอก ปวดกลา มเนอ้ื แมลงกัดตอ ย

สมนุ ไพรเพื่อสุขภาพ 12 สูตรสบู มะเฟอง สว นประกอบ 1. ชดุ ทําสบกู อ นใส 1 ชุด 2. มะเฟอ ง 4-5 ลูก 3. มะขามเปย ก 0.5 ขีด 4. แตงกวา 1 ลกู 5. ขมน้ิ บด 2 ชอนชา 6. นํ้าผ้ึง 2 ชอ นชา 7. นมสด 0.5 กลอง 8. นํ้าหอม 3-4 หยด 9. น้ํามนั มะกอก (ใชสาํ หรบั ทาพมิ พ) วธิ ีทาํ 1. นาํ มะเฟอ ง แตงกวา ขมิ้น มะขามเปยก นมสด ผสมกันบดบั่นใหล ะเอียดกรองเอาแตน้ํา 2. นําชดุ ทาํ สบูกอ นใส ใสล งในภาชนะตั้งไฟ พอละลาย ใสน้ําผง้ึ คนใหเ ขา กัน ยกลงทง้ิ ใหเ ย็น 3. นาํ หัวนํ้าหอม หยดลงไปตามชอบ หรือ ประมาณ 3-4 หยด แลวคนใหเ ขากัน 4. ทาพิมพดวยน้ํามันมะกอก ตักสบูที่เค่ียวไว ใสพิมพ ท้ิงไวใหเย็นประมาณ 1 ชั่วโมง นาํ ออกจากพิมพแ ลว หอ ดวยฟลม ยืด เกบ็ ไวไ ดท น (อยา เตมิ หัวนํ้าหอมขณะสบยู งั รอ น) สรรพคุณ ทําใหห นาขาวใสและลบจุดดา งดํา

สมุนไพรเพ่อื สขุ ภาพ 13 สูตรสบู ถา นน้ําสมกลั่นควันไม สว นประกอบ 1. ชุดทําสบูกอ นใส 1 ชุด 2. ถา นไมไผบดละเอยี ด 2 ชอนโตะ 3. มะขามเปย ก 4 ชอนโตะ 4. น้ําผ้ึง 2 ชอ นโตะ 5. นมสด 0.5 กลอ ง 6. น้ําหอม 3-4 หยด 7. น้าํ มันมะกอก (ใชส ําหรบั การพิมพ) วิธีทาํ 1. ถา นไมไผบดใหละเอยี ด 2. นาํ มะขามเปยกกบั นมสด มาขยาํ รวมกนั แลว กรองเอาแตน้ํา 3. นาํ ชุดทําสบูกอนใส ใสลงในภาชนะนําไปตั้งไฟ ใชต นุ ในนาํ้ เดือด (เหมอื นตุนไข) จนเกลด็ สบลู ะลาย 4. นาํ ถา นท่บี ดใหล ะเอียด พรอมนา้ํ มะขามเปยกกบั นมสดที่กรองไวใสลงไปในภาชนะชดุ สบู แลวคนใหเปน เนื้อเดียวกัน จากนั้นเติมน้ําผงึ้ คนใหเ ขากัน ปด ไฟ 5. น้ําสบทู ี่ไดต ง้ั ทิ้งไวจนอุณหภูมลิ ดลงเตมิ หัวนาํ้ หอม 3-4 หยด ตามตองการ 6. ทาพมิ พดว ยนํ้ามันมะกอก ตกั สบทู เ่ี คย่ี วไวใสพ ิมพ ท้ิงไวใหเยน็ นาํ ออกจากพมิ พแ ลว หอ ดว ยฟล มยืด (อยา เติมหวั น้ําหอมขณะสบยู งั รอน) สรรพคณุ ใชด ับกล่นิ ตวั ทาํ ใหผ วิ เนียนและลบจุดดางดํา

สมุนไพรเพือ่ สุขภาพ 14 สรรพคุณของสมนุ ไพรแตละชนิด เพชรสังฆาต ชอ่ื อื่นๆ : สันชะฆาต สันชะควด ขันขอ (ราชบุรี) สามรอยตอ(ประจวบคีรีขันธุ) พญารอยปลอง แปะฮวย หันขดั เชา (จนี ) ชื่อสามัญ : Edible-Stemed Vine. ชอื่ วิทยาศาสตร : Cissus Quadrangularis Linn. ชื่อวงศ : VITACEAE ลกั ษณะทว่ั ไป : เปน ไมเ ถาเล้ือย มลี ําตนเปนลาํ เลก็ ๆ เถารูปสเี่ หลีย่ มเปนปลองๆ ตรงขอ เล็กรัดตวั ลง บางขอจะมี เสน ยาวๆ เปน มอื หรืองวงยนื่ งอกออกจากขอ สําหรับพนั ยดึ กบั สง่ิ ที่อยใู กลๆ ใบเปน ใบเดยี่ ว มสี เี ขยี ว จะออกตามขอคลายใบตําลึง ผลจะออกเปนลูกกลมๆ เล็กเทาเม็ดพริกไทยมีสีแดงหรือดํา ดอกจะออกแซมตามขอ ตน ดอกจะเล็ก สว นทใ่ี ช : ตน สด (ปลอ งเถา) สรรพคุณ : รักษาโรคริดสีดวงตางๆ รักษากระดูกแตกหัก รักษาโรคลักปดลักเปด หนู าํ้ หนวก ประจําเดือนมาไมป กติ รางจืด ชื่ออน่ื ๆ : เครือเขา เย็น กําลงั ชางเผือก ยาเขียว เครอื เถาเขียว ยาํ่ แย ขอบชะนา(ไทย) ดเุ หวา (ตานี) คาย (ยะลา) ปงกะละ พิดพุด น้าํ นอง ช่ือสามญั : Babbler’s Bill Leaf. ช่ือวิทยาศาสตร : Thunbergia Lauriflolia Linn. ชอ่ื วงศ : ACANTHACEAE ลกั ษณะท่วั ไป : ตน รางจืดเปนไมเถาเน้ือแข็ง เลื้อยพาดพันไปตามตนไมอ่ืนๆ เถาจะกลม เปน ขอ ปลอง มีสีเขียว ใบเปนใบเดี่ยว สดหนาแข็งสีเขียวแก เปนรูปหัวใจ ตรงโคนใบเวา ปลายใบเปนต่ิงแหลม

สมุนไพรเพ่ือสขุ ภาพ 15 ดอกเปนกรวยตนๆ ปลายดอกจะแยกเปน 5 แฉก ออกเปนชอมี 3-4 ดอก หอยระยาลงมา สีมวงออนๆ มีตา เหลอื ง กลางกลีบบนเปนชอ สวนทใี่ ช : ทั้งตน ราก เถา สรรพคณุ : ใบใชป รุงเปน ยาเขียว ยาถอนพิษ ยาเบ่อื เมา แกไขและถอนพิษตางๆ ใชแ กอกั เสบ ทาํ พอกแกป วด บวม ลดความรอนในรางกาย รากใชเ ขา ยารกั ษาโรคขอ อักเสบและปอดบวม สมกบ ช่อื อืน่ ๆ : หญาเกรด็ หอยจนี ผักแวน (ภาคกลาง) สังสม (แพร) สม สงั กา สมสามตา(เชยี งใหม) สมดิน หญา ตานทราย (แมฮอ งสอน) ซาเฮย๊ี ะซง่ึ เชา (จนี ) ชือ่ สามญั : Creeping Lady’s sorrel , Yellow Oxalis , Indian sorrel ชอ่ื วทิ ยาศาสตร : Oxalis corniculata Linn. ชื่อวงศ : OXALIDACEAE ลักษณะทัว่ ไป : วชั พชื พุม เต้ียคลุมดิน สูงประมาณ 2-3 นิว้ สว นของลาํ ตน จะทอดเลอื้ ย ตามพืน้ ดิน ลาํ ตนมขี นปกคลมุ ใบ เปนใบประกอบ มใี บยอย 3 ใบ เกดิ จากจดุ เดียวกนั ทีป่ ลายกานใบ กา นใบ ยาวประมาณ 10 ซม. ใบยอยเปนรูปหวั ใจ ดอกตดิ ผลเปนฝก ตงั้ ตรงมลี กั ษณะเปน 5 เหลีย่ ม มขี นปกคลมุ สวนทใี่ ช : ใบออ น ยอดออน ท้งั ตน สรรพคณุ : แกไอ แกเจบ็ คอ โรคระบบทางเดินหายใจสว นบน เลือดกาํ เดาออก โรคในชองปาก แกป วดฟน รกั ษาแผลไฟลวก แผลฟกชาํ้ บวม โรคบิด โรคเรอ้ื น หนองใน ฝท เี่ ตา นม ดซี า นตวั เหลือง

สมนุ ไพรเพือ่ สขุ ภาพ 16 บอระเพด็ ชือ่ อืน่ ๆ : จุงจิง เครือเขาฮอ จุงจะลิง(ภาคเหนือ) หางหนู(อุบลฯ-สระบุรี) เจตมูลหนาม/เจตมลู หยา น (หนองคาย) เถาหวั ดวน/เจด็ หมนุ ปลกู (ภาคใต) ช่อื สามญั : Heart Leaved Moonseed ชอ่ื วทิ ยาศาสตร : Tinospora crispa(L.) Miers ex Hook.f.&Thoms. ,Tinsopora rumphii Boerl. , Tionspora tuberculata Beaumee. ชอ่ื วงศ : MENISPERMACEAE ลักษณะท่ัวไป : เปน พันธุไมเ ถาเลอ้ื ย เถากลมโตขนาดนิ้วมือ เถาเมื่อออนผิวเรียบสีเขียว เถาแกผ วิ ขรุขระเปน ปมุ ๆ ยางมีรสขมจัด ข้นึ เกาะตน ไมอนื่ ใบเปน ใบเดี่ยวรปู ใบโพหรอื รูปหัวใจ โคนใบหยัก เวา ดอกเปน ชอ ตามกิง่ แกตรงซอกใบหรอื ปลายก่ิง ขนาดเล็กสเี หลอื งอมเขียว ผลเปน รูปไข กลมรี สีเหลือง ถงึ แดง สว นท่ใี ช : ตน และเถา ใบ ผล สรรพคณุ : แกร อ นใน กระหายน้ํา บํารงุ กาํ ลงั บํารุงธาตุ ชวยเจริญอาหาร รักษา โรคฝดาษ โรคไขเหนือ โรคไข พษิ ทุกชนิด รักษาพยาธิ ในทอ ง รักษาโรคฟน ตําฟอกฝ แกฟ กชา้ํ ปวดแสบ ปวดรอ น รักษาโรคโลหิต โรคทางเดินปส สาวะ ขงิ ชื่ออ่นื ๆ : ขงิ เผอื ก(เชยี งใหม) , ขงิ แดง/ขิงแกลง(จันทบุร)ี , สะเอ(กะเหรี่ยง),เกีย(จีน) ชื่อสามัญ : Ginger ชื่อวิทยาศาสตร : Zingiber officinalis Roscoe. ชอ่ื วงศ : ZINGIBERACEAE ลักษณะทัว่ ไป : เปน พชื ตนลมลกุ ลําตน อยใู ตดินเรียกวา เหงา ตน สูงประมาณ 50-100 ซม. ลักษณะเหงา จะกลมและแบน ลําตน แทๆ จะมลี ักษณะเปน ขอๆ เนอ้ื ในจะเปน สขี าวหรอื เหลอื งออนใบเปน ใบเดีย่ ว

สมนุ ไพรเพ่อื สุขภาพ 17 ออก สลบั กันเปน สองแถว ใบยาวรูปหอก ฐานใบเรยี วแหลม ขอบใบเรยี บ ดอกออกรวมกันเปนชอ มีกาบสีเขียวปนแดง ลักษณะโคงๆหอรองรับ เหงา เมื่อแกจ ะมรี สเผ็ดรอนมาก สวนทใ่ี ช : ตน ใบ ดอก ผล ราก เหงา สรรพคณุ : ขบั ลม บรรเทาอาการจุกเสียดแนนเฟอ บํารงุ ไฟธาตุ รกั ษานว่ิ คอเปอ ย ฆา พยาธิ รักษาโรคบดิ ทองรวง รักษาโรคตา ชวยยอยอาหาร รักษาอาการไขใชผสมยาอื่นๆ รักษามะเร็ง หนองใน เปน ยาบํารงุ นํ้านม บรรเทาอาการคอแหง เจบ็ อก กระหายนํ้า ใชภายนอกรักษาโรคผิวหนังกลาก เกลอ้ื น แผลมีหนอง ขา ชอื่ อ่นื ๆ : ขา ตาแดง ขา หยวก/ขาหลวง(ภาคเหนอื ) เสะเออเคย/สะเชย(กะเหรี่ยง) ชอ่ื สามญั : Glalangal, Greater Galangal, Chinese Ginger ชอ่ื วทิ ยาศาสตร : Aipinia galangal Stuzn., Languas galangal Sw. ช่ือวงศ : ZINGIBERACEAE ลกั ษณะท่วั ไป : เปนพืชลม ลุกมีลาํ ตน เปน กอ มีเหงาอยูใตดิน เหงามีสีน้ําตาล มีเสนแบง ขอ เปนชว งส้ันๆ เนอื้ ในเหงา มสี ีขาว รสขม เผ็ดรอ น แตไมเ ผ็ดเหมือนกับขงิ มกั มกี ล่ินหอมฉุน เปน พชื ใบเดย่ี ว ใบยาวปลายมน ขอบใบเรียบ กา นใบยาวเปน กาบหุมซอนกนั ดอกเปน ชอ สขี าวนวล ผลกลมสีแดงสม สวนท่ใี ช : เหงา , ดอก, หนอ ออ น, ผล สรรพคุณ : ขับลม แกทองอืดทองเฟอ ทองเดิน บรรเทาอาการคล่ืนไส รักษาโรค ผิวหนังกลากเกลื้อน แกลมพิษ สารสกัดจากขานํามาประกอบเปนยารักษาแผลสดแกโรคปวดบวมตามขอ แกโรคหลอดลมอักเสบ ยาธาตุและยาขับลม ผลขาใชเปนยาแกปวดทอง ทองรวง ฆาเชื้อบิด ชวยยออาหาร ผลแหง บดเปน ผง รกั ษาอาการปวดฟน

สมุนไพรเพอื่ สุขภาพ 18 ชะพลู ชอื่ อน่ื ๆ : พลูลิง/ผักอีไร(ภาคเหนือ) ชาพลู/พลู(จันทบุรี) พลูลิงนก(เชียงใหม) ผักพลนู ก/ผกั ปูนก/พลูลงิ (พายพั ), นมวา(ใต),ผักนางเลกิ /ผกั อีเลดิ (อสี าน) ช่อื สามัญ : Cha-plu, Variegatum, Vilbetal Leaf bush ชื่อวิทยาศาสตร : Piper Sarmentosum Roxb. ช่ือวงศ : PIPERACEAE ลกั ษณะทวั่ ไป : เปนไมล มลุก แบงออกเปน 2 ชนดิ คือไมเถาและไมเ ลือ้ ย ใบเปน ใบเดีย่ ว รูปหัวใจ หนาใบสเี ขยี วเขม ลนื่ เปนมนั หลงั ใบมีสีเขยี วหมน ชอบช้ืนในท่ลี มุ ชนื้ ลุมตํ่า และชอบท่ีรม ๆ สวนทใ่ี ช : ตน ใบออ น ใบแก ราก สรรพคณุ : ขับเสมหะ แกจุกเสียด ธาตุพิการ แกเบาหวาน เจริญอาหาร ขับลมใน ลําไส บํารุงธาตุ ชว ยปรับธาตุ ในรางกายใหสมดุล (ถารบั ประทานมากไป จะทาํ ใหเกดิ อาการวงิ เวียนศีรษะ และ ทาํ ใหมกี ารสะสมของสาร Oxalate สงู ทาํ ใหเ ปน พษิ ตอรางกาย อาจทําใหเกิดนวิ่ ในไตได) ขมิ้น ชือ่ อน่ื ๆ : ขม้นิ แกง ขม้ินชนั ขม้ินแดง ขม้นิ ทอง ขมิน้ หยวก/ขมิ้นหัว(เชยี งใหม), หมิ้น/ขีม้ ้นิ (ภาคใต) ตายก (กําแพงเพชร) สะยด(แมฮ อ งสอน) ชื่อสามญั : Turmeric,curcuma ชื่อวทิ ยาศาสตร : Curcuma longa Linn. , Curcuma domestica Valeton. ชือ่ วงศ : ZINGIBERACEAE ลักษณะทว่ั ไป : เปน ไมล ม ลุก มีเหงา อยใู ตด นิ มาก เปนไมพรรณเดียวกันกับวานหรือขิงมี ลาํ ตน สูงประมาณ 50-70 เซนตเิ มตร. เน้ือในจะมีสีเหลืองอมสม มีกล่ินหอมใบเดี่ยวขนาดใหญ รูปหอกแกม ขนานกนั ดอกจะออกเปน ชอใหญ สวยสเี ขียวออนๆ หรอื ขาว ปลายดอกมสี ชี มพอู อ น สว นทใ่ี ช : เหงาท่แี กจ ดั ใชทั้งสดและแหง เหงา นิยมปน เปนผง

สมุนไพรเพือ่ สขุ ภาพ 19 สรรพคณุ : ลดอาการอกั เสบ แกจ ุกเสียดแนนเฟอ แกอาการทอ งเสยี ระงับอาการชัก ตา นเชื้อแบคทีเรีย ฆา พยาธิ ปองกนั ตับอักเสบ แผลในกระเพาะอาหารชวยใหเจริญอาหาร บรรเทาอาการ วิงเวยี น รกั ษาโรคผวิ หนัง ผดผืน่ คัน กลากเกลอื้ น ขับปสสาวะ รกั ษาไขผ อมเหลือง ทอ งมาน รักษาพิษ หนุมานประสานกาย ชือ่ อนื่ ๆ : วา นออยชาง(เลย) ชดิ ฮะลั้ง/กชุ ิดฮะล้ัง(จนี ) ชอ่ื สามญั : - ชอื่ วทิ ยาศาสตร : Schefflera Leucantha Viguier ชื่อวงศ : ACANTHACEAE ลักษณะทวั่ ไป : เปนพรรณไมพุม สูง 1-2 เมตร แตกก่ิงกานตํ่าใกลพ้ืนดิน เปลือกตน เรียบเปนสีน้ําตาล ใบ เปนใบประกอบ ออกเปนกระจุก แผออกแบบน้ิวมือออกเรียงสลับ มีใบยอย 7-8 ใบ ลกั ษณะใบยอ ย เปน รปู ยาวรี โคนใบมีหูใบ ซงึ่ จะตดิ อยกู ับกา นพอดี ใบเปนมัน ปลายใบเรียวแหลม ริมใบขอบ เปน คลื่นเลก็ นอย ดอกออกเปนชอ ๆ ผลเปนรปู ไข อวบน้ําผลออนมสี เี ขยี ว เม่อื แกหรอื สกุ จะเปลย่ี นเปน สแี ดง สวนที่ใช : ใบสด สรรพคณุ : แกโรคหอบหดื แพอากาศ รักษาหลอดลมอักเสบ ขับเสมหะ วัณโรคปอด ตาํ พอกสมานแผล หามเลือด แกอาเจียนเปน เลือด แกพ ษิ ตางๆ ดปี ลี ช่อื อื่นๆ : ประดงขอ ปานนุ พิษพญาไฟ บกี ผัวะ ดปี ลเี ชือก(ใต) ชอ่ื สามัญ : Long pepper, Indian Long Pepper ช่อื วิทยาศาสตร : Piper retrofractum Vahl. , Piper chaba Hunt ชื่อวงศ : PIPERACEAE

สมนุ ไพรเพอ่ื สุขภาพ 20 ลกั ษณะทวั่ ไป : เปน ไมเถา เถากลมเปนปลองตอกัน ตรงขอตอจะปอง มีรากส้ันๆรอบ ขอเพื่อเอาไวเกาะคาง หรือตนไมอื่นๆ เถาแตกก่ิงกาน ใบเปนใบเด่ียว ออกสลับกัน รูปรีแกมขอบขนาน ปลายใบเรียวแหลม โคนใบออกไมเทากัน ใบเปนมัน ดอกชอออกท่ีซอกใบ ลักษณะดอกเปนแทง รูปทรงกระบอกผลขนาดเล็กลม สเี ขยี วเขม เมือ่ สุกแกจ ะเปล่ยี นเปนสีน้าํ ตาล-แดงสม สวนท่ีใช : เถา ดอก ใบ ผล สรรพคณุ : เถา แกป วดฟน แกป วดทอ ง ทอ งเฟอ แนน จุกเสียด แกลม แกคุดทะ ราก ดอก เปนยาธาตุแกตับพกิ าร แกทองรวง ขบั ลมในลําไส บํารงุ ธาตไุ ฟ ใบ แกเสนอัษฎาและเสนสุมนา (เสนศูนยก ลางทอ ง) แกหดื ไอ เสมหะ แกหลอดลมอกั เสบ ผล นยิ มนาํ มาเปนเครอ่ื งเทศ ฟาทะลายโจร ชอื่ อนื่ ๆ : นา้ํ ลายพงั พอน(กรุงเทพ) ฟา สาง(พนัสนคิ ม) หญา กันง(ู สงขลา) สามสบิ ด(ี รอยเอ็ด) เมฆทะลาย (ยะลา) ฟา สะทา น(พทั ลงุ ) เขตตายายคลุม(โพธาราม) คีปง ฮ/ี เจก เก้ียงฮี/่ โขง เชา ช้ปี งก่ี(จนี ) ชอ่ื สามญั : Kariyat,The Creat,Creyat Root,Halviva,Green Chiretta<Kreat ชอ่ื วทิ ยาศาสตร : Andrographis paniculata (Burm.f.) Wall.ex. Ness. ชื่อวงศ : ACANTHACEAE ลักษณะทั่วไป : เปนไมลมลุกสูง 30-70 เซนติเมตร ทุกสวนมีรสขม กิ่งเปนส่ีเหลี่ยม ใบเด่ียวแผน ใบสีเขยี วเขมเปนมัน ใบแคบตรงปลายและโคนใบแหลม ดอกชอออกที่ปลายกิง่ และซอกใบ ดอก ยอ ย กลบี ดอกสขี าว ผล เปน ฝก เม่ือแกสนี ํ้าตาล ผลคลา ยกบั ผลของตนตอยติง่ แตม ขี นาดเล็กและสัน้ กวา สวนทใ่ี ช : ใชท ง้ั ตน ใบสด ใบแหง ใบจะเก็บมาใชไ ดเ มือ่ อายุ 3-5 เดอื น สรรพคุณ : แกไขทั่วไป ระงับการอักเสบ ไอ เจ็บคอ แกหวัด แกทอลซิล ขบั เสมหะ แกต ดิ เชอ้ื พวกที่ทําใหปวดทอ ง ทองเสีย บดิ แกกระเพาะลาํ ไสอักเสบ รักษาโรคผวิ หนงั ฝ ใบใช รกั ษานา้ํ รอ นลอกไฟไหม เปนยาขมเจริญอาหาร

สมนุ ไพรเพ่อื สขุ ภาพ 21 ตะไคร ชือ่ อื่นๆ : จะไค จะไค(ภาคเหนือ) ไคร(ภาคใต) ซีเร(ชวา) คาหอม(เง้ียว-แมฮองสอน) เชดิ เกรย เหลอะเกรย(เขมร-สุรนิ ทร) ช่อื สามญั : Lemon Grass, Lapine ช่อื วทิ ยาศาสตร : Cymbopogon citrates (DC.Ex Nees) Stapf. ชอ่ื วงศ : GRAMINEAE ลกั ษณะท่วั ไป : ไมลมลุกที่มีอายุหลายป จะข้ึนเปนกอใหญ สูงประมาณ 1 เมตร ลาํ ตนเปนรปู ทรงกระบอก แขง็ เกลยี้ ง ตามปลองมักมีไขปกคลุมอยู ชอบดินรวนซุย ปลูกไดตลอดป ใบสี เขยี วยาวแหลม ดอกฟูสขี าว หวั โตขึน้ จากดนิ เปน กอๆ กล่ินหอมฉุนคอ นขา งรอ น สว นท่ีใช : ท้ังตน ราก ใบ หัว สรรพคุณ : แกอาการทอ งอดื เฟอ ขบั ปสสาวะ แกน ว่ิ ขบั ประจาํ เดือน รักษาโรคหืด แกปวดทอง แกอหิวาตกโรค บํารุงไฟธาตุ ใชรวมกับสมุนไพรอ่ืนๆ จะเปนยาแกอาเจียน แกทราง ยานอนหลบั ลดความดนั แกล มอัมพาต แกไ ข แกกษยั เสน ชวยเจริญอาหารและขบั เหงือ่ บัวบก ชอื่ วทิ ยาศาสตร : Centella asiatica Urban ชื่อสามัญ : Asiatic Pennywort, Tiger Herbal วงศ : Umbelliferae ช่ืออน่ื : ผักแวน (ใต) ผักหนอก จําปาเครอื กะบงั นอก(ลําปาง) ลักษณะท่วั ไป : ตน เปนพืชลมลุกอายุหลายป มักข้ึนในท่ีชื้นแฉะ ลําตนเล้ือยยาว ไป ตามตามพ้นื ดนิ แตกรากฝอยตามขอ แผไปจะงอกใบจากขอ ชูขนึ้ 3-5 ใบ

สมุนไพรเพื่อสุขภาพ 22 : ใบ เปนใบเด่ียว เรียงสลับ รูปไต เสนผาศูนยกลาง 2-5 เซนติเมตร ขอบใบหยักกานใบยาว : ดอก ออกเปนชอทซ่ี อกใบ ขนาดเลก็ 2-3 ดอก กลีบดอกสมี ว ง : ผล เปนผลแหง แตกได สวนท่ใี ช : ลาํ ตน และใบสด สรรพคณุ : โรคปากเปอ ย ปากเหม็น แกร อ นใน กระหายน้ํา : ใชบวั บกสด 1 กํามือ(10-20 กรัม) ตําแลวคั้นเอาแตน้ําเติมน้ําตาลทราย เลก็ นอ ย ดม่ื วนั ละ 3 คร้ังตดิ ตอ 1-2 วัน กระชาย ชอื่ วิทยาศาสตร : Boesenbergia rotunda (L.) Mansf. ชื่อสามัญ : Kaempfer วงศ : Zingiberaceae ชือ่ อ่ืนๆ : กระชายดํา กะแอน ขิงทราย (มหาสารคาม) จี๊ปู ซีฟู เปาซอเราะ เปาสรี่ ะแอน(กะเหรีย่ ง-แมฮ องสอน) ละแอน (ภาคเหนือ) วานพระอาทติ ย (กรุงเทพฯ) ลกั ษณะทว่ั ไป : ไมลมลุก มีเหงาส้ัน แตกหนอได รากอวบ รูปทรงกระบอกหรือรูปไข คอนขางยาวปลายเรียว กวาง 1-2 เซนติเมตร ยาว 4-10 เซนติเมตร ออกเปนกระจุก ผิวสีนํ้าตาลออน เนือ้ ในสเี หลือง มกี ลนิ่ เฉพาะตัว สวนท่ีอยูเหนือดินเปนใบมี 2-7 ใบ ใบเด่ียว เรียงสลับรูปรี กวาง 5-12 เซนติเมตร ยาว 12-50 เซนติเมตร ปลายเรียวแหลม โคนมนหรือแหลม ขอบเรียบ เสนกลางใบ กานใบและกาบใบ ดา นบนเปนรอง ดา นลา งนูนเปนสนั กานใบเรียบ ยาว 7-25 เซนตเิ มตร กาบใบสีชมพู ยาว 7-25 เซนติเมตร ระหวางกา นใบและกาบใบมีล้ินใบ ชอ ดอกแบบชอ เชิงลด ออกท่ียอดระหวางกาบใบคูในสุด ยาวประมาณ 5 เซนติเมตร แตละดอกมีใบประดับประมาณ 2 ใบ สีขาวหรือขาวอมชมพูออน รูปใบหอก กวางประมาณ 8 มิลลิเมตร ยาว 3.5-4.5 เซนติเมตร กลีบเลี้ยงสีขาวหรือขาวอมชมพูออน โคนติดกันเปนหลอด ความยาว ประมาณ 1.7 เซนติเมตร ปลายแยกเปน 3แฉก กลบี ดอกสีขาวหรือขาวอมชมพูออน โคนติดกันเปนหลอด ยาวประมาณ 6 เซนติเมตร ปลายแยกเปน 3 กลีบ รูปใบหอก ขนาดไมเทากัน กลีบใหญ 1 กลีบ กวา งประมาณ 7 มิลลเิ มตร ยาวประมาณ 1.8 เซนติเมตร อีก 2 กลีบ ขนาดเทากัน กวางประมาณ 5 มิลลิเมตร ยาวประมาณ 1.5 เซนติเมตร เกสรเพศผู 6 อัน แต 5 อัน เปล่ียนไปมีลักษณะเหมือนกลีบดอก โดย 2 กลีบบนสีชมพู รูปไขกลบั ขนาดเทา กนั กวางประมาณ 1.2 เซนตเิ มตร ยาวประมาณ 1.7 เซนติเมตร อกี 3 กลีบลา งสีชมพตู ิดกนั เปนกระพงุ กวางประมาณ 2 เซนติเมตร ยาวประมาณ 2.7 เซนติเมตร ปลายแผ

สมนุ ไพรเพือ่ สุขภาพ 23 กวางประมาณ 2.5 เซนตเิ มตร มีสชี มพหู รอื มว งแดงเปนเสนๆอยเู กือบทง้ั กลบี โดยเฉพาะอยางยิ่งตรงกระเปาะ และปลายกลีบ มีเกสรเพศผูที่สมบูรณ 1 อัน กานชูอับเรณูหุมกานเกสรเพศเมีย ผลแกแตกเปน 3 เสี่ยง เมล็ดคอนขา งใหญ สรรพคณุ : เหงาใตด นิ มรี สเผ็ดรอนขม แกปวดทอง มวนในทอง ทองอืดทองเฟอ บํารงุ กาํ ลงั บาํ รุงกําหนัดแกกามตายดา น เ ปนยารกั ษาริดสดี วงทวาร : เหงาและราก แกบิดมูกเลือด เปนยาขับปสสาวะ แกปสสาวะพิการ ใชเ ปนยาภายนอกรกั ษาขก้ี ลาก : ใบ บํารงุ ธาตุ แกโรคในปาก คอ แกโลหิตเปน พษิ ถอนพิษตา งๆ มะกรูด ชือ่ วทิ ยาศาสตร : Citrus hystrix DC. ช่ือสามญั : Leech lime, Mauritus papeda วงศ : RUTACEAE ช่ืออ่นื : มะขูด(เหนอื ) มะขนุ (ใต) สม กรดู สมั ม่วั ผ(ี เขมร) โกรยั เขยี ด(กะเหรี่ยง-แมฮ อ งสอน) ลักษณะทวั่ ไป : ตน เปน ไมยนื ตนขนาดเล็ก แตกกิง่ กา น ลาํ ตน และก่ิงมหี นามแขง็ : ใบ เปนใบประกอบท่ีมีใบยอยใบเดียว สีเขียวหนา มีลักษณะคอดกิ่วที่ กลางใบเปนตอนๆ มีกานแผออกใหญเทากับแผนใบ ทําใหเห็นใบเปน 2 ตอน ใบสีเขียวแกคอนขางหนา มกี ลิน่ หอม : ดอก ออกเปนกระจกุ 3-5 ดอก กลีบดอกสขี าว รวงงาย : ผล สเี ขยี ว ผิวขรุขระ สวนที่ใช : ใบ ลูก ผวิ ลูก นํา้ ในลูกและราก สรรพคุณ : แกไอ แกอาเจียนเปนโลหิต แกชํ้าในและดับกล่ินคาว แกระดูเสีย ฟอกโลหิตระดู ขบั ระดู ขบั ลมในลาํ ไส แกไ ขก าํ เดา ถอนพษิ ผดิ สําแดง แกล มจุกเสยี ด แกฝใ นปาก

สมนุ ไพรเพ่อื สุขภาพ 24 กระเทียม ชอื่ วิทยาศาสตร : Allium sativum Linn. ช่ือสามญั : Garlic วงศ : AMARYLLIDACEAE(เดมิ จดั อยใู น LILIACEAE) ชอ่ื อ่นื : หอมเทียม (ภาคเหนือ) กระเทยี มขาว หอมเทยี ม(อุดรธาน)ี เทยี ม หวั เทียม (ภาคใต- ปตตานี) ลกั ษณะท่วั ไป : ตน ไมลมลุกมีเน้ือออนมีลําตนเปนหัว หัวอยูใตดินประกอบดวย กลีบเล็กๆ หลายกลบี รวมกัน ยาว 1-4 เซนตเิ มตร มีเปลอื กนอกสีขาวหมุ อยู 2-3 ชัน้ ตนบนดินสูง 30-45 เซนติเมตร : ใบ สเี ขยี วเขม แบนแคบและกลวง ยาว 30-60 เซนติเมตร กวาง 1-25 เซนตเิ มตร สวนโคนของใบหุมซอนกัน ดาลางมีรอยพบั เปน สันตลอดความยาวปลายใบแหลม : ดอก ออกเปนชอ ดอกสีขาวแตมสีมวงหรือสีชมพูขาวติดเปนกระจุกอยู บนกานชอดอกทย่ี าว ประกอบดวยหลายดอก กลีบดอกมี 6 กลบี รปู ยาวแหลมยาวประมาณ 6 มิลลิเมตร และมกี าบหมุ เปนจงอยยาว กานดอกยาวเล็กอับเกสร สว นที่ใช : สวนทอี่ ยูในดิน หัว (Bulb) หรือกลบี (Cloves) หวั ใชสดหรอื แหง สรรพคุณ : ใบ รสรอนฉุน ทําใหเสมหะแหง ชวยในระบบไหลเวียนโลหิต แกลม ปวดมวนในทอ ง : หัว มกี ล่ินฉนุ แกความดันโลหติ สงู แกกลากเกล้ือน แกอาการจุกเสียด แนน อดื เฟอ

สมุนไพรเพ่ือสขุ ภาพ 25 แมงลัก ชอื่ วิทยาศาสตร : Ocimum basilicum L.f. var. citratum Back. ชอื่ สามญั : Hairy Basil วงศ : Apiaceae ( Labiatae ) ชือ่ อ่นื : กอ มกอ ขาว มังลัก ลักษณะท่วั ไป : ตน พชื ลมลกุ ลาํ ตนตง้ั สูงแตกกง่ิ กา นสาขา ลําตนและก่ิงมีสันตามยาวมี ขนเลก็ นอ ยหรอื เกลยี้ ง มีกลิ่นหอม : ใบ เปนใบเดีย่ วเรียงแบบตรงขา มเปน คๆู รูปหอกถึงรูปรี ปลายและโคน ใบแหลมขอบใบเรียบเรือหยกั หา งๆ ไมม ีขน แตมีตอมนา้ํ มันเปนจดุ ๆ ตามผิวใบท้งั สองดา น : ดอก เปน ดอกชอที่ยอด อาจเปน ชอ เด่ียวๆ หรือแตกสาขาปลายแหลมมขี น : ผล เปน ชนดิ แหง ประกอบดว ยผลขนาดเล็กๆ 4 ผล อยูรวมกันรูปรีมจี ุดใสๆ สดี าํ สว นทีใ่ ช : เมลด็ แกและใบ สรรพคณุ : ใชเ ปน ยาระบาย แกอาการทองผูก ชว ยขับลม ลดอาการจุกเสยี ด แนน ทอ ง แกท องอดื ทองเฟอ ใชใบแมงลักซงึ่ มนี าํ้ มนั หอมระเหยมีฤทธิข์ ับลม

สมนุ ไพรเพือ่ สุขภาพ 26 ไพล ชอ่ื วิทยาศาสตร : Zingiber montanum (Koenig) Link ex Dietr. ชอื่ สามัญ : Phai วงศ : Zingiberaceae ช่ืออื่น : ปลู อย ปเู ลย (ภาคเหนือ) วานไฟ (ภาคกลาง) ม้ินสะลา ง(แมฮ องสอน) ลกั ษณะทั่วไป : ไมล ม ลุกสงู 0.7-1.5 เมตร มีเหงาใตดนิ เปลอื กสีน้ําตาลแกมเหลือง เน้ือใน สีเหลืองถงึ เหลอื งแกมเขยี ว แทงหนอหรอื ลาํ ตน เทยี มข้นึ เปน กอ ซึ่งประกอบดว ยกาบหรอื โคนใบหุมซอนกนั ใบ เด่ยี ว เรียงสลบั รูปขอบขนานแกมใบหอก กวา ง 3.5-5.5 เซนติเมตร ยาว 18-35 เซนติเมตร ดอกชอ แทงจาก เหงา ใตดนิ กลีบดอกสนี วล ใบประดับสีมวง ผลเปนผลแหง รูปกลม สวนทีใ่ ช : เหงา แกจ ัด เกบ็ หลังจากตนไพลลงหวั แลว สรรพคณุ : เหงา เปน ยาแกทอ งขน้ึ ทอ งอืดเฟอ ขับลม แกบดิ ทองเดิน ขบั ประจาํ เดอื นสตรี ทาแกฟ กบวม แกผ ืน่ คนั เปนยารักษาหืด เปนยากันเล็บถอด ใชตมนํ้าอาบหลงั คลอด : น้ําค้นั จากเหงา - รกั ษาอาการเคลด็ ขัดยอก ฟกบวม แพลงช้าํ เม่อื ย : หวั - ชว ยขับระดู ประจําเดือนสตรี เลอื ดรา ย แกม ตุ กติ ระดูขาว : ดอก - ขบั โลหติ กระจายเลือดเสีย : ตน - แกธ าตพุ กิ าร แกอ ุจาระพกิ าร : ใบ - แกไข ปวดเม่อื ย แกครน่ั เน้ือครน่ั ตัว แกเ มือ่ ย

สมนุ ไพรเพือ่ สุขภาพ 27 กะเพรา ชือ่ วทิ ยาศาสตร : Ocimum sanctum L. ช่ือสามัญ : Holy basil, Sacred Basil วงศ : Lamiaceae (Labiatae) ช่อื อืน่ : กะเพราขน กะเพราขาว กะเพรา (ภาคกลาง) กอมกอ กอมกอดง (เชียงใหม) อตี ไู ทย (ภาคอสี าน) ลักษณะท่ัวไป : ไมพ ุมสงู 30-60 เซนติเมตร โคนตนคอนขา งแข็ง กะเพราแดงลาํ ตน สแี ดง อมเขียว สวนกะเพราขาวลําตนสีเขียวอมขาว ยอดออนมีขนสีขาว ใบ เปนใบเดี่ยว ออกตรงขามกัน รูปรี กวาง 1-3 เซนติเมตร ยาว 2.5-5 เซนติเมตร ปลายใบมนหรอื แหลม โคนใบแหลม ขอบใบจกั เปนฟนเลื่อย แผนใบสีเขยี ว มีขนสขี าว ดอก ออกเปน ชอทป่ี ลายยอด ดอกสีขาวแกมมวงแดงมจี ํานวนมาก กลีบเลี้ยงโคน เชอ่ื มติดกัน ปลายเรยี วแหลม ดานนอกมีขน กลบี ดอกแบง เปน 2 ปาก ปากบนมี 4 แฉก ปากลา งมี 1 แฉก ปากลา งยาวกวา ปากบน มีขนประปราย เกสรเพศผมู ี 4 อนั ผล เปนผลแหง เมื่อแตกออกจะมเี มลด็ สีดาํ รูปไข สวนทใี่ ช : ราก ใบและยอดกะเพราแดง ทงั้ สดและแหง สรรพคณุ : แกอาการคล่นื ไส อาเจียน (เกดิ จากธาตุไมปกติ) ใชแกอาการทองอืดเฟอ แนจุกเสยี ดและปวดทอง แกไ อและขบั เหงอื่ ขบั พยาธิ ขบั นํา้ นมในสตรีหลังคลอด ลดไข ยาอายุวัฒนะ รกั ษาหูด กลากเกลอื้ น ตานเชือ้ รา เปนยาสมนุ ไพร ใชไ ล หรือฆายงุ

สมุนไพรเพ่อื สขุ ภาพ 28 สะเดา (สะเดาไทย) ชอ่ื วิทยาศาสตร : Azadirachta indica A. Juss. var. siamensis Valeton ช่อื สามัญ : Siamese neem tree, Nim , Margosa, Quinine วงศ : Meliaceae ช่ืออื่น : สะเลยี ม (ภาคเหนอื ) กะเดา (ภาคใต) ลกั ษณะท่วั ไป : ไมตน สูง 5-10 เมตร เปลือกตนแตกเปนรองลึกตามยาว ยอดออน สีนํ้าตาลแดง ใบ เปนใบประกอบแบบขนนก ออกเรียงสลับรูปใบหอก กวาง 3-4 เซนติเมตร ยาว 4-8 เซนติเมตร โคนใบมนไมเทากัน ขอบใบจักเปนฟนเล่ือย แผนใบเรียบ สีเขียวเปนมัน ดอก ออกเปนชอที่ปลายก่ิงขณะแตกใบออน ดอกสีขาวนวล กลีบเลี้ยงมี 5 แฉก โคนติดกัน กลีบดอกโคนติดกัน ปลายแยกเปน 5 แฉก ผล รปู ทรงรี ขนาด 0.8-1 เซนติเมตร ผิวเรียบ ผลออนสีเขียว สุกเปนสีเหลืองสม เมล็ดเด่ียว รปู รี สวนทใี่ ช : ยอดออน ใบออน ดอกออน สรรพคุณ : แกโ รคผวิ หนัง นา้ํ เหลอื งเสีย พุพอง บํารุงธาตุ ชวยยอยอาหาร บํารุง หัวใจใหเตน เปนปกติ พิษกําเดา คันในลําคอ และฆา แมลงศตั รูพชื

สมุนไพรเพื่อสขุ ภาพ 29 พิมเสนตน ชอ่ื วิทยาศาสตร : Pogostemon cablin (Blanco) Benth. ชอื่ สามัญ : Patchouli วงศ : Labiatae ลักษณะทั่วไป : ไมลมลกุ สูง 30-75 เซนติเมตร ทุกสวนมกี ลิน่ หอม ใบเด่ียว เรียงสลับ รูปไข กวาง 5-8 เซนติเมตร ยาว 7-10 เซนติเมตร ขอบใบหยักมน ดอกชอ ออกที่ซอกใบและปลายกิ่ง กลีบดอกสีขาวประมว ง ผลแหง ไมแ ตก สวนที่ใช : ใบ สรรพคณุ : ใบ ปรุงเปน ยาเย็น ถอนพิษรอน แกไ ขทกุ ชนดิ ทําใหความรอนในรางกาย ลดลง โดยมากมกั ปรงุ เปนยาเขยี ว ถอนพิษไข และยาหอมกเ็ ขา ใบพิมเสนตนนี้

สมุนไพรเพื่อสขุ ภาพ 30 โหระพา ช่ือวิทยาศาสตร : Ocimum basilicum L. ชื่อสามญั : Sweet Basil วงศ : Labiatae ช่อื อ่ืน : หอกวยซวย หอวอซุ (กะเหร่ียง-แมฮองสอน) อิ่มคิมขาว (ฉาน-แมฮองสอน) ลกั ษณะทวั่ ไป : เปนพืชลมลกุ ลาํ ตนมีขนาดเลก็ มีลกั ษณะหรือลักษณะพิเศษของโหระพา ดังน้ี เปนพืชท่ีมีอายุไดหลายฤดู มีลักษณะลําตนเปนสี่เหลี่ยมและเปนพุม ลําตนจะแตกแขนงไดมากมาย กิ่งกานมีสีมวงแดง มีขนออนๆ ที่ผิวลําตน ใบมีรูปรางแบบรูปไขปกติจะยาวไมเกิน 2 นิ้ว ใบจะเรียงตัวแบบ ตรงกนั ขา มกนั ขอบใบหยักแบบฟนเลื่อย ใบมีสีเขียวอมมวงและมีกานใบยาว ดอกโหระพา ดอกมีขนาดเล็ก สขี าวหรือมวงจะออกเปนชอ คลายฉตั รทีย่ อด ดอกมที ั้งสมี วง แดงออนและสีขาว ในแตละดอกจะมีเกสรตัวผู 4 อัน รังไขแตละอนั จะมสี ีมว ง เมล็ดมีสดี าํ มีกลน่ิ หอมท้งั ตน สวนท่ีใช : ท้ังตน เมลด็ และราก สรรพคณุ : ขับลม ทําใหเจริญอาหาร แกปวดหัว แกหวัด ปวดกระเพาะอาหาร จุกเสียดแนทองเสีย ประจําเดือนผิดปกติ ฟกช้ําจากหกลม หรือกระทบกระแทก ผดผื่นคัน มีน้ําเหลือง ใชแ กตาแดง มขี ้ตี ามาก ตอตาใชเ ปนยาระบาย แกเ ด็กเปนแผล มีหนองเรอ้ื รัง

สมุนไพรเพ่ือสขุ ภาพ 31 วานน้าํ ชอ่ื วิทยาศาสตร : Acorus calamus L. ชื่อสามัญ : Mytle Grass, Sweet Flag วงศ : Araceae ชื่ออ่ืน : คงเจ้ียงจ้ี ผมผา สมช่ืน ฮางคาวน้ํา ฮางคาวบาน (ภาคเหนือ) ตะไครนํ้า (เพชรบุรี) ทิสีปตุ อ (กะเหร่ยี ง-แมฮ องสอน) วานนาํ้ วา นน้าํ เล็ก ฮางคาวผา (เชียงใหม) ลกั ษณะทว่ั ไป : วานนํา้ มลี ําตนเปนเหงาอยูใตดินลกั ษณะเปน แทง คอ นขา งแบน มใี บแข็งต้ัง ตรง รปู รา งแบนเรียวยาวคลายใบดาบฝรั่ง ปลายใบแหลม แตกใบเรียงสลับซายขวาเปนแผง ใบคอนขางฉํ่านํ้า ดอกมสี ีเขียวมขี นาดเลก็ ออกเปนชอ มีจํานวนมากอัดกันแนนเปนแทงรูปทรงกระบอก มีกานชอดอกลักษณะ คลา ยใบ ทง้ั ใบ เหงา และรากมกี ลิน่ หอมฉุน ชอบข้นึ ตามทน่ี าํ้ ขงั หรอื ที่ชน้ื แฉะ สว นท่ีใช : ราก เหงา นํ้ามนั หอมระเหยจากตน สรรพคณุ : เปนยาแกปวดทอ ง ธาตเุ สยี บํารุงธาตุ แกจุก ขับลมในลําไส ปรุงลงในยาขมตางๆ ทาํ ใหระงบั อาการปวดทองไดดี ยาแกบิด เปนยารักษาบิดของเด็ก (คือมูกเลือด) และหวัดลงคอ (หลอดลม อักเสบ) ไดอยางดี เปน ยาขับเสมหะอยา งดี ชาวอนิ เดียใชฉีกเปนช้ินเล็กๆ เคี้ยว 2-3 นาที แกหวัดและเจ็บคอ และใชปรุงกบั ยาระบายเพอ่ื เปน ยาธาตดุ วยในตวั เปน ยาเบื่อแมลงตางๆ

สมนุ ไพรเพอ่ื สขุ ภาพ 32 ขีเ้ หล็ก ช่ือวิทยาศาสตร : Senna siamea (Lam.) Irwin & Barneby ชอ่ื สามญั : Cassod tree, Thai copper pod วงศ : Leguminosae – ceasalpinioideae ชื่ออนื่ : ข้ีเหล็กใหญ(ภาคกลาง) ขี้เหล็กแกน(ราชบุรี) ขี้เหล็กหลวง(ภาคเหนือ) ข้ีเหล็กบาน(ลําปาง, สุราษฎรธานี) ผักจ้ีล้ี(เง้ียว-แมฮองสอน) แมะขี้แหละพะโด (กะเหร่ียง-แมฮองสอน) ยะหา(มลาย-ู ปต ตานี) ลักษณะทัว่ ไป : ไมย นื ตน สูง 10-15 เมตร แตกก่ิงกานเปนพุมแคบ เปลือกตนสีนํ้าตาล แตกเปนรองต้ืนๆ ตามยาว ใบ เปนใบประกอบแบบขนนก ออกเรียงสลับ มีใบยอย 13-19 ใบ รูปรี กวาง 1.5 เซนติเมตร ยาว 4 เซนติเมตร ปลายใบเวาต้ืนๆ โคนใบมน ขอบใบเรียบ แผนใบเรียบ สีเขียว กานใบรวมสีนํ้าตาลแดง ดอก ออกเปนชอแบบชอแยกแขนงท่ีปลายกิ่ง ดอกสีเหลือง กลีบเล้ียงกลม มี 3- 4 กลบี ปลายมน กลีบดอกมี 5 กลีบ ปลายมน โคนเรยี ว หลดุ รวงงา ย กา นดอกยาว 1-1.5 เซนตเิ มตร เกสรเพศผมู ีหลายอนั ผล เปนฝก แบนยาว กวา ง 1.3 เซนตเิ มตร ยาว 15-23 เซนติเมตร หนา สนี าํ้ ตาล เมล็ดมี หลายเมล็ด สวนทใี่ ช : ดอก ราก ลาํ ตนและกิ่ง ทั้งตน เปลอื กตน แกน ใบ ฝก เปลอื กฝก ใบแก สรรพคณุ : รกั ษาโรคเสนประสาท นอนไมห ลบั รักษาโรคโลหิตพกิ าร รักษาโรคเหน็บขา ทาแกเ สน อมั พฤกษใหหยอ น แกฟกช้าํ แกไขบาํ รงุ ธาตุ ไขผดิ สําแดง แกกระษัย ดบั พษิ ไข แกพษิ เสมหะ รักษา โรคหนองใน รกั ษาอาการตัวเหลอื ง เปน ยาระบาย บาํ รุงน้าํ ดี ทาํ ใหเ สนเอ็นหยอ น แกเสนเอ็นพกิ าร รกั ษาวณั โรค รักษามะเรง็ ปอด ปอดอกั เสบ มะเรง็ ลาํ ไส มะเรง็ กระเพาะอาหาร รักษาโรคเบาหวาน รกั ษาโรคหนองใน แกพิษไขเ พอ่ื นํา้ ดี พิษไขเพอื่ เสมหะ แกล มข้นึ เบอ้ื งสงู รักษาโรคผิวหนงั แกโรคกระษัย แกนิว่ ขับปส สาวะ

สมนุ ไพรเพ่ือสุขภาพ 33 สาบเสอื ชื่อวทิ ยาศาสตร : Eupotorium odortum[1] L. ชือ่ สามัญ : สาบเสือ วงศ : Asteraceae ช่อื อืน่ : กะเส็ดโคก กะเส็ดบก ตอเขา สะตอเขา สะตอเทศ ผักกานถิน ผกั หนองบก กระถินไทย กระถินบาน ลักษณะท่วั ไป : สาบเสือ เปนไมลมลุก แตกก่ิงกานสาขามากมายจนดูเปนทรงพุม ลําตน และกิง่ กานปกคลุม ดวยขนออนนุม กานและใบเมื่อขย้ีจะมีกล่ินแรงคลายสาบเสือ มีลําตน สูง 1-2 เมตร ใบเด่ียวออกจากลําตน ที่ขอ แบบตรงกันขาม รูปรีคอนขางเปนสามเหลี่ยมขอบใบหยัก ปลายใบแหลม ฐานใบกวาง เรยี วสอบเขาหากัน สเี ขยี วออน เสน ใบเหน็ ชดั เจน 3 เสน มีขนปกคลมุ ผิวใบท้งั สองดาน ดอกเปนชอ สีขาวหรือฟาอมมวง ดอกยอย 10-35 ดอก ดอกวงนอกบานกอน กลีบดอก หลอมรวมกนั เปน หลอด ผลขนาดเลก็ รปู รางเปน หา เหล่ียมสีนํ้าตาลหรือดํา มีหนามแข็งบนเสนของผล สว นปลายผลมขี นสขี าว ชว ยพยงุ ใหผ ลและเมลด็ ปลวิ ตามลม สวนท่ีใช : ตน ใบและดอก สรรพคณุ :ทองขึ้น ทองเฟอ แกบวม ใบของสาบเสือมีสารสําคัญคือ กระอะนิสิก และฟลาโวนอยดห ลายชนิด เชน ไอโซซากูรานติ ิน และโอโดราตนิ นอกจากน้ียงั มี สารพวกนํ้ามันหอมระเหย ซงึ่ ประกอบไปดว ยสารยพู าทอล คมู ารนิ โดยสารสําคญั เหลาน้จี ะไปออกฤทธิท์ ่ีผนังเสนเลือดทําใหเ สนเลือดหด ตัว และนอกจากนี้ยงั มีฤทธไ์ิ ปกระตนุ สารท่ที ําใหเลือดแข็งตัวไดเร็วขึ้น ทําใหสามารถหามเลือดได[6]ใชเปนยา รกั ษาแผลสด สมานแผล ถอนพษิ แกอกั เสบ แกพ ิษนํา้ เหลอื ง แกต าฟาง แกตาแฉะ แกริดสดี วงทวารหนัก รกั ษา แผลเปอ ย

สมนุ ไพรเพื่อสขุ ภาพ 34 กระถิน ชือ่ วทิ ยาศาสตร : Leucaena glauca Benth. ชื่อสามญั : White popinac, Wild tamarind, Leadtree วงศ : LEGUMINOSAE ชอ่ื อืน่ : : กะเส็ดโคก กะเส็ดบก ตอเขา สะตอเขา สะตอเทศ ผักกานถิน ผักหนองบก กระถินไทย กระถนิ บา น ลักษณะทัว่ ไป : กระถนิ เปน ไมพ ุมขนาดใหญถ งึ ไมตนขนาดเล็ก สูงไดถึง 10 เมตร ไมคอย แตกก่ิงกานสาขา ใบ ประกอบแบบขนนกสองชั้น เรียงสลับ ยาว 12.5-25 เซนติเมตร แกนกลางใบ ประกอบยาว 10-20 เซนติเมตร มีขน แยกแขนง 2-10 คู ยาว 5-10 เซนติเมตร กานแขนงส้ัน มีขน ใบยอ ย 5-20 คู เรยี งตรงขาม รูปแถบ หรือรูปขอบขนานแกมรูปแถบ กวาง 2-5มิลลิเมตร ยาว 0.6-2.1 ซม. ปลายแหลม โคนเบ้ยี วขอบมีขน ทอ งใบมีนวล ดอก ออกเปนชอ ชอ ดอกออกแบบชอกระจุกแนน ออกตามงา ม ใบ 1-3 ชอ เปน ฝอยนมุ มกี ล่ินหอมเล็กนอย ผล เปนฝก ฝกออกเปนชอแบนยาวประมาณ 4-5 น้ิวฟุต เห็น เมล็ดเปน จุดๆ ในฝก ตลอดฝก สวนทีใ่ ช : ดอก ราก เมล็ด สรรพคณุ : บํารุงตับ แกเกล็ดกระดี่ขึ้นตา ขับลม ขับระดูขาว เปนยาอายุวัฒนะ ใชถ า ยพยาธติ วั กลม (ascariasis)

สมุนไพรเพือ่ สขุ ภาพ 35 ไหลแดง ชือ่ วิทยาศาสตร : Derris sp. ชื่อสามญั : Tuba root ชอ่ื วงศ : LEGUMINOSAE ชอื่ อื่น : กะลาํ เพาะ เครอื ไหลนา้ํ หางไหลแดง ไหลน้ํา อวดนํา้ และโพตะโกซา ลกั ษณะทว่ั ไป : ลําตนโดยทั่วไปมีลักษณะกลม ใบใบออนและยอดมีขนออนสีน้ําตาลปนแดง เถาหรือลําตนสวนที่แกมีสีนํ้าตาลปนแดงเชนกัน ใบแกมีสีเขียว ในกานใบหนึ่งๆ จะมีใบตั้งแต 5 ถึง13 ใบ มีลกั ษณะคลายรูปไข กวา งประมาณ 3.0 - 9.5 เซนติเมตร และยาวตั้งแต 6.5 - 27.0 เซนติเมตร โคนใบเล็ก เรยี วขึ้นไปและปลายใบแหลม ขอบใบเรยี บ พื้นใบดา นบนสเี ขียวลกั ษณะมัน เสนแขนงลกั ษณะคลา ยกา งปลา ไดช ัด แตไมยาวจนชิดขอบใบ ดานทองใบมีสีเขียวและเห็นเสนใบชัดกวาดานบน เสนใบมีลักษณะเขียวปน น้าํ ตาล ดอกออกเปน ชอ มลี กั ษณะคลา ยดอกแคฝรั่ง ดอกตูมมสี ชี มพูอมมวง เม่ือบานเตม็ ทจ่ี ะเปน สชี มพูออน และคอยๆ เปล่ยี นเปนสขี าว ผลเกิดจากการผสมเกสร มลี ักษณะเปนฝกแบน ฝก ออ นมีสเี ขยี วและเปล่ียนเปนสี นํา้ ตาลปนแดงเม่อื ฝกแก ภายในฝกมีเมล็ด ซ่ึงมลี ักษณะกลม และแบนเลก็ นอ ย สนี าํ้ ตาลปนแดงเมื่อฝกแกจะ แยกออกจากกัน ทําใหเ มลด็ รว งลงพ้ืนดิน เม่ือมีความช้ืนพอเหมาะ เมล็ดก็จะงอกและเจริญเติบโตเปนลําตน ตอ ไปพชื ชนิดน้มี ที รงพมุ หนาทึบ สามารถปลูกเปน ไมร มหรอื ไมด อกกไ็ ด สวนท่ใี ช : ราก สรรพคุณ : ใชรากซึ่งมสี ารพษิ ในโลต นิ้ ใชฆาเหา เรือดและเบื่อปลา กุง หอย ปู เพื่อ เตรียมสระเล้ยี งสตั วน ้ํา วัยออนเปนอยางดี ใชเถาโลติ๊นผสมกับยาอื่นๆ เพื่อปรุงเปนยาขับระดูสตรี แกระดู เปน ลิ่มหรอื กอ น นอกจากนี้ ยังพบวาเถาโลติ๊นตากแหงสําหรับดองสุรารับประทาน สามารถใชเปนยาขับลม และบํารุงโลหติ ยาถา ยเสน เอ็น ถา ยลมและถา ยเสมหะอกี ดว ย

สมนุ ไพรเพือ่ สขุ ภาพ 36 อญั ชนั ชอ่ื วิทยาศาสตร : Clitoria ternatea L. ช่ือสามญั : Blue Pea, Butterfly Pea วงศ : LEGUMINOSAE-PAPILIONOIDEAE ช่ืออนื่ : แดงชนั (เชยี งใหม) ; อญั ชัน (ภาคกลาง); เอ้อื งชนั (ภาคเหนอื ) ลกั ษณะทั่วไป : ไมลมลุกเล้ือยพัน ยาว 1-5 เมตร ใบประกอบแบบขนนก เรียงสลับ ใบยอย 3-9 ใบ รูปรีแกมขอบขนานหรือรูปรีแกมไขกลับ กวาง 1-3 เซนติเมตร ยาว 2-5 เซนติเมตร ดอกเดีย่ ว ออกที่ซอกใบ กลีบดอกรปู ดอกถวั่ สนี ้ําเงิน มวงหรือขาว ตรงกลางกลีบสีเหลืองหมนขอบสีขาว ผลเปนฝก รปู ดาบ โคง เล็กนอ ย ปลายเปนจะงอย แตกเปน 2 ฝา เมลด็ รปู ไต จํานวน 6-10 เมลด็ สว นทใ่ี ช : กลีบดอกสดสีนํ้าเงิน จากตนอญั ชันดอกสีนํา้ เงิน รากของตน อัญชันดอกขาว สรรพคณุ : ดอกสนี ้ําเงนิ ใชเปนสีแตงอาหาร ขนมรากตนอัญชันดอกสีขาวใชเปนยา ขับปส สาวะ ยาระบาย

สมนุ ไพรเพอ่ื สุขภาพ 37 มะขาม ชื่อวิทยาศาสตร : Tamarindus indica L. ชอ่ื สามัญ : Tamarind วงศ : Leguminosae – Caesalpinioideae ช่ืออนื่ : ขาม(ภาคใต) ตะลบู (ชาวบน-นครราชสีมา) มองโคลง(กะเหร่ียง-กาญจนบุรี) อาํ เปยล(เขมร-สรุ ินทร) หมากแกง(เงี้ยว-แมฮองสอน) สา มอเกล(กะเหร่ียง-แมฮอ งสอน) ลกั ษณะทว่ั ไป : ไมต นขนาดกลางจนถึงขนาดใหญแ ตกกิ่งกา นสาขามาก เปลือกตน ขรุขระ และหนา สีน้ําตาลออน ใบ เปนใบประกอบ ใบเล็กออกตามกิ่งกานใบเปนคู ใบยอยเปนรูปขอบขนาน ปลายใบและโคนใบมน ดอก ออกเปนชอเล็กๆ ตามปลายก่ิง หน่ึงชอมี 10-15 ดอก ดอกยอยขนาดเล็ก กลบี ดอกสเี หลืองและมจี ุดประสีแดงอยกู ลางดอก ผล เปนฝกยาว รูปรางยาวหรือโคงยาว 3-20 เซนติเมตร ฝก ออ นมเี ปลอื กสเี ขยี วอมเทา สีนาํ้ ตาลเกรียม เนื้อในติดกบั เปลอื ก เม่อื แกฝก เปลย่ี นเปน เปลอื กแข็งกรอบหัก งาย สีนํ้าตาล เนื้อในกลายเปนสนี า้ํ ตาลหมุ เมล็ด เนื้อมีรสเปรี้ยวและหวาน สวนทใี่ ช : ใบแก เน้อื ในฝก เปลือกเมลด็ เปลือกตนและแกน สรรพคุณ : เมล็ด สาํ หรับการถายพยาธติ ัวกลม พยาธเิ สน ดา ย : ใบ ขับเสมหะ : แกน ขบั โลหติ : เนื้อ เปน ยาระบาย ขบั เสมหะ แกไ อ

สมนุ ไพรเพื่อสุขภาพ 38 ขอย ชอ่ื วทิ ยาศาสตร : Streblus asper Lour. ชื่อสามญั : Siamese rough bush, Tooth brush tree วงศ : Moraceae ชื่ออน่ื : ตองขะแหน (กาญจนบรุ ี) กกั ไมฝ อย (ภาคเหนือ) สม พอ (เลย) ลักษณะทัว่ ไป : ไมตน แตกก่ิงกานเปนพุมทึบ ก่ิงกานคดงอ เปลือกตนบาง ขรุขระ เล็กนอย สีเทาอมเขียว มียางสีขาวขน ใบ เปนใบเดี่ยว ออกเรียงเวียน รูปรี กวาง 2-4 เซนติเมตร ยาว 4-8 เซนตเิ มตร โคนใบสอบ ปลายใบแหลม ขอบใบหยกั แผน ใบสีเขียว สากมือ เน้ือใบหนาคอนขาง กรอบ ดอก ออกเปนชอสน้ั ตามซอกใบ ดอกยอยเล็กมาก ดอกแยกเพศ ดอกเพศผูรวมกันเปน ชอกลม กาน ดอกสัน้ ดอกเพศเมียชอหนงึ่ มีดอกยอ ย 2 ดอก กานดอกยาว ผล รปู ทรงกลม ผลมเี นือ้ ผนงั ผลช้ันในแข็ง เมอ่ื ออ นสีเขยี ว สุกเปน สีเหลอื งใส เมล็ดเดยี่ ว แข็ง กลม สวนทีใ่ ช : ก่ิงสด เปลือก เปลอื กตน เมลด็ ราก ใบ สรรพคณุ : กิ่งสด ทําใหฟ นทน ไมป วดฟน ฟน แขง็ แรง ไมผ ุ : เปลอื ก แกบ ิด แกทองเสีย แกไ ข ฆาเชือ้ จลุ ินทรีย : เปลือกตน แกรดิ สดี วงจมูก : เมลด็ ฆา เช้อื ในชองปาก และทางเดินอาหาร บาํ รงุ ธาตุ ขบั ลมในลาํ ไส : รากเปลือก เปน ยาบาํ รงุ หัวใจ

สมนุ ไพรเพ่อื สขุ ภาพ 39 พริกไทย ชื่อวิทยาศาสตร : Piper nigrum L. ชอื่ สามญั : Black Pepper วงศ : Piperaceae ชื่ออื่น : พรกิ นอย (ภาคเหนือ) ลกั ษณะท่ัวไป : เปนไมเล้ือยมีท้ังตนตัวผูและตนตัวเมีย ลําตนมีขอและปองชัดเจน ใบเดย่ี วออกสลบั รปู ไขหรือรี ปลายใบแหลม โคนใบมนกลมหรือแหลมเล็กนอย ใบมีขนาดกวาง 3.5-6 เซนติเมตร ยาว 7-10 เซนตเิ มตร เสนใบทบ่ี รเิ วณโคนใบมี 3-5 เสน ดอกออกเปนชอและออกตรงขามกับใบ ชอรูปกาน ใบยาว 10 - 20 มลิ ลิเมตร ตดิ อยูต ามแกนชอ ดอกรองรบั ดอก รงั ไขก ลมปลายเกสรแยก 3-5 แฉก ชอดอกตัว ผู มีดอกที่มีเกสรตัวผู 2 อัน ผลรวมกนั บนชอ ยาว 5-15 เซนตเิ มตร ผลรูปทรงกลมขนาด 4-5 เซนติเมตร แกแ ลวมเี มล็ดสดี ํา ภายในมี 2 เมลด็ สวนทใี่ ช : ใบ ผล เมล็ด ดอก สรรพคุณ : ใบ แกลมจกุ เสียดแนน ทอ งอืดเฟอ : ผลท่ยี งั ไมส ุกนํามาเปนเครอ่ื งเทศ แตง กลิน่ อาหาร : เมลด็ ขับลม ขบั เสมหะ ขับเหง่ือ ขบั ปส สาวะ บํารงุ ธาตุ อาหารไมย อ ย : ดอก แกต าแดง ถนอมอาหารหลายชนิด เชน มะมวงดอง

สมุนไพรเพอื่ สุขภาพ 40 วา นกาบหอย ช่ือวิทยาศาสตร : Tradescantia spathacea Stearn ชื่อสามัญ : Oyster plant , White flowered tradescantia วงศ : Commelinaceae ชอ่ื อนื่ : กาบหอยแครง วา นหอยแครง (กรุงเทพฯ) ลกั ษณะทวั่ ไป : ไมลมลุก สูง 20-45 เซนติเมตร ลําตนอวบใหญ แตกใบรอบเปนกอ ใบ เปนใบเด่ยี ว ออกเรียงซอนเปน วงรอบ รูปใบหอก ปลายใบแหลม ขอบใบเรยี บ หลงั ใบสีเขยี ว ทอ งใบสมี วงแดง เน้ือใบหนา ดอก ออกเปนชอตามซอกใบ แตละชอประกอบดวยใบประดับสีมวงปนเขียว รูปหัวใจคลาย หอยแครงมี 2 กาบ โคนกาบท้ังสองประกบเกยซอนและโอยหุมดอกสีขาว ดอกสีขาวเล็กอยูรวมเปนกระจุก กลบี ดอก 3 กลบี รปู ไข สีขาว แผนกลีบหนา เกสรเพศผูมี 6 อัน ผล รูปรี กวาง 2.5-3 มิลลิเมตร ยาว 3.5 มิลลิเมตร มขี นเลก็ นอ ย ผลแกแ ตกออกเปน 3 ซีก เมลด็ เลก็ สว นที่ใช : ใชใบสด หรือตากแหง เก็บไวใ ช และดอก เม่ือเก็บดอกที่โตเต็มที่ แลวตาก แหง หรืออบดวยไอนํ้า 10 นาที แลวจึงนาํ ไปตากแหง เกบ็ เอาไวใช สรรพคณุ : ใบ แกรอนใน กระหายน้ํา แกไอ อาเจียนเปนโลหิต แกฟกชํ้าภายใน เนอ่ื งจากพลัดตกจากท่ีสูงหรือหกลมฟาดถกู ของแขง็ แกบิด ถา ยเปนเลอื ด แกปส สาวะเปนเลือด : ดอก รสชมุ เยน็ ตม กับเน้ือหมูรับประทาน ใชขับเสมหะ แกไอแหงๆ แก อาเจยี นเปนโลหติ เลอื ดกําเดาออก หา มเลือด แกป ส สาวะเปนเลอื ด แกไอเปนเลือด แกบิดถายเปนเลือด เคลด็ ลับหรือเกรด็ ความรูเรอ่ื งสมุนไพร คนเราถาเลือดลมเดนิ ไมส ะดวกอะไรก็เปนไดหมด

สมุนไพรเพือ่ สขุ ภาพ 41 การปลกู พืชสมนุ ไพร สภาพแวดลอ มทีต่ อ งการ การปลกู พืชสมุนไพรเปน ส่ิงจาํ เปน เนอื่ งจากในอดีตการใชส มนุ ไพรเปนการเกบ็ จากธรรมชาติ แตไ มมีการปลกู ทดแทน ทาํ ใหพ ืชสมนุ ไพรมีจํานวนลดลง ปจจุบันเริ่มมีการนําเอาพืชสมุนไพรมาใชประโยชน มากขน้ึ จึงจาํ เปน ตอ งมีการปลูกใหไ ดจ าํ นวนมากขน้ึ ใหเ พยี งพอกบั ความตอ งการ ดังนั้นเพ่ือใหพืชเจริญเติบโต ไดดีและใหผ ลผลิตทม่ี ีคณุ ภาพ จึงตองคาํ นงึ ถงึ สิง่ ทีสาํ คญั ตอไปนี้ พื้นท่ี การเลือกสภาพพ้ืนที่ใหเหมาะสมกับการปลูกพืชสมุนไพรแตละชนิดเปนสิ่งจําเปน เน่ืองจากพชื สมุนไพรเปน พชื ทีข่ น้ึ เองตามธรรมชาติ แตล ะพน้ื ทเ่ี หมาะท่ีพชื สมนุ ไพรจะขน้ึ แตกตา งกนั การเลือก พนื้ ที่ใหเ หมาะสมจะชว ยใหพืชนั้นๆ เจริญเติบโตดี ผลผลิตสูงและมีคุณภาพ ท้ังยังลดคาใชจายในการจัดการ และการดูแลรกั ษา และสงิ่ สําคัญในการปลูกพืชสมนุ ไพรคอื ไกลจากแหลง สารเคมี แสง มีความสําคัญในการสังเคราะหแสงของพืช ความตองการในปริมาณของแสงเพื่อ นาํ ไปใชขึ้นอยูกับพืชแตละชนิด พืชสมุนไพรบางชนิดสามารถเจริญเติบโตและใหผลผลติดีเม่ือปลูกในสภาพ กลางแจง แตบางชนิดตองการแสงนอ ย เชน ตะไครชอบแสงแดด , โหระพา มะระ กระเพรา ชอบแดดเชาแต บายตองรม เปนตน จึงตองมีการดูแลใหเหมาะสมเพื่อใหพืชมีการเจริญเติบโตเต็มท่ีซึ่งจะมีผลตอปริมาณ สารสาํ คัญอกี ดว ย โดยทั่วไปแลว สถานทเ่ี หมาะสมมักจะใหพืชโดนแสงในตอนเชา แตการปลูกเพื่อขยายพันธุ ควรทําในตอนเย็นเพ่อื ปองกนั การโดนแสง อุณหภมู ิ การท่ีพืชไดร บั อุณหภมู ทิ ี่เหมาะสม มผี ลตอการเจรญิ เติบโตแตกตางกันไปตามชนิด ของพืช บางชนิดชอบรอ น แหง แลง บางชนิดชอบอากาศหนาว นอกจากน้ียังรวมถึงความรอนเย็นของดินและ บรรยากาศรอบๆ ตนพชื สมุนไพรดว ย นาํ้ เปน ปจจยั สาํ คัญในการเจรญิ เติบโตของพชื ชวยใหตนพชื ดดู แรธ าตุอาหารจากดินได ชวย การสังเคราะหแสงและการหายใจของพืช นอกจากความชุมช่ืนในดินแลว ความชุมช้ืนในอากาศก็จําเปน ชวยใหตน ไมสดช้นื ไมเ หยี่ วเฉา ดงั น้นั ถาพชื ขาดน้ําจะเกดิ อาการเหีย่ วเฉา ถารุนแรงก็อาจะตายได พืชบางชนิด ตองการความช้ืนสงู เชน กระวาน กานพลู เปน ตน การปลูกพืชสมุนไพร 1. ในการเตรยี มดินของพชื สมุนไพร มขี ้ันตอนดงั น้ี 1.1 การไถพรวน เพ่ือกาํ จดั วชั พชื และทาํ ใหดินรวนซยุ 1.2 ใสป ยุ คอกหรอื ปยุ หมัก แตโดยทัว่ ไปการปลกู พชื สมนุ ไพรพ้ืนบานใชปุยหมักจะใหผล ดกี วา (แตก ารลงปยุ หมักจะตองเกลี่ยดนิ ใหเ สมอราดดินใหแฉะ และปูฟางเนื่องจากอุมน้าํ ไดด แี ละเปน ปยุ ในตัว) 1.3 กําหนดระยะปลูกที่เหมาะสมกับพืชแตละชนิด กรณีท่ีปลูกพืชสมุนไพรเพ่ือใหราก หวั ลาํ ตนใตดนิ หรือเหงา จาํ เปน ตองเตรยี มดนิ ใหร วนซุยเปน พิเศษโดยเฉพาะอยา งย่ิงพืชทใี่ หร ากอาจตัดปลูกใน ภาชนะทีน่ ําเอารากออกมาภายหลงั ได 2. วธิ ีการปลูกมหี ลายวิธขี น้ึ อยูก บั สวนของพชื ทน่ี ํามาปลูกและชนิดของพชื 2.1 การปลกู ดว ยเมล็ด สามารถทาํ ใหโ ดยการหวา นลงแปลง แลวใชดินรวนโรยทับบางๆ แลวรดนํ้าใหช้ืนตลอดทั้งวัน เมื่อเมล็ดงอกเปนตนออน ถอนตนท่ีออนแอออก ใหมีระยะหางระหวางตน พอสมควร สวนการหยอดลงหลุมโดยตรงมักใชกับพืชท่ีมีเมล็ดใหญ โดยหยอดเมล็ดใหมีจํานวนมากกวาที่ ตองการและถอนออกภายหลัง แตก็มีเทคนิคของพืชแตละชนิดในการปลูกดวยเมล็ดท่ีไมเหมือนกัน เชน

สมนุ ไพรเพือ่ สขุ ภาพ 42 ฟาทะลายโจร เมอื่ โรยเม็ดแลว ใหนําฟางมาคลมุ อีกที เพ่อื ปองกนั หญา ขนึ้ สามารถเปน ปุยใหกบั ตนพืชและไม ตองรดน้าํ บอ ย เปน ตน 2.2 การปลกู ดว ยหวั ควรปลกู ท่ีระบายนํ้าดี ปลกู โดยฝง หวั ใหล กึ พอประมาณ กดดินใหแ น พอสมควร คลมุ แปลงปลูกดวยฟางหรอื หญาแหง เชน ไพล ขมน้ิ เปน ตน 2.3 การปลูกดวยหนอหรือเหงา ในกรณีทีมีตนพันธุอยูแลวทําการแยกหนอท่ีแข็งแรง โดยตัดแยกหนอจากตน แม โดยทหี่ นอ จะตองแตกออกมาจากตน แมและมีรากงอกแลวเทานั้น จากนัน้ นาํ หนอ ที่ ไดม าตดั รากทช่ี ้ําหรือใบที่มากเกนิ ไปออกบาง แลวจงึ นําไปปลกู ในดินท่ีเตรยี มไว กดดนิ ใหแนนและรดน้ําใหชุม ควรบังรม เงาใหจ นกวา ตนจะแขง็ แรง หมายเหตุ การปลูกพชื สมนุ ไพรพ้นื บา น ไมน ยิ มปลูกดว ยกง่ิ ชาํ หรือกง่ิ ตอน เนอ่ื งจากจะทําให ตนแมพันธตุ ายงาย ตนลกู ไมแข็งแรง การดแู ลรกั ษาพืชสมนุ ไพร การใหน าํ้ ควรใหน ้าํ อยา งเพยี งพอและสมํ่าเสมอ ตองคํานึงถึงความเหมาะสมโดยพิจารณา ลกั ษณะของพืชแตล ะชนดิ วาตอ งการนํ้ามากหรือนอย เชน วานน้ําเปนพืชที่ชอบน้ํามาก เปนตน โดยปกติควร ใหน ้ําอยา งนอยวันละครั้ง แตหากเห็นวาแฉะเกินไปก็เวนชวงได หรือแหงเกินไปก็ใหนํ้าเพ่ิมเติม จึงตองคอย สงั เกตเน่อื งจากแตละพื้นทม่ี สี ภาพดนิ และภูมิอากาศแตกตางกัน การใหนํ้าควรใหจนกวาพชื จะตง้ั ตัวได การกําจัดศัตรูพืช ควรใชวิธีธรรมชาติ เชน อาศัยธรรมชาติจัดสมดุลกันเอง ไมควรทําลาย แมลงทุกชนิด เพราะบางชนิดเปนประโยชน จะชวยควบคุมและกําจัดแมลงท่ีเปนศัตรูพืชใหลดลง ทั้งนี้ การกาํ จดั ศตั รพู ชื สมนุ ไพรท่ีปลอดภยั และยังรกั ษาสมดุลดังกลาว ควรใชป ุย หมักนน้ั จะไดผลดที ส่ี ดุ การบํารุงรักษาพืชสมุนไพร ควรเลอื กวธิ ีดแู ลรักษาใหเปนไปตามธรรมชาตมิ ากที่สดุ และควร หลีกเลีย่ งสารเคมไี มว า ดา นการใหปุยการกําจัดวัชพืชหรือศัตรูพืช เนื่องจากมีพิษตกคางในพืชและยังมีผลกับ คุณภาพและปริมาณสารสาํ คัญในพชื อกี ดว ย การเก็บเกี่ยวพืชสมุนไพร 1. เก็บเกย่ี วถูกระยะเวลา ทมี่ ีปรมิ าณสารสาํ คญั สงู สุด การนาํ พืชสมนุ ไพร ไปใชป ระโยชนใ ห ไดส ูงสดุ นนั้ ในพชื จะตองมปี รมิ าณสารสําคญั มากทสี่ ุด ทัง้ นข้ี ึน้ อยกู ับปจ จยั หลายอยาง โดยเฉพาะอยางยง่ิ ชว งเวลาทีเ่ กบ็ เกี่ยวพชื สมนุ ไพร ดังนนั้ การเกบ็ เก่ยี วสมุนไพรจงึ ตองคํานงึ ถงึ ทง้ั อายเุ กบ็ เก่ยี วและชว งระยะเวลา ทีพ่ ชื ใหสารสาํ คญั สงู สดุ ดวย เชน ตะไครควรเก็บเกีย่ วเมือ่ อายุครบ 4 เดือน โดยเนอ้ื ลาํ ตนจะเปน สแี ดง ไมเ ชนน้ันจะไมม สี รรพคณุ ทางยา เปนตน 2. เก็บเกีย่ วถูกวธิ ี โดยทวั่ ไปการเกบ็ สว นของพืชสมุนไพร แบงออกตามสวนทใี่ ชเ ปน ยา ดังนี้ 2.1 ประเภทรากหรอื หัว เกบ็ ในชว งท่พี ืชหยดุ การเจริญเติบโต ใบและดอกรว งหลุด หรอื ในชว งตนฤดหู นาวถงึ ปลายฤดูรอน ซงึ่ เปน ชวงทรี่ ากและหวั มกี ารสะสมปริมาณสารสาํ คญั ไวค อ นขา งสูง วิธเี กบ็ ใชว ิธีขุดอยางระมดั ระวัง ตัดรากฝอยออก 2.2 ประเภทใบหรอื เก็บทง้ั ตน ควรเกบ็ ในชว งทีพ่ ืชเจริญเตบิ โตมากทสี่ ุด บางชนิดจะระบุ ชว งเวลาท่ีเกบ็ ซึ่งชว งเวลานั้นใบมสี ารสาํ คัญมากทส่ี ดุ วิธเี ก็บ ใชว ิธเี ดด็ หรอื ตัด โดยทวั่ ไปแลวหากเกบ็ ชว งเชา ไมควรเก็บเกนิ 10.00 น. สวนตอน เยน็ ควรเกบ็ ประมาณ 15.00-16.00 น. และขึน้ อยูกบั ชนิดของพืชดว ย เชน ฟา ทะลายโจร ถา ไมออกดอกไมค วร เก็บเนื่องจากไมมสี รรพคุณทางยา เปนตน

สมนุ ไพรเพอ่ื สขุ ภาพ 43 2.3 ประเภทผลและเมล็ด โดยทั่วไปมักเก็บตอนผลแกเต็มที่แลว แตบางชนิดจะเก็บ ในชว งทผ่ี ลยงั ไมส ุก วิธีเก็บ ใชวิธีเด็ดหรือวิธีตัด เชน วานรอยแปด ควรเก็บเม่ือโตเต็มที่แลว ไมควรเก็บ ตอนสกุ เน่ืองจากแมลงชอบกนิ เปนตน เคล็ดลับการเก็บสมุนไพร การเก็บสมุนไพร จะตองเก็บในตอนเชา ระหวางเวลา 9.00 – 12.00 น. เพราะเปนชวงที่ตนไมต่ืน และสรรพคุณท่ีมีในพืชสมุนไพรจะคอยๆ ขึ้นมาจากรากสูใบ เปรยี บเหมือนสิ่งมีชีวติ จะทาํ ใหไดสรรพคุณยาที่ครบถวน แตถาจําเปนตองเก็บหลังจากเท่ียงวันไปแลว ใหลูบ ใบพชื สมุนไพร เพ่อื เปน การปลุกใหต ่ืนกอ นและบอกขอยาจากพืช เพราะตน ไม ก็มหี ัวใจ แลว จงึ เกบ็ มาใชท ําตวั ยา การปฏบิ ตั ิหลงั การเก็บเกีย่ ว 1. การทาํ ใหแ หง พืชสมุนไพรนอกจากจะใชสดแลว ยังมีการนํามาทําใหแหงเพ่ือสะดวกในการเก็บรักษาและ การนํามาใชสมุนไพรท่ีมีความชื้นมากเกินไปจะทําใหเกิดเชื้อราและแบคทีเรีย และยังเรงใหเกิดการสูญเสีย สารสําคญั ดว ย วิธีการทําแหง โดยการตากแหงหรืออบแหง 1.1 การตากแหง พชื สมุนไพร ควรตากในภาชนะโปรง สะอาด ปอ งกนั ฝุนละอองและตาก ในท่ีรม การตากแดดควรมีลานตากยกจากพืน้ ดนิ มหี ลงั คาคลุมไมต ากแดดโดยตรง 1.2 การอบแหง เปนอีกวิธีหน่ึงทีสามารถทําใหพืชสมุนไพรแหง ซึ่งตองใชอุณหภูมิและ ระยะเวลาในการอบแตกตางกันไป ตามสวนของพืชสมุนไพร ซึ่งเปนวิธีท่ีสะดวกและประหยัดเวลาและได วัตถุดบิ ทม่ี คี ุณภาพดี

สมุนไพรเพอื่ สุขภาพ 44 เรือนอบสมุนไพรลงุ ยยุ 2. การเกบ็ รกั ษาสมุนไพรแหง เม่ือสมุนไพรแหงแลว การดูดความช้ืน การเขาทําลายของแมลง เชื้อราและแบคทีเรีย เปนองคประกอบสําคญั ที่เรง ใหส มุนไพรเส่ือมคณุ ภาพเรว็ ขึ้นจงึ ควรปฏิบตั ิดงั นี้ 2.1 ควรเกบ็ ในที่สะอาดไมอ ับช้นื มอี ากาศถายเทไดด ีและไมถูกแสงแดดหรือเก็บในหอเยน็ 2.2 เก็บในภาชนะทป่ี ดสนทิ เชน ยวดแกว สีชามฝี าปดสนทิ ถงุ พลาสติกหรอื ถงุ ฟลอยด 2.3 ไมค วรเกบ็ ไวนาน โดยทัว่ ไป สมนุ ไพรไมค วรเก็บนานเกนิ กวา 1 ป เพราะจะสญู เสยี สารสําคัญท่ตี อ งการได การทําสมนุ ไพรไลแมลง การทาํ นา้ํ หมักสมนุ ไพรไลแ มลงและชวยยอยสลายซงั ขา ว อปุ กรณ 1. ถังพลาสตกิ ชนิดมฝี าปดสนิท ขนาด 100 ลิตร 1 ใบ 2. ถงั น้ําพลาสตกิ 1 ใบ 3. ไมสาํ หรับใชใ นการคนสว นผสม 1 อัน 4. เขียงและมีด สําหรบั ห่นั และสบั 1 ชดั สว นผสม 1. สะเดา (ใชไดท ้ังเปลอื ก ใบ และเมลด็ ) 2 กโิ ลกรมั 2. ขา (ใชไดท งั้ หัว ตน ใบและยอดออน) 2 กิโลกรมั 3. ขี้เหลก็ (ใชไ ดทงั้ กง่ิ และใบ) 2 กิโลกรมั 4. ฟา ทะลายโจร (ใชไดท ัง้ ราก กงิ่ และใบ) 3 กิโลกรมั 5. ไหลแดง (ใชไดทัง้ กิง่ และใบ) 1 กโิ ลกรมั 6. สาบเสอื (ใชไดท้งั ก่งิ และใบ) 2 กิโลกรมั 7. กระถนิ (ใชไ ดทัง้ กิง่ และใบ) 2 กิโลกรมั 8. ลูกมะกรดู 150 ลูก 9. หยวกกลว ยหั่น 2 กิโลกรมั 10. พ.ด. 2 หรือ 6 2 ซอง 11. กากนาํ้ ตาล 3 กโิ ลกรมั 12. นํ้าสะอาด 50 ลิตร

สมนุ ไพรเพอื่ สขุ ภาพ 45 วิธที ํา 1. นําสว นทผี่ สม 1-10 มาสับหรือหน่ั แลวนาํ สว นผสมทัง้ หมดใสในถงั พลาสติก 100 ลติ ร 2. เทกากน้ําตาล/ พ.ด. 2 หรือ พ.ด. 6 และนํา้ สะอาด ใสถงั พลาสตกิ คนใหเ ขา กนั 3. เทน้ําหมัก ตามขอ 2 ที่ผสม คนใหเขากัน ลงในถังพลาสติกที่ใสสมุนไพรท้ัง 10 ชนิด แลว คลุกเคลาใหเขากนั (ตอ งใหน า้ํ ทว มสมุนไพรท่อี ยใู นถงึ ดวย) 4. ปด ฝาถังพลาสตกิ ตามขอ 3 ใหส นิทและเก็บไวในที่รม ครบ 7 วัน ใหเปดฝาแลวใชไมคน เพอ่ื กลบั สมนุ ไพรดา นลางขนึ้ มาอยดู า นบนแลวปดฝาใหส นิทหา มเปดตงั้ ท้งิ ไวป ระมาณ 1 เดือน ก็จะไดน้ําหมัก ชีวภาพสมนุ ไพรเขม ขน ประโยชน 1. ใชฉ ีด พน ไลแ มลงทุกชนดิ (เนอื่ งจากสว นผสม ลําดบั ที่ 1-7 มสี รรพคุณในการขบั ไลแมลง) 2. ใชเปน ฮอรโมนบาํ รงุ พชื ผัก ผลไม และขา ว (เนื่องจากสว นผสมลําดบั ที่ 8-10 มี สรรพคุณ ชวยเรง การเจริญเตบิ โตและใบ) 3. ใชใ นการยอ ยสลายซงั ขาวในแปลงนา (เนอ่ื งจากสวนผสมลาํ ดบั ที่ 8-9 มีสรรพคุณในการสรา ง จุลินทรียชว ยยอยสลาย) วธิ ีใช 1. กรองเอานํ้าสมุนไพรไลแ มลงเขมขน ปรมิ าณ 50 ซีซี. ผสมนํ้า 10 ลิตร หรือ 1 ปบ นํ้าไป ฉีดพนตนพืช และใบในชวงเย็นหรือเชาที่ยังไมมีแสงแดด ทุก 7-10 วัน/ครั้ง เพื่อไลแมลงและชวยเรงการ เจริญเติบโตและการจบั ใบของพืช 2. กรองเอานํ้าหมักสมุนไพรสูตรเขมขนปริมาณ 100 ซีซี. ผสมนํ้า 10 ลิตร ใชฉีดพนใน แปลงนา พื้นที่ 1 ไร เพ่อื ยอยสลายซงั ขาว หมายเหตุ เมือ่ นาํ นํา้ สมนุ ไพรไลแ มลงไปใชห มดแลว กากสมนุ ไพรทอ่ี ยูในถัง สามารถนําไปใส ตามโคนตน ไม เพ่อื เปน ปุย บํารงุ ดินไดด วย สมนุ ไพรรสขมบางชนิด หากในพ้ืนท่ีไมมี สามารถใชสมุนไพรชนิด อ่ืนที่มีรสขมแทนได เชน บอระเพด็ หรือยาสูบ เปนตน

สมุนไพรเพ่อื สขุ ภาพ 46 อางอิง - เวบ็ ไซต sanook.com (http://guru.sanook.com/search/knowledge_search.php) - เว็บไซต โลกแหงสมุนไพร : รงั สรรค ชณุ หวรากรณ (http://www.angelfire.com/ri2/rangsan/important.html) - หนงั สือ บนั ทึกภูมิปญญา ศนู ยเรยี นรูชมุ ชน บนรากฐานเศรษฐกจิ พอเพียง บา นวงั กระจับ โดย ทมี นกั จัดการความรู ชมชนบานวังกะจับ มิถุนายน 2553 - เวบ็ ไซตปยุ ตราบัวทพิ ย (http://www.puibuatip.com/index.php?lay=show&ac=article&Id=538732120&Ntype=16) - เวบ็ ไซต โครงการอนุรักษพันธุกรรมพืชอนั เนือ่ งมากจากพระราชดําริ สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี (http://www.rspg.or.th/) - เว็บไซต the-than.com (http://www.the-than.com) - หนังสือ Special Magazine ปที่ 37 ฉบับท่ี 1824 วันศกุ รท่ี 4-10 กุมภาพนั ธ 2554 - หนงั สือ Special Magazine ปท่ี 37 ฉบับท่ี 1825 วันศกุ รท่ี 11-17 กุมภาพนั ธ 2554 - หนังสือ Special Magazine ปท่ี 37 ฉบับที่ 1826 วนั ศกุ รท่ี 18-24 กุมภาพนั ธ 2554 - ขอมลู กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย หนังสือพมิ พเดลินิวส ฉบับที่ 22,593 วนั จันทรท ่ี 22 สิงหาคม 2554 - หนังสอื เคล็ดลบั ภมู ปิ ญญาแกจนได จัดพมิ พโ ดย สาํ นักงานสาธารณสุขจังหวดั สิงหบ ุรี - เวบ็ ไซตส าํ นกั งานพฒั นาชุมชนอาํ เภอคายบางระจัน จังหวดั สิงหบ ุรี (http://www3.cdd.go.th/khaibangrachan) - เวบ็ ไซต กรมวิชาการเกษตร (http://it.doa.go.th/vichakan/news.php?newsid=24) - เวบ็ ไซต the-than.com (http://www.the-than.com) - เวบ็ ไซต ระบบฐานขอมลู ทรัพยากรชวี ภาพและภูมปิ ญ ญาทองถ่ินของชุมชน (http://www.bedo.or.th/lcdb/biodiversity/view.aspx?id=9303) - เว็บไซต สมุนไพรไทยภมู ิปญ ญาไทย อนรุ ักษไ วเ พ่ือคนไทยทง้ั ชาติ (http://www.samunpri.com/herbs/?p=61) - หนงั สือเรื่อง ผักพนื้ บานตานโรค เลม 1 กรมพฒั นาการแพทยไทยและการแพทยท างเลือก ISBN : 978-611-11-0006-8 - ถอดประสบการณตรงจากนายยุย ปานทอง หรือ “ลุงยุย” ณ ศูนยเรียนรูชุมชนบานวังกระจับ ตําบลคอทราย อําเภอคายบางระจัน จังหวดั สิงหบ รุ ี

สมนุ ไพรเพ่ือสุขภาพ 47


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook