Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ✍️ วิวัฒน์หนังสือไทย

✍️ วิวัฒน์หนังสือไทย

Description: ✍️ วิวัฒน์หนังสือไทย

Search

Read the Text Version

วชิรญาณวโรรส, พระเจา้ น้องยาเธอ กรมหมนื่ . บาฬีเวยยากรณ์: แบบสำ� หรบั เรียนภาษาบาฬ.ี พระนคร: ศึกษาพิมพการ, ๒๔๓๓. แบบเรียนภาษาบาลีทพี่ ระเจา้ นอ้ งยาเธอ กรมหม่นื วชริ ญาณวโรรส (สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสงั ฆปริณายก พระองค์ท่ี ๑๐) ทรงพระนพิ นธ์ไว้ส�ำหรับให้พระภกิ ษุสามเณรใช้ศกึ ษา รอมแพง. บพุ เพสนั นิวาส. กรงุ เทพฯ: ฟิสกิ ส์เซน็ เตอร,์ ๒๕๕๓. นวนิยายไทยอันโด่งดัง ประพนั ธ์โดยนกั เขียนไทย มากฝีมือนามปากกาวา่ รอมแพง ถกู ตพี ิมพ์คร้ังแรก เม่อื พ.ศ. ๒๕๕๓ เปน็ นวนิยายองิ ประวัตศิ าสตร์ สมยั อยธุ ยารัชกาลสมเด็จพระนารายณม์ หาราช เนื้อเร่ืองมีครบทกุ อรรถรสไม่วา่ จะเปน็ เศรา้ สนุกสนาน ตลกขบขนั และโรแมนตกิ ทจี่ ะท�ำใหผ้ ู้อา่ นร้สู ึกเข้าถงึ บทบาทของตวั ละคร บรรยากาศภายในเรอ่ื ง เหมอื นได้ เขา้ ไปอยู่ในเร่อื งราวน้นั จรงิ ทัง้ ยังได้ความรเู้ กี่ยวกับ ประวัตศิ าสตร์ วฒั นธรรม และขนบธรรมเนยี ม ประเพณีในสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราชอีกดว้ ย 49

ศรีวรวงษ์ (ม.ร.ว. จิตร์ สทุ ัศน์), พระยา และ คารต์ ไรต,์ บี.โอ. แบบเรยี นภาษาองั กฤษ เล่ม ๑. พมิ พ์ครงั้ ท่ี ๔. กรุงเทพฯ: โรงพมิ พศ์ ุภลักษณ์, ๒๔๗๓. ต�ำราเรียนภาษาอังกฤษ ต้งั แตก่ ารรู้จกั นาม สรรพนาม กรยิ า คุณศัพท์ วิเศษ การเขยี นประโยคและการเชือ่ ม ประโยค ส�ำนวนต่าง ๆ มแี บบฝกึ หัด ตลอดจนค�ำแปล ศพั ท์ภาษาองั กฤษ กรมศึกษาธกิ าร. แบบสอนอา่ น เลม่ ๔. พระนคร: โรงพิมพ์สรรพอนงคก์ ิจ, ร.ศ. ๑๒๐ (พ.ศ. ๒๔๔๔). แบบสอนอ่านของกรมศึกษาธิการ แต่งโดย พระยาปรยิ ัติธรรมธาดา ใชค้ กู่ บั แบบเรยี นเรว็ เน้ือหา ม่งุ ทบทวนกฎเกณฑท์ างภาษา ฝกึ อา่ นท�ำความเขา้ ใจ ในเร่อื งเป็นบทส้นั ๆ ใช้ค�ำประโยคง่าย ๆ เนื้อหา ใกล้ตัว ๑ ชุดมี ๔ เลม่ ๆ ท่ี ๑ เรือ่ งของสตั ว์ ส่ิงของ เล่มที่ ๒ เรอ่ื งของขา้ ว กระดาษ นาฬิกา เลม่ ที่ ๓ เรอื่ งหลายรปู แบบมีนทิ านคติ เร่ืองตน้ ไม้ต่าง ๆ เล่มที่ ๔ เรือ่ ง เวลา อฐั และเงนิ ขนบธรรมเนียม ประเพณี ความรับผิดชอบตอ่ สังคม หน้าท่ีในฐานะ สามภี รรยา พ่อแม่ ญาติ ผปู้ กครอง ขุนนาง พระมหากษตั ริย์ รวมถงึ ประเทศชาติ 50

ประชุมพงศาวดารภาค ๑๙ จดหมายเหตุหอสาตราคม กบั จดหมายเหตเุ รอื่ งสรุ ยิ อปุ ราคา ปมี ะโรง พ.ศ. ๒๔๑๑. พมิ พค์ รง้ั ท่ี ๒. พระนคร: หอพระสมดุ วชริ ญาณ, ๒๔๖๓. (นายพันโท พระประเทศสวามภิ กั ดิ์ (ดาลูศ ลุศนันทน)์ จัดพิมพใ์ นงานกศุ ล นางเภา ลุศนนั ทน์ ผู้มารดา เมื่อปวี อก พ.ศ. ๒๔๖๓) รวมเร่ืองจดหมายเหตหุ อสาตราคม จดหมายเหตุ เรอ่ื งพระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั เสด็จ ไปทอดพระเนตรสุริยอปุ ราคาทตี่ �ำบลหวา้ กอ จังหวัดประจวบครี ขี นั ธ์ เมอ่ื ปมี ะโรง พ.ศ. ๒๔๑๑ จดหมายเหตขุ องเซอร์แฮรอี อด เจ้าเมอื งสิงคโปร์ ข้นึ มาเฝ้ารัชกาลที่ ๔ ทหี่ วา้ กอ และประกาศ ที่พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจ้าอยู่หัว ทรงพระราชนิพนธ์เรอ่ื งดสู รุ ยิ ปุ ราคาทต่ี �ำบลหวา้ กอ กระทรวงวฒั นธรรม. ประมวลภาพเหตุการณ์ ปฏิบตั กิ ารถ�ำ้ หลวง: บันทึกวาระแหง่ โลก. กรงุ เทพฯ: กระทรวง, ๒๕๖๑. กระทรวงวฒั นธรรมได้รวบรวมภาพเหตุการณ์ ปฏบิ ตั ิการค้นหาผ้ชู ่วยฝกึ สอนและนกั ฟุตบอลทีม “หมูปา่ อะคาเดม”ี จ�ำนวน ๑๓ คน ซง่ึ ติดอยู่ใน วนอทุ ยานถ้ำ� หลวง-ขุนน�้ำนางนอน อ�ำเภอแม่สาย จงั หวัดเชยี งราย ในชว่ งระหว่างวันที่ ๒๓ มิถนุ ายน - ๑๐ กรกฎาคม ๒๕๖๑ เหตุการณ์นเ้ี ปน็ เหตุการณ์ ทีส่ ่ือตา่ ง ๆ ท่วั โลกให้ความสนใจตดิ ตามความคบื หน้า ในปฏบิ ัตกิ ารอยา่ งใกลช้ ิด ภายในเลม่ รวบรวมภาพ การบรู ณาการในปฏิบัติการของหน่วยงานต่าง ๆ ทั้งภาครฐั เอกชน อาสาสมัคร จิตอาสา ทง้ั ชาวไทย และชาวตา่ งชาติ โดยประมวลภาพต้ังแต่การเร่ิมค้นหา จนกระท่ังการปฏิบตั กิ ารช่วยเหลือทั้ง ๑๓ คน ออกจากถำ�้ ไดส้ �ำเร็จ 51

มงกุฎเกล้าเจา้ อยู่หัว, พระบาทสมเดจ็ พระ. พระนลคำ� หลวง. พระนคร: โรงพิมพไ์ ทย, ๒๔๕๙. เร่ือง พระนลเป็นนทิ านแทรกอยู่ในมหาภารตะ ประพันธ์โดยฤษกี ฤษณไทวปายน มชี ื่อเรอื่ งว่า นโลปาขยานัม เซอร์โมเนียร์ โมเนยี ร์วลิ เลียมส์ (Sir Monier Williams) ไดแ้ ปลความจากต้นฉบับ ภาษาสนั สกฤตเป็นภาษาองั กฤษ และพระบาทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงใช้ฉบับภาษาองั กฤษ พระราชนิพนธ์เปน็ วรรณกรรมค�ำหลวง ประกอบดว้ ยค�ำ ประพนั ธห์ ลายชนิด ได้แก่ โคลง ฉนั ท์ กาพย์ กลอน และร่าย ซ่ึงมคี วามไพเราะทุกแบบสลบั กัน เนอื้ หาของ พระนลค�ำหลวงเรม่ิ ต้นดว้ ย “นมัสกฤตกิ ถา” หรือบท ไหว้ครู ตอ่ ดว้ ย “อารมั ภกถา”แสดงพระราชประสงค์ ในการพระราชนพิ นธ์ และ “นิทานวจั นะ” วา่ ดว้ ย บ่อเกิดของเร่ืองพระนล แลว้ จงึ ด�ำเนินเรื่องพระนล เนื้อหาแบง่ ออก ๑๖ สรรค 52

ภูมพิ ลอดลุ ยเดช, พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หัว. พระมหาชนก The Story of Mahajanaka. กรุงเทพฯ: อมรนิ ทร์พรนิ้ ติ้งแอนด์พบั ลชิ ชงิ่ , ๒๕๓๙. พระมหาชนก เป็นเร่อื งหน่ึงในทศชาตชิ าดก อนั เป็น ชาดก ๑๐ ชาตสิ ุดท้ายก่อนทพ่ี ระโพธิสตั วจ์ ะมาประสูติ เปน็ เจา้ ชายสทิ ธตั ถะ และตรสั รเู้ ปน็ พระสมั มาสมั พทุ ธเจา้ พระมหาชนกเปน็ บุตรของพระเจา้ อรฏิ ฐชนก ทายาท ของพระเจา้ มหาชนกแห่งเมืองมถิ ิลา ที่ทรงมีเหตุ ให้ตอ้ งออกจากพระราชวังดว้ ยความเขา้ ใจผดิ ก่อนจะ ด�ำเนนิ ชวี ติ ตงั้ มนั่ ในหลกั ความเพียร ว่ายน�ำ้ ขา้ ม มหาสมุทรถึง ๗ วนั ๗ คืน จนไดเ้ สกสมรสและครอง เมอื งมิถิลาอกี คร้ัง กอ่ นทพ่ี ระองค์จะน�ำความรู้และสติ ปญั ญามาสอนเหล่าอ�ำมาตย์ ข้าราชการ และประชาชน ใหม้ ีความรู้ และสามัญส�ำนึกไม่เห็นแกป่ ระโยชน์สว่ นตวั ท�ำใหส้ งั คมเจรญิ รงุ่ เรอื งอยกู่ นั อยา่ งผาสกุ สบื ไปกาลนาน ภายในเล่มเล่าเรอื่ งดว้ ยสองภาษา ไดแ้ ก่ ภาษาไทย และภาษาอังกฤษ ประกอบดว้ ยแผนท่ฝี พี ระหตั ถ์ ของพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หวั ภูมพิ ลอดุลยเดช บรมนาถบพติ ร และฝีมอื วาดภาพของศิลปนิ ไทยที่มี ความละเอยี ด สวยงาม ท่จี ะท�ำใหผ้ ู้อา่ นไดร้ ับอรรถรส จากเรือ่ งราวมากยิ่งข้นึ 53

พระราชบญั ญัติ กฎหมายภาษีฝ่ิน ซึ่งทรงพระกรณุ าโปรดเกลา้ ฯ ตัง้ ข้นึ ไว้เมอื่ ปี ๑๒๓๓. พระนคร: โรงพิมพว์ ัชรินทร,์ ๒๔๓๕. ข้อต้ังกฎหมายวา่ ด้วยการเกย่ี วข้องแก่ลกู คา้ ไทยจนี ในกรงุ เทพมหานคร ๖ ขอ้ กฎหมายภาษีฝ่นิ วา่ ดว้ ย การเกย่ี วขอ้ งในบังคบั กงสลุ ตา่ งประเทศ ๑๒ ข้อ กฎหมายภาษฝี ิน่ ว่าดว้ ยการเกยี่ วขอ้ งลูกค้าต่าง ๆ หัวเมืองฝา่ ยเหนอื ฝา่ ยตะวนั ออก ๕ ข้อ หัวเมืองฝ่ายใต้ ๕ ขอ้ ฝ่ายทะเลตะวนั ตก ๕ ขอ้ ทา้ ยเลม่ มีพระราชบญั ญัตภิ าษีฝิน่ เพิม่ เติมอีก ๖ หมวด พระราชบัญญตั .ิ กรุงเทพฯ: โรงพมิ พห์ ลวง ในพระบรมมหาราชวงั , ๒๔๑๗. พทุ ธศักราช ๒๔๑๗ ไดม้ กี ารตราพระราชบัญญัติ ส�ำหรบั ผู้ครองเมืองประเทศราช แลหวั เมอื ง เอก โท ตรี จัตวา ที่จะท�ำสญั ญากบั คนตา่ งประเทศ โดยแบ่ง เป็นสองสว่ นคือ ๑) ส่วนแผ่นดิน ๒) ส่วนบคุ คล โดยการตราพระราชบัญญัติออกเปน็ ๖ มาตรา 54

กระทรวงวัฒนธรรม. พระราชพธิ บี รมราชาภเิ ษก. กรุงเทพฯ: กระทรวง, ๒๕๖๐. กลา่ วถึงความเปน็ มาของพระราชพธิ ีบรมราชาภิเษก ล�ำดับพระราชพธิ บี รมราชาภเิ ษก ซงึ่ แบง่ ออกเปน็ ๒ ข้ันตอนคอื พระราชพธิ ีเบอ้ื งตน้ การเตรยี มน้ำ� อภเิ ษก และน�้ำสรงพระมุรธาภิเษก การจารึกพระสพุ รรณบัฏ การแกะพระราชลัญจกรประจ�ำรชั กาล และการจดั เตรยี มสถานท่ี พระราชพธิ เี บ้อื งปลาย คือ พระราชพิธี สรงพระมรุ ธาภิเษก ถวายนำ้� อภเิ ษก พิธถี วายสริ ิราช สมบตั ิ และถวายเคร่ืองราชกกุธภณั ฑ์ สถาปนาสมเด็จ พระบรมราชนิ ี และการเสดจ็ พระราชด�ำเนนิ ไปท�ำพิธี ประกาศพระองค์เปน็ พุทธศาสนูปถมั ภกในพระบวร พทุ ธศาสนา ถวายบังคมพระบรมศพ พระบรมอัฐิ พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ ัว และพระอัครมเหสี ในรัชกาลกอ่ น ๆ เสดจ็ เฉลิมพระราชมณเฑียร และเสด็จเลียบพระนคร พระราชวจิ ารณ์จดหมายความทรงจ�ำของพระเจา้ ไปยกิ าเธอ กรมหลวงนรนิ ทรเทวี (เจ้าครอกวดั โพ) ต้งั แตจ่ ลุ ศักราช ๑๑๒๙ ถึง จุลศักราช ๑๑๘๒ เปนเวลา ๕๓ ปี. กรุงเทพฯ: โบราณคดสี โมสร, ร.ศ. ๑๒๗ (พ.ศ. ๒๔๕๑). บันทกึ ของพระเจ้านอ้ งนางเธอ กรมหลวงนรินทรเทวี เกย่ี วกบั เหตกุ ารณ์ในประวัตศิ าสตร์สมยั อยุธยา ตั้งแต่คร้งั เสยี กรุงศรีอยธุ ยา เม่ือ พ.ศ. ๒๓๑๐ จนถึงสมยั รตั นโกสินทร์ปลายรัชกาลพระบาทสมเด็จ พระพทุ ธเลศิ หลา้ นภาลยั พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยู่หวั ทรงน�ำมาอธิบายโดยใช้หลักการศกึ ษาค้นควา้ วิจยั เปรียบเทียบ เพื่อเปน็ แบบอยา่ งทด่ี ขี องการศกึ ษา ประวตั ิศาสตร์ 55

เพาะวิทยาเร่ือง เหตุใดพระเจ้านโปเลียนโปนาปารต์ จงึ ถอื โชคลาง. พระนคร: โรงพมิ พจ์ นี โนสยามวารศพั ท,์ ๒๔๕๔. เป็นเร่ืองเลา่ ของการนับถอื โชคลางทีน่ �ำมารวมลงพมิ พ์ ในเรอ่ื งเพาะวทิ ยา ซงึ่ เป็นต้นเหตทุ ี่ท�ำใหพ้ ระเจา้ นโปเลียน ทรงเชอ่ื ในเรื่องโชคลางตามต�ำรา “อเุ รกรุ ัม” ทท่ี รงประพนั ธ์ไว้ มีนักปราชญ์ผู้หนง่ึ กลา่ วว่า เม่อื พระองคจ์ ะยกทัพไปท�ำสงครามกับประเทศใด กม็ ักจะทรงเส่ียงทายโดยต�ำราอุเรกรุ ัมก่อน ถ้าทรงเหน็ วา่ จะมชี ยั ดังพระราชประสงค์แล้วจงึ ทรงท�ำกจิ การน้ัน และทรงชม “อุเรกุรมั ” ว่าเปน็ แบบอันแม่นย�ำ นอกจาก จะเกิดความเพลดิ เพลนิ ยงั ไดท้ ราบถงึ ความเปน็ ไปของ ประเทศฝร่งั เศสในสมยั น้ัน ทง้ั ยงั ได้ทราบวา่ ชาวยุโรป กเ็ ช่ือถอื โชคลางไม่ผิดแปลกแตกตา่ งกับไทย มงกฎุ เกลา้ เจา้ อย่หู ัว, พระบาทสมเดจ็ พระ. มัทนะพาธา หรือต�ำนานแห่งดอกกุหลาบ ละครพดู คำ� ฉันท์ ๕ องก์. ม.ป.ท: ม.ป.พ, ๒๔๖๗. เป็นวรรณกรรมที่มีความพเิ ศษคือ ใช้ค�ำฉันทเ์ ปน็ บทละครพูดรวม ๕ องก์ ซึ่งเป็นเรอ่ื งแปลกส�ำหรับ สมัยนั้น อกี ทั้งยงั แตง่ ได้ยาก แสดงถงึ พระปรีชา สามารถของพระบาทสมเดจ็ พระมงกุฎเกลา้ เจ้าอยู่หัว จึงทรงไดร้ ับการยกย่องจากวรรณคดสี โมสรใหเ้ ป็น หนงั สือแต่งดี เมอ่ื พ.ศ. ๒๔๖๗ พระบาทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกล้าเจา้ อยูห่ วั ทรงพระราชนพิ นธ์เรือ่ งน้ี ขณะทรงพระประชวร โดยพระราชนิพนธ์นานเพยี ง ๔๗ วัน ให้ข้อคดิ เก่ียวกบั ความรัก 56

รัฐธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจักรสยาม พ.ศ. ๒๔๗๕. ม.ป.ท: ม.ป.พ, ม.ป.ป. (พมิ พแ์ จกในงานกฐนิ พระราชทานพระยาอภิบาลราชไมตรี วัดนวลนรดิศ พ.ศ. ๒๔๗๖) รัฐธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจกั รสยาม พ.ศ. ๒๔๗๕ ประกาศและบงั คับใชเ้ ม่ือวันท่ี ๑๐ ธันวาคม ๒๔๗๕ เป็นกฎหมายสูงสุดแห่งราชอาณาจักรไทย กฎหมาย อื่นใดจะขัดหรือแยง้ ตอ่ รัฐธรรมนญู ไมไ่ ด้ รฐั ธรรมนญู เปน็ กฎหมายว่าด้วยการจัดระเบียบการปกครอง ของประเทศ ซ่งึ ตงั้ แต่ พ.ศ. ๒๔๗๕ ประเทศไทย มีรฐั ธรรมนญู แลว้ ทงั้ สน้ิ ๒๐ ฉบบั รฐั ธรรมนูญ ฉบบั ปจั จบุ นั คือ รฐั ธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ ราชกิจจานเุ บกษาฉบับจดหมายเหตุพระราชพิธี ราชาภเิ ษกสมรส พระราชพธิ ีบรมราชาภเิ ษกและ พระราชพธิ เี ฉลมิ พระราชมนเทยี ร พระบาทสมเด็จ พระปรมนิ ทรมหาภูมิพลอดุลยเดชสยามมินทราธิราช พ.ศ. ๒๔๙๓. พระนคร: โรงพมิ พบ์ ำ� รงุ นกุ ลู กจิ , ๒๔๙๓. พระราชพิธีบรมราชาภเิ ษก และพระราชพิธี ราชาภิเษกสมรส ในพระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทร มหาภูมิพลอดลุ ยเดช บรมนาถบพิตร 57

ราชกิจจานเุ บกษา ฉบบั พเิ ศษ สำ� หรบั การรชฎาภเิ ศก รตั นโกสนิ ทรศ์ ก ๑๑๒. กรงุ เทพฯ: โรงพมิ พว์ ชั รนิ ทร์, ๒๔๓๗. ขา่ วประกาศเก่ียวกบั พระราชพธิ รี ัชดาภเิ ษก (ทรงครองสริ ิราชสมบัตคิ รบ ๒๕ ปี) ในพระบาทสมเด็จ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระราชพธิ ีแบ่งเปน็ สองสว่ น คอื การบ�ำเพญ็ พระราชกุศล ถวายแด่สมเดจ็ พระบรู พ มหากษตั รยิ าธริ าชทุกพระองคท์ งั้ ในสมยั อยุธยาและ รัตนโกสินทร์ และพระราชพธิ สี รงมรธุ าภิเษก พระราชพิธีสงฆ์ ในงานพระราชพธิ นี ี้ พระบาทสมเด็จ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ ัวทรงพระกรณุ าโปรดเกล้าฯ ใหพ้ มิ พพ์ ระไตรปฎิ ก ฉบบั ภาษาไทย จ�ำนวน ๑,๐๐๐ ชดุ เป็นครงั้ แรก แจกจ่ายไปตามวัดส�ำคญั ต่าง ๆ ทัง้ กรงุ เทพฯ ตา่ งจงั หวัด และตา่ งประเทศ และ โปรดเกล้าฯ ให้จดั งานฉลองพระไตรปฎิ กท่จี ัดพมิ พ์ขน้ึ เป็นงานต่อเนอ่ื งกับการพระราชพิธีในคร้งั น้ีด้วย ราชกจิ จานเุ บกษา เลม่ ๖๒ พุทธศักราช ๒๔๘๘ ภาค ๑. พระนคร: ม.ป.พ, ม.ป.ป. ราชกิจจานเุ บกษา เล่ม ๖๒ มีเน้อื หาตา่ ง ๆ ดังน้ี เรอื่ งแตง่ ตง้ั ผ้พู พิ ากษาในกระทรวงยตุ ธิ รรม เรอ่ื งแตง่ ตง้ั สภาป้องกันราชอาณาจักร เร่ืองแตง่ ต้งั ศาสตราจารย์ในจฬุ าลงกรณมหาวิทยาลยั เรอ่ื งแต่งตั้ง ผอู้ �ำนวยการพระคลงั ข้างท่ี เรือ่ งต้งั กรรมการพิจารณา กกั คมุ ผเู้ ปน็ ภยั แกช่ าตใิ นภาวะคบั ขนั ตามพระราชบญั ญตั ิ กกั คมุ ผ้เู ปน็ ภยั แก่ชาตใิ นภาวะคับขนั พ.ศ. ๒๔๘๘ เรือ่ งต้ังผสู้ ่งั ราชการแทนรฐั มนตรี และเรอ่ื งตง้ั กรรมการพิจารณาความอาญาตามพระราชก�ำหนด แกไ้ ขเพม่ิ เตมิ พระราชบญั ญตั ิ กฎอยั การศกึ พ.ศ. ๒๔๕๗ พ.ศ. ๒๔๘๘ เป็นต้น 58

รายการพระราชกศุ ลในการสถาปนา วัดเบญจมบพติ รดสุ ติ วนาราม. พระนคร: โรงพิมพ์บำ� รงุ นกุ ลู กิจ, ๒๔๔๙. หนงั สือทพี่ ระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ เจ้าอย่หู วั โปรดเกลา้ ฯ ใหจ้ ัดพมิ พ์เพื่อพระราชทานแก่ผู้ที่มี ส่วนร่วมโดยเสด็จพระราชกศุ ลในการสถาปนา วดั เบญจมบพติ ร พมิ พป์ ีละ ๑ ภาค ส�ำหรบั ภาคท่ี ๑๓ จะมเี รือ่ งทน่ี า่ สนใจคือ ประกวดอวดรูปถ่าย บาญชรี ูป ที่น�ำมาออกประชนั บาญชคี ะแนนปอปุลาโวต รางวลั เหรยี ญในการอวดรูป บาญชรี ายละเอยี ดกองขายรปู จ�ำนวนพระพทุ ธรูปแลผูร้ บั ปฏบิ ตั ติ กแต่ง ประกาศ ตั้งพระพุทธรปู และจ�ำนวนร้านขายของ กระทรวงวัง. รายการละเอียดพระราชพธิ ีบรม ราชาภิเษกเฉลมิ พระราชมนเทยี ร (พระบาทสมเดจ พระปรมินทรมหาประชาธิปก พระปกเกล้าเจา้ อยหู่ วั ) แลเสดจ เลยี บพระนคร พุทธศักราช ๒๔๖๘. พระนคร: ม.ป.ท, ๒๔๖๘. ว่าดว้ ยก�ำหนดการพระราชพิธีบรมราชาภเิ ษก และ เฉลิมพระราชมณเฑยี รพระบาทสมเดจ็ พระปกเกลา้ เจา้ อยหู่ ัว พระราชพธิ บี รมราชาภิเษกคร้ังน้ันอาจกลา่ ว ได้วา่ เปน็ งานพระราชพธิ ีบรมราชาภเิ ษกครง้ั ที่สดุ ของ ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ในกรงุ สยาม รายละเอียด ของการพระราชพิธตี ่าง ๆ อาทิ แห่พระสุพรรณบัฏ พระราชพธิ ีสรงพระมรุ ธาภิเษก เสด็จออกพระท่นี ่ัง อมรนิ ทรวินิจฉัย เวียนเทียนสมโภชพระราชมณเฑยี ร เสด็จเลยี บพระนครสถลมารค และชลมารค เสดจ็ ออกมหาสมาคม 59

กรมศิลปากร. ร้วิ กระบวนแห่พยหุ ยาตราทางชลมารค สมัยสมเดจ็ พระนารายณ์มหาราช จำ� ลองจากตน้ ฉบบั หนังสือสมุดไทยของหอสมุดแหง่ ชาติ. กรุงเทพฯ: กรม, ๒๕๓๐. (กรมศิลปากร กระทรวงศกึ ษาธิการ จัดพมิ พ์ในโอกาสฉลอง ๓๐๐ ปี ความสมั พันธ์ไทยกบั ฝรัง่ เศส พุทธศกั ราช ๒๕๓๐) หนังสอื เล่มนจ้ี �ำลองจากต้นฉบับหนงั สอื สมุดไทยของ หอสมุดแหง่ ชาติ โดยสมเด็จพระเจา้ บรมวงศ์เธอ กรมพระยาด�ำรงราชานภุ าพ โปรดใหจ้ �ำลองเปน็ สมดุ ไทย จากต้นฉบบั ของหม่อมเจา้ ปยิ ภักดนี าถ สปุ ระดิษฐ์ ภายในเล่มแสดงภาพ การจดั ริว้ กระบวนพยหุ ยาตรา ทางชลมารคสมยั สมเดจ็ พระนารายณม์ หาราชครงั้ เสดจ็ ฯ ไปพระพุทธบาท ประกอบด้วย ๕ กระบวน ไดแ้ ก่ กระบวนนอกหนา้ กระบวนในหน้า กระบวนเรือ พระราชยาน กระบวนในหลัง และกระบวนนอกหลงั โดยก�ำหนดให้เรือพระทน่ี งั่ อยู่ในสายกลาง หรอื สายพระราชยาน มรี ้ิวสายคู่ในขนาบซา้ ยขวาของเรือ พระท่ีนัง่ เรียกว่า ริ้วเรอื เห่ ถัดออกมาเปน็ สายคูน่ อก ซา้ ย-ขวาเรยี กวา่ ริว้ เรือกัน 60

ดำ� รงราชานุภาพ, พระเจ้าบรมวงศเ์ ธอ กรมพระ. เรือ่ งตั้งหอพระสมุดวชริ ญาณ. พระนคร: หอพระสมดุ วชิรญาณ, ๒๔๗๐. (พระเจ้าบรมวงศเ์ ธอ กรมหลวง สมรรตั นศริ เิ ชษฐ โปรดใหพ้ มิ พเ์ มอ่ื ปมี ะโรง พ.ศ. ๒๔๗๑) กล่าวถึงสาเหตุการจดั ตงั้ หอพระสมดุ วชิรญาณครั้งแรก เมอ่ื พ.ศ. ๒๔๒๔ ท่ีเปน็ เพียงหอพระสมุดส�ำหรับ พระราชวงศ์ โดยมาจากเงนิ คา่ เช่าตึกหนา้ วดั ประยรุ - วงศาวาสทีพ่ ระบาทสมเด็จพระจอมเกลา้ เจ้าอยหู่ ัว พระราชทานแกพ่ ระราชโอรสพระราชธิดา เรือ่ งราชาภิเษก. พระนคร: กรมศิลปากร, ๒๔๗๙. (หม่อมเจา้ ทองบรรณาการ ทองแถม ใหพ้ มิ พ์ขึน้ ในการศพ หม่อมเจา้ หญงิ เม้า ทองแถม ท.จ.ว. รบั พระราชทานเพลงิ ณ วัดประทุมวนาราม วนั ที่ ๑๘ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๗๙) เนื้อหาของหนังสอื กล่าวถึงเอกสารส�ำคญั ๓ เร่อื งคอื ปญั จราชาภิเษก คอื ราชาภิเษก ๕ ประการ ไดแ้ ก่ มงคลอนิ ทราภเิ ษก มงคลโภคาภเิ ษก มงคลปราบดาภเิ ษก มงคลราชาภเิ ษก และมงคลอภเิ ษก เรอ่ื งหนง่ึ และเรอื่ งราชาภิเษกคร้ังกรงุ ศรอี ยุธยา และราชาภเิ ษกในกรงุ รัตนโกสนิ ทร์ อกี ๒ เร่อื ง 61

ลครพดู เรอ่ื ง จดั การรบั เสดจ็ . ม.ป.ท.: ม.ป.พ., ม.ป.ป. เปน็ บทละครพดู ท่มี เี น้อื หาชวนหัวโดยอ้างถงึ สมัย พทุ ธศักราช ๒๔๕๖ เรม่ิ ต้นด้วยฉากจวนผวู้ ่าราชการ เมืองภิรมย์ พระยาศรีบรุ รี มย์ ผวู้ ่าราชการเมือง ได้เรียกขา้ ราชการต�ำแหน่งส�ำคัญ ๆ ของเมอื ง ตลอดจนภรรยาขา้ ราชการร่วมกนั เตรยี มการรับเสดจ็ หลงั จากได้รับโทรเลขแจ้งว่าจะมีการเสด็จมาทเ่ี มือง ศรภี ริ มย์ บทละครกล่าวถึงความชุลมุนวุ่นวายในการ เตรยี มรับเสด็จ ตั้งแตเ่ รื่องมา่ น การติดรูปประดับ ฝาผนงั เสือ้ ผา้ เครอื่ งแตง่ กาย อาหาร ห้องบรรทม และธรรมเนยี มปฏบิ ัติในการรบั เสดจ็ ต่าง ๆ จนสดุ ท้าย เร่อื งมาจบแบบหักมมุ ว่า พระยาศรีบุรรี มยน์ ัน้ โดนหลอก จากนายชน้ั น้องชายของอดตี ภรรยาพระยาศรบี รุ รี มย์ ทเี่ จบ็ แค้นแทนพสี่ าวจงึ สรา้ งเรอ่ื งโทรเลขแจง้ วา่ จะมี การเสดจ็ เพ่ือสร้างความวนุ่ วาย วรรนคดสี าร เลม่ ท่ี ๑๐ พรสึ ภาคม ๒๔๘๖ ปีที่ ๑. พระนคร: โรงพมิ พ์พระจันท, ๒๔๘๖. วารสารของวรรณคดีสมาคมแห่งประเทศ ก�ำหนดออก เปน็ รายเดือน เรอื่ งท่ีลงพมิ พเ์ ป็นเรื่องที่ม่งุ เผยแพรแ่ ละ ส่งเสรมิ วฒั นธรรมไทย ตลอดจนนโยบายสร้างชาติ 62

ปาเลอกัว, ชอง-บาตีสต.์ สัพะ พะจะนะ พาสา ไท. กรุงเทพฯ: สถาบันภาษาไทย กรมวิชาการ กระทรวง ศึกษาธิการ, ๒๕๔๒. (คณะกรรมการฝา่ ยประมวล เอกสารและจดหมายเหตุ ในคณะกรรมการอ�ำนวยการ จดั งานเฉลมิ พระเกียรติพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หวั จดั พิมพเ์ นื่องในโอกาสพระราชพิธมี หามงคลเฉลมิ พระชนมพรรษา ๖ รอบ ๕ ธันวาคม ๒๕๔๒) พจนานกุ รม ๔ ภาษาฉบับแรก ประกอบดว้ ยค�ำจ�ำกดั ความในศพั ทภ์ าษาไทยเป็นภาษาละตนิ  ภาษาฝรัง่ เศส และภาษาองั กฤษผู้เรยี บเรยี งคือชอง-บาตสี ตป์ าเลอกัว ชาวฝรง่ั เศส โดยใช้เวลาในการจัดท�ำนานเกอื บ ๑๐ ปี รวบรวมค�ำศัพท์ไวจ้ �ำนวน ๓๒,๒๙๒ ค�ำ รวมท้ังให้ ตัวอย่างการใชศ้ พั ท์ไว้ด้วย ต้นฉบบั พจนานุกรมจัดพมิ พ์ ท่ปี ระเทศฝรั่งเศสโดยเรมิ่ พมิ พ์ตงั้ แต่ พ.ศ. ๒๓๙๕ ส�ำเรจ็ เรียบรอ้ ยใน พ.ศ. ๒๓๙๗ เป็นหนังสอื เล่มใหญ่ มขี นาดคอลมั น์ ๒๒ x ๒๘ เซนติเมตร มีจ�ำนวนหนา้ ทงั้ สนิ้ ๘๙๗ หน้า สารบาญชีส่วนที่ ๑ คือ ตำ� แหนง่ ราชการ สำ� หรบั เจา้ พนกั งานกรมไปรสนีย์ กรงุ เทพมหานคร ต้ังแต่จ�ำนวนปีมะแม เบญจศกจลุ ศักราช ๑๒๔๕ เล่มที่ ๑. กรงุ เทพฯ: โรงพิมพก์ รมไปรสนียแลโทรเลข, จ.ศ. ๑๒๔๕ (พ.ศ. ๒๔๒๖) รายพระนามและนามพระบรมวงศานุวงศ์ ข้าราชการ ทีป่ ฏบิ ัติราชการอยู่ ณ กรม กอง ต่าง ๆ ตลอดจน พระสงฆ์ ในสมัยตน้ รชั กาลที่ ๕ เมื่อ พ.ศ. ๒๔๒๖ นอกจากนีย้ ังมรี ายชอื่ ราชทตู และกงสุลต่างประเทศ ที่เขา้ มาประจ�ำอยู่ในเมอื งไทยดว้ ย 63

สารบาญชี สว่ นท่ี ๒ คือราษฎรในจังหวัด ถนน แล ตรอก ส�ำหรับเจา้ พนักงานกรมไปรสนีย์ กรงุ เทพมหานคร ต้ังแต่จ�ำนวนปีมะแมเบญจศก จลุ ศักราช ๑๒๔๕ เล่มท่ี ๒. กรุงเทพฯ: โรงพมิ พ์บ้านพระเทพผลู, จ.ศ. ๑๒๔๕ (พ.ศ. ๒๔๒๖). ท�ำเนียบสถานท่ตี ้งั ของทีอ่ ยู่อาศยั บนถนนสายตา่ ง ๆ ในกรงุ เทพมหานคร และฝ่ังพระราชวังเดมิ ท้งั ภายใน และนอกก�ำแพงพระนคร ประโยชน์ที่ได้รับ คอื การแสดงถึงความเจรญิ ของบ้านเมือง มถี นนสายตา่ ง ๆ แสดงถึงความหนาแนน่ ของทอ่ี ยูอ่ าศัย อกี ทัง้ ทราบ สังกัดของบุคคล ตลอดจนการประกอบอาชพี ของ ราษฎร ในสมยั ต้นรชั กาลท่ี ๕ พูนพิศมัย ดศิ กุล, ม. จ. สงิ่ ทีข่ า้ พเจ้าพบเหน็ . กรุงเทพฯ: มูลนิธหิ ม่อมเจา้ พนู พศิ มัย ดิศกลุ และ ชมรมพระนพิ นธ์สมเดจ็ ฯ กรมพระยาด�ำรงราชานภุ าพ, ๒๕๓๓. (พมิ พ์ในงานพระราชทานเพลิงศพหมอ่ มเจ้า พนู พิศมัย ดศิ กุล ณ เมรหุ นา้ พลบั พลาอิศริยาภรณ์ วัดเทพศริ นิ ทราวาส ๒๓ สงิ หาคม ๒๕๓๓) บนั ทกึ เหตุการณ์ที่เกดิ ขนึ้ ในสมัยรัชกาลที่ ๕ แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ จนถึงปีท่ีสมเดจ็ ฯ กรมพระยา ด�ำรงราชานภุ าพสิ้นพระชนมเ์ ม่ือพุทธศกั ราช ๒๔๘๖ เหตกุ ารณ์ส�ำคัญทางการเมอื งภายหลังเปลย่ี นแปลง การปกครอง พทุ ธศักราช ๒๔๗๕ ตลอดจนการเสดจ็ ไปประทบั ทป่ี นี งั ของสมเดจ็ ฯ กรมพระยาด�ำรงราชานภุ าพ และพระธิดา หนงั สอื เลม่ นเี้ ป็นเพียงสว่ นหนึง่ ของ พระนพิ นธด์ งั กล่าวเท่านั้น 64

คึกฤทธ์ิ ปราโมช, ม.ร.ว. ส่แี ผน่ ดนิ . พระนคร: ชัยฤทธิ์, ๒๔๙๖. วรรณกรรมเรอ่ื ง “ส่ีแผน่ ดนิ ” ประพันธโ์ ดย หมอ่ มราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช ผูกเร่ืองโดยการใช้ เหตกุ ารณจ์ รงิ ทางประวัตศิ าสตร์ไทยในช่วงรัชกาลที่ ๕ ถึงรัชกาลท่ี ๘ เปน็ ฐานในการเล่าเรอ่ื ง ท�ำให้ วรรณกรรมเรือ่ งส่ีแผ่นดินมีความสมจริง และตัวละคร ทกุ ตัวต่างเปน็ ตัวแทนของบคุ คลในสมัยนน้ั ส่แี ผน่ ดิน ถูกตพี ิมพค์ รง้ั แรกลงในหนังสือพิมพ์สยามรัฐรายวนั ระหวา่ งปี ๒๔๙๔-๒๔๙๕ ตดิ ตอ่ กนั เป็นเวลาปีเศษ ต่อมาได้รวมพมิ พ์ครั้งแรกในปี ๒๔๙๖ นบั เปน็ วรรณกรรมท่ีมชี อ่ื เสยี งมากท่สี ดุ เรอื่ งหน่ึงของไทย ทพิ ากรวงศม์ หาโกษาธบิ ดี (ขำ� บุนนาค), เจ้าพระยา. แสดงกจิ จานุกิจ. พระนคร: ม.ป.พ, ม.ป.ป. หนงั สือทคี่ ัดเลอื กความร้เู รอื่ งต่าง ๆ ที่ในเวลานน้ั ยงั ไมเ่ ปน็ ท่ีทราบกันโดยท่ัวไป เชน่ เรือ่ งวทิ ยาศาสตร์ ภมู ิศาสตร์ และศาสนาเปรยี บเทียบ โดยการน�ำแก่น ของพระพุทธศาสนา และเหตุผลมาอธิบายให้ผอู้ ่าน ได้เขา้ ใจ 65

หนังสอื จดหมายเหตุ Bangkok Recoeder. กรุงเทพฯ: สำ� นกั ราชเลขาธกิ าร, ๒๕๓๗. (ทรงพระกรณุ า โปรดเกลา้ โปรดกระหม่อมใหพ้ ิมพพ์ ระราชทาน ในงานพระราชทานเพลงิ ศพ นายสมหมาย ฮุนตระกูล ป.จ., ม.ป.ช., ม.ว.ม. ณ เมรุหลวงหน้าพลับพลา อศิ ริยาภรณ์ วดั เทพศริ นิ ทราวาส วันเสาร์ท่ี ๒๕ ธันวาคม พุทธศักราช ๒๕๓๖) เป็นหนังสือพมิ พภ์ าษาไทยฉบับแรกทห่ี มอบรดั เลย์ จดั พมิ พข์ ้นึ ภายในเล่มมี ๒ ระยะ ๆ แรก เป็นเนอื้ เรื่อง ทอ่ี อกในสมยั รัชกาลท่ี ๓ พ.ศ. ๒๓๘๗-๒๓๘๘ ออกเป็นรายเดอื น รวม ๑๖ ฉบับ ระยะที่ ๒ ออกใน สมัยรัชกาลท่ี ๔ พ.ศ. ๒๔๐๗-๒๔๐๙ ก�ำหนดออกเป็น รายปกั ษ์ เน้อื หาภายในเลม่ ใหค้ วามรเู้ รอื่ งต่าง ๆ ทเ่ี กดิ ขึน้ ทง้ั ในประเทศไทย ประเทศเพ่ือนบา้ นใกล้เคยี ง และประเทศองั กฤษ และอเมริกา โดยคัดเลือกเรอื่ ง เหตุการณท์ ี่เกดิ ข้ึนทป่ี ระเทศจีน ปตั ตาเวยี สิงคโปร์ ปีนัง พม่า บงั คลาเทศ ศรลี งั กา อินเดีย รวมทงั้ ประเทศ องั กฤษและอเมรกิ า มาลงพมิ พ์ 66

บรัดเลย์, แดน บีช. หนงั สืออกั ขราภิธานศรับท์ Dictionary of the Siamese language. กรุงเทพฯ: โรงพิมพค์ รุ ุสภาลาดพร้าว, ๒๕๑๔. อักขราภิธานศรับท์ คอื พจนานกุ รมไทย ตีพิมพ์ พ.ศ. ๒๔๑๖ มีศพั ทห์ ลักและบทนยิ ามศัพทเ์ ปน็ ภาษาไทย มีค�ำศัพทใ์ นวรรณคดี กฎหมาย พทุ ธศาสนา แพทยแ์ ผนโบราณ การเมืองและการปกครอง นามเฉพาะต่าง ๆ เชน่ ช่ือ สถานที่ ตน้ ไม้ สัตว์ มีส�ำนวน โวหารของนกั ปราชญ์ คาดวา่ มีค�ำราว ๔๐,๐๐๐ ค�ำ แต่ละหนา้ มศี ัพทห์ ลกั ประมาณ ๓๑-๓๙ ค�ำ การเรียง ล�ำดับศัพทใ์ ชเ้ กณฑ์ล�ำดบั พยญั ชนะไทย ก-ฮ จากน้ัน จงึ เปน็ ฤ ฤๅ ฦ ฦๅ ในแต่ละหมวดอักษร เรียงศัพท์ ตามล�ำดับสระและพยญั ชนะท้าย (ตวั สะกด) ตามแบบ หนงั สอื ประถม ก กา เรือ่ ง หมากและวิชชากสิกรรม. กรงุ เทพฯ: โรงพิมพ์ไท, ๒๔๗๕. หนงั สือเรือ่ ง หมากและวิชชากสิกรรมเลม่ น้ี นายทองค�ำ น่ิมนวล ไดจ้ ดั พิมพเ์ ป็นท่รี ะลกึ ในงาน ฉลองพระนคร ครบ ๑๕๐ ปี เนอ้ื เรือ่ งเปน็ บทความ ของบคุ คลต่าง ๆ เก่ียวกบั การปลกู หมาก การรับประทานหมาก นอกจากนี้ยังมเี รอื่ งการประกอบ กสิกรรมที่มอี ยู่ในเมืองไทย เช่น การปลูกและการรักษา ตน้ ผลไม้ กระดาษและวตั ถุที่ใช้ท�ำกระดาษ ครามปา่ ใชเ้ ป็นปุ๋ยสด และอ่ืน ๆ อกี หลายอย่างเปน็ ตน้ 67

กรมศิลปากร. หอพระสมุดวชริ ญาณสำ� หรับพระนคร. กรุงเทพฯ : กรม, ๒๕๔๓. รายละเอียดของหนงั สอื ได้รวบรวมเอกสารจดหมายเหตุ พระราชบญั ญตั ิ ค�ำประกาศ ขอ้ เขยี น พระราชกฤษฎกี า ตา่ ง ๆ ท่เี กย่ี วกบั หอพระสมดุ วชิรญาณ ตั้งแตแ่ รกเร่ิม จนถึงเปลย่ี นแปลงการปกครอง ภาคผนวกใหค้ วามรู้ เร่อื ง พระรูปสภานายกหอพระสมุดวชริ ญาณ เหรยี ญวชิรญาณ หนงั สอื วชิรญาณและวชริ ญาณวเิ ศษ รวมท้ังตหู้ นงั สือท่ีไดร้ บั ประทานจากพระบรมวงศานวุ งศ์ และปจั จุบนั ยังคงเกบ็ รกั ษาอยู่ ณ หอสมุดแหง่ ชาติ อัฐมราชานุสสรณ์ ประมวญพระบรมฉายาลกั ษณ์ พระบาทสมเดจ็ พระปรเมนทรมหาอานนั ทมหิดล สยามนิ ทราธิราช. พระนคร: โรงพมิ พบ์ รษิ ัทสห อปุ กรณก์ ารพิมพ,์ ๒๔๙๓. รวมพระบรมฉายาลกั ษณ์ในรัชกาลที่ ๘ ตงั้ แตว่ ัน เสด็จนวิ ตั พระนครเม่ือวนั ท่ี ๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๔๘๘ จนถงึ วนั เสดจ็ สวรรคตเมอื่ วนั ท่ี ๙ มถิ นุ ายน พ.ศ. ๒๔๘๙ ภายในเลม่ เป็นภาพถา่ ยเหตกุ ารณ์ส�ำคัญในรัชกาลท่ี ๘ เชน่ การเสด็จฯ ไปทรงเย่ยี มชมหอสมุดแห่งชาติ การสถาปนาสมณศกั ดิ์ทีว่ ัดพระศรีรตั นศาสดาราม พระราชทานปรญิ ญา ณ จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย และ มหาวทิ ยาลัยแพทยศาสตร์ พระราชทานรัฐธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจกั รไทย เสดจ็ ฯ ไปทรงเยย่ี มทกุ ข์สุข ราษฎรในตา่ งจงั หวดั เสดจ็ ประพาสสว่ นพระองค์ และ ยังมภี าพถา่ ยส�ำคัญอีกมากมาย รวมท้ังภาพถา่ ย เหตกุ ารณเ์ สดจ็ สวรรคต ซง่ึ เปน็ ความสญู เสยี ครงั้ ยง่ิ ใหญ่ ของประชาชนในชว่ งเวลาน้ัน 68

กรมศลิ ปากร. Bike for Mom ป่ันเพอื่ แม่ กจิ กรรมเฉลมิ พระเกยี รติ “Bike for Mom ปน่ั เพอ่ื แม”่ . กรงุ เทพฯ: กรม, 2558. กิจกรรมเฉลมิ พระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสริ กิ ิติ์ พระบรมราชนิ ีนาถ ในรชั กาลที่ ๙ เน่อื งในโอกาส มหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๘๓ พรรษา ๑๒ สงิ หาคม ๒๕๕๘ ประกอบด้วยหนังสือ ๒ เลม่ คอื ราชสดดุ ีพระมิ่งมาตาของแผน่ ดนิ ๘๓ พรรษา กจิ กรรมเฉลิมพระเกยี รติ Bike for Mom ปั่นเพื่อแม่ เล่มหนง่ึ และบันทึกความทรงจ�ำ ในประวตั ิศาสตร์ Bike for Mom ป่ันเพือ่ แมท่ ั่วแผ่นดนิ อีกเล่มหนง่ึ 69

คณะกรรมการดําเนินงาน การจัดเสวนาวิชาการและนิทรรศการเรื่อง “วิวัฒนหนังสือไทย” ในงานสัปดาหหนังสือแหงชาติ คร้ังที่ ๔๗ ประจําป ๒๕๖๒ ระหวางวันท่ี ๒๘ มีนาคม – ๗ เมษายน ๒๕๖๒ ณ ศูนยการประชุมแหงชาติสิริกิต์ิ ท่ีปรึกษา ๑. นายกสมาคมผูจัดพิมพและผูจัดจําหนายหนังสือแหงประเทศไทย ๒. นางสาวรัชนี ทรัพยวิจิตร คณะกรรมการอํานวยการ ประธานกรรมการ ๑. ผูอํานวยการสํานักหอสมุดแหงชาติ กรรมการ ๒. ผูอํานวยการกลุมบริการทรัพยากรสารสนเทศ กรรมการ ๓. ผูอํานวยการกลุมวิจัยและพัฒนาหองสมุด กรรมการ ๔. ผูอํานวยการกลุมหนังสือตัวเขียนและจารึก กรรมการและเลขานุการ ๕. ผูอํานวยการกลุมพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศ กรรมการและผูชวยเลขานุการ ๖. นางอรวรรณ เพ็งฉิม คณะอนุกรรมการ ประธานอนุกรรมการ ๑. คณะอนุกรรมการฝายขอมูลนิทรรศการ รองประธานอนุกรรมการ อนุกรรมการ ๑.๑ นางสาวเนาวรัตน ปญญางาม อนุกรรมการ ๑.๒ นายประสิทธิชัย เลิศรัตนเคหะกาล อนุกรรมการ ๑.๓ นางสาวทิพยา อรรถวิสุทธิกุล อนุกรรมการ ๑.๔ นางอรวรรณ เพ็งฉิม อนุกรรมการ ๑.๕ นางสาวรวิวรรณ พุฒซอน อนุกรรมการ ๑.๖ นางสาวยุวเรศ อิทธิชัยวัฒนา อนุกรรมการ ๑.๗ นางโสภี เฮงสุดผล อนุกรรมการ ๑.๘ นางสาวชลลดา เอกสกุล อนุกรรมการ ๑.๙ นายวิชิน คําสุข เลขานุการคณะทํางาน ๑.๑๐ นางสาวบุรัสกร จันทนราช ผูชวยเลขานุการคณะทํางาน ๑.๑๑ นายสุภกิติ มุสิราช ๑.๑๒ นายสรพล ขาวสะอาด ๑.๑๓ นางสาวสมัชญา เดชรุง 70

๒. คณะอนุกรรมการฝายจัดนิทรรศการ ฝายศิลปกรรม และสถานท่ี ๒.๑ นางสาววาสนา งามดวงใจ ประธานอนุกรรมการ ๒.๒ นางบังอร เกษมพงษ รองประธานอนุกรรมการ ๒.๓ นายสินธชัย กลอมเมือง อนุกรรมการ ๒.๔ นางขวัญฤทัย ขาวสะอาด อนุกรรมการ ๒.๕ นายชโย ทองลือ อนุกรรมการ ๒.๖ นางสาวงามเพ็ญ ยาวงษ อนุกรรมการ ๒.๗ นายสุวิชา โพธ์ิคํา อนุกรรมการ ๒.๘ นางสาวพรยุพา สิงหสา อนุกรรมการ ๒.๙ นางสาวพัชรีพร ชูศรีทอง อนุกรรมการ ๒.๑๐ นายหัฏฐกร เซ็นเสถียร อนุกรรมการ ๒.๑๑ นายเอกภพ เสนียวงศ ณ อยุธยา อนุกรรมการ ๒.๑๒ นางสาวอัมพิกา นันทิกาญจนะ อนุกรรมการและเลขานุการคณะทํางาน ๒.๑๓ นางสาวกนกวรรณ โพธิสม อนุกรรมการและผูชวยเลขานุการ ๓. คณะอนุกรรมการฝายวิชาการ ลงทะเบียน และตอนรับ ๓.๑ นางสุภาณี สุขอาบใจ ประธานอนุกรรมการ ๓.๒ นางสาวบุบผา ชูชาติ รองประธานอนุกรรมการ ๓.๓ นางสาวเพ็ญพักตร จุงพิวัฒน อนุกรรมการ ๓.๔ นางสาววนัสสุดา ดิษยบุตร อนุกรรมการ ๓.๕ นางสาวปุณณภา สุขสาคร อนุกรรมการ ๓.๖ นางสาวปุณยาพร จีระประภา อนุกรรมการ ๓.๗ นางสุพัชรี ฉันทเลิศวิทยา อนุกรรมการ ๓.๘ นางสาวปริศนา ตุมชัยพร อนุกรรมการ ๓.๙ นางสาวจุฑมาส พรสิทธิ์ไพบูลย อนุกรรมการ ๓.๑๐ นางสาวตะวัน ประนิล อนุกรรมการ ๓.๑๑ นางสาวฐิติมา คําคุณ อนุกรรมการ ๓.๑๒ นางสาววิภานันท ลํางาม อนุกรรมการและเลขานุการ ๓.๑๓ นางสาวลินดา พืชสี อนุกรรมการและผูชวยเลขานุการ 71

สูจิบัตรนิทรรศการเรื่อง “วิวัฒนหนังสือไทย” สํานักหอสมุดแหงชาติ กรมศิลปากร กระทรวงวัฒนธรรม จัดพิมพเปนที่ระลึกการจัดเสวนาวิชาการและนิทรรศการเร่ือง “วิวัฒนหนังสือไทย” ในงานสัปดาหหนังสือแหงชาติ ครั้งท่ี ๔๗ ประจําป ๒๕๖๒ ระหวางวันที่ ๒๘ มีนาคม – ๗ เมษายน ๒๕๖๒ ณ ศูนยการประชุมแหงชาติสิริกิติ์ ขอมูลทางบรรณานุกรมของหอสมุดแหงชาติ National Library of Thailand Cataloging in Publication Data กรมศิลปากร. สํานักหอสมุดแหงชาติ สูจิบัตรนิทรรศการเร่ือง “วิวัฒนหนังสือไทย”.– กรุงเทพฯ : สํานักหอสมุดแหงชาติ กรมศิลปากร, ๒๕๖๒. ๗๒ หนา. ๑. การพิมพ–ไทย–ประวัติ. ๒. หนังสือ–ไทย–ประวัติ. I. ช่ือเร่ือง. ๐๗๐.๕๐๙๕๙๓ ISBN 978-616-283-437-0 กรมศิลปากร พิมพเผยแพรพุทธศักราช ๒๕๖๒ จํานวน ๓,๐๐๐ เลม ท่ีปรึกษา อธิบดีกรมศิลปากร นายอนันต ชูโชติ รองอธิบดีกรมศิลปากร นายพนมบุตร จันทรโชติ ผูอํานวยการสํานักหอสมุดแหงชาติ นางสาวกนกอร ศักดาเดช คณะบรรณาธิการ ผูอํานวยการกลุมพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศ นางสาวเนาวรัตน ปญญางาม บรรณารักษชํานาญการ นายสรพล ขาวสะอาด บรรณารักษปฏิบัติการ นางสาวสมัชญา เดชรุง ออกแบบรูปเลม Pink Blue Black & Orange ลิขสิทธ์ิ สํานักหอสมุดแหงชาติ กรมศิลปากร ถนนสามเสน แขวงวชิรพยาบาล เขตดุสิต กรุงเทพฯ ๑๐๓๐๐ พิมพท่ี โรงพิมพ ภาพพิมพ 72




Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook