Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ✍️ วิวัฒน์หนังสือไทย

✍️ วิวัฒน์หนังสือไทย

Description: ✍️ วิวัฒน์หนังสือไทย

Search

Read the Text Version

ววิววััฒฒน์์ ไทยหนังงสสือ



หนวังิวสัฒือนไท์ ย

สูจบิ ัตรนทิ รรศการเรื่อง “วิวัฒน์หนงั สือไทย” ส�ำ นักหอสมุดแห่งชาติ กรมศลิ ปากร กระทรวงวัฒนธรรม จัดพิมพ์เป็นที่ระลกึ ในการจัดเสวนาวิชาการ และนิทรรศการเร่ือง “วิวฒั นห์ นังสอื ไทย” ในงานสปั ดาหห์ นังสือแห่งชาติ ครั้งที่ ๔๗ ประจำ�ปี ๒๕๖๒ ระหวา่ งวันที่ ๒๘ มีนาคม - ๗ เมษายน ๒๕๖๒ ณ ศนู ย์การประชุมแห่งชาติสริ กิ ิต์ิ 2

ค�ำน�ำ กรมศลิ ปากร โดยส�ำนักหอสมดุ แห่งชาติ มีหน้าท่หี ลกั ในการบริการความรู้สู่ประชาชน ตระหนกั ในคุณคา่ ความส�ำคัญของหนงั สอื และประสงคจ์ ะถ่ายทอดความรูเ้ ก่ียวกับ ววิ ฒั นาการของหนังสอื ไทย และจัดพิมพ์เผยแพร่เพ่ือประโยชน์แกผ่ ู้สนใจศกึ ษาค้นควา้ และเป็นขอ้ มลู ให้สาธารณชนไดร้ ับรอู้ ยา่ งกวา้ งขวาง สจู บิ ัตรนทิ รรศการเรื่อง “วิวัฒนห์ นังสอื ไทย” มีเน้อื หา ๒ ส่วน ประกอบด้วย สว่ นแรก เปน็ การน�ำเสนอเรอื่ งราวความเป็นมาของหนังสือในรปู “นิทรรศการววิ ฒั นห์ นังสือไทย” เริม่ ตง้ั แต่ก�ำเนิดอกั ษรไทย ก�ำเนิดตวั พมิ พ์และการพมิ พ์ไทย โรงพมิ พ์ไทย หนงั สอื ส�ำคญั ตงั้ แต่เร่มิ มีการพมิ พ์ หนังสือตอ้ งห้าม หนังสือพมิ พใ์ นอดีต เช่น กรุงเทพฯ เดลิ เมล์ และ Siam Observer นอกจากนี้ ยงั จัดแสดงวรรณกรรมทีน่ �ำมาเผยแพร่ผา่ นสื่อบนั เทิง เช่น สแี่ ผ่นดิน คกู่ รรม และบุพเพสันนวิ าส เป็นตน้ ประวัติความเปน็ มาของหอสมุดแหง่ ชาติ ในอดตี จนถึงปัจจบุ ัน เหตกุ ารณส์ �ำคัญทางประวตั ิศาสตรผ์ ่านการพมิ พ์ในยุคสมัยตา่ ง ๆ และพระราชพธิ บี รมราชาภเิ ษก โบราณราชประเพณีแห่งราชอาณาจักรไทย ส่วนท่ีสอง เปน็ บรรณนทิ ัศนห์ นังสือท่นี �ำมาจดั แสดงนทิ รรศการวิวัฒน์หนงั สอื ไทย ใหร้ ายละเอยี ดเกีย่ วกับสาระส�ำคัญ พรอ้ มภาพปกของหนังสือแต่ละรายการ เพอ่ื ให้ ผู้ชมนทิ รรศการที่สนใจหนงั สือสามารถศึกษาค้นควา้ เพิ่มเติมไดท้ ่ีส�ำนกั หอสมุดแห่งชาติ กรมศลิ ปากรหวังเปน็ อยา่ งยิง่ วา่ สจู ิบตั รเลม่ น้ีจะอ�ำนวยประโยชนใ์ นการศกึ ษาค้นควา้ ของผ้สู นใจได้ตามประสงค์ (นายอนันต์ ชโู ชติ) อธบิ ดีกรมศิลปากร 3

สารบัญ หนา้ คำ�น�ำ ๓ สารบญั ๔ ค�ำ ชี้แจง ๕ นทิ รรศการ เร่ือง “วิวฒั นห์ นงั สอื ไทย” ๖ --- ก�ำ เนดิ อักษรไทย ๘ --- ก�ำ เนิดตวั พมิ พแ์ ละการพมิ พ์ไทย ๑๒ --- โรงพิมพ์ไทย ๑๔ --- หนงั สือสำ�คญั ๑๘ --- จากวรรณกรรมสูส่ อ่ื ภาพยนตร์และละครโทรทศั น ์ ๒๒ --- ขุมทรัพยแ์ หง่ ปญั ญา ๒๖ --- พระราชพธิ ีบรมราชาภเิ ษก บรรณนทิ ัศน์ ๓๑ 4

จุดเรม่ิ ตน้ ของหนงั สอื ไทยสืบเน่อื งจากการท่ีชาวไทยมีตัวอักษร ‘ลายสอื ไทย’ สำ�หรับบันทึกและถา่ ยทอดเรื่องราวต่างๆ นานา นบั แตอ่ ดตี จวบจนปัจจบุ ัน ภายหลังตัวอกั ษรนป้ี รากฏแล้วจึงใช้ เป็นเครอ่ื งมือหลักในการส่อื สารภาษาไทยมาทุกยุคสมยั ครน้ั เมอ่ื ตวั พมิ พ์ไทยถือก�ำ เนิดข้นึ ชดั เจนในสมยั รัตนโกสินทร์ตอนต้น อกี ทง้ั มีการจดั พมิ พ์หนังสอื ไทยดว้ ยตัวพิมพ์อกั ษรไทยครัง้ แรก ลักษณะหนงั สอื ไทยจงึ แปรเปล่ียนมาน�ำ เสนอในรูปแบบตัวพิมพ์ ทดแทนตวั เขยี นแบบเดมิ พรอ้ มๆ กับการกอ่ ตวั และขยายตัว ของโรงพิมพ์หลายแหง่ กระจัดกระจายไปทั่วพน้ื ทก่ี รงุ เทพฯ และภมู ภิ าค นับเป็นระยะเวลาแหง่ การสรา้ งสรรคห์ นงั สอื สำ�คัญ อนั ทรงคุณค่าออกมามากมาย เม่อื กาลเวลาล่วงเขา้ สู่โลกยุคสมยั ใหม่ ผลงานหนงั สือระบือนาม หลายเล่ม โดยเฉพาะประเภทวรรณกรรม ท่ีไดร้ บั การหยิบยกมา น�ำ เสนอผา่ นสื่อบันเทิงรปู แบบอ่นื เชน่ ละครโทรทศั น์ และภาพยนตร์ จากตวั อักษรบนหนา้ กระดาษกลายเปน็ ภาพเคล่ือนไหวบนจอแก้ว และจอเงิน สำ�หรบั แหล่งขุมทรพั ย์ทางปัญญาที่ส�ำ คญั ของประเทศคือ ‘หอสมดุ แห่งชาติ’ ที่ปฏบิ ัตภิ ารกิจในฐานะคลงั หนังสือของชาติ มาตลอดระยะเวลา ๑๑๓ ปี และมงุ่ มัน่ สืบสานภารกิจนต้ี อ่ ไป ขณะที่พระราชพธิ ีบรมราชาภเิ ษกอันเป็นโบราณราชประเพณี แห่งราชอาณาจักรไทย ซ่ึงปวงชนชาวไทยจะได้เฝ้าชนื่ ชมพระบารมี ในเดือนพฤษภาคม พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๒ นัน้ รายละเอียดของ พระราชพธิ ที กุ ขั้นตอนกไ็ ดร้ บั การบนั ทึกไวใ้ นหนังสือเช่นกนั ท้งั หมดน้ี คอื ววิ ัฒนห์ นงั สอื ไทย 5

๑ กาํ เนดิ อักษรไทย อกั ษร คอื สญั ลกั ษณท ่ีใชบนั ทึกภาษาพดู ของมนษุ ย อกั ษรไทยจะมีมากอนสมัยสโุ ขทัยรชั กาลพอ ขุนรามคําแหงมหาราช หรือไมยงั ไมม ขี อ ยุติ แตปรากฏหลักฐานวาพอ ขนุ รามคาํ แหงมหาราช ประดษิ ฐ ลายสอื ไทย เม่อื มหาศกั ราช ๑๒๐๕ ซง่ึ อาจพัฒนามาจาก อกั ษรปล ลวะของอนิ เดยี ตอนใต แมว า รูปรางจะเปล่ยี นไปมาก แตก ารเรียงลาํ ดบั กเ็ รม่ิ จากตัว ก (กอ) เหมอื นกนั ดังทม่ี ี ปรากฏอยูในหลกั ศลิ าจารึก ปจจุบนั ชดุ ตัวอักษรไทยประกอบดวย พยญั ชนะ ๔๔ รปู สระ ๒๙ รปู วรรณยุกต ๔ รปู รปู แทนพยางค ๔ รปู มาจากสระลอยในภาษาสันสกฤตเมื่อตกมาถึง ภาษาไทยไดก ลายเปนรูปแทนพยางค คือ ฤ ฤๅ ฦ ฦๅ 6



กาํ เนิดตัวพมิ พ ๒ และการพมิ พไทย การกอกาํ เนิดของตัวพิมพไทยปรากฏชัดเจนในสมยั รัตนโกสินทรตอนตน รัชกาลพระบาทสมเด็จพระพทุ ธเลศิ หลา นภาลัย พุทธศักราช ๒๓๕๙ ผทู ี่ ดาํ เนินการดดั แปลงตัวอักษรไทยเปน ตวั พมิ พเปนคนแรกคอื นางจดั สัน (Mrs. Ann Hazeltine Judson) ภรรยาของบาทหลวงจัดสัน มชิ ชันนารี ชาวอเมรกิ ัน คณะแบปทิสตใ นประเทศพมาแตไ มม ีหลักฐานวา เปนหนังสืออะไร ตอมาไดย ายแทนพมิ พก บั ตวั พมิ พอักษรไทยไปยงั ประเทศอินเดีย และไดพ ิมพห นงั สือชอ่ื A Grammar of the Thai or Siamese Language เรียบเรยี งเปนภาษาองั กฤษโดย รอยเอก เจมสโลว มหี ลกั ฐานการทีพ่ ิมพดวยตัวอักษรไทยหลายหนา อยูในหนังสอื เลมน้ี นับวา เปน หนังสือพิมพด ว ยตวั พิมพอักษรไทยเกา แกท ่ีสดุ ที่มอี ยูในปจจุบนั กระทัง่ พทุ ธศักราช ๒๓๗๘ หมอบรดั เลย (Dr. Dan Beach Bradley) มิชชันนารีชาวอเมริกันไดน ําแทนพมิ พซ งึ่ เปน ตวั พิมพภาษาไทยเขามาสสู ยาม และจดั พมิ พส ําเรจ็ ในวันท่ี ๓ มิถุนายน พุทธศักราช ๒๓๗๙ นับไดวา เปน การพมิ พห นงั สอื ไทยดว ยตวั พมิ พอ กั ษรไทยเปนคร้ังแรกในเมืองไทย วงการพมิ พของประเทศไทยจงึ ถือวา วนั ที่ ๓ มถิ ุนายน ของทุกปเ ปน วนั การพิมพไทย จากนัน้ หมอบรัดเลยไดจ ดั พมิ พหนังสอื ท่ีใชต ัวพมิ พภาษาไทยออกเผยแพร จาํ นวนมาก เชน ประกาศหา มสบู ฝน ในพุทธศักราช ๒๓๘๒ ถือเปน การพมิ พเอกสารทางราชการครง้ั แรกของไทยและคาํ ภีรครรภท รักษา เม่ือ พทุ ธศกั ราช ๒๓๘๕ ซ่ึงหนงั สือเลม นแี้ สดงใหเห็นตัวพมิ พไทยท่ีหมอบรัดเลย และคณะสามารถหลอ ข้นึ ใชเองในประเทศไทยดว ย 8

ตอ มา หมอบรัดเลยไดพ ฒั นาตัวพมิ พไทยใหมีความกา วหนา เขาสูมาตรฐาน สอ่ื ส่งิ พิมพแ บบสมัยใหมดวยการออกหนงั สือพิมพฉบับแรกของไทยชื่อ จดหมายเหตุบางกอกรีคอรด เดอร (The Bangkok Recorder) ในเดอื นกรกฎาคม พุทธศกั ราช ๒๓๘๗ หลงั จากหมอบรัดเลยแลว มีชาวตางชาตพิ ยายามพัฒนาตัวพิมพไทยอีกหลายราย เปนตน วาหมอสมทิ (Samuel John Smith) จดั พมิ พหนงั สอื ทั้งภาษาไทยและ ภาษาองั กฤษ ผลงานชน้ิ สําคญั ชวงแรกๆ เชน ตําราคดิ เลข จลุ ศักราช ๑๒๓๗ (ตรงกบั พุทธศกั ราช ๒๔๑๘) และ จดหมายเหตุฝรงั่ คร้ังกรงุ เกา หมอสมทิ ยงั ออก หนงั สือพิมพ จดหมายเหตสุ ยามไสมย ทีน่ ําเสนอขา วราชการเผยแพรเ มือ่ พทุ ธศักราช ๒๔๒๕ - ๒๔๒๙ รวมทง้ั เริม่ นาํ นิทานคํากลอนเรอื่ ง พระอภยั มณี ของสุนทรภู และเร่ืองอน่ื ๆ มาจดั พมิ พเปน เลม ไดรับความนิยมจากผอู า นและขายดอี ยางมาก อาจกลา ววา หากหมอบรัดเลย มงุ เนนพิมพหนังสอื ภาษาไทยเสนอเรื่องประเภท รอยแกวเปนหลกั หมอสมิทก็มงุ พิมพเฉพาะเรอ่ื งรอ ยกรองเชนกนั 9

จากซา ยไปขวา ๑ คำภีรครรภทรกั ษา ๒ จดหมายเหตุ บางกอกรคี อรด เดอร (The Bangkok Recorder) ๓ ประกาศหามสูบฝน ๔ สพั ะ พะจะนะ พาสา ไท ๕ ตำราคดิ เลข



๓ โรงพมิ พไทย การพมิ พห นังสือในประเทศไทย แมวา จะมจี ดุ เรมิ่ ตน จากการทช่ี าวตะวนั ตก นาํ เขา มาตัง้ แตสมัยอยุธยากต็ าม แตบคุ คลสาํ คญั ท่นี ําการพิมพต วั อกั ษรไทย เขา มาเมอื งไทย คือ หมอแดน บีช แบรดเลย หรอื ท่ีคนไทยเรยี กวา หมอ บรัดเลย ไดต้งั โรงพิมพมชิ ชนั นารขี น้ึ เมอ่ื พุทธศกั ราช ๒๓๗๙ สวนโรงพมิ พ ของชาวไทย เรมิ่ เกดิ ขึน้ ในสมัยรัตนโกสินทร เมื่อพระบาทสมเด็จ- พระจอมเกลา เจา อยหู วั ครั้งทรงดํารงพระอสิ ริยยศสมเดจ็ พระเจา นองยาเธอ เจาฟามงกฎุ และทรงผนวชอยูทว่ี ัดบวรนเิ วศวิหาร ไดท รงจดั ตง้ั โรงพิมพขนึ้ ในวดั นนั้ เพ่ือพิมพหนังสอื เกยี่ วกบั พระพทุ ธศาสนาออกเผยแพร โดยมี พระภิกษสุ งฆ สามเณร และฆราวาส ชว ยกันทาํ งานในโรงพมิ พ นับวา พระองคท รงเปนคนไทยคนแรกทีร่ ิเริม่ งานดานการพิมพ เมอ่ื เสด็จเถลิงถวลั ย ราชสมบตั แิ ลว โปรดเกลา ฯ ใหส รา งโรงพมิ พข ้ึนในบริเวณพระบรมมหา ราชวังช้ันกลาง เรยี กวา โรงอกั ษรพิมพการ ซ่ึงเปนโรงพิมพหลวงแหง แรก ของไทย สว นใหญจ ดั พิมพเ อกสารของทางราชการ ยังมหี มอแซมมวล สมทิ ไดตั้งโรงพิมพหมอสมิท ท่ตี ําบลบางคอแหลม พมิ พห นังสือตา งๆ ออกมา จาํ หนา ย หลังจากนั้นไดม ีการต้งั โรงพิมพอนื่ ตามมาเปนลําดบั เพ่ือพมิ พ หนังสอื พมิ พแ ละหนงั สอื ทัว่ ไป ในรชั กาลพระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลาเจา อยูห ัว การพิมพไดขยาย กวา งขวางขึน้ โปรดใหตั้งโรงพิมพหลวงขน้ึ ใหม ชอื่ Government Printing Office เมอ่ื พุทธศกั ราช ๒๔๓๙ แทนโรงอักษรพมิ พการท่ลี มเลกิ ไป หลงั จากนี้ มกี ารตง้ั โรงพิมพมากข้ึนทง้ั สว นราชการและเอกชน ท้ังชาวไทย ชาวตะวันตก และชาวจนี เชน โรงพิมพม หนั ตโทษ โรงพมิ พพระเทพผลู โรงพิมพกรม ไปรษณยี แ ละโทรเลข โรงพิมพอกั ษรนติ ิ์ โรงพมิ พจ ีนโนสยามวารศพั ท ซง่ึ ตัง้ กระจัดกระจายกันตามแหลง ชุมชนตา งๆ ปจ จุบันโรงพิมพเ หลา นส้ี วนใหญ ลมเลกิ กจิ การไปแลว และมีโรงพิมพใ หมท่ีทนั สมัยเขามาแทนที่ 12

To Ayuthia 1 Wat Chana Songkram 2 Wat Bowon Niwet Palace of Wat Rangsi Second King Minister Wat Mahathat of the North Anna’s 2nd House Great Wat Saket Wat Phra Kaew Swing (Cremation Grounds) Wat Suthat Densely Populated 5 6 Many small canals Palace of King Wat Ratchapradit 3 Watch 9 Wat Arun Tower 10 Market Chinese and IndiSaanmBpaeznagarM7arket Palace of Chow Phya River Prince Wongsa Dr. bradley 4 Market Saw Mills Mr. Robert Hunter Anna’s 1st House Royal Portuguese Market Boatsheds Settlement Krala Home’s Palace ถนน Fort Customs House แมน้ำ Orchards Capt john bush แนวกำแพงเมือง Portuguese Consulate วดั British Consulate โบสถ Dr. james campbell บาน French Consulate ชื่อโรงพิมพใ นกรงุ เทพฯ Bishop palle 1. โรงพิมพอักษรนิติ์ บางขุนพรหม Bishop palle 2. โรงพิมพวัดบวรนิเวศ 3. โรงพิมพนายเทพ แพหนาวดั อรุณ To Ocean 8 4. โรงพิมพหมอบรดั เลย คลองบางหลวง Protestant Chapel 5. โรงพิมพโสภณพิพรรฒธนากร American Consulate 6. โรงพิมพไทยเขษม ตรงขามวัดราชบพิธ 7. โรงพิมพพานิชศุภผล ถนนสำเพง็ เหนือ ถนนราชวงศ 8. โรงพิมพครสู มิท บางคอแหลม 9. โรงพิมพโรงพิมพไท ถนนรองเมือง 10. โรงพิมพราษฎรเจริญ (วัดเกาะ)

๔ หนังสอื สําคญั ความสนใจของคนทมี่ ีตอ หนงั สือไดมีมากขนึ้ ตามความเจรญิ ของสังคม และบานเมอื ง จนมีคาํ กลา ววา หนังสือเปน เคร่อื งวัดความเจรญิ ของสังคม อยา งหน่งึ ความสนใจไดแตกแขนงออกไปอยา งกวางขวาง ทาํ ใหเกิด การศกึ ษาคนควา หาความรู และทําใหเกิดหนังสือประเภทตา งๆ ข้ึนมาก แตละประเภทมีกลุมบคุ คลทสี่ นใจแตกตา งกันไป ซ่งึ อาจแบง ออกได เปน ๒ ประเภทคอื หนงั สือเลม (book) และวารสาร (periodical) แตล ะ ประเภทมลี ักษณะรปู เลมเฉพาะท่ีเหมาะสมกับลักษณะการใชงานของ หนังสือน้นั ๆ หนงั สอื ท่นี า สนใจนบั ต้ังแตค นไทยสามารถจดั พมิ พหนงั สือไดเองตั้งแต รชั กาลท่ี ๓ เปนตน มา ไดแ ก หนงั สอื เกย่ี วกับพทุ ธศาสนา เชน หนังสือ อักษรอริยกะของวัดบวรนิเวศวหิ ารหรอื หนงั สอื ความรทู ่วั ไปทผ่ี คู นยคุ นัน้ ไมค อ ยรจู กั กนั เชน หนังสือแสดงกจิ จานกุ จิ ท่ีใหค วามรใู นดานภูมศิ าสตร ดาราศาสตร วทิ ยาศาสตร ภาษาศาสตร โดยใชคําสอนหลกั ทางพระพุทธ ศาสนามาเปน เหตเุ ปน ผลของเนอื้ หาน้นั แมกระทั่ง พระบาทสมเดจ็ - พระจอมเกลาเจา อยูหัว กท็ รงพระราชนพิ นธเ ร่ืองตางๆ เปน จาํ นวนมาก และประกาศออกมาใหป ระชาราษฎรไดอ า น ไดทง้ั ความรู ทงั้ สอน และ ประพฤติปฏิบัตติ าม ในเวลาเดยี วกัน ซ่งึ จะเห็นไดจากหนงั สอื ประกาศ ในรัชกาลที่ ๔ และ หนังสอื ราชกจิ จานเุ บกษา รัชกาลท่ี ๔ นอกจากนี้ ยังมีหนังสอื ที่บนั ทกึ การเสดจ็ พระราชดาํ เนินไปทอดพระเนตรสรุ ิยปุ ราคา ท่ีหวา กอ เมื่อพุทธศกั ราช ๒๔๑๑ เปน ตน 14

ในสมัยรัชกาลที่ ๕ หนังสือตางๆ แพรหลายเพมิ่ มากขึน้ ตามจํานวนของโรงพิมพ มหี นังสือท่นี าสนใจเปน จาํ นวนมาก ท้งั พระราชนพิ นธใ นพระบาทสมเดจ็ พระเจา อยูห วั พระบรมวงศานวุ งศ ขาราชการ พระสงฆ และนักเขียนรว มสมัย มกี ารประกวด ประชนั กนั เขียนหนงั สือ เรือ่ งทีด่ ถี งึ ขนาดไดร ับรางวัล เชน พระราชวจิ ารณในรัชกาล ที่ ๕ เรอ่ื งจดหมายเหตคุ วามทรงจาํ กรมหลวงนรินทรเทวี ทีเ่ ปน หนังสือไดร ับตรา โบราณคดีสโมสร พระราชพธิ สี บิ สองเดือน พระราชนิพนธพระบาทสมเด็จ- พระจลุ จอมเกลาเจาอยหู วั แมจะไดรับรางวัล วรรณคดีสโมสร ในรชั กาลท่ี ๖ แตกเ็ ปนหนงั สือดที ี่เกดิ ขน้ึ ในรัชกาลที่ ๕ นอกจากหนังสอื ทีเ่ กดิ ข้นึ จากงานวรรณกรรม และประวัติศาสตรแ ลว ยงั มีหนังสือ ท่บี ันทึกเหตุการณท เี่ กิดข้ึนเพ่ือเปนทร่ี ะลึก ไดแก การฉลองพระนครครบ ๑๐๐ ป มกี ารพิมพห นังสอื ชดุ ออกมา ๔ เลม คือเร่ือง การแสดงหนงั สือไทย ๑๕๐ เลม ของ ก.ศ.ร. กุหลาบ ทที่ าํ ใหค นยคุ ปจ จบุ นั ไดทราบถึงหนังสือใน collection ของ นายกหุ ลาบเพิ่มมากขนึ้ เลมที่ ๒ เรอื่ งเครือ่ งไมเ คร่อื งมือ เลมท่ี ๓ เรอื่ งขนม และ เลม ท่ี ๔ เร่ืองขา ว หนังสือทบี่ นั ทกึ ความเจริญของบา นเมอื ง เชน สารบาญชีสาํ หรับเจาพนกั งาน ไปรสนยี  แมจ ะเปน หนงั สือคูมือในการรับสงจดหมาย และอนื่ ๆ ของกรมไปรษณยี  โทรเลขยคุ นั้นแตกลบั เปน หนังสือสาํ คัญทท่ี าํ ใหคนยุคปจจุบนั สามารถมองเหน็ สภาพบา นเมอื งในชวงตน รชั กาลที่ ๕ ไดเปนอยา งดี 15





จากวรรณกรรม ๕ สสู ื่อภาพยนตรแ ละละครโทรทัศน โลกยุคสมยั ใหมบ ันดาลใหเนือ้ หาในหนงั สอื ออกมาโลดแลน ผานส่อื บนั เทงิ รปู แบบอ่ืนๆ มากข้ึน จากเดิมท่ผี ูอา นเคยละเลียดสายตาไปตามตวั อักษร แตละบรรทดั บนหนากระดาษ กพ็ ลนั ไดสมั ผัสกับอรรถรสทัง้ ภาพเคล่อื นไหว และสรรพเสยี งตา งๆ นานา ภาพยนตร และละครโทรทัศน นบั เปนสือ่ บนั เทงิ รวมสมัยอันทรงอิทธิพล ตอ ผรู บั ชมไมนอยทเี ดียว ดังน้นั จึงพบเห็นการหยิบยกเรื่องราวในหนังสอื หลายเลม มาถา ยทอดฉากบรรยากาศ และตัวละครดว ยลักษณะของศลิ ปะ การแสดงท่นี ําเสนอทางจอแกว และจอเงนิ อยเู นอื งๆ โดยเฉพาะงานเขยี น ประเภทวรรณกรรมอนั ประทับตราตรงึ หัวใจนักอา นมายาวนาน ไมแปลกเลยท่ผี ลงานนวนยิ ายช้ินเอกอุ อันไดแ ก สี่แผน ดิน ของ หมอ มราชวงศค ึกฤทธิ์ ปราโมช, คกู รรม ของ ทมยันตี (นามปากกาของ คณุ หญิงวมิ ล ศิริไพบูลย) และ บุพเพสันนิวาส ของรอมแพง (นามปากกา ของจันทรยวีร สมปรีดา) จะถกู นาํ มาสรา งเปนภาพยนตร และละครโทรทศั น จนประสบความสาํ เร็จสงู สุด มีเสยี งตอบรับจากนักอาน และผชู มอยา ง ลน หลาม ส่ีแผน ดนิ เคยสรา งเปน ภาพยนตร และละครโทรทัศน รวมถงึ ละครเวที มาแลวนบั ครง้ั ไมถ ว น ในเมอื งไทยเม่อื เอย นามตัวละครแมพลอยขึ้นมา แทบจะไมม ีใครท่ีไมร จู กั คูกรรม ก็เชนเดยี วกัน มีการนําเสนอในรปู แบบหลากหลายไมแ พเ รอื่ ง สี่แผน ดิน ทหารญป่ี นุ ชื่อ ‘โกโบริ’ กับ ‘องั ศมุ าลนิ ’ หญงิ สาวชาวคลอง บางกอกนอยไมเ คยเส่อื มคลายไปจากความทรงจาํ ชาวบา นชาวเมือง 18

ขณะที่ บุพเพสนั นิวาส แมจะเพ่งิ กลายเปนละครโทรทศั นออกอากาศทางชอง ๓ เพียงแคค รง้ั เดยี ว แตไ ดก อ ใหเกิดกระแสความนยิ มสงู สดุ จากประชาชนเกินคาด และทบทวรี ะดบั ‘ละครแหงชาต’ิ ทําใหค ําวา ‘ออเจา ’ เปรียบประหนง่ึ ถอ ยคาํ เคลือบรมิ ฝปากคนไทยทกุ รุนทุกวัย มากไปกวา ความบันเทิง หากเช่ือวา หนังสือวรรณกรรมคือเครือ่ งบนั ทกึ ประวตั ศิ าสตร แลว ภาพยนตรและละครโทรทัศนท ีผ่ ลิตมาจากตัวบทวรรณกรรม กย็ ่งิ สะทอนภาพ ทางประวตั ศิ าสตรใหผชู มสัมผัส เขาถงึ และซมึ ซาบความเปนไปในอดตี ไดช ัดเจนข้นึ สแ่ี ผนดิน เปด เผยวิถีชีวติ และฉากหลงั ของสังคมไทยชวงสมยั พระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกลา เจา อยหู ัว รัชกาลท่ี ๕ ดาํ เนินเรอื่ ยมาจวบสมยั พระบาทสมเด็จ พระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอฐั มรามาธบิ ดินทร รชั กาลที่ ๘ สว นเรือ่ ง คูก รรม เสมอื นพาเราไปตน่ื เตน ในสถานการณค บั ขนั ระหวา งสงครามโลกครั้งท่ี ๒ พรอมด่มื ดํ่ากบั ความรกั อันเกิดจากความแตกตางของเชอื้ ชาตซิ ่ึงมิอาจกน้ั ขวาง เรอื่ ง บุพเพสันนิวาส ชวนใหเ ราเสมือนยอนเวลาไปไกลถึงสมัยสมเดจ็ พระนารายณ มหาราชแหง กรุงศรอี ยุธยา เพื่อทําความเขาใจวถิ ีของชาวบา นสามญั ขณะเดียวกนั หาไดละเลยการเอยถงึ ประเด็นสาํ คญั อยา งการเจรญิ สมั พนั ธไมตรที างการทูต ระหวา งสยามกับฝรัง่ เศสดวย 19

ภาพถายงานพระบรมโกศ พระบรมศพ พระบาทสมเด็จพระจลุ จอมเกลา เจา อยูหวั รชั กาลท่ี ๕ ซึง่ เปน เหตกุ ารณสาํ คญั ในนวนิยายชน้ั ครเู รื่องส่ีแผน ดิน ประพนั ธ โดย ม.ร.ว. คึกฤทธิ์ ปราโมช และ กลายเปน บทละครเวทีท่เี ปนที่กลา วขาน ไมแพล ะครโทรทัศน ภาพถายเหตกุ ารณค รง้ั ทหารญป่ี นุ ยกพลขนึ้ ฝง สยามเมือ่ วนั ท่ี ๘ ธันวาคม ๒๔๘๔ ซ่งึ เปน สว นหน่ึง ในเหตุการณสงครามโลกครงั้ ท่ี ๒ จากความสัมพันธร ะหวางไทยและ ญีป่ นุ ภายใตสงครามไดก ลายเปน นวนยิ ายเรือ่ งคูกรรม ผลงานของ คุณหญิงวมิ ล ศริ ิไพบลู ย หรือ นามปากกาชอ่ื กองท่ีรจู ักกนั วา ทมยนั ตี นวนยิ ายเรือ่ งนี้ไดถกู สรา งเปนละครและภาพยนตร หลากหลายครั้ง และนีค่ ือภาพยนตร ทีน่ ํามาสรางครั้งลา สดุ เมื่อป ๒๕๕๖

ภาพประวตั ศิ าสตรเมือ่ ครัง้ คณะราชทูต นําโดย เจาพระยาโกษาธบิ ดี (ปาน) เขาเฝา พระเจาหลุยสท่ี ๑๔ แหงประเทศฝรงั่ เศส ซงึ่ เปนเหตุการณทางประวตั ศิ าสตรส าํ คญั ทผี่ แู ตง คือ รอมแพง นาํ มาใชในนวนยิ าย เรือ่ งบพุ เพสันนิวาส และทาํ ใหเห็นเปน ภาพเคลื่อนไหวผานบทละครบุพเพสนั นิวาส ละครยอดนยิ มและถูกพูดถึงมากทส่ี ดุ แหงป

๖ ขุมทรัพยแหง ปญ ญา “หอสมุดแหงชาติประกาศวา ไดรวมสรรพตําราไวกวาแสน แมปราชญหายตายพรากจากดินแดน ท้ิงความรูอยูแทนเปนเพ่ือนเรา” ม.ล.ปน มาลากลุ ๒๗ เมษายน ๒๕๐๙ เม่อื พระบาทสมเด็จพระจลุ จอมเกลา เจาอยูห วั โปรดเกลาฯ สถาปนา หอพระสมดุ วชริ ญาณสาํ หรบั พระนคร ขน้ึ เมอื่ พทุ ธศกั ราช ๒๔๔๘ ซง่ึ ปจ จบุ นั คอื หอสมดุ แหง ชาติ นน้ั ตลอดระยะเวลาทผี่ า นมามบี คุ คลสาํ คญั ไดแ ก พระบาทสมเดจ็ พระเจา อยหู วั พระบรมวงศานวุ งศ ขา ราชการตลอดจน ประชาราษฎร ตา งบรจิ าคหนงั สือใหแ กห อสมดุ แหงชาติเปนจาํ นวนมาก อาทิ พระบาทสมเดจ็ พระปกเกลา เจา อยหู วั ไดพ ระราชทานหนงั สอื ในหอ งสมดุ สว นพระองคข องพระบาทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกลา เจาอยหู วั นบั แสนเลม หอสมดุ แหง ชาตเิ ฉลมิ พระเกยี รติหอ งเก็บหนังสือนวี้ า หองพระมงกฎุ หมอ มเจา อปั ษรสมาน กติ ิยากร ประทานหนงั สอื ภาษาสนั สกฤตจากหอ งสมดุ พระเจาบรมวงศเธอ กรมพระจนั ทบรุ นี ฤนาถ จาํ นวนกวา พนั เลม แลว เกบ็ รกั ษาไวท ห่ี อ งพระมงกฎุ เชน เดยี วกนั เปนตน หนังสอื เหลานี้ สามารถบอกเลาเหตกุ ารณบานเมืองทีเ่ กดิ ขน้ึ ในแตละยุค แตล ะสมัย ไดเปน อยางดีโดยไมต อ งใชว ธิ ีจดจาํ หรือบอกเลาตอๆ กันมา ตามแบบโบราณ หากผูอ านสนใจเรือ่ งใด กอ็ าจหยบิ หนงั สอื เรื่องนนั้ หรอื เรอ่ื งท่เี กี่ยวของมาศึกษาหาความรไู ดตลอดเวลา 22

23

หนังสือมีหลากหลายประเภท ทัง้ วรรณกรรม ประวัตศิ าสตร ภาษาศาสตร และอ่ืนๆ ท่ีอาจแสดงเหตุการณโดยเรยี งตามลาํ ดบั วันเดือนปโ ดยยอ หรือหนงั สอื ท่ีแสดงเรอ่ื งราว เฉพาะเรอื่ ง อีกทั้งหนังสอื ทีส่ ะทอนความนิยมในยคุ นน้ั อาทิ วรรณกรรมในสมยั รชั กาลที่ ๖ เหตกุ ารณเขารวมสงครามโลกครั้งที่ ๑ ของไทย การเปลย่ี นแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธริ าชย มาสูร ะบอบ ประชาธปิ ไตยในสมัยรัชกาลท่ี ๗ การฉลองกรงุ เทพมหานครครบ ๑๕๐ ป อนั ย่งิ ใหญ โดยการสรางสิง่ อนุสรณท คี่ งอยมู าจนถึงปจจุบัน คือ สะพานพระพุทธยอดฟา ดาํ เนนิ มาจนถึงรัชกาลที่ ๘ ท่ีบานเมอื งเขาสยู ุคขาวยากหมากแพง ดว ยตองเผชิญภัย จากสงครามโลกครั้งท่ี ๒ แตป ระชาชนยงั มีเคร่อื งยดึ เหนีย่ วจิตใจ คือ พระบาทสมเด็จ พระปรเมนทรมหาอานันทมหดิ ล พระอฐั มรามาธิบดนิ ทร รชั กาลท่ี ๙ บา นเมอื งเจริญรงุ เรืองพฒั นาทกุ รปู แบบ มเี หตกุ ารณเ กิดขนึ้ มากมาย ทง้ั พระราชกรณยี กจิ ทที่ รงประกอบเพอื่ บา นเมอื งและประชาชนของพระองค เหตกุ ารณ ความขัดแยงทางการเมอื ง ๑๔ ตุลาคม ๒๕๑๖ การเกิดภยั พบิ ตั ิทางธรรมชาติ อันใหญหลวง สนึ ามิ และพระราชพธิ ฉี ลองสริ ิราชสมบัติครบ ๖๐ ป ที่ประทับใจ พสกนิกรมลิ ืมเลอื น 24

รัชกาลปจ จบุ ัน ไดพระราชทานความสขุ แกป ระชาชนโดยโปรดเกลาฯ ใหจ ัดงาน อุนไอรักและประชาชนตางรว มกันแสดงนํ้าใจตอบานเมอื งดว ยการเปน จติ อาสา เหตกุ ารณแ สดงความสามัคคขี องชนในชาตแิ ละของนานาประเทศ การชว ยเหลอื ทมี นกั ฟุตบอลหมูปาอะคาเดมี การบนั ทึกเหตกุ ารณของบานเมอื งลงเปนหนังสอื จึงทาํ ใหเ รือ่ งตางๆ คงอยูใน ความทรงจําเปนอยางดี ซึง่ หอสมดุ แหงชาตไิ ดป ฏิบัติภารกิจในการเปน คลงั หนังสือ สาํ คัญของชาติมาตลอดระยะเวลา ๑๑๓ ป และจะคงรักษาบทบาทนี้ตลอดไป เห็นแลวจดไว ทําใหแมนยํา เหมือนทราบแลวจํา ไวไดท้ังมวล แมนหลงลืมไป จักไดสอบสวน คงไมแปรปรวน จากที่จดลง พระนพิ นธ สมเด็จฯ กรมพระยาเทวะวงศวโรปการ 25

๗ พระราชพธิ ีบรมราชาภิเษก ประเทศไทยเปนพระราชอาณาจักรมั่นคงดาํ รงเอกราชมาชานาน ดว ยมี พระประมุขทที่ รงไดรับการสถาปนาขึ้นเปน สมเด็จพระมหากษัตริยาธิราชเจา เปนพระเจา แผน ดนิ ดว ยพระราชพิธบี รมราชาภิเษกโดยขนบอันเปน โบราณ ราชประเพณี นับเปนพระราชพิธีท่สี าํ คญั และศกั ดิส์ ิทธิย์ งิ่ นอกจากนี้ พระราชพิธบี รมราชาภิเษก ยังเปน เคร่ืองแสดงถึงเกียรติยศของแผนดิน และความเปน ศรีสวัสดมิ งคลของบานเมือง อกี ท้งั ยังเปน ที่เจรญิ สขุ แกไพรฟา ประชาราษฎรทัว่ ไปในพระราชอาณาเขตไทย โดยมขี ัน้ ตอนของพระราชพธิ ี ตามลาํ ดบั คอื พธิ ีเชิญน้าํ จากแหลงน้ําสําคญั แตละแหงในพระราชอาณาจักร นาํ มาเสก ทําน้ําพระพทุ ธมนต และนํ้าเทพมนต เพือ่ การโสรจสรงพระมรุ ธาภิเษก พระราชพธิ ีจารึกพระสุพรรณบฏั พระบรมนามาภิไธยพระเจา อยหู ัว จารกึ ดวงพระบรมราชสมภพ และแกะพระราชลญั จกรประจาํ รชั กาล พระราชพธิ ีเจรญิ พระพทุ ธมนต ตั้งน้าํ วงดาย จุดเทียนชยั และเจรญิ น้ําพระพทุ ธมนต พระราชพธิ ีสรงพระมุรธาภเิ ษก รบั นา้ํ พระพทุ ธมนตและนํา้ เทพมนต เพ่อื สรงสนานพระองค และสรงสนานพระเศยี รดว ยสหสั ธารา อันเปน การชําระและบังเกิดสิริสวัสดิมงคลยิ่งโดยโบราณราชประเพณี 26

พระราชพธิ ีถวายสริ ิราชสมบัติอนั บรบิ รู ณใ นพระราชอาณาจกั รท้งั แปดทศิ เพ่อื ทรงรับไวอภริ ักษและอภิบาลใหเปนอาณาประโยชนแ กพสกนกิ ร พระราชพธิ ถี วายดวงพระบรมราชสมภพ พระบรมนามาภไิ ธย เครอ่ื งมงคลสิริ เบญจราชกกุธภัณฑ แสดงพระราชฐานะสมเด็จพระมหากษตั รยิ าธิราชเจา โดยสมบูรณ ทรงรับแลว จึงมีพระราชดาํ รัสเปนพระปฐมบรมราชโองการ การพระราชพิธที า ยพระราชพิธีบรมราชาภิเษก มีพระราชพิธีเสดจ็ ออก มหาสมาคม ใหพระบรมวงศานวุ งศ ขาราชการผูใหญผ ูน อยเฝา ถวาย พระพรชัยมงคล ประกาศพระองคเปนศาสนปู ถัมภกในพระบวรพุทธศาสนา ถวายบงั คมพระบรมอัฐิ และพระอฐั ิสมเด็จพระบรมราชบุพการี พระราชพธิ ี เฉลิมพระราชมณเฑียรและพระราชพธิ ีเสด็จพระราชดาํ เนนิ เลยี บพระนคร โดยกระบวนพยุหยาตราทง้ั ทางสถลมารคและชลมารค ใหราษฎรไดเ ฝา ชน่ื ชมพระบารมี 27







บรรณนิทัศน์

หมปู ่าตวั แรก. ๑๓ หมูป่าตดิ ถ้ำ� ปฏบิ ตั ิการสะท้านโลก. กรุงเทพฯ: พาส เอ็ดดเู คชัน่ , ๒๕๖๑. เรอื่ งราวเกี่ยวกับปฏิบตั ิการช่วยชีวติ ทีมนกั ฟตุ บอลเยาวชน หมปู ่าอะคาเดมี และโค้ช ทอ่ี �ำเภอแมส่ าย จงั หวัดเชียงราย รวม ๑๓ คน ที่ตดิ อยู่ในถ้ำ� หลวง ขนุ น�้ำนางนอน ตั้งแต่ วันที่ ๒๓ มถิ นุ ายน ๒๕๖๑ โดยไดร้ ับความชว่ ยเหลือ จากทมี กู้ภยั ภาครฐั และเอกชน และจากนานาประเทศ ทั่วโลกรว่ มมือกนั คน้ หา ท�ำให้เด็ก ๆ และโคช้ สามารถออกมาจากถำ้� ได้อย่างปลอดภยั เมื่อวันท่ี ๑๐ กรกฎาคม ๒๕๖๑ รวมทง้ั ส้นิ ๑๘ วนั นับเปน็ ภารกจิ กู้ภัยครง้ั ส�ำคญั ในประวัติศาสตร์ 32

มงกฎุ เกล้าเจา้ อยูห่ วั , พระบาทสมเด็จพระ. ๑๐๐ ปสี งครามโลกคร้ังท่ี ๑: พระราชนิพนธ์ อันเน่อื งดว้ ยงานพระราชสงคราม ณ ทวปี ยุโรป เลม่ ๑ - ๖. กรุงเทพฯ: มลู นิธิพระบรมราชานุสรณ์ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลา้ เจา้ อยู่หวั ในพระบรมราชปู ถัมภ,์ ๒๕๖๐. หนงั สอื รวมพระราชนพิ นธ์ในพระบาทสมเด็จ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยหู่ วั เก่ียวกบั สงครามโลกครัง้ ท่ี ๑ ในรปู บทความพระราชวิจารณ์ นิทาน นยิ าย และรอ้ ยกรอง แลว้ พระราชทานไปพิมพเ์ ผยแพร่ ในหนังสอื พมิ พ์ “ไทย” และ “กรงุ เทพฯ เดลเิ มล”์ วารสาร “สมุทสาร” และ “ดสุ ิตสมิต” ระหวา่ ง เดือนมกราคม ๒๔๕๗ ซ่ึงเป็นปที เี่ ร่มิ ต้นการสงคราม จนถงึ เดอื นตุลาคม ๒๔๖๒ อนั เป็นเดอื นหลังจาก ฝ่ายสมั พันธมติ รมีชัยในสงคราม รวมทั้งส้ิน ๑๒๗ เรือ่ ง รวมถงึ พระราชนพิ นธ์ฉบับลายพระราชหัตถเลขา เรอ่ื ง ปาฐกะถา วา่ ด้วยการสงครามปอ้ มคา่ ยประชิต และเรื่อง การสงครามปอ้ มค่ายประชิตปาฐะกถา ดว้ ย 33

กฎหมายการเลอื กตงั้ . ม.ป.ท: ม.ป.พ, ม.ป.ป. กฎหมายการเลอื กตง้ั เปน็ สว่ นหนง่ึ อยู่ในแผนกนติ บิ ญั ญตั ิ มีขอ้ ความกล่าวถงึ การเลอื กตงั้ ผูแ้ ทนราษฎร ซึ่งเปน็ ของใหม่สำ�หรบั ประเทศสยาม ผเู้ ขยี นได้อธิบายแยก จากอ�ำ นาจนติ บิ ัญญตั ิ เพื่อใหเ้ ขา้ ใจในหลกั การทว่ั ๆ ไป เรื่องกฎหมายระเบียบที่ใชส้ �ำ หรับการเลือกต้ัง หน้าที่ ของราษฎรในการเลอื กตั้ง เป็นต้น 34

กรมศิลปากร. กระบวนพยหุ ยาตราสถลมารค สมยั สมเดจ็ พระนารายณม์ หาราช จำ�ลองจากต้นฉบบั หนงั สือสมุดไทยของหอสมดุ แหง่ ชาต.ิ กรุงเทพฯ: กรม, ๒๕๓๐. (กรมศลิ ปากร กระทรวงศกึ ษาธิการ จดั พิมพ์ในโอกาสฉลอง ๓๐๐ ปี ความสมั พนั ธไ์ ทย กบั ฝร่ังเศส พุทธศกั ราช ๒๕๓๐) จ�ำ ลองมาจากต้นฉบบั หนงั สือสมุดไทยของหอสมดุ แหง่ ชาติ โดยสมเดจ็ พระเจา้ บรมวงศเ์ ธอ กรมพระยา ดำ�รงราชานุภาพ โปรดให้ขนุ ประสิทธิจติ รกรรม (อยู่ ทรงพันธุ)์ คัดรูปภาพกระบวนพยหุ ยาตราพระกฐิน ครง้ั กรุงเก่าไวส้ ำ�หรบั หอพระสมดุ ส�ำ หรบั พระนคร ภายในเลม่ แสดงภาพการจดั กระบวนพยหุ ยาตราสถลมารค ในสมยั สมเดจ็ พระนารายณม์ หาราช โดยแบ่งเป็น กระบวนช้าง กระบวนมา้ และกระบวนเดนิ เท้า 35

คมั ภีร์ครรภท์ รักษา แปลย่นความออกจากคำ�ภรี ์ ครรภ์ทรักษาแห่งแพทย์หมออเมรกิ า โดย หมอบรัดเล. กรงุ เทพฯ: เอบีซีเอฟ็ เอม็ มชิ ชัน่ , ๒๓๘๕. เรอ่ื งสตู ศิ าสตร์ท่ีไดร้ ับการแปลยอ่ ความจากหนงั สอื ครรภท์ รกั ษาของแพทย์อเมรกิ า เขยี นโดย ดอ๊ กเตอร์ แดน บชี บรัดเลย์ (Dr. Dan Beach Bradley) ค�ำ ภีรค์ รรภท์ รักษานเ้ี ป็นผลงานการพมิ พท์ างการแพทย์ ทส่ี �ำ คญั เล่มแรกท่ีได้รับการตีพิมพข์ ึ้นในประเทศสยาม เม่ือ พ.ศ. ๒๓๘๕ และทลู เกลา้ ฯ ถวายพระบาทสมเดจ็ พระนง่ั เกล้าเจา้ อยู่หัว จากนั้นนำ�มาเผยแพรพ่ ิมพ์เป็น ตำ�ราวชิ าการผดุงครรภ์ เนือ้ หาของคมั ภรี ์ครรภท์ รกั ษา อธิบายเร่ืองการปฏสิ นธิ กายวภิ าคของทารกในครรภ์ ลกั ษณะของครรภ์และทารก วิธีการท�ำ คลอดของ ทารกทอี่ ยู่ในทา่ ตา่ ง ๆ รวมไปถงึ เครือ่ งมอื ส�ำ หรบั การท�ำ คลอดแบบตะวนั ตก 36

ไทยนอ้ ย. ค่ายคุมขังนกั โทษการเมือง. พระนคร: โรงพิมพ์ไทยพานิช, ๒๔๘๘. รวมบทความทศั นคตขิ องนกั โทษการเมอื งทถ่ี กู คุมขงั ณ เกาะตะรุเตา จังหวัดสตลู เป็นบนั ทกึ การด�ำเนินชีวิต ในช่วงเวลาอันยาวนานของหลายๆ ท่าน เชน่ หลวงมหาสิทธโิ วหาร (สอ เสถบตุ ร) ดร.โชติ คมุ้ พนั ธ์ ร.ท.จงกล ไกรฤกษ์ เป็นตน้ ภายหลังได้รับการอภยั โทษ ในช่วงแรกมีการจดั พิมพบ์ ทความเหลา่ นล้ี งใน หนงั สอื พิมพป์ ระชามิตรสุภาพบุรษุ เปน็ รายสปั ดาห์ เน่ืองด้วยประเทศไทยอยู่ในภาวะสงครามเกิดภาวะ ขาดแคลนกระดาษจงึ มกี ารลดปรมิ าณเนอื้ หาลงตามสว่ น บทความคา่ ยคมุ ขังนกั โทษการเมอื งไม่เพยี งพอกับผอู้ ่าน การหาซอื้ ล�ำบาก ผจู้ ดั พิมพ์จงึ รอใหร้ าคากระดาษ ลดลงมาแล้วรวมเลม่ จัดพมิ พ์ขน้ึ 37

วมิ ล ศริ ไิ พบลู ย,์ คุณหญิง. คกู่ รรม โดย ทมยันตี (นามแฝง). พิมพ์คร้ังที่ ๕. พระนคร: รวมสาสน์ , ๒๕๑๖. นวนยิ ายแนวโศกนาฏกรรมความรักระหวา่ งชาย หญงิ ตา่ งเชอื้ ชาติ ประพันธโ์ ดย ทมยันต ี ด�ำเนนิ เรอ่ื งโดยใช้ สถานทีจ่ รงิ ในประเทศไทยสมยั สงครามโลกคร้งั ท่ี ๒ บรรยายใหเ้ ห็นถงึ ภาพลกั ษณ์ท่ดี ีของทหารญี่ป่นุ นวนิยายเรื่องนี้เป็นสดุ ยอดนวนยิ ายของเมืองไทย ที่ครองใจผ้อู ่านมานาน ตพี ิมพ์เปน็ ตอนในนิตยสาร ศรีสยาม และรวมเลม่ เปน็ ครัง้ แรกเมือ่ พ.ศ. ๒๕๑๒ และพิมพซ์ ้ำ� ออกมาอีกหลายครงั้ 38

นราธิปประพนั ธพ์ งศ์, พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระ. โคลงลิลติ สภุ าพ ตำ� รบั พระบรมราชาภิเษก สปั ดมะราช มหาจักรวี งศ์ เล่มต้น - เล่มปลาย. พระนคร: โรงพิมพ์ อกั ษรนิต,ิ ๒๔๗๒. ลิลิตบรมราชาภเิ ษก หนงั สือท่กี รมพระนราธิปประพันธพ์ งศ์ ทรงพระนิพนธข์ นึ้ มีเนื้อหาเกีย่ วกับพระราชพิธบี รม- ราชาภิเษก ในรัชกาลที่ ๗ ที่ทรงพระนิพนธ์ไวอ้ ยา่ งละเอยี ด กวา่ จดหมายเหตอุ ่ืน ๆ ข้อความในหนงั สือตรงกับ เหตกุ ารณจ์ รงิ ทงั้ สิ้น มตี อนเดียวท่ตี า่ งจากเหตกุ ารณ์จรงิ เพ่อื ให้ไพเราะ คอื กล่าววา่ พระบาทสมเดจ็ พระปกเกลา้ - เจา้ อยู่หัวเสด็จฯ ไปทรงนมัสการพระบรมรูปทรงมา้ ในวันกอ่ นพระราชพิธีบรมราชาภิเษก ซง่ึ เหตุการณจ์ รงิ คอื เสด็จฯ ไปถวายบังคมพระบรมอฐั ิทหี่ อพระธาตุมณเฑียร และพระที่นงั่ จักรมี หาปราสาท และพระบรมศพพระบาท- สมเด็จพระมงกฎุ เกล้าเจ้าอยู่หัวทีพ่ ระที่น่งั ดุสติ มหาปราสาท หนังสอื เล่มนีเ้ ป็นหนงั สือที่ดที ั้งทางวรรณคดี ทางต�ำรา และ ทางประวัติศาสตร์ พระบาทสมเดจ็ พระปกเกล้าเจา้ อย่หู ัว ทรงเห็นว่า เป็นพระนิพนธ์ท่ดี ีท่สี ดุ ท่เี คยอ่านมา จึงโปรดให้ จัดพิมพข์ ึ้นในโอกาสวันเฉลมิ พระชนมพรรษาครบสามรอบ ส�ำหรบั พระราชทานแกพ่ ระบรมวงศานวุ งศ์ และข้าราชการ ทม่ี าร่วมงาน 39

ธนาคารกรงุ ศรอี ยธุ ยา. งานฉลองสิรริ าชสมบตั ิ ครบ ๖๐ ปี พทุ ธศกั ราช ๒๕๔๙. กรงุ เทพฯ: เนชัน่ มัลตมิ ีเดีย กรุป๊ พับบลคิ , ๒๕๔๙. หนังสอื เล่มน้ีจัดท�ำข้นึ เพือ่ เทิดพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ในมหามงคลสมยั ครบรอบ ๖๐ ปี แห่งการเสดจ็ เถลิงถวัลยราชสมบัติ เนอ้ื หาภายในเลม่ แบง่ ออกเปน็ ๓ บท บทที่ ๑ ประมวลพระราชประวัติ ของพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยหู่ วั และพระราชพธิ ี เนอื่ งด้วยการเสดจ็ ด�ำรงสิรริ าชสมบตั ิ บทท่ี ๒ พระราชพธิ ฉี ลองสิริราชสมบัติ ๖๐ ปี พุทธศกั ราช ๒๕๔๙ และบทท่ี ๓ งานเฉลิมฉลองของภาครฐั ภาคเอกชน สมาคม ห้างร้าน และประชาชน มงกุฎเกลา้ เจ้าอยู,่ พระบาทสมเด็จพระ. จดหมายเหตุ พระราชพิธีบรมราชาภเิ ษกสมเด็จพระรามาธิบดี ศรสี นิ ทรมหาวชิราวธุ พระมงกฎุ เกลา้ เจา้ อยู่หัว. [กรุงเทพฯ]: โรงพมิ พ์โสภณพิพรรฒธนากร, ๒๔๖๖. จดหมายเหตเุ ลม่ นพี้ ระบาทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั รชั กาลที่ ๖ โปรดเกลา้ ฯ ให้หอพระสมุดส�ำหรบั พระนครรวบรวมพิมพ์พระราชทานในงานเฉลมิ พระชนมพรรษา พ.ศ. ๒๔๖๖ กลา่ วถงึ พระราชพิธี บรมราชาภิเษกของพระบาทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกล้า เจา้ อยหู่ วั ซง่ึ จดั ๒ ครง้ั คอื วนั ที่ ๑๑ พฤศจกิ ายน ๒๔๕๓ พระราชพิธบี รมราชาภเิ ษกเฉลมิ พระราชมณเฑียร ตามราชประเพณโี บราณ แตไ่ มม่ เี สดจ็ เลยี บพระนคร และงานรนื่ เรงิ อน่ื และพระราชพธิ บี รมราชาภเิ ษกสมโภช เปน็ งานรื่นเริงส�ำหรบั ประเทศและให้นานาประเทศ ท่เี ปน็ สมั พนั ธไมตรมี โี อกาสมารว่ มงาน ในวันท่ี ๒๘ พฤศจิกายน ๒๔๕๔ 40

จดหมายเหตเุ สอื ปา่ เล่ม ๑ ฉบบั ๑ พฤษภาคม ๑๓๐. ม.ป.ท: ม.ป.พ, ๒๔๕๔. วารสารส�ำหรับสมาชกิ กองเสอื ป่า ก�ำหนดออกเป็น รายเดอื น เนือ้ หาภายในเลม่ วา่ ดว้ ยข่าวสารเกย่ี วกับ กิจการของกองเสอื ปา่ ได้แก่ กฎระเบียบ ขอ้ บังคับตา่ ง ๆ การแตง่ ตงั้ โยกยา้ ย การพระราชทานสัญญาบัตร และ เลือ่ นต�ำแหน่ง รวมทัง้ ขา่ วมรณกรรมของสมาชิก ก.ศ.ร. กุหลาบ. ดบั ทุกข์มศี ุขตลอดชาตินแ้ี ละชาตนิ ่า. พมิ พค์ รงั้ ที่ ๒. พระนคร: โรงพมิ พส์ ยามประเภท, ๒๔๕๖. หนังสือกลอนธรรมะสอนใจ แตง่ ขึ้นเมอ่ื ก.ศ.ร. กุหลาบ หรือนายกุหลาบ ตฤษณานนท์ มอี ายุครบ ๘๑ ปี เป็นค�ำกลอนสอนใจจ�ำนวน ๘ เรื่อง 41

ดสุ ิตสมติ เล่ม ๒ ฉบับที่ ๑๕ - ๑๗. พ.ศ. ๒๔๖๑ - ๒๔๖๒. ม.ป.ท: ม.ป.พ, ม.ป.ป. ดสุ ติ สมติ วารสารรายสปั ดาห์ ออกทกุ วนั เสารใ์ นดสุ ติ ธานี เมืองจ�ำลองท่ีพระบาทสมเดจ็ พระมงกุฎเกลา้ เจ้าอยหู่ วั ทรงทดลองการปกครองตามระบอบประชาธิปไตย โดยมีพระบาทสมเด็จพระมงกฎุ เกล้าเจา้ อยหู่ ัวทรงเป็น บรรณาธิการ เนอ้ื หาภายในเลม่ ประกอบดว้ ยบทความ นวนิยาย เร่อื งเบ็ดเตลด็ ท่วั ไป เรอ่ื งชวนหวั ภาพการ์ตูน และโคลง เน้ือหาที่นา่ สนใจในดสุ ติ สมติ เลม่ ๒ ฉบบั ท่ี ๑๕ - ๑๗ ไดแ้ ก่ เรอื่ งต�ำนานชาตฮิ ่ัน ซึง่ เปน็ เรื่องราวประวตั ิศาสตรช์ าตเิ ยอรมันพร้อมภาพวาด ประกอบ และเร่อื งธงไทยได้ตรา เปน็ เร่อื งเกยี่ วกบั ทหารไทยที่รว่ มรบในสมรภูมติ ะวนั ตก จนไดร้ ับ เคร่อื งราชอิสริยาภรณ์ของฝรั่งเศสเพอ่ื ยกย่อง ทหารไทยท่ีปฏบิ ัตภิ ารกิจอยา่ งกลา้ หาญ เปน็ ต้น ซอน, รอบิน. ตำ� ราคดิ เลข. กรุงเทพฯ: โรงพมิ พ์ครูสมทิ , จ.ศ. ๑๒๓๗ (พ.ศ. ๒๔๑๘). หนงั สือสอนการคิดเลขตงั้ แต่เรมิ่ ตน้ วธิ กี ารประสม (บวก) วธิ กี ารหกั (ลบ) การคณู และการแบง่ (หาร) นอกจากน้ยี ังมีพกิ ดั อัตราเงนิ สยาม เงินอเมรกิ นั ตลอดจนมาตราช่งั ตวง วดั นับ ของเหลว ของแห้ง ของเหลี่ยม และกลม 42

กรมศลิ ปากร. ใตร้ ม่ พระบารมี ๑๑๒ ปหี อสมดุ แหง่ ชาต.ิ กรุงเทพฯ: กรม, ๒๕๖๑. (กรมศลิ ปากรจัดพิมพ์ เนื่องในโอกาสสมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรม ราชกมุ ารี เสดจ็ พระราชดำ� เนนิ ไปทอดพระเนตรกจิ การ หอสมดุ แหง่ ชาติ วนั ที่ ๑๐ สงิ หาคม พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๑) การพัฒนาของหอสมดุ แหง่ ชาตนิ ับแต่อดีตจนถึง ปัจจุบนั นานถึง ๑๑๒ ปี ทีห่ อสมุดแห่งชาตไิ ดร้ บั พระมหากรณุ าธคิ ุณจากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอย่หู ัว ตง้ั แตร่ ชั กาลที่ ๕ จนถึงรชั กาลที่ ๙ มาโดยตลอด ท�ำให้หอสมุดแหง่ ชาตเิ จรญิ รุ่งเรืองมาเปน็ ล�ำดบั ภูมพิ ลอดุลยเดช, พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหา. เรอื่ ง ทองแดง The Story of Tongdaeng. กรุงเทพฯ: อมรนิ ทร์พรนิ้ ต้งิ แอนดพ์ บั ลชิ ชิ่ง, ๒๕๔๖. น�ำเสนอเร่อื งราวเกยี่ วกับคณุ ทองแดงสนุ ัขทรงเลย้ี ง ในดา้ นตา่ ง ๆ ประกอบด้วย ทเ่ี กิดของคุณทองแดง แมข่ องคณุ ทองแดง พนี่ อ้ ง คณุ และลกั ษณะของ คุณทองแดง ความฉลาด ความกตญั ญู ตลอดจน ความสามารถพิเศษ 43

Un Ancien Ministre. ไทย ร.ศ.๑๑๒ แปลจาก Revue politique et parlementaire โดย ถนอม กบ่ี ุญเรือง. พมิ พ์ครง้ั ที่ ๒. พระนคร: โรงพมิ พ์ศภุ อกั ษร, ๒๔๘๐. เหตุการณ์กรณีพิพาท ร.ศ. ๑๑๒ (พ.ศ. ๒๔๓๖) ระหว่างไทยกบั ฝรัง่ เศส ตั้งแต่กรณีพระยอดเมอื งขวาง เจ้าเมอื งค�ำมวน ไปจนถงึ ฝร่ังเศสน�ำเรอื รบเขา้ มายัง ปากน�้ำเจา้ พระยา 44

พฒั นพงศภ์ กั ดี (ทมิ สขุ ยางค)์ , หลวง. นริ าศหนองคาย. พระนคร: โรงพิมพพ์ ระจันทร,์ ๒๔๙๘. (พมิ พใ์ นงาน พระราชทานเพลงิ ศพ รองอ�ำมาตย์โท ขนุ สันทดั วฒุ วิ ิถี (สวน สนั ทดั วฒุ )ิ อดตี นายชา่ งหวั หนา้ กอง กองการโยธา เทศบาลนครกรงุ เทพฯ ณ ฌาปนสถาน “สันทดั วุฒ”ิ วัดมหาพฤฒาราม วนั ที่ ๒๐ มนี าคม พ.ศ. ๒๔๙๘) หลวงพัฒนพงศภ์ กั ดี (ทิม สุขยางค์) ทนายของ เจา้ พระยามหินทรศกั ดธิ์ �ำรง (เพง็ เพ็ญกลุ ) แต่งนริ าศ หนองคายในคราวทต่ี ิดตามเจา้ พระยามหนิ ทรศักดิ์ธ�ำรง ไปปราบฮ่อที่เมืองหนองคายในสมัยรัชกาลที่ ๕ เนือ้ หา วา่ ด้วยประวัติศาสตร์และสงคราม บรรยายลักษณะ การจดั กระบวนทพั และการทหารในสมยั รตั นโกสินทร์ ตอนตน้ แต่เนือ่ งจากเนอื้ หาบางส่วนมกี ารพาดพงิ กระทบกระเทอื นท�ำใหผ้ อู้ ืน่ เสียหาย จงึ เป็นเหตใุ ห้ หนังสอื ถกู เก็บและเผาไฟ นบั ตั้งแต่นิราศหนองคาย ถกู ท�ำลายต้นฉบับไป สมเดจ็ พระเจา้ บรมวงศเ์ ธอ กรมพระยาด�ำรงราชานุภาพ มรี ับส่งั ให้คัดลอก เร่อื งดงั กล่าวท่หี ลงเหลืออย่ไู วใ้ นหอพระสมุดส�ำหรบั พระนคร ภายหลงั มกี ารจัดพิมพเ์ ผยแพรข่ ้นึ มาใหม่ 45

ราโชทัย, หม่อม. นริ าษเมอื งลอนดอน ทห่ี มอ่ มราโชทยั ได้คิดเปนคำ� กลอน ตามความจดหมายรายเรื่องราชทตู ที่ทูลเกล้าทลู กระหมอ่ มถวาย. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ หมอบรัดเลย์, ๒๔๓๔. หมอ่ มราโชทัย (ม.ร.ว. กระตา่ ย อิศรางกรู ) ล่าม ในคณะทตู ไทยสมยั รชั กาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกลา้ เจา้ อยู่หวั ท่ีไดเ้ ชิญพระราชสาสน์ และเคร่ืองราช บรรณาการไปถวายสมเดจ็ พระราชนิ ีนาถวิคตอเรยี แหง่ ประเทศองั กฤษ เมอื่ วนั ท่ี ๒๔ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๔๐๐ ไดเ้ ขยี นจดหมายเหตุการเดนิ ทางไว้อยา่ งละเอยี ดลออ จนเห็นภาพอย่างชัดเจน จนกระทงั่ มาเป็นวรรณกรรม ช้ินเอกขน้ึ คือ “นิราษเมืองลอนดอน” ที่อาจจะถอื ไดว้ า่ เปน็ งานสารคดที อ่ งเทย่ี วเชงิ ประวตั ศิ าสตรแ์ ละโบราณคดี ประเภทกวีนิพนธ์ในยุคแรกของวงวรรณกรรมไทย กระทรวงศึกษาธิการ. บันทกึ ประวัติศาสตร์ “ปน่ั เพอ่ื พอ่ ” เฉลมิ พระเกยี รติ ๘๘ พรรษา ทวยราษฎร์ จงรกั ลำ�้ ปติ ุรงค์. กรุงเทพฯ: กระทรวง, ๒๕๕๙. หนงั สือท่ีระลกึ กิจกรรม Bike for Dad ในวันท่ี ๑๑ ธนั วาคม ๒๕๕๘ เนอ้ื หาเกย่ี วกบั พระราชประวัติของ พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช รชั กาลท่ี ๙ สมเดจ็ พระเจา้ อยู่หวั มหาวชริ าลงกรณ บดนิ ทรเทพยวรางกรู และพระราชกรณยี กิจของ ท้งั สองพระองค์ ทม่ี าของโครงการ Bike for Dad ภาพกจิ กรรมในส่วนภูมิภาค ๗๗ จงั หวัด และ ต่างประเทศ ๖๗ ประเทศ พรอ้ มภาคภาษาอังกฤษ 46

บาญชีขนมต่าง ๆ. ม.ป.ท.: ม.ป.พ., ม.ป.ป. รายชอื่ ขนมต่าง ๆ ท่ีแบง่ ประเภทตามส่วนประกอบ ของขนม ทั้งขนมในงานมงคล ขนมของชาวจนี และ ขนมของชาวยโุ รป พรอ้ มทั้งราคาซือ้ ขาย บาญชีสิง่ ของนาเชนแนลเอกซฮิบเิ ชอ่น ในการเฉลิมพระนครต้ังแตส่ ร้างกรุงเทพมหานคร บรรจบครบรอบ ๑๐๐ ปี ปมี เมยี จตั วาศก ๑๒๔๔. ม.ป.ท: ม.ป.พ., ม.ป.ป. หนงั สอื เลม่ นแ้ี บง่ อออกเปน็ สองสว่ น ส่วนหน่งึ เป็นรายช่อื ฟืนและถ่านไม้ตา่ ง ๆ ท่ีมีขายในกรงุ สยาม และอีกส่วนหนงึ่ เปน็ แหล่งขายเกลอื ตา่ ง ๆ ในเมอื งเพชรบรุ ี สมทุ รสาคร สมทุ รปราการ ชลบุรี ปรานบุรี และกุยบรุ ี พรอ้ มท้งั บญั ชเี กลอื ดีและ การกำ�หนดราคาซอื้ ขายในทอ้ งตลาด 47

บาญชี ส่งิ ของนาเชนแนลเอกซฮบิ ีเชน ณทอ้ งสนามหลวง ในการเฉลมิ พระณครตัง้ แต่ สร้างกุรงเทพพระมหาณคร บนั จบครบรอบ ๑๐๐ ปี ปีมเมยี จัตวาศก ๑๒๔๔ บาญชี เคร่ืองจำ�ลอง ตัวอยา่ งต่าง ๆ หมวดวา่ ดว้ ยเคร่อื งมอื ทำ�นาแลพันเข้า. ม.ป.ท: ม.ป.พ, ม.ป.ป. บัญชี เครอ่ื งมอื เครื่องใชส้ อยในการท�ำ นา และบัญชีพันธุ์ข้าว อัตราการตวงและการก�ำ หนด ราคาขายพนั ธ์ขุ ้าว บาญชหี นงั สอื ไทยต่าง ๆ ๑๕๐ เร่ือง ตงั้ ในการนาเชนแนลเอกซฮบิ เิ ชอ่ น ท้องสนามหลวงในการเฉลมิ พระนครตง้ั แต่ สร้างกรงุ เทพมหานครบรรจบครบรอบรอ้ ยปี มเมียจัตวาศก จุลศกั ราช ๑๒๔๔. ม.ป.ท: ม.ป.พ, ม.ป.ป. บญั ชรี ายชือ่ หนงั สอื ทีเ่ ก็บรวบรวมโดย นาย ก.ศ.ร. กหุ ลาบ จ�ำนวน ๑๕๐ เร่อื ง 48


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook