Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ใบความรู้ที่ 19 ฉันทลักษณ์ กาพย์ กลอน

ใบความรู้ที่ 19 ฉันทลักษณ์ กาพย์ กลอน

Published by rinda2552, 2019-01-19 22:38:38

Description: ใบความรู้ที่ เรื่อง ฉันทลักษณ์ กาพย์ กลอน

Keywords: ภาษาไทย

Search

Read the Text Version

ภาษาไทย ช้ันมัธยมศกึ ษาปีท่ี ๔ ๑ ใบความรูเ้ รอื่ ง ฉันทลกั ษณ์ (กาพย์ กลอน) กาพย์ คือคาประพันธช์ นิดหนึ่งซ่ึงมีกาหนดคณะ พยางค์ และสัมผัส มลี ักษณะคล้ายกบั ฉนั ท์ แต่ไม่นยิ ม ครุ ลหุ เหมือนกบั ฉันท์ กาพย์ แปลตามรปู ศัพทว์ ่า เหล่ากอแห่งกวี หรือ ประกอบด้วย คณุ แห่งกวี หรือ คาท่ีกวี ได้ รอ้ ยกรองไว้ กาพยม์ าจากคาว่า กาวยฺ หรือ กาพฺย และคา กาวฺย หรอื กาพยฺ มาจากคา กวี กวอี อกมาจากคา เดิม ในภาษาบาลี และสนั สกฤต กวิ แปลวา่ ผู้คงแก่เรียน ผู้เฉลยี วฉลาด ผมู้ ปี ัญญาเปร่ืองปราด ผปู้ ระพันธ์กาพยก์ ลอน และแปลอยา่ งอืน่ ได้อีก กาพย์ ตามความหมายเดิม มีความหมายกวา้ งกว่าที่เข้าใจกนั ในภาษาไทย คอื บรรดาบท นิพนธ์ ท่ีกวไี ด้ ร้อยกรองข้ึน ไมว่ า่ จะเป็น โคลง ฉนั ท์ กาพย์ หรือ ร่าย นบั ว่าเป็นกาพย์ ท้งั นนั้ แต่ ไทยเรา หมายความ แคบ หรือหมายความถงึ คาประพันธ์ชนดิ หนงึ่ ของกวเี ทา่ นน้ั กาพย์มลี กั ษณะผดิ กับกลอนธรรมดา คือ ๑. วางคณะ พยางค์ และสัมผสั คล้ายกับฉนั ท์ ๒. ใชแ้ ต่งปนกบั ฉันทไ์ ด้ และคงเรียกวา่ \"คาฉันท\"์ เหมอื นกนั กาพยท์ ี่นิยมใช้อยูใ่ นภาษาไทย มี ๕ ชนดิ คือ ๑. กาพยย์ านี พระคณุ ของพ่อแม่ นน้ั มแี ต่น่ายกย่อง อุตสาหค์ รองคุ้มครอง เฝ้าแต่มองไม่ห่างเหิน พ่อแม่มพี ระคณุ คอยคา้ จนุ เลือกทางเดิน ทาใหล้ ูกเจรญิ ลูกจะได้เปน็ คนดี (กาพยย์ านี ๑๑ โดย เด็กชายกมล ศรบี ญุ เรือง) ใบความรู้ กล่มุ สาระการเรยี นรู้ ภาษาไทย

ภาษาไทย ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๔ ๒ ๒. กาพย์ฉบงั หม้อแกง/ จดั แบ่ง/ ลงจาน รสมัน /หอมหวาน ท้องพาล/ กู่ร้อง/ จ้องหา เพียงเพ่ือ/ ลิม้ รส/ โอชา เพยี งสัก /ครง้ั ครา ก็พา/ ติดพอ้ ง /ต้องใจ (กาพยฉ์ บงั ๑๖ โดย อ.ภาทพิ ศรีสุทธิ์) ๓. กาพย์สรุ างคนางค์ กาพย์สรุ างคนางค์ มีอยู่ ๒ ชนิด คอื กาพยส์ รุ างคนางค์ ๒๘ และ กาพยส์ รุ างคนางค์ ๓๒ ดังมลี กั ษณะต่อไปนี้ กีฬาเทนนิส......ตอ้ งใช้ความคิด......เพิ่มแรงกายา มันชว่ ยปลดทุกข.์ .....มีสขุ เร่อื ยมา...........กีฬาช่วยพา......พน้ ยาเสพตดิ กฬี าทรี่ ัก..........ท่ีผมชอบนกั .........นั่นคอื เทนนสิ ต้องเล่นให้ดี.....ถา้ ตีแล้วผิด........ฝึกใหม่แล้วคดิ ...........ตไี ม่เสยี เลย (กาพย์สุรางคนางค์ โดย ด.ช.สัจจพัฒน์ เพชรมุณี) ใบความรู้ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ ภาษาไทย

ภาษาไทย ชนั้ มัธยมศึกษาปีท่ี ๔ ๓ ๔. กาพยห์ ่อโคลง กาพยห์ ่อโคลง เป็นชอื่ ของบทประพนั ธ์ ท่แี ตง่ ขึ้น โดยใชก้ าพยย์ านี สลบั กับ โคลงสีส่ ภุ าพ กาพย์ยานี กบั โคลงส่ีสภุ าพน้นั จะตอ้ งมคี วามอย่างเดยี วกัน คือให้วรรคที่หน่ึง ของกาพย์ยานี กบั บาทที่หน่ึง ของโคลงสส่ี ุภาพ บรรยายขอ้ ความ อย่างเดียวกนั หรือบางที ก็ใหค้ า ต้นวรรค ของกาพย์ กับคาต้นบท ของโคลง เป็นคาเหมือนกัน สว่ นบญั ญัติ หรือกฏข้อบังคบั ตา่ งๆ เหมือนกบั กฏของกาพยย์ านี และโคลงส่สี ุภาพ ทัง้ สิน้ ๏ หากไรซ้ งึ่ รกั ไซร้ ฝนคง หยุดร่าสายสุหร่ายลง แหลง่ หล้า กหุ ลาบปลิดกลบี ปลง กิ่งเปล่า เปลอื ยแฮ ลมบ่โบยโบกฟา้ ฝอ่ ฟา้ เฟด็ หาว๚ ๕. กาพยข์ บั ไมห้ ่อโคลง กาพย์ ๓ ชนิดข้างตน้ ใชเ้ ทยี บเคียง แต่งปนไปกบั ฉนั ทไ์ ด้ และเพราะเหตทุ ี่ มีลักษณะคลา้ ย กบั ฉนั ท์ และแตง่ ปนไปกบั ฉันท์ได้ จึงเรียกว่า คาฉันทด์ ้วย ใบความรู้ กลมุ่ สาระการเรียนรู้ ภาษาไทย

ภาษาไทย ช้ันมธั ยมศึกษาปที ี่ ๔ ๔ กลอน กลอน คอื ลกั ษณะคาประพันธ์ ที่เรียบเรยี งเขา้ เปน็ คณะ มสี มั ผสั กัน ตามลกั ษณะบญั ญัติ เปน็ ชนิดๆ แต่ไมม่ ีบังคบั เอกโท และครลุ หุ กลอนแบง่ ออกเปน็ ๓ ชนดิ คือ ๑. กลอนสุภาพ ๒. กลอนลานา ๓. กลอนตลาด กลอนสุภาพ คอื กลอนท่ีใชถ้ อ้ ยคา และทานองเรียบๆ กลอนสภุ าพ นบั วา่ เปน็ กลอนหลัก เพราะเป็นหลัก ของบรรดากลอนทกุ ชนิด ถา้ เข้าใจกลอนสุภาพ เปน็ อยา่ งดีแล้ว ก็สามารถจะเขา้ ใจ กลอนอน่ื ๆ ได้โดยงา่ ย กลอนสภุ าพ แบ่งออกเป็น ๔ ชนิด คือ ๑. กลอน ๖ กลอนหก กลอนหกจดั เป็นกลอนสุภาพเหมือนกัน แต่เนื่องจากจานวนคา ลดลง เหลอื เพียงวรรคละ ๖ คา จงึ มีชื่อเรยี กว่ากลอนหก ลักษณะบงั คับของกลอนหก นอกจาก จานวนคาท่ลี ดลงแล้ว อย่างอ่ืน ๆ กเ็ หมือนกลอนแปดทุกประการ ๒. กลอน ๗ กลอนหกจัดเป็นกลอนสภุ าพทมี่ ีเพยี งวรรคละ ๗ คา สว่ นอื่น ๆ จะมลี ักษณะ คล้ายกบั กลอนแปด ๓. กลอน ๘ เป็นตน้ แบบของกลอนทง้ั หลาย ซึ่งมผี เู้ รียกว่ากลอนสภุ าพ (เพราะไม่บังคับ เอก-โท) กลอนตลาด (เพราะใช้คาง่าย ๆ คนส่วนใหญฟ่ งั ได้) บา้ ง การจาแนกชนดิ ของกลอนแปด มกั จาแนกโดยถอื เอาการนาไปใชเ้ ชน่ เมอื่ แต่งเปน็ บทร้องสาหรบั วงมโหรี กเ็ รยี กว่าบทมโหรี ถ้า นาไปแต่งนิราศ ก็เรยี กวา่ กลอนนิราศเป็นตน้ มนุษย์น้ที ่รี ักอยสู่ องสถาน บิดามารดารกั มักเปน็ ผล ทพี่ ึง่ หนึ่งพงึ่ ได้แตก่ ายตน เกิดเป็นคนคิดเห็นจงึ เจรจา (พระอภยั มณี แตง่ โดย สุนทรภู่) ๔. กลอน ๙ ใบความรู้ กลุม่ สาระการเรยี นรู้ ภาษาไทย

ภาษาไทย ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๔ ๕ กลอนลานา คอื กลอนท่ีใชข้ บั รอ้ ง หรือสวด ให้มที านองตา่ งๆ แบ่งออกเป็น ๕ ชนิด คือ ๑. กลอนบทละคร โดยทัว่ ไปมลี ักษณะคลา้ ยกลอนสภุ าพ แต่มลี ักษณะพิเศษตรงที่ แต่ละ วรรคใช้คาส้ันยาวไม่เท่ากนั โดยเฉพาะจะมคี าขึ้นต้นวรรคว่า เมอื่ น้ัน บดั นั้น ส่วนคาภายในวรรค จะมีนอ้ ยบ้างมากบ้าง ระหว่าง ๕-๗ คาเป็นพ้นื กลอนบทละครทร่ี จู้ ักกันดี มีอิเหนา และรามเกียรติ์ เปน็ ต้น ๒. กลอนสกั วา มลี กั ษณะทบี่ งั คบั เพิม่ ไปจากกลอนสภุ าพคอื วรรคแรกของบาทเอก ขึ้นตน้ ด้วยคาวา่ สกั วา แลว้ มีคาอื่น ๆ ตามหลงั ใหค้ รบ ๗-๘ คา มีเน้อื ความเกย่ี วกบั หัวข้อท่ีต้องการจะแต่ง วรรคสุดทา้ ยตอ้ งลงทา้ ยด้วยคาวา่ เอย ๓. กลอนเสภา พวกชาวกรงุ ม่งุ แม้นพงุ่ แหลนหลาว ถกู มอญลาวเลอื ดโซมชะโลมไหล ท่ีเหลือตายนายมอญตอ้ นเข้าไป พาดกระไดก้าวปีนตีนกาแพง พวกที่ป้อมหลอมตะก่ัวค่ัวทรายสาด คบไฟฟาดรามัญกันดว้ ยแผง โยนสายโซ่โยเ้ หนยี่ วด้วยเรีย่ วแรง ชาวเมืองแทงถูกตกหกคะเมน พม่ามอญต้อนคนข้ึนบนฝงั่ ถอื แตะบังตัวบ้างป้องกางเขน ถูกปนื ใหญ่ไพร่นายตานระเนน ในเมืองเกณฑ์กองหลวงทะลวงฟนั เสียงดาบฟาดฉาดฉับบ้างรบั รบ บ้างหลกี หลบไลฆ่ ่าใหอ้ าสญั เหลอื กาลงั ทงั้ พม่าลาวรามญั ต่างขย้ันยน่ แยกแตกตื่นแดนฯ (พระราชพงศาวดาร แต่งโดย สนุ ทรภ่)ู ๔. กลอนดอกสร้อย บทดอกสร้อยมีลกั ษณะคลา้ ยสกั วา ตา่ งกันตรงที่ มคี าขึ้นต้นหน่งึ คา และคาถัดมาจะตอ้ งเป็นคาว่าเอย๋ สว่ นคาจบใหล้ งท้ายด้วยคาว่า เอย เช่นเดยี วกบั บทสักวา บทดอกสร้อยสักวา เป็นบทร้องประกอบการเล่น ของชนช้นั ผู้ดีมีการศกึ ษา เป็นการร้อง โต้ตอบเกี้ยวพาราสีกันของหนมุ่ สาว นยั วา่ เปน็ การเลน่ ในทานองการเล่นเพลงเรอื ของชาวบ้านซง่ึ มี มาต้งั แตส่ มยั กรุงศรอี ยธุ ยา ใบความรู้ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ ภาษาไทย

ภาษาไทย ช้นั มัธยมศึกษาปีที่ ๔ ๖ ....น้าเอ๋ยน้าตา รนิ หล่งั มาร่วงลงตรงใจฉัน ให้ตัวพที่ จี่ ากน้องไปทนั ควัน รอสักวนั พน่ี ้ันจะกลบั มา ๕. กลอนขบั ร้อง สักวาน้องน้อยพี่คอยรกั อยากรู้จักทักน้องดซู ักหน อยา่ ได้ทาแชเชื่อนเลยหน้ามน เพราะพ่สี นในตัวน้องมาแสนนาน อยากจะบอกวา่ น้องนี้ชา่ งงามนกั อยากบอกรกั เช่ือมใจเราใหส้ มาน อยากยกใจพไ่ี วท้ ี่นงคราญ เก็บไวส้ านความรักสองเราเอย กลอนตลาด คือกลอนผสม หรอื กลอนคละ ไม่กาหนดคาตายตัว เหมือนกลอนสุภาพ ใน กลอนบทหนึง่ อาจมีวรรคละ ๗ คาบา้ ง ๘ คาบ้าง ๙ คาบ้าง คอื เอากลอนสุภาพ หลายชนิด มาผสม กนั นั่นเอง เปน็ กลอนที่ นิยมใช้ ในการขบั ร้องแก้กัน ทวั่ ๆ ไป จึงเรยี กวา่ กลอนตลาด แบง่ ออกเป็น ๔ ชนิด คือ ๑. กลอนเพลงยาว ๒. กลอนนริ าศ ๓. กลอนนิยาย ๔. กลอนเพลงปฏิพากย์ กลอนเพลงปฏิพากย์ ยังแบ่งออกไปอกี หลายชนิด เพลงฉอ่ ย เพลงโคราช หรือเพลงตะวนั ออก เพลงเรือ เพลงชาวไร่ เพลงชาวนา เพลงแหน่ าค เพลงพิษฐาน (อธษิ ฐาน) เพลงเกีย่ วข้าว เพลงปรบไก่ ใบความรู้ กลมุ่ สาระการเรียนรู้ ภาษาไทย

ภาษาไทย ช้นั มัธยมศึกษาปีท่ี ๔ ๗ เพลงพวงมาลัย เพลงราอแี ซว หรือเพลงอีแซว เพลงลิเก เพลงลาตัด บทของกลอน คากลอนวรรคหนงึ่ เรยี กว่า กลอนหนง่ึ สองวรรค หรือสองกลอน เรียกวา่ บาทหนง่ึ หรือคา หนึ่ง สองคา หรอื สองบาท หรือสี่วรรค หรือสีก่ ลอน เรยี กว่า บทหน่งี วรรคทัง้ ส่ีของกลอน ยังมีช่ือ เรยี กต่างๆ กัน และนยิ มใช้เสยี งตา่ งๆ กนั อกี คอื ๑. กลอนสลบั ได้แก่ กลอนวรรคต้น คาสุดท้าย ใช้คาเตน้ คอื นอกจากเสยี งสามญั แตถ่ า้ จะ ใช้ กไ็ ม่หา้ ม ๒. กลอนรับ ไดแ้ ก่ กลอนวรรคทสี่ อง คาสดุ ทา้ ย นิยมใช้ เสยี งจตั วา หา้ มใชเ้ สียงโท, สามญั , ตร,ี และวรรณยกุ ต์เอกมีรปู วรรณยุกตเ์ อกไม่มรี ูป ไม่ห้าม แตต่ ้องให้คาสุดทา้ ย ของกลอนรอง เปน็ เสยี งตรี ๓. กลอนรอง ไดแ้ ก่ กลอนวรรคทส่ี าม คาสดุ ทา้ ย นิยมใช้ เสยี งสามัญ ห้ามใชเ้ สียงจัตวา หรือคาที่มีรปู วรรณยุกต์ ๔. กลอนส่ง ได้แก่ กลอนวรรคท่ีส่ี คาสดุ ทา้ ย นยิ มใช้ เสยี งสามัญ ห้ามใชค้ าตาย และคาทมี่ ี รูปวรรณยกุ ต์ จะใช้คาตายเสียงตรี บ้างก็ได้ บาทของกลอน คากลอนน้นั นบั ๒ วรรคเป็น ๑ บาท ตามธรรมดา กลอนบทหนง่ึ จะต้องมอี ย่างน้อย ๒ บาท (เว้นไว้แตก่ ลอนเพลงยาว หรือกลอนนิราศ ซงึ่ นิยมใชบ้ ทแรก ทขี่ นึ้ ตน้ เรอ่ื ง เพียง ๓ วรรค) บาทแรก เรียกว่า บาทเอก บาทท่ี ๒ เรยี กว่า บาทโท คากลอนจะยาวเทา่ ไรกต็ าม คงเรียกชอ่ื ว่า บาท เอก บาทโท สลับกนั ไปจนจบ และตอ้ งจบลง ดว้ ยบาทโทเสมอ เช่น ใบความรู้ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ ภาษาไทย

ภาษาไทย ช้นั มัธยมศกึ ษาปที ่ี ๔ ๘ นิราศเรือ่ งหวั หินก็ส้นิ สุด เพราะจากบตุ รภรรยามากาสรวล (บาทเอก) เมื่ออยู่เดยี วเปลย่ี วกายใจคร่าครวญ ก็ชักชวนให้คิดประดิษฐก์ ลอน (บาทโท) ใชช้ านาญการกวีเชน่ ศรีปราชญ์ เขียนนิราศก็เพราะรักเชงิ อักษร (บาทเอก) บันทกึ เรื่องทเ่ี ห็นเป็นตอนตอน ให้สมรมติ รอ่านเป็นขวัญตา (บาทโท) มิใช่สารคดีมีประโยชน์ จงึ มโี อดมคี รวญรัญจวนหา (บาทเอก) ตามแบบแผนบรรพกาลโบราณมา เป็นสาราเรื่องพรากจากอนงค์ (บาทโท) นิราศหัวหิน หลักนยิ มทั่วไปของกลอน ๑. คาสดุ ทา้ ยของวรรคที่ ๑ และวรรคท่ี ๒ ก็ดี คาสุดท้ายของวรรคที่ ๓ และวรรคที่ ๔ กด็ ี ไม่ควรใชค้ า ท่มี ีเสียงเหมือนกนั หรือคาทใ่ี ช้สระ และตัวสะกด ในมาตราเดยี วกนั ๒. คาท่ีรับสมั ผัส ในวรรคที่ ๒ และท่ี ๔ ควรให้ตาแหน่งสมั ผสั ตกอยทู่ พ่ี ยางค์สดุ ท้าย ของ คา ไม่ควรให้สมั ผัสลงทตี่ น้ คา หรอื กลางคา ยง่ิ เป็นกลอนขับร้อง ยิ่งต้องระวังเป็นพเิ ศษ เพราะจะทา ใหเ้ สยี ความ ในเวลาขบั ร้อง ๓. คาสุดทา้ ยของวรรค ควรใชค้ าเตม็ ไมค่ วรใช้ครึ่งคา หรือยัตภิ ังค์ เวน้ ไว้แต่ แต่งเป็น กล บทยัติภังค์ หรือเป็น โคลง, ฉันท์ และกาพย์ ๔. ไมค่ วรใชภ้ าษาอ่ืน ทย่ี งั มิไดร้ ับรอง มาใช้เป็นสว่ นหน่ึง แหง่ ภาษาไทย เชน่ ๕. ไม่ควรใช้ \"ภาษาแสลงโสต\" คือถอ้ ยคาที่พูดดว้ ยความตลกคะนอง หยาบโลน หรือ เปรยี บเทียบ กับของหยาบ ซ่งึ ใช้กนั อยู่ ในกลมุ่ คนส่วนน้อย และร้กู ัน แต่เฉพาะในวงแคบๆ เช่น คา วา่ มอ่ งเท่ง, จาหนับ, จา้ บ๊ะ, ตกั้ ฉ้ึก, ถังแตก, ยกล้อ ฯลฯ ใบความรู้ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ ภาษาไทย


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook