Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Morse code

Morse code

Published by Tonsom Supapit, 2021-01-31 05:23:47

Description: Morse code

Search

Read the Text Version

MORSE CODE รหัสมอร์ส นางสาวศุพิชา ทองบุญธรรม ชนั มัธยมศึกษาปที 6/7 เลขที 24 โรงเรยี นอุทัยวทิ ยาคม

คาํ นาํ A หนังสืออิเล็กทรอนิกส์เล่มนีมีเนือหาเกียวกับรหัสมอร์ส ซึงมีรายละเอียดประกอบด้วย ผู้คิดค้นรหัสมอร์ส วิวัฒนาการ รหัสมอร์สของประเทศไทย การนาํ ไปใช้งาน ผู้จัดทําหวังว่า เนือหาสาระของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เล่มนี จะมีประโยชน์แก่ผู้ทีสนใจหากเนือหามีข้อผิดพลาดประการใด ทางผู้จัดทําขออภัยไว้ล่วงหน้า ศพุ ชิ า ทองบุญธรรม ผจู้ ัดทํา

1. คํานาํ A 2. SAMUEL FINLEY BREESE MORSE 1 3. MORSE CODE 2 ส า ร บั ญ 4. วิวัฒนาการรหัสมอร์สของประเทศไทย 3 5. การนาํ ไปใช้งาน 4 5 สการสือสารด้านโทรเลข 6 วิทยุสมัครเล่น 7 รหัสมอร์สเสมือนกับโทรศัพท์เคลือนที การสือสารทางทะเล

SAMUEL FINLEY 1 BREESE MORSE ซ า มู เ อ ล ฟ น ลี ย์ บ รี ส ม อ ร์ ส รหัสมอร์ส หรือ MORSE CODE นันคิดค้นขึนโดยซามูเอล ฟนลีย์ บรีส มอร์ส (SAMUEL FINLEY BREESE MORSE) นักวาดภาพชาวอเมริกัน ในป พ.ศ.2380 เปนการส่งข้อความด้วยสัญญาณสันยาวโดยใช้สัญลักษณ์จุดและขีด แทนตัวอักษร ・ ・・ต่างๆทีกาํ หนดไว้เปนสากล เช่น A แทนด้วย – B แทนด้วย – ・ ・ ・・ด้วย – – D แทนด้วย – เปนต้น C แทน

2 Morse code ทีผ่านมาใช้รหัสมอร์สในการสือสารระยะไกลแทนข้อความ หรือตัวอักษรโดยเฉพาะระบบโทรเลข และกําหนดให้เปน มาตรฐานระดับนานาชาติภายใต้ชือรหัสมอร์สสากล โดยสหภาพโทรคมนาคมระหว่างประเทศ แต่ในหมู่ผู้ปฏิบัติ งานในพืนทีเสียงยังใช้รหัสนีเพือส่งข่าวสารในยามคับขัน ด้วยวิธีการต่างๆ เช่น ใช้ไฟกะพริบ การเคาะจังหวะ หรือ แม้แต่การกะพริบตา

3 วิวัฒนาการรหัสมอร์ส ของประเทศไทย จุดเริมต้นของรหัสมอร์สในประเทศไทยคือ สมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่ หัวรัชกาลที ๕ ทีได้ทรงนําระบบโทรเลขรหัส มอร์สเข้ามาใช้ ระยะเริมแรกของรหัสมอร์ส เปนตัวอักษรโรมันทําให้การสือสารล่าช้าและ เกิดความผิดพลาดได้เมือต้องการส่งข้อความ ภาษาไทย จึงได้มีการคิดค้นรหัสมอร์สภาษา ไทยขึนและประกาศใช้อย่างเปนทางการในวัน ที ๑ พฤศจิกายน พ.ศ.๒๔๕๕

4 การนาํ ไปใช้งาน การสอื สารด้านโทรเลข การส่งโทรเลขเปนการนํารหัสมอร์สมาใช้ทังแบบทีส่งสัญญาณ ตามสายและแบบทีส่งสัญญาณเปนคลืนวิทยุ โดยเฉพาะบริการ โทรเลขเชิงพาณิชย์ ในระยะแรกใช้หลักการรหัสสัญญาณสันกับ ยาวแทนตัวอักษร จึงต้องมีพนักงานโทรเลขทีท่องจํารหัสมอร์ส ได้เปนอย่างดี แต่ต่อมาเปลียนเปนหลักการของสัญลักษณ์จุด และขีดทีสามารถใช้เครืองมือส่งและรับได้อัตโนมัติทําให้การ สือสารมีประสิทธภิ าพมากขึน ทีมา: https://www.scimath.org/article-mathematics/item/4688-morse-code

5 การนําไปใชง้ าน วิทยุสมคั รเลน่ การสือสารของวิทยุสมัครเล่น (Armature Radio) ใช้รหัสมอร์ส เรียกว่า “Ham Radio” โดยมีคณะกรรมการกลางกํากับดูแล กิจการสือสาร (Federal Communication Commission:FCC) ควบคุมดูแล มีการนําไปใช้งานในหลายด้านเช่น การติดต่อ สือสารกันเพือสร้างมิตรภาพ การช่วยเหลือผู้ทีประสบภัยพิบัติ การช่วยให้นักวิทยุสมัครเล่นต่างชาติสามารถสือสารกันได้ง่ายขึน ด้วยภาษากลางคือรหัสมอร์ส เปนต้นโดยใช้หลักการของรหัส มอร์สในการส่งสัญญาณเสียงจากโทนเสียงทีมีอยู่ในเครืองรับส่ง วิทยุหรือวงจรกําเนิดเสียงซึงใช้จังหวะเสียงสันแทนจุดและเสียง ยาวแทนขีด ทําให้นักวิทยุสมัครเล่นต้องชํานาญในการฟงรหัส มอร์สเพือตีความออกมาเปนข้อความต่อไป ทีมา: https://www.scimath.org/article-mathematics/item/4688-morse-code

6 การนําไปใช้งาน รหสั มอรส์ เสมอื นกบั โทรศพั ท์เคลอื นที โทรศัพท์เคลือนทีได้นําหลักการเชิงสัญลักษณ์คล้ายกับรหัสมอร์ สมาใช้ในการส่งข้อความสัน (Short Message Service : SMS) และฟงก์ชันการทํางานอืนๆ ด้วยการกดแปนพิมพ์รวมทังการ กําเนิดสัญญาณเสียงและจากการสันของเครืองก็สามารถนํามาใช้ แทนความหมายของข้อความได้ เช่น การใช้แปนพิมพ์ทีมีจํานวน จํากัดถึงสัญลักษณ์ทีมีจํานวนมากกว่าจึงใช้การกดแปนพิมพ์ที แตกต่างกัน ของจํานวนครังและระยะเวลาแทนสัญลักษณ์ต่าง ๆ ได้เช่นเดียวกับขีดสันยาวของรหัสมอร์ส เช่น การกดปุมเพือสร้าง ตัวอักษร “ร” รวมทังการสันของเครืองเมือมีสัญญาณเรียกเข้า วัตถุประสงค์ต่างๆ อาจแทนได้ด้วยระยะเวลาสันยาวของการสัน เปนต้น ทีมา: https://www.scimath.org/article-mathematics/item/4688-morse-code

7 การนาํ ไปใชง้ าน การสอื สารทางทะเล หลักการเชิงสัญลักษณ์ คล้ายกับรหัสมอร์สได้ถูกนําไปใช้งานใน การสือสารทางทะเล เพือติดต่อสือสารกันระหว่างเรือ เช่น ในเวลากลางวันใช้สัญญาณธงและสัญญาณเสียง ดังตัวอย่าง การส่งข้อความ “ขอความช่วยเหลือ” หรือ “SOS” ซึง ประกอบด้วยสัญญาณเสียงสันสามครัง สัญญาณเสียงยาวสาม ครังและตามด้วยสัญญาณเสียงสันสามครัง เปนต้น ส่วนเวลา กลางคืนอาจใช้การส่งสัญญาณไฟทีสามารถสังเกตเห็นได้ใน ระยะไกลซึงการส่งสัญญาณสันจะใช้การเปดแผงกันโคมไฟแค่ เสียวนาที และการส่งสัญญาณยาว จะเปดให้นานขึนหรืออาจมี การใช้งานผสมกับสือแบบฟงแบบใช้เสียง และแสงก็ได้ ทีมา: https://www.scimath.org/article-mathematics/item/4688-morse-code

Morse


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook