Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 93537-ไฟล์บทความ-232138-1-10-20170719

93537-ไฟล์บทความ-232138-1-10-20170719

Published by พรเจริญ เกิดประดับ, 2021-06-01 02:00:35

Description: 93537-ไฟล์บทความ-232138-1-10-20170719

Search

Read the Text Version

ปัจจัยทส่ี ่งผลต่อประสิทธภิ าพการออกแบบโดยผู้ใช้สูงอายมุ สี ่วนรว่ ม Factors Affecting to Efficiency of Participatory Design for Elderly Users พทิ ยงค์ รุ่งสมบูรณ*์ และญาดา ชวาลกุล** Pittayong Roongsomboon and Yada Chavalkul บทคดั ย่อ บทความนมี้ วี ตั ถปุ ระสงคเ์ พอื่ ศกึ ษาแนวคดิ การออกแบบอยา่ งมสี ว่ นรว่ ม (Participatory Design: PD) และ วิเคราะห์ปัจจัยท่ีส่งผลต่อประสิทธิภาพการออกแบบโดยผู้ใช้สูงอายุมีส่วนร่วมให้นักออกแบบสามารถน�ำไปประยุกต์ ใช้ จากการทบทวนวรรณกรรมและงานวจิ ยั ทใี่ ชแ้ นวคดิ การออกแบบโดยผใู้ ชม้ สี ว่ นรว่ มในการพฒั นาผลติ ภณั ฑส์ ำ� หรบั ผู้สูงอายุ ผลการศึกษาพบ 7 ปัจจัยท่ีส่งผลต่อประสิทธิภาพในการออกแบบโดยผู้ใช้สูงอายุมีส่วนร่วม ได้แก่ 1) ช่วงเวลาของการท�ำกิจกรรม 2) ความสัมพันธ์ระหวา่ งผูเ้ ขา้ ร่วม 3) การส่งเสรมิ ให้เกิดการมสี ่วนร่วม 4) บทบาท ของผมู้ สี ว่ นรว่ ม 5) ประเภทของกจิ กรรมในการมสี ว่ นรว่ ม 6) ภาษาทใ่ี ช้ และ 7) สถานท่ี โดยสรปุ เปน็ ขอ้ พจิ ารณาเพอ่ื ใชว้ างแผนการออกแบบโดยผใู้ ชส้ งู อายมุ สี ว่ นรว่ มไดด้ งั นี้ คอื 1) ระยะเวลาในการทำ� กจิ กรรม 2) การกำ� หนดวนั ในการ ท�ำกิจกรรม 3) การก�ำหนดเวลาอาหารว่าง 4) วิธีการสง่ เสริมการมสี ว่ นร่วม 5) บทบาทของผมู้ ีสว่ นร่วม 6) การเลอื ก ประเภทของกิจกรรม 7) ภาษาท่ใี ช้ให้เหมาะสม และ 8) ลักษณะของสถานที่และสง่ิ อำ� นวยความสะดวก ABSTRACT This article aims to study the concept of participatory design applied with elderly users and analyze of the factors affecting this design strategy, so that it can be used by designers. The data were gathered from literature review and research which the concept participatory design was applied in the products development for the elderly. The findings show 7 factors affecting the efficiency of participatory design for elderly users. There are 1) time of the activities, 2) relationship among participants, 3) encouragement of participation, 4) roles of participations, 5) types of participatory activities, 6) use of languages and 7) Location. In conclusion, the design considerations for planning a participatory design applied with elderly users are: 1) duration of the activities, 2) schedule of activities, 3) schedule of refreshment, 4) encouragement of participation, 5) roles of participants, 6) selection of the type activities, 7) appropriate uses of languages and 8) places and facilities. คำ� สำ� คัญ: ปัจจัย ประสทิ ธิภาพในการใช้งาน การออกแบบโดยผู้ใชม้ สี ่วนร่วม ผู้สูงอายุ ผใู้ ช้ Keywords: Factors, Efficiency to use, Participatory Design, Elderly, Users * นักศกึ ษาปรญิ ญาโท คณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์ สาขาวชิ าการออกแบบอตุ สาหกรรม สถาบันเทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ เจ้าคณุ ทหาร ลาดกระบงั E-mail: [email protected] ** อาจารย์ประจ�ำ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยพี ระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบงั 127

ปจั จัยท่สี ่งผลต่อประสิทธภิ าพการออกแบบโดยผู้ใช้สูงอายมุ สี ว่ นร่วม พทิ ยงค์ รุ่งสมบรู ณ์ และญาดา ชวาลกลุ บทนำ� ประชากรผสู้ งู อายโุ ลกมจี ำ� นวนเพมิ่ ขน้ึ มากอยา่ งรวดเรว็ สำ� นกั งานสถติ แิ หง่ ชาติ (2557) พบวา่ ในประเทศไทย มจี ำ� นวนผสู้ งู อายคุ ดิ เปน็ รอ้ ยละ 14.9 ของประชาการทง้ั หมด หรอื เปน็ จำ� นวน 10,014,699 คน ทำ� ใหป้ ระเทศไทยเขา้ สู่ภาวะสังคมของผู้สูงอายุอย่างรวดเร็ว สภาพร่างกายของประชากรผู้สูงอายุมีความเสื่อมถอยลงส่งผลต่อปัญหาด้าน สขุ ภาพทตี่ อ้ งได้รับการดแู ลและเสยี คา่ ใชจ้ า่ ยในการรกั ษาพยาบาลมากขึน้ (วพิ รรณ, 2552) การออกแบบและพัฒนา ผลติ ภณั ฑส์ ำ� หรบั ผสู้ งู อายใุ นดา้ นการสง่ เสรมิ คณุ ภาพชวี ติ จงึ เขา้ มามบี ทบาทสำ� คญั ตอ่ สงั คมผสู้ งู อายุ นกั ออกแบบมหี นา้ ทสี่ รา้ งสรรคผ์ ลติ ภณั ฑท์ มี่ ปี ระสทิ ธภิ าพสามารถตอบสนองการใชง้ านของผใู้ ชง้ านสงู อายุ แตใ่ นกระบวนการทำ� งานจรงิ สว่ นใหญผ่ ใู้ หข้ อ้ มลู ดา้ นความตอ้ งการผลติ ภณั ฑไ์ มใ่ ชผ่ ใู้ ชง้ าน เพราะนกั ออกแบบรบั งานออกแบบผลติ ภณั ฑจ์ ากลกู คา้ ผู้จ่าย (Pay Clients) ซ่ึงเปน็ วิพากษว์ จิ ารณ์การออกแบบ และยดึ การตัดสินใจของตนเองมากกว่าความตอ้ งการของ ผู้ใช้ (User Clients) สง่ ผลใหเ้ กดิ ช่องวา่ งระหว่างนักออกแบบและผ้ใู ช้ (Gap) และชอ่ งว่างระหวา่ งลกู คา้ และผู้ใชท้ ี่ ลกู คา้ เปน็ ผมู้ อบหมายงานแกน่ กั ออกแบบแตไ่ มไ่ ดม้ คี วามเขา้ ใจถงึ ผใู้ ช้ เนอื่ งจากลกู คา้ ไมไ่ ดค้ ยุ กบั ผใู้ ชโ้ ดยตรงสง่ ผลให้ ไม่เข้าใจบริบทและความต้องการของผู้ใช้อย่างแท้จริง ดังภาพที่ 1 ความต้องการของผู้ใช้จึงไม่มีผลต่อการพัฒนา ผลติ ภัณฑโ์ ดยตรง (Zeisel, 2006) ภาพที่ 1 ช่องวา่ งระหว่างนักออกแบบและความตอ้ งการของผใู้ ช้ (User-needs Gap) ทม่ี า: Zeisel (2006) Zeisel (2006) กลา่ ววา่ การลดชอ่ งวา่ งระหวา่ งนกั ออกแบบและผใู้ ชค้ วรอาศยั วธิ กี ารใหผ้ ใู้ ชม้ สี ว่ นรว่ มในการ ออกแบบมากขึ้น นักออกแบบสามารถเรียนรู้ผู้ใช้งานโดยตรงผ่านการพูดคุยท�ำเข้าใจความต้องการ ความปรารถนา และปฏิกิริยาของผู้ใช้ เพ่ือสร้างสรรค์ผลงานออกแบบที่ตรงตามความต้องการของผู้ใช้ และนักออกแบบควรใช้ กระบวนการออกแบบท่ีมีประสิทธิภาพในการเก็บข้อมูลจากกลุ่มผู้ใช้งานผลิตภัณฑ์ โดย Abras, et al., (2004) อธบิ ายว่า การออกแบบโดยคำ� นงึ ถึงผู้ใช้เปน็ ศนู ย์กลาง (User-centered Design: UCD) เปน็ กระบวนการหนง่ึ ท่นี ัก ออกแบบน�ำมาใช้ศึกษาความต้องการทแ่ี ทจ้ ริงของผใู้ ช้โดยมงุ่ เน้นศึกษาและเข้าใจผใู้ ช้ ได้แก่ 1) ลักษณะทางกายภาพ ของผูใ้ ช้ ซงึ่ มผี ลต่อรูปทรง ขนาด วสั ดุ และความสวยงามของผลิตภัณฑ์ทีเ่ หมาะสมกบั การใชง้ าน 2) จติ วิทยาในการ ตอบสนอง คอื ความรสู้ กึ ของผใู้ ช้ท่มี ตี ่อผลติ ภณั ฑ์ เชน่ ทศั นคติ ความพงึ พอใจในการใช้งาน ความรสู้ กึ ดตี ่อการใชง้ าน เป็นตน้ 3) ประเพณีและวฒั นธรรม ผลติ ภัณฑต์ อ้ งสามารถส่อื สารและเข้าถงึ บรบิ ทการใชง้ านตามสภาพสงั คมความ เปน็ อย่แู ละวถิ ีชวี ติ ของผู้ใช้ (Gould & Lewis, 1985) โดยอาศยั เทคนิคการเก็บขอ้ มลู จากผใู้ ช้ เชน่ การสนทนากลุม่ การทดสอบการใชง้ าน การสอบถาม หรอื การสัมภาษณ์ เป็นต้น (Teoh, 2006) 128 วารสารสิ่งแวดลอ้ มสรรคส์ ร้างวนิ ิจฉยั คณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแกน่ ปที ่ี 16 ฉบบั ที่ 1 มกราคม-มถิ ุนายน ประจำ� ปี 2560

Factors Affecting to Efficiency of Participatory Design for Elderly Users Pittayong Roongsomboon and Yada Chavalkul บทความนผี้ เู้ ขยี นตอ้ งการอธบิ ายถงึ วธิ กี ารออกแบบโดยผใู้ ชม้ สี ว่ นรว่ ม (Participatory Design: PD) ซงึ่ เปน็ วิธีการหนึ่งภายใต้แนวคิดของการออกแบบโดยค�ำนึงถึงผู้ใช้เป็นศูนย์กลางท่ีให้ผู้ใช้เข้ามามีบทบาทในกระบวนการ ออกแบบในแต่ละขั้นตอน (Karat, 1997; Abras, et al., 2004) โดยมุ่งเนน้ ใหผ้ ูใ้ ชม้ โี อกาสแสดงความคดิ เหน็ และรว่ ม เสนอแนวทางในการแกป้ ญั หารว่ มกบั นกั ออกแบบมากกวา่ การออกแบบโดยคำ� นงึ ถงึ ผใู้ ชเ้ ปน็ ศนู ยก์ ลางทใ่ี หข้ อ้ มลู เพยี ง อยา่ งเดยี ว สง่ ผลใหน้ กั ออกแบบมโี อกาสพบปะพดู คยุ และทำ� งานรว่ มกบั ผใู้ ชโ้ ดยตรงทำ� ใหไ้ ดผ้ ลงานออกแบบทตี่ รงตาม ความตอ้ งการของผใู้ ช้ รวมถงึ เปดิ โอกาสใหผ้ ใู้ ชไ้ ดร้ บั ขอ้ มลู และความรเู้ กย่ี วกบั การใชง้ านผลติ ภณั ฑม์ ากขน้ึ สง่ เสรมิ ให้ ผใู้ ชม้ โี อกาสสมั ผสั กบั งานออกแบบดว้ ยตนเองและมโี อกาสในการตดั สนิ ใจเลอื กใชง้ านผลติ ภณั ฑท์ เ่ี ปน็ ผลงานจากความ คดิ ตนเอง (Gaffney, 1999) ในปจั จบุ นั นกั ออกแบบไทยไดน้ ำ� แนวคดิ การออกแบบโดยผใู้ ชม้ สี ว่ นรว่ มมาใชก้ นั อยา่ งแพรห่ ลาย ไดแ้ ก่ งาน ดา้ นสถาปตั ยกรรมชมุ ชน โดยใชก้ ระบวนการทำ� งานดา้ นออกแบบนำ� โดยสถาปนกิ ชมุ ชนไดเ้ ขา้ ไปมสี ว่ นรว่ มในการนำ� เสนอแนวทางต่างๆ ในการแก้ปัญหา และเน้นให้ชาวบ้านมีส่วนร่วมในการออกแบบร่วมกัน (ศศิกาญจน์, 2548; ปฐมา, 2557) งานด้านวางผงั เมืองและสภาพแวดล้อมชุมชน โดยน�ำแนวคดิ การมีส่วนร่วมของบคุ คลทเี่ กี่ยวข้อง เชน่ ผู้บริหาร นกั ออกแบบ ผู้ใชง้ านหรือประชาชน ส่ือมวลชน มารว่ มกันแสดงความคิดเหน็ และหาแนวทางการแก้ปัญหา รว่ มกัน (ยศพล, 2558; ยุภาพร, 2558) รวมถึงงานด้านหตั ถกรรมทอ้ งถ่นิ โดยใหผ้ ้ใู ช้เข้ามามีส่วนรว่ มในการออกแบบ กบั ผผู้ ลิตหัตถกรรมท�ำให้ไดแ้ นวคิดทีต่ รงความตอ้ งการของตลาดมากข้นึ (รงุ่ เรือง, 2555; อรช, 2557; จฬุ าวทิ ยานกุ รม, 2559) แนวคิดการออกแบบโดยผู้ใช้มีส่วนร่วมถูกน�ำมาใช้อย่างแพร่หลายในงานด้านพัฒนาชุมชนเป็นส่วนใหญ่ แต่ในงานด้านออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมนักออกแบบไทยหรือนักวิจัยวิธีการออกแบบโดยผู้ใช้มีส่วนร่วม ยงั ไม่แพร่หลายเท่ากบั วงการออกแบบตา่ งประเทศ ผู้เขียนสนใจศึกษางานวิจัยต่างประเทศท่ีใช้การออกแบบโดยผู้ใช้มีส่วนร่วม เพื่อวิเคราะห์และวางแผน วิธีการออกแบบโดยผู้ใช้สูงอายุมีส่วนร่วมที่มีประสิทธิภาพ Lindsay, et al., (2012) พบว่านักออกแบบส่วนใหญ่ ไม่นิยมน�ำวิธีการน้ีมาใช้ออกแบบร่วมกับผู้สูงอายุ เนื่องจากมีทัศนคติที่ไม่ดีกับการท�ำงานร่วมกับผู้สูงอายุที่ว่าเป็นวัย ทท่ี ำ� งานดว้ ยคอ่ นขา้ งลำ� บากและสอ่ื สารยาก ทำ� ใหไ้ มส่ นใจและไมเ่ ปดิ รบั การทำ� งานรว่ มกบั ผสู้ งู อายุ เนอ่ื งจากผสู้ งู อายุ มขี ้อจำ� กัดทางดา้ นความสามารถทางกายภาพ ประสาทสมั ผสั กระบวนการคดิ และทศั นคติท่ีแตกตา่ งจากผู้ใช้วยั อืน่ นกั ออกแบบจึงต้องเลอื กวธิ ีการในการสง่ เสรมิ การท�ำงานร่วมกันอยา่ งมปี ระสิทธิภาพ (Newell, et al., 2007) เพอื่ การออกแบบผลติ ภณั ฑ์ทีด่ ีและตรงตามความต้องการของผู้ใชส้ งู อายุ วตั ถปุ ระสงคข์ องการศกึ ษา เพื่อศึกษาแนวคิดการออกแบบโดยผู้ใช้สูงอายุมีส่วนร่วม วิเคราะห์และสังเคราะห์ปัจจัยที่ส่งผลต่อ ประสทิ ธิภาพการออกแบบโดยผู้ใชส้ งู อายุมสี ว่ นรว่ ม วิธกี ารศึกษา ผู้ศึกษามขี ัน้ ตอนในการศกึ ษา ดงั นี้ 1) ก�ำหนดเกณฑใ์ นการเลอื กและศกึ ษาวรรณกรรมและงานวิจยั ที่เก่ยี วข้อง คอื บทความและงานวิจยั ต่างประเทศ เน่ืองจากมีแนวคิดการออกแบบโดยผู้ใช้มีส่วนร่วมใช้ในการออกแบบผลิตภัณฑ์อย่างแพร่หลาย โดย มุ่งเนน้ ผใู้ ชผ้ ลิตภณั ฑ์สูงอายุ จ�ำนวน 13 ฉบบั ตพี มิ พใ์ นช่วง ปี ค.ศ. 2000-2016 Built Environment Inquiry Journal (BEI): Faculty of Architecture, Khon Kaen University 129 Volume. 16 No. 1: January-June 2017

ปัจจยั ท่สี ง่ ผลตอ่ ประสิทธภิ าพการออกแบบโดยผ้ใู ช้สงู อายมุ สี ว่ นร่วม พิทยงค์ รุ่งสมบรู ณ์ และญาดา ชวาลกลุ 2) วิเคราะห์ข้อมูลจากเอกสารและงานวิจัยการออกแบบท่ีมีส่วนร่วมของผู้ใช้สูงอายุโดยใช้การวิเคราะห์ เชงิ เนอ้ื หา (Content Analysis) 3) สังเคราะห์ปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการออกแบบโดยผู้ใช้สูงอายุมีส่วนร่วม เพ่ือสรุปแนวทางใน การส่งเสรมิ การออกแบบระหวา่ งนกั ออกแบบกับผู้สูงอายุ การออกแบบโดยผใู้ ช้มสี ว่ นรว่ ม การออกแบบโดยผใู้ ชม้ สี ว่ นรว่ ม (Participatory Design: PD) ใหผ้ ใู้ ชง้ านผลติ ภณั ฑม์ สี ว่ นรว่ มในการออกแบบ นักออกแบบมีหน้าท่ีแบ่งปันประสบการณ์หรือมุมมองในฐานะผู้เช่ียวชาญด้านการออกแบบ ส่วนผู้ใช้สามารถแสดง ความคิดเห็นและเสนอแนวคิดในการแก้ปัญหาร่วมกันภายใต้กระบวนการตัดสินใจแบบประชาธิปไตยท่ีนักออกแบบ และผใู้ ชม้ สี ทิ ธเ์ิ ทา่ เทยี มกนั นกั ออกแบบกำ� หนดและวางแผนเพอื่ ดำ� เนนิ การเกบ็ ขอ้ มลู กบั ผใู้ ชร้ ว่ มในกระบวนการวจิ ยั ได้ภายใต้ วธิ กี ารด�ำเนินการวิจยั (Methods) ดังภาพท่ี 2 (Munizert & Sherwin, 2013) ผ่านวิธีการทีเ่ หมาะสม เชน่ ประเภทของกิจกรรม เทคนิคในการส่งเสริมการมีส่วนร่วม ความสัมพันธ์ระหว่างนักออกแบบและผู้ใช้ เป็นต้น (Sander, et al., 2010) ภาพที่ 2 การออกแบบโดยผู้ใช้มีส่วนร่วมในกระบวนการวจิ ัย ท่ีมา: ผู้เขยี นดัดแปลงจาก Munizert & Sherwin (2013) ปจั จัยทีส่ ง่ ผลต่อประสทิ ธิภาพการออกแบบโดยผู้ใช้สงู อายมุ ีส่วนรว่ ม นักออกแบบควรพิจารณาและศึกษาปัจจัยท่ีส่งผลต่อการท�ำงานร่วมกันกับผู้สูงอายุก่อน เพื่อใช้เป็น ข้อพิจารณาส�ำหรับการก�ำหนดโครงสร้างในการออกแบบโดยการมีส่วนร่วมของผู้ใช้สูงอายุ ผู้เขียนใช้วิธีการการคัด กรองปจั จยั ทเ่ี ก่ียวข้อง โดยการก�ำหนดขอบเขตในการศึกษาเพ่อื สังเคราะหข์ ้อมูล ดังนี้ 1) ความถี่ในการกล่าวถึงข้อมูล เช่น บทความท่ี 1 กล่าวถึงการให้ความส�ำคัญเกี่ยวกับบทบาทของนัก ออกแบบ ทีม่ ีข้อมลู สอดคลอ้ งกบั บทความท่ี 2 และ 3 เป็นต้น 130 วารสารสง่ิ แวดล้อมสรรค์สร้างวนิ จิ ฉัย คณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแกน่ ปที ่ี 16 ฉบับท่ี 1 มกราคม-มถิ นุ ายน ประจ�ำปี 2560

Factors Affecting to Efficiency of Participatory Design for Elderly Users Pittayong Roongsomboon and Yada Chavalkul 2) ผลลัพธท์ ี่ได้จากกระบวนการวจิ ยั เช่น บทความท่ี 1 กล่าวถึงผลลัพธ์ที่ได้จากการใชว้ ธิ กี ารให้ผู้สูงอายุ เขียนเพื่อส่งเสรมิ การมสี ่วนรว่ ม หรือบทความที่ 2 กลา่ วถึงการกำ� หนดประเภทของกจิ กรรมมีผลต่อทศิ ทางในการมี สว่ นรว่ มของผสู้ งู อายุ เปน็ ต้น 3) ผลลพั ธ์ทไ่ี ด้จากประสบการณ์ของผเู้ ขียน เช่น ในสว่ นของบทสรปุ การอภปิ รายผล และขอ้ เสนอแนะ ในสว่ นท้ายบทความทม่ี ีการใหค้ ำ� แนะน�ำเก่ียวกบั ข้อคำ� นึง วธิ กี าร หรอื ประเดน็ สำ� คัญตา่ งๆ ท่ีนกั ออกแบบหรอื ผวู้ จิ ัย ควรให้ความสำ� คญั ภายใต้กระบวนการวิจยั ออกแบบอย่างส่วนร่วม จากการศกึ ษาพบวา่ มปี จั จยั ทค่ี วรค�ำนงึ ทั้งหมด 7 ปัจจัยในการทำ� งานรว่ มกบั ผ้สู งู อายุ ดังตอ่ ไปนี้ ชว่ งเวลาของการทำ� กจิ กรรม (Time of the Activities) ผสู้ งู อายอุ ยใู่ นวยั ทส่ี ขุ ภาพรา่ งกายเสอื่ มถอยลง การท�ำกิจกรรมในระยะเวลานานอาจเกิดปัญหาในด้านจิตใจและไม่สามารถท�ำกิจกรรมได้อย่างมีความสุข จากการ ศกึ ษาพบวา่ การกำ� หนดชว่ งเวลาท�ำกิจกรรมในการทำ� งานออกแบบรว่ มกบั ผูส้ งู อายมุ ี 2 ด้าน ดงั นี้ 1) ระยะเวลาในแต่ละช่วงของกิจกรรม การท�ำกิจกรรมที่มีช่วงเวลานานเกินไป อาจส่งผลให้ผู้สูงอายุ บางคนขาดความร่วมมือและมีความเต็มใจในการเข้าร่วมกิจกรรมอย่างเต็มท่ี เพราะผู้สูงอายุรู้สึกกดดันว่าตนเอง ไม่พร้อมท�ำกิจกรรม เนื่องจากการท�ำกิจกรรมเพื่อให้ได้แนวทางการออกแบบน้ันเป็นกิจกรรมที่ผู้สูงอายุไม่คุ้นเคย จึงแปลกใหม่ส�ำหรบั ผสู้ ูงอายุ เป็นปญั หาทน่ี กั ออกแบบตอ้ งแก้ไขในระหวา่ งการทำ� กจิ กรรม กจิ กรรมควรใชเ้ วลาอยา่ ง กระฉับและเหมาะสมกบั สภาพรา่ งกายของผูส้ งู อายุ (David & Jensen, 2013; Lindsay, et al., 2012) ยกตวั อย่าง เช่นกิจกรรมในการออกแบบร่วมกับผู้สูงอายุเพ่ือหาแนวทางในการออกแบบระบบของโทรศัพท์มือถือ โดยแบ่งช่วง เวลาเปน็ 3 สว่ น คอื 1) ชว่ งของการระบปุ ญั หาการออกแบบ โดยใหผ้ สู้ งู อายเุ ลา่ ถงึ ประสบการณก์ ารใชง้ านเทคโนโลยี โทรศพั ทม์ อื ถอื ของแตล่ ะคน จากคำ� ถามทผ่ี วู้ จิ ยั ตง้ั ไว้ เพอื่ ดปู ญั หาการใชง้ านของผสู้ งู อายุ โดยใชเ้ วลาประมาณ 10-20 นาที ชว่ งท่ี 2 ชว่ งของการระบุความต้องการทางการออกแบบ โดยให้ผู้สงู อายแุ สดงความคิดเหน็ ต่อเทคโนโลยี และ ระบบในการดูแลสุขภาพเพื่อเสนอความคิดและความต้องการ โดยใช้เวลาประมาณ 10-20 นาที ช่วงท่ี 3 ช่วงของ การเสนอแนวคดิ รว่ มกนั โดยใหผ้ สู้ งู อายรุ า่ งภาพระบบการดแู ลสขุ ภาพทค่ี ดิ วา่ เหมาะสมกบั ตนเองและตรงความตอ้ งการ มากทส่ี ดุ ใชเ้ วลาประมาณ 30 นาที (Davidson & Jensen, 2013) แตก่ ารใชช้ ว่ งเวลานอ้ ยเกนิ ไปกอ็ าจสง่ ผลตอ่ ความ แปลกใหม่หรือประสิทธิภาพของผลิตภัณฑ์ลดน้อยลงด้วย (Lindsay, et al., 2012) นักออกแบบควรก�ำหนดระยะ เวลากจิ กรรมการระบปุ ญั หา วเิ คราะหค์ วามตอ้ งการ ประมาณ 10-20 นาที และการเสนอแนวคดิ มากทสี่ ดุ คอื ประมาณ 30 นาที เนอ่ื งจากเป็นช่วงทีส่ ่งผลตอ่ รูปแบบของผลติ ภณั ฑท์ อ่ี อกแบบและพัฒนามากทส่ี ดุ 2) ก�ำหนดการกิจกรรมแต่ละช่วง นักออกแบบควรวางแผนและก�ำหนดเวลาอย่างชัดเจนในแต่ละช่วง กจิ กรรม ควรมกี ารแจง้ ก�ำหนดการเวลาให้ผูส้ ูงอายุทราบ และท�ำตามตารางเวลาทกี่ �ำหนดไว้ เชน่ วนั เดอื น ปี ท่ีทำ� กิจกรรมในแต่ละช่วง เวลาท่ีใช้ และกิจกรรม เพ่ือให้ผู้สูงอายุรับรู้และไม่รู้สึกกดดันในการท�ำกิจกรรมได้อย่างเต็มที่ (Lindsay, et al., 2012; Gaffney, 1999) ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งผเู้ ขา้ รว่ ม (Participants Relationship) นกั ออกแบบตอ้ งคำ� นงึ ถงึ สง่ิ สำ� คญั ในการ ทำ� งานออกแบบรว่ มกบั ผสู้ งู อายุ นนั่ คอื ความสมั พนั ธท์ ดี่ ตี อ่ กนั ซง่ึ โดยปกตผิ สู้ งู อายมุ ชี ว่ งอายทุ ตี่ า่ งกนั ทำ� ใหก้ ารทำ� งาน ร่วมกันน้ันอาจเกิดช่องว่างความสัมพันธ์ระหว่างกัน นักออกแบบมักมีทัศนคติท่ีไม่ดีในการท�ำงานร่วมกับผู้สูงอายุ เนอ่ื งจากสอื่ สารไดย้ ากและใชเ้ วลามากกวา่ ปกติ การพฒั นาความสมั พนั ธห์ รอื การสรา้ งบรรยากาศการทำ� กจิ กรรมหรอื การสนทนาที่เป็นกันเองจะสามารถช่วยในการท�ำงานร่วมกันได้เป็นอย่างดี รวมถึงการสร้างความเป็นมิตรของ นักออกแบบตอ่ ผู้สูงอายชุ ว่ ยใหผ้ สู้ งู อายอุ ยากมีส่วนร่วมมากขึ้น (David & Jensen, 2013; Lindsay, et al., 2012) Built Environment Inquiry Journal (BEI): Faculty of Architecture, Khon Kaen University 131 Volume. 16 No. 1: January-June 2017

ปัจจยั ท่ีสง่ ผลต่อประสิทธภิ าพการออกแบบโดยผู้ใชส้ งู อายมุ ีส่วนร่วม พทิ ยงค์ รงุ่ สมบรู ณ์ และญาดา ชวาลกลุ โดยคำ� นงึ ถงึ การสร้างความสัมพันธท์ ี่ดีในทมี งานออกแบบ 2 ส่วนดว้ ยกัน คือ 1) ความสัมพันธ์ระหว่างนักออกแบบ และผ้สู งู อายุ และ 2) ความสมั พนั ธ์ระหว่างผู้สูงอายุ Massimi and Baecker (2008) และ David and Jensen (2013) แนะนำ� เกี่ยวกบั การสร้างความสัมพนั ธ์ และบรรยากาศทด่ี ใี นการออกแบบโดยผสู้ งู อายมุ สี ว่ นรว่ มวา่ รปู แบบของการทำ� กจิ กรรมแบบควรมกี ารพกั ครงึ่ เพอื่ ทาน อาหารวา่ ง นำ�้ ชา กากาแฟ หรอื ขนมคบเคยี้ วใหก้ บั ผเู้ ขา้ รว่ มโดยเฉพาะผสู้ งู อายุ อาจจะอยใู่ นระหวา่ งของการทำ� กจิ กรรม หรอื ชว่ งพกั กไ็ ด้ เพอ่ื ทำ� ใหก้ ารสนทนามบี รรยากาศทไ่ี มเ่ ปน็ ทางการและเปน็ กนั เองมากทสี่ ดุ โดยนกั ออกแบบอาจเปดิ โอกาสให้ผสู้ ูงอายไุ ดพ้ ดู คยุ สนทนากบั ผสู้ งู อายคุ นอื่นๆ หรอื เพอื่ นใหม่ อาจจะเปน็ การพูดคุยในเร่อื งทไ่ี มเ่ ก่ียวขอ้ งกบั การออกแบบ เชน่ สุขภาพร่างกายของตนเอง ครอบครวั หรอื เพอื่ น แลกเปลีย่ นประสบการณช์ ีวิตทผ่ี า่ นมา หรอื เรือ่ งอื่นๆ เป็นต้น ซ่ึงท�ำให้ผู้สูงอายุที่เป็นสมาชิกในกลุ่มได้มีความสัมพันธ์และปฏิสัมพันธ์ท่ีดีกันมากข้ึน ซึ่งในส่วนนี้ จะทำ� ใหค้ วามสมั พนั ธร์ ะหวา่ งผสู้ งู อายทุ เี่ ปน็ ผเู้ ขา้ รว่ มมคี วามรสู้ กึ ทด่ี ตี อ่ กนั และมที ศั นคตใิ นการทำ� งานรว่ มกบั ผอู้ น่ื ได้ ดมี ากขึ้น สว่ นการสร้างของความสัมพันธร์ ะหวา่ งนักออกแบบกับผู้สงู อายนุ นั้ การใชก้ ารสนทนาแบบไมเ่ ปน็ ทางการ โดยอาศัยการใช้อาหารวา่ ง เครอื่ งดืม่ ชา กาแฟ เปิดเวทเี ป็นก่ึงงานเลี้ยงเพ่ือพบปะกันจะชว่ ยสร้างเสริมบรรยากาศ ทด่ี ี และเปน็ กนั เองได้มากข้ึน การส่งเสริมให้เกิดการมีส่วนร่วม (Encourage Participation) นักออกแบบต้องส่งเสริมให้ผู้สูงอายุ สามารถแสดงความคิดเห็นหรือเสนอความคิดของตนเองได้อย่างเต็มท่ี ควรมีการเตรียมรายการค�ำถามท่ีต้องการ ค�ำตอบไว้เพื่อใช้เปิดเวทีการสนทนา โดยให้ผู้สูงอายุแสดงความคิดเห็นหรือเสนอความคิดให้มากท่ีสุด ไม่ควรให้มี แค่บางคนแสดงความคิดเห็นมากกว่าคนอื่น เน่ืองจากคนที่ไม่แสดงความคิดเห็นอาจมีข้อมูลเชิงลึกที่นักออกแบบ ตอ้ งการ นกั ออกแบบตอ้ งตระหนกั อยเู่ สมอวา่ ความคดิ เหน็ หรอื คำ� ตอบของผสู้ งู อายไุ มม่ ผี ดิ และตอ้ งทำ� ใหผ้ สู้ งู อายกุ ลา้ ที่จะแสดงความคดิ เห็นออกมาอย่างเต็มท่ี (David & Jensen, 2013; Lindsay, et al., 2012) การเปิดโอกาสให้ ผู้สูงอายุมีส่วนร่วมในการออกแบบเป็นการส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีกิจกรรมทางสังคมและรู้สึกมีคุณค่าในสังคมมากข้ึน (Massimi & Baecker, 2008) ผเู้ ขยี นสามารถสรปุ แนวทางช่วยส่งเสรมิ และกระตุ้นใหผ้ สู้ งู อายุมสี ว่ นรว่ มไดด้ งั น้ี 1) นกั ออกแบบใชก้ ารตงั้ คำ� ถามเพอ่ื เปดิ ประเดน็ คอื การทนี่ กั ออกแบบหรอื นกั วจิ ยั มกี ารเตรยี มชดุ คำ� ถาม ส�ำหรับการสอบถามผู้สูงอายุเก่ียวกับประเด็นต่างๆ ที่ต้องการค�ำตอบเพื่อใช้เป็นข้อมูลเบื้องต้นในการระบุปัญหา วิเคราะห์ความต้องการ ผ่านการเล่าประสบการณ์ บรรยายส่ิงท่ีเกิดขึ้น หรือแสดงความคิดเห็นท่ีมีผลต่อการพัฒนา ผลติ ภณั ฑเ์ พอื่ เปดิ เวทกี ารสนทนาเดย่ี วหรอื กลมุ่ ใหผ้ สู้ งู อายสุ ามารถรว่ มกนั แสดงความคดิ เหน็ ยกตวั อยา่ งเชน่ การตงั้ ค�ำถามเกี่ยวกับปัญหาด้านการใช้งานและความคิดเห็นที่มีต่อรูปแบบประตูและลูกบิดประตูที่ผู้สูงอายุเคยมี ประสบการณ์ในการใช้งานเพื่อระบุประเด็นส�ำคัญของปัญหา และวิเคราะห์ความต้องการเบ้ืองต้น (Demirbilek & Demirkan, 2004) 2) นักออกแบบใช้การแสดงภาพหรือน�ำเสนอภาพ คือการแสดงภาพผลิตภณั ฑ์หรอื สถานการณใ์ นการใช้ งานผลติ ภณั ฑ์ หรอื ปญั หาทเี่ กดิ ขนึ้ จากการใชง้ านผลติ ภณั ฑ์ เปน็ การกระตนุ้ ใหผ้ สู้ งู อายสุ ามารถเหน็ ภาพและเขา้ ใจได้ อย่างชัดเจน สามารถแสดงความคิดเห็นได้ ยกตัวอย่างเช่นการแสดงภาพโทรศัพท์มือถือรุ่นล่าสุดในปัจจุบันเพ่ือให้ ผู้สงู อายุแสดงความคดิ เห็นต่อรปู ร่างลักษณะ การใชง้ าน และความสวยงามของโทรศัพท์มือถือ (Massimi, Baecker & Wu, 2007) 3) ผสู้ งู อายเุ ขยี นหรอื วาดภาพบรรยายปญั หาการใชง้ านผลติ ภณั ฑ์ คอื การใหผ้ สู้ งู อายสุ ามารถเขยี นบรรยาย เก่ียวกับปัญหาในการใช้งานผลิตภัณฑ์ เขียนหรือวาดภาพเพ่ือเสนอความคิดเกี่ยวกับแนวทางในการแก้ปัญหา และ ระดมสมองในทมี ออกแบบเพ่ือหาแนวทางในการออกแบบ ยกตวั อยา่ งเชน่ การให้ผสู้ ูงอายวุ าดภาพหรอื เขยี นตวั อยา่ ง 132 วารสารสิ่งแวดลอ้ มสรรค์สร้างวินจิ ฉยั คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่ ปที ี่ 16 ฉบับที่ 1 มกราคม-มิถุนายน ประจ�ำปี 2560

Factors Affecting to Efficiency of Participatory Design for Elderly Users Pittayong Roongsomboon and Yada Chavalkul ของแนวคิดเมนูส�ำหรับการใช้งานโทรศัพท์มือถือส�ำหรับการดูแลสุขภาพส�ำหรับผู้สูงอายุ โดยนักออกแบบหรือผู้วิจัย ควรมีการอ�ำนวยความสะดวกต่อการสร้างการมีสว่ นร่วมโดยการแจกปากกา ดินสอ มารก์ เกอร์ และกระดาษส�ำหรับ ใช้ในการท�ำกิจกรรม หรือเขียนหรือวาดภาพน�ำมาติดบนกระดานเพื่อท�ำการจัดหมวดหมู่และร่วมกันหาแนวทางท่ีดี ทส่ี ดุ (David & Jensen, 2013; Lindsay, et al., 2012) ภาพท่ี 3 การเขียนเพ่อื เสนอแนวคดิ โดยการมสี ว่ นรว่ มจากผู้สูงอายุ ทมี่ า: ผศู้ กึ ษา (2559) 4) ผู้สูงอายุและนักออกแบบร่วมกันสร้างต้นแบบผลิตภัณฑ์ คือการให้ผู้สูงอายุมีส่วนร่วมในการสร้าง ต้นแบบของแนวคิดในการออกแบบหรือตัวอย่างผลิตภัณฑ์ เพื่อให้ผู้สูงอายุสามารถได้เห็นผลงานการออกแบบอย่าง เปน็ รปู ธรรมมากขึ้นผ่านการมีส่วนร่วมในการสร้างต้นแบบ ยกตวั อย่างเชน่ กจิ กรรมการสร้างตน้ แบบกระดาษ โดยใช้ เทคนิคการแปะกระดาษ (Pictive) เพื่อแสดงเป็นหน้าจอเมนูส�ำหรับการใช้โทรศัพท์มือถือท่ีเหมาะสมกับการใช้งาน ของผูส้ งู อายุ (Massimi, Baecker & Wu, 2007; Massimi & Baecker, 2008) ภาพที่ 4 การสรา้ งต้นแบบโดยใชเ้ ทคนคิ แปะกระดาษ (Pictive) เพอ่ื พฒั นาสูเ่ มนโู ทรศพั ท์มอื ถอื จริง ท่ีมา: ผศู้ ึกษา (2559) Built Environment Inquiry Journal (BEI): Faculty of Architecture, Khon Kaen University 133 Volume. 16 No. 1: January-June 2017

ปจั จัยทส่ี ง่ ผลตอ่ ประสิทธิภาพการออกแบบโดยผู้ใช้สงู อายุมีส่วนร่วม พิทยงค์ ร่งุ สมบรู ณ์ และญาดา ชวาลกลุ บทบาทของผมู้ สี ว่ นรว่ ม (Role Participations) การออกแบบโดยผสู้ งู อายเุ ขา้ มามสี ว่ นรว่ มในกระบวนการ ออกแบบนนั้ เปน็ ความทา้ ทายของนกั ออกแบบหรอื ผวู้ จิ ยั ในการแสดงบทบาทใหเ้ หมาะสม เนอื่ งจากนกั ออกแบบเปน็ ผู้ท่ีมีทักษะด้านการออกแบบท่ีสูงกว่าผู้สูงอายุ อาจจะต้องระวังในการปรับตัวหรือแสดงบทบาทให้เหมาะสม (Hawthorn, 2007) ผ้เู ขียนสรปุ ประเด็นเรอ่ื งบทบาทระหว่างนักออกแบบและผสู้ งู อายุไดด้ ังน้ี 1) นกั ออกแบบและผสู้ งู อายมุ สี ทิ ธม์ิ เี สยี งเทา่ กนั คอื การทน่ี กั ออกแบบควรใหผ้ สู้ งู อายสุ ามารถแสดงความ คดิ เห็นไดอ้ ย่างอิสระ และไม่ต้องเป็นกังวลต่อปฏกิ ิรยิ าของนกั ออกแบบในการท�ำงานรว่ มกนั หรอื เรียกได้ว่าเป็นการ ถ้อยทีถ้อยอาศัยกันระหว่างนักออกแบบและผู้สูงอายุ (Sander, 2002) ยกตัวอย่างเช่นนักออกแบบเป็นวิทยากรใน การตงั้ คำ� ถามเกย่ี วกบั ปญั หาดา้ นการใชง้ านและความคดิ เหน็ ตอ่ รปู แบบผลติ ภณั ฑ์ โดยผสู้ งู อายมุ สี ว่ นในการเสนอความ คดิ หรอื ความคดิ เหน็ โดยนกั ออกแบบมสี ว่ นในการแนะนำ� หรอื แสดงความคดิ เหน็ ตอ่ ความคดิ เหน็ ของผสู้ งู อายไุ ด้ เพอื่ แบ่งปันประสบการณ์ความรู้ในฐานะนักออกแบบ และตีความจากแนวคิดของผู้สูงอายุสู่การสร้างสรรค์งานออกแบบ ทม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพ (David & Jensen, 2013) 2) นกั ออกแบบเป็นผขู้ ยายความคิดของผู้สงู อายุ คอื นักออกแบบหรอื ผวู้ ิจยั มีบทบาทในการเป็นส่วนหนง่ึ ของทมี งานออกแบบทช่ี ว่ ยในการขยายความคดิ ของผสู้ งู อายุ โดยการสงั เกต วเิ คราะหแ์ ละตคี วามขอ้ มลู ทไี่ ดจ้ ากความ คดิ เหน็ หรอื การบอกเลา่ ประสบการณข์ องผสู้ งู อายุ และนำ� มาสรา้ งเปน็ แหลง่ ขอ้ มลู เพอ่ื นำ� เสนอแนวทางการออกแบบ สทู่ มี งานออกแบบ (Sander, 2002) นกั ออกแบบมบี ทบาทสำ� คญั ในชว่ งของการวเิ คราะหเ์ พอ่ื หาแนวทางการออกแบบ มากกว่าในช่วงแรกในการระบุปัญหาและความต้องการ หรือเรียกได้ว่าเป็นผู้อ�ำนวยความสะดวกหรือวิทยากร (Facilitator) ในการด�ำเนินการออกแบบโดยมีส่วนร่วมกัน (David & Jensen, 2013) ยกตัวอย่างเช่นนักออกแบบทำ� หน้าท่ีในการรวบรวมและจดบันทึกข้อมูลในระหว่างท่ีผู้สูงอายุแสดงความคิดเห็นหรือเสนอแนวคิด น�ำมาท�ำการ วิเคราะห์และสรุปเป็นแนวทางในการออกแบบ หลังจากนั้นน�ำไปสร้างต้นแบบจากแนวคิดของผู้สูงอายุ โดยการ รา่ งภาพตน้ แบบ เพอื่ นำ� มาเสนอกบั ทีมงานออกแบบใหผ้ สู้ งู อายแุ สดงความคดิ เหน็ และท�ำการพฒั นาแบบให้ได้แบบท่ี ดที ี่สดุ (Demirbilek & Demirkan, 2004) ประเภทของกิจกรรมในการมีสว่ นร่วม (Types of Participatory Activities) เป็นอกี หน่งึ ปัจจยั ส�ำคัญ ทสี่ ่งผลต่อประสิทธิภาพของการออกแบบโดยผใู้ ชม้ สี ว่ นรว่ ม ซึ่งตอ้ งมกี ารวางแผนและเลือกประเภทของกจิ กรรมเพ่ือ ก�ำหนดรูปแบบกิจกรรมในการมีส่วนร่วม ซ่ึงแต่ละประเภทมีจุดประสงค์ของการใช้ที่แตกต่างกัน โดยแบ่งออกเป็น 4 ประเภท คือ 1) กจิ กรรมการบอกเล่า (Narrate Activities) คือการเล่าเร่อื งราวหรอื ประสบการณ์ความทรงจำ� ของ ผู้เข้าร่วม ช่วยให้นักออกแบบได้เข้าใจถึงธรรมชาติของผู้เข้าร่วม สร้างความสัมพันธ์ท่ีดีและเข้าใจความต้องการหรือ ความปรารถนาของผู้เข้าร่วม 2) กิจกรรมการเสนอความคิด (Create Activities) คือการร่วมท�ำกิจกรรมเพ่ือสร้าง องคป์ ระกอบของผลติ ภณั ฑ์ บริการ หรอื แนวทางทเ่ี หมาะสม โดยผา่ นกจิ กรรมในการตีความและเสนอความคดิ จาก ผเู้ ขา้ รว่ ม 3) กจิ กรรมการจดั ลำ� ดบั ความสำ� คญั (Prioritize Activities) คอื การทำ� ความเขา้ ใจและชว่ ยใหผ้ เู้ ขา้ รว่ มและ นกั ออกแบบคดิ ถงึ ทางเลอื ก และลำ� ดบั ความสำ� คญั ของขอ้ มลู การประเมนิ ผลของแนวทางการออกแบบโดยใชข้ อ้ ความ ภาพ หรอื สอ่ื ต่างๆ ในการจัดล�ำดบั 4) กิจกรรมการสรา้ งบรบิ ท (Contextualize Activities) คอื การออกแบบเรอ่ื ง ราวด้วยการสร้างค�ำพูด การเคลื่อนไหว ภาพ หรอื อืน่ ๆ ที่แสดงถงึ เปา้ หมายในการได้ข้อมลู เชิงลึกจากผ้สู ูงอา่ ยุ โดย การสร้างบริบทหรือจ�ำลองเลียนแบบประสบการณ์ในสถานการณ์การใช้ผลิตภัณฑ์หรือบริการของผู้เข้าร่วมเพื่อให้ได้ แนวคิดหรือทิศทางในการออกแบบท่ีเหมาะสมกับผู้ใช้ (Munizert & Sherwin, 2013) เช่นเดียวกับการศึกษาของ Lindsay, et al., (2012) กลา่ ววา่ การใชก้ จิ กรรมในการสรา้ งสถานการณส์ มมติ หรอื การแสดงใหผ้ สู้ งู อายเุ หน็ ภาพของ 134 วารสารสงิ่ แวดลอ้ มสรรค์สร้างวินจิ ฉยั คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่ ปที ่ี 16 ฉบบั ที่ 1 มกราคม-มิถุนายน ประจำ� ปี 2560

Factors Affecting to Efficiency of Participatory Design for Elderly Users Pittayong Roongsomboon and Yada Chavalkul การใชง้ านผลติ ภณั ฑ์ อาศยั กจิ กรรมในการใหผ้ สู้ งู อายสุ รา้ งภาพจากความคดิ หรอื ประสบการณข์ องตนเอง การใชภ้ าพ หรือวีดีโอเพื่อให้ผู้สูงอายุเห็นภาพของสถานการณ์ที่เกิดขึ้น ช่วยกระตุ้นการสนทนาพูดคุยถึงปัญหาและเล่าถึง ประสบการณ์การใช้งานผลิตภัณฑ์ รวมถึงแสดงความคิดเห็นต่อสถานการณ์น้ันๆ ได้เป็นอย่างดี การส่งเสริมให้ ผู้สงู อายมุ สี ่วนร่วมได้อย่างเต็มที่ นักออกแบบไดเ้ สนอแนวทางการใช้กิจกรรมการสร้างบริบทสถานการณร์ ว่ มกบั ผสู้ ูงอายุ เชน่ การให้ผู้สูงอายุ เขยี นระบแุ ละวาดภาพสถานการณใ์ นการใชง้ านโทรศพั ทม์ อื ถอื โดยใหย้ กกรณใี นบรบิ ทของการใชโ้ ทรศพั ทม์ อื ถอื ทต่ี นเอง ใช้อยู่เป็นประจ�ำและปัญหาในการใช้งานเพื่อวิเคราะห์สถานการณ์น้ันและหาแนวทางการแก้ปัญหา (Massimi and Baecker, 2008; Massimi, Baecker & Wu, 2007) นกั ออกแบบสร้างกิจกรรมโดยการเขียนบทสถานการณ์และใหผ้ ู้ สงู อายแุ ตล่ ะคนแสดงสถานการณน์ นั้ เพอ่ื สงั เกตและวเิ คราะหก์ ารใชง้ านผลติ ภณั ฑ์ ขอ้ ผดิ พลาดหรอื ปญั หาในการใชง้ าน ทเี่ กดิ ขนึ้ (Newell, et al., 2007; Demiris, et al., n.d.) หรอื การกระตนุ้ การสนทนาโดยการใหผ้ สู้ งู อายดุ วุ ดี โี อทเี่ กยี่ วขอ้ ง กับสถานการณ์การใช้งานผลิตภัณฑ์ เพ่ือให้เห็นภาพที่เกิดขึ้นและแสดงความคิดเห็นต่อสถานการณ์น้ัน รวมถึงการให้ ผสู้ งู อายไุ ดแ้ สดงบทบาทสมมตติ ามสถานการณน์ นั้ เพอ่ื ดสู ภาพความเปน็ จรงิ ของพฤตกิ รรมและปญั หาการใชง้ านผลติ ภณั ฑ์ โดยการแสดงความคดิ เหน็ ต่อสิง่ ที่ตนประสบบนกระดาษ (Lindsay, et al., 2012) ภาษาท่ีใช้ (Language to Use) นักออกแบบหรือผู้วิจัยควรค�ำนึงภาษาและการส่ือสารที่ดีในการท�ำงานร่วมกับผู้สูงอายุ เนื่องจากความ แตกต่างทางอายุระหว่างผู้สูงอายุกับตัวนักออกแบบเอง นักออกแบบต้องมีความเข้าใจในความแตกต่างระหว่าง ผู้สูงอายกุ ับกลมุ่ ผู้ใชง้ านทว่ั ไป เชน่ ผูส้ งู อายุเปน็ วัยทส่ี ญู เสยี ประสาทการรับรู้ทด่ี ี ปญั หาการได้ยิน ดา้ นของวฒั นธรรม และภาษา รวมถึงทัศนคติต่อเทคโนโลยีใหม่ๆ ท่ีอาจเป็นปัญหาส�ำคัญในการท�ำงานร่วมกับผู้สูงอายุ ซ่ึงผู้สูงอายุเป็น วัยท่ีมีความเข้าใจและการรับรู้ค่อนข้างจ�ำกัด ดังนั้นค�ำถามไม่ควรเป็นประโยคท่ีซับซ้อนเข้าใจยาก ควรเป็นภาษาท่ี เหมาะสมและเขา้ ใจงา่ ย เนอื่ งจากภาษาและประโยคทซี่ บั ซอ้ นเขา้ ใจยากอาจสง่ ผลใหผ้ สู้ งู อายมุ คี วามวติ กกงั วลและไม่ เขา้ ใจ ทำ� ใหผ้ สู้ งู อายหุ ลกี เลยี่ งการตอบคำ� ถาม และไมเ่ ตม็ ใจใหข้ อ้ มลู (Newell, et al., 2007; Lindsay, et al., 2012) สถานท่ี (Location) นักออกแบบต้องค�ำนึงสถานที่ท่ีใช้ในการท�ำกิจกรรม ควรจัดสถานที่และสภาพแวดล้อมให้เหมาะสมกับ ผเู้ ขา้ รว่ ม เช่น บ้าน ทท่ี �ำงาน โรงเรียน ห้องปฏิบตั กิ าร ห้องสตูดโิ อออกแบบ เป็นต้น ซ่งึ ในแต่ละสถานทีม่ ขี อ้ ดแี ละ ขอ้ เสยี ทแี่ ตกตา่ งกนั ดงั นน้ั การเลอื กสถานทท่ี เ่ี หมาะสมตอ้ งมกี ารพจิ ารณาจากนกั ออกแบบหรอื ผวู้ จิ ยั โดยสถานทเี่ ปน็ ปจั จยั หนง่ึ ทส่ี ง่ ผลตอ่ ประสทิ ธภิ าพในการทำ� กจิ กรรมรว่ มกนั รวมทง้ั การอำ� นวยความสะดวกในทำ� กจิ กรรม การเตรยี ม เครอ่ื งมอื วัสดุอุปกรณใ์ ห้เหมาะสมจะส่งผลตอ่ การทำ� กจิ กรรมและการแสดงความคิดเหน็ (Sander, et al., 2010) โดยการออกแบบร่วมกับผู้สูงอายุต้องใช้สถานท่ีในการท�ำกิจกรรมท่ีไม่ท�ำให้ผู้สูงอายุรู้สึกอึดอัด อาจเป็นสถานท่ีที่ ผสู้ งู อายรุ สู้ กึ คนุ้ เคย เชน่ บา้ น หรอื บรเิ วณทพ่ี กั อาศยั สถานทภี่ ายในชมุ ชน เปน็ ตน้ และควรมแี สงสวา่ งทเี่ พยี งพอ ไมม่ ี เสยี งรบกวน รวมถงึ สามารถเข้าถึงห้องน้ำ� ได้ง่าย (Newell, et al., 2007; Lindsay, et al., 2012) จากการศกึ ษาปจั จยั ทง้ั 7 ขอ้ ขา้ งตน้ ผู้เขียนสามารถวเิ คราะหแ์ ละสรปุ ขอ้ ควรพจิ ารณาส�ำหรับนักออกแบบ ในการใช้การออกแบบโดยผใู้ ช้สงู อายมุ ีสว่ นรว่ มไดด้ ังตารางท่ี 1 ดังนี้ Built Environment Inquiry Journal (BEI): Faculty of Architecture, Khon Kaen University 135 Volume. 16 No. 1: January-June 2017

ปัจจยั ทส่ี ่งผลต่อประสิทธิภาพการออกแบบโดยผใู้ ช้สูงอายมุ ีส่วนรว่ ม พทิ ยงค์ รุ่งสมบรู ณ์ และญาดา ชวาลกุล ตารางท่ี 1 การประยุกต์ปัจจัยท่ีส่งผลต่อประสิทธิภาพสู่ข้อควรพิจารณาส�ำหรับนักออกแบบในการใช้การออกแบบ โดยผใู้ ชส้ ูงอายมุ สี ว่ นร่วม ปัจจัยท่สี ง่ ผลตอ่ ประสิทธภิ าพการ ข้อควรพิจารณา Gaffney (1999) อา้ งอิง ออกแบบโดยผู้ใชส้ ูงอายุมีสว่ นรว่ ม - ระยะเวลาในการทำ� กจิ กรรม 1) ช่วงเวลาของการทำ� กิจกรรม - ก�ำหนดวันในการทำ� กจิ กรรม Lindsay, et al. (2012) 2) ความสัมพันธร์ ะหวา่ งผเู้ ขา้ รว่ ม (วนั /เดือน/ปี) David and Jensen (2013) 3) การสง่ เสริมให้เกดิ การมสี ว่ นร่วม - ชว่ งเวลาการจัดกจิ กรรมอาหารว่าง Massimi and Baecker (2008) Lindsay, et al. (2012) 4) บทบาทของผมู้ สี ว่ นรว่ ม David and Jensen (2013) 5) ประเภทของกจิ กรรมในการมสี ่วน - วิธีในการส่งเสรมิ การมีส่วนรว่ ม Demirbilek and Demirkan (2004) รว่ ม Massimi, Baecker and Wu (2007) Massimi and Baecker (2008) 6) ภาษาท่ีใช้ Lindsay, et al. (2012) 7) สถานที่ David and Jensen (2013) - บทบาทของนักออกแบบและผเู้ ข้ารว่ ม Sander (2002) Demirbilek and Demirkan (2004) Hawthorn (2007) David and Jensen (2013) - การเลือกประเภทของกิจกรรม และรูปแบบ Demiris, et al. (n.d.) ของกิจกรรม Demirbilek and Demirkan (2004) Massimi, Baecker and Wu (2007) Newell, et al. (2007) Lindsay, et al. (2012) Munizert and Sherwin (2013) - ภาษาและคำ� ถามควรเขา้ ใจงา่ ย Newell, et al. (2007) Lindsay, et al. (2012) - ลักษณะของสถานที่ - หอ้ งน�้ำ Newell, et al. (2007) - ไมม่ ีเสียงรบกวน - แสงสว่างเพยี งพอ Sander, et al. (2010) Lindsay, et al. (2012) บทสรุป จากการศกึ ษากระบวนการออกแบบจากบทความและงานวจิ ยั ขา้ งตน้ พบวา่ 7 ปจั จยั ทสี่ ง่ ผลตอ่ ประสทิ ธภิ าพ การออกแบบโดยผ้ใู ชส้ ูงอายมุ ีสว่ นร่วมสมั พนั ธ์กับกระบวนการออกแบบสามารถแบ่งออกเปน็ 4 ขนั้ ตอน คอื 1) ช่วง ของการระบุปัญหาของผลิตภัณฑ์ 2) ช่วงของการวเิ คราะหป์ ญั หาและความต้องการ 3) ชว่ งของการเสนอแนวความ คดิ เพ่ือสรุปแนวทางการออกแบบ และ 4) ช่วงของการสร้างตน้ แบบและการตรวจสอบผลการออกแบบ ผเู้ ขียนจงึ นำ� ขอ้ ควรพจิ ารณาทไี่ ดจ้ ากผลการศกึ ษามาประยกุ ตแ์ ละสรา้ งเปน็ เครอื่ งมอื เบอ้ื งตน้ สำ� หรบั ใหน้ กั ออกแบบนำ� ไปใชว้ างแผน การออกแบบโดยผใู้ ชส้ ูงอายมุ ีสว่ นร่วม ดงั ภาพที่ 5 136 วารสารสง่ิ แวดลอ้ มสรรคส์ รา้ งวนิ จิ ฉัย คณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแกน่ ปที ่ี 16 ฉบบั ที่ 1 มกราคม-มิถนุ ายน ประจำ� ปี 2560

Factors Affecting to Efficiency of Participatory Design for Elderly Users Pittayong Roongsomboon and Yada Chavalkul ภาพท่ี 5 ตวั อย่างเคร่อื งมือเบือ้ งตน้ สำ� หรับใชว้ างแผนการออกแบบโดยการมีส่วนร่วมของผู้ใช้สูงอายุในชว่ งท่ี 1 ที่มา: ผ้ศู ึกษา (2559) จากภาพที่ 5 เปน็ การแสดงตวั อยา่ งของเครอ่ื งมอื เบอ้ื งตน้ สำ� หรบั ใชว้ างแผนการออกแบบโดยการมสี ว่ นรว่ ม ของผใู้ ชส้ งู อายใุ นการตรวจสอบเพอื่ นำ� ไปใชใ้ นการวางแผนดำ� เนนิ งานสำ� หรบั ชว่ งท่ี 1 หรอื ชว่ งของการระบปุ ญั หาของ ผลติ ภณั ฑ์ โดยสามารถน�ำไปใชต้ รวจสอบในช่วงที่ 2, 3 และ 4 ไดแ้ ก่ ชว่ งของการวิเคราะหป์ ัญหาและความต้อง ชว่ ง ของการเสนอแนวความคดิ เพอื่ สรปุ แนวทางการออกแบบ ชว่ งของการสรา้ งตน้ แบบและการตรวจสอบผลการออกแบบ ตามล�ำดับ โดยสามารถใชห้ ัวข้อในการพจิ ารณารปู แบบเดียวกันได้ แต่การพิจารณาในแต่ละหวั ข้ออาจตา่ งกัน เช่น ใช้ เวลาในการท�ำกิจกรรมไม่เท่ากัน ใช้เทคนิคในการส่งเสริมการมีส่วนร่วมต่างกัน หรือเลือกประเภทของกิจกรรมท่ีมี วตั ถปุ ระสงคใ์ นการเลอื กตา่ งกนั ผเู้ ขยี นพบวา่ นกั ออกแบบสว่ นใหยใ่ ชก้ จิ กรรมการบอกเลา่ นกั ออกแบบสว่ นใหญใ่ ชใ้ น ช่วงการออกแบบในชว่ งที่ 1 และ 2 กจิ กรรมการเสนอความคิดและการจดั ล�ำดับความส�ำคัญมกั ใชใ้ นชว่ งที่ 3 และ กิจกรรมการสร้างบริบทสามารถใช้ได้ทั้งในช่วงที่ 1, 2 และ 4 เป็นต้น ซ่ึงสามารถใช้เป็นเคร่ืองมือในการช่วยให้ นกั ออกแบบสามารถตรวจสอบและวางแผนการดำ� เนินงานในล�ำดบั ต่อไปไดอ้ ยา่ งมีระบบ Built Environment Inquiry Journal (BEI): Faculty of Architecture, Khon Kaen University 137 Volume. 16 No. 1: January-June 2017

ปจั จัยท่สี ่งผลต่อประสทิ ธิภาพการออกแบบโดยผู้ใชส้ ูงอายุมีสว่ นรว่ ม พิทยงค์ รุง่ สมบูรณ์ และญาดา ชวาลกุล วธิ กี ารใชง้ าน 1) น�ำเครื่องมือช่วงท่ี 1 หรือช่วงการระบุปัญหาของผลิตภัณฑ์มาใช้เป็นล�ำดับแรก ระบุว่างานวิจัยของ ตนเองออกแบบรว่ มกบั ผู้สงู อายุหรือไม่ ถ้ามที �ำการใสเ่ ครอ่ื งหมาย  ในชอ่ งวา่ ง 2) เขียนช่ือผู้ท่ีเกี่ยวข้องในกระบวนการออกแบบ ได้แก่ นักออกแบบ ผู้ด�ำเนินการ ผู้ช่วย และจ�ำนวน ผู้สูงอายทุ ีเ่ ขา้ ร่วมกิจกรรม หลงั จากนัน้ ท�ำการก�ำหนดและวางแผนตามลำ� ดบั ขอ้ 3) กำ� หนดระยะเวลาในกิจกรรมข้อที่ 1 และ 2 โดยใสเ่ ครือ่ งหมาย  ในชอ่ งว่างทีต่ รงกับระยะเวลาท่ี เหมาะสม และเขียนวัน เดือน ปี ในการท�ำกิจกรรมใหช้ ดั เจน 4) กำ� หนดประเภทกจิ กรรมข้อท่ี 3 โดยเลอื กให้เหมาะสมกับความต้องการโดยใสเ่ คร่อื งหมาย  ในช่อง ว่าง และเขียนรายละเอยี ดกิจกรรม ตามข้อแนะนำ� ในการเลือกเพ่อื งา่ ยตอ่ การก�ำหนดประเภทกจิ กรรมให้ผู้ใช้ 5) เลือกวิธีการในข้อที่ 4 ให้เหมาะสมกบั ประเภทกิจกรรม โดยใส่เครอ่ื งหมาย  ในชอ่ งว่าง และเขียน รายละเอียดของวธิ ีการดงั กล่าวไว้ 6) กำ� หนดบทบาทหน้าที่ของตนเองในการมีส่วนร่วมกับผู้สูงอายุขอ้ ท่ี 5 เช่น กจิ กรรมการเสนอความคิด ผูใ้ ช้ก�ำหนดให้ผใู้ ชม้ ีหนา้ ท่รี ับฟงั ความคิดเห็นอยา่ งเดยี ว ไม่ตอ้ งช่วยผู้สูงอายใุ นการขยายความคิดดงั กลา่ ว เปน็ ต้น 7) ก�ำหนดช่วงเวลาการจัดอาหารว่างให้ผู้สูงอายุในข้อท่ี 6 โดยค�ำนึงถึงความเหมาะสมถ้ามีเวลาควรมี อาหารวา่ งในระหวา่ งกจิ กรรมเพอ่ื สรา้ งบรรยากาศทผี่ อ่ นคลายใหก้ บั ผสู้ งู อายุ แตม่ เี วลาไมม่ ากควรกำ� หนดวา่ มกี ารจดั อาหารว่างก่อน หลัง หรอื ไมม่ ี 8) ตรวจสอบรายการความเหมาะสมของสถานท่ี และกำ� หนดสถานท่ใี นกาท�ำกิจกรรมในข้อท่ี 7 ให้ ชดั เจนเพอ่ื สรา้ งบรรยากาศทีด่ ีในการท�ำงาร่วมกบั ผู้สงู อายุ 9) คำ� นึงเร่ืองการใช้ภาษาให้เหมาะสมกับการท�ำงานรว่ มกับผูส้ ูงอายุในระหว่างการทำ� กิจกรรมในข้อที่ 8 และผใู้ ช้งานควรอ่านและคำ� นงึ ตลอดการทำ� กิจกรรม 10) ดำ� เนนิ การต่อโดยท�ำตามขน้ั ตอน ในช่วงท่ี 1 สำ� หรับชว่ งท่ี 2 ชว่ งของการวิเคราะหป์ ญั หาและความ ตอ้ ง ชว่ งท่ี 3 การเสนอแนวความคดิ เพ่ือสรุปแนวทางการออกแบบ และชว่ งที่ 4 ของการสร้างต้นแบบและการตรวจ สอบผลการออกแบบ ตามล�ำดบั ผใู้ ชง้ านเครอื่ งมอื ควรอา่ นรายละเอยี ดและประเดน็ สำ� คญั ของแตล่ ะหวั ขอ้ ในบทความขา้ งตน้ กอ่ น เพอ่ื ความ เข้าใจในการใชง้ านเครือ่ งมอื อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ การตรวจสอบเครื่องมือ ผู้เขียนใชก้ ารทดลองใช้ (Pilot Study) ในการวางแผนกระบวนออกแบบในงานวจิ ยั ของผูเ้ ขียนเอง ภายใต้ หัวข้อการออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑเ์ พอื่ การเดนิ ออกกำ� ลังกายอย่างต่อเนอื่ งสำ� หรบั ผู้สงู อายุ ดังภาพที่ 7 พบว่า สามารถนำ� ไปวางแผนเพอ่ื ทำ� ด�ำเนนิ การได้ และควรปรับปรงุ เครอื่ งมอื ดังน้ี 1) ดา้ นการใชภ้ าษาในการกำ� หนดหวั ขอ้ ไดแ้ ก่ หวั ขอ้ รปู แบบการประชมุ แบบมอี าหารวา่ งชว่ งใด เปน็ การ ใช้ภาษาท่ีเข้าใจได้ยาก ผู้เขียนจึงปรับแก้เป็นหัวข้อ “ช่วงเวลาของการจัดอาหารว่างเพื่อเช่ือมสัมพันธ์” และหัวข้อ เทคนคิ ในการสง่ เสริมการมสี ว่ นรว่ ม ปรบั ให้เขา้ ใจและตรงความหมายมากขนึ้ เป็น “วิธกี ารส่งเสริมการมสี ่วนร่วม” 2) ด้านของการเรียงลำ� ดับหัวข้อไม่สอดคลอ้ งกบั การใชง้ าน ไดแ้ ก่ ขอ้ 3, 4, 5 และ 6 คือ รูปแบบการ ประชมุ เทคนคิ การส่งเสรมิ การมีส่วนร่วม บทบาทนักออกแบบ และประเภทกิจกรรม ตามลำ� ดับ ซง่ึ พบว่าการใช้งาน 138 วารสารส่งิ แวดล้อมสรรคส์ ร้างวนิ ิจฉัย คณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ปที ่ี 16 ฉบับท่ี 1 มกราคม-มถิ ุนายน ประจำ� ปี 2560

Factors Affecting to Efficiency of Participatory Design for Elderly Users Pittayong Roongsomboon and Yada Chavalkul ที่ดีนักออกแบบควรก�ำหนดประเภทกิจกรรมก่อนเพ่ือง่ายต่อการก�ำหนดหัวข้ออ่ืนๆ ได้แก่ วิธีการส่งเสริมการมี สว่ นร่วม บทบาทของนกั ออกแบบ และช่วงเวลาของการจัดอาหารว่างเพอ่ื เชอ่ื มสัมพันธ์ ตามลำ� ดับ ดงั แสดงในภาพที่ 6 ภาพท่ี 6 การปรับแกเ้ ครือ่ งมือก่อนและหลงั จากการทดลองใช้ (Pilot Study) ทม่ี า: ผู้ศึกษา (2559) ภาพที่ 7 เครื่องมอื ที่ผ้เู ขยี นได้นำ� ไปทดลองใช้ (Pilot Study) ทมี่ า: ผู้ศกึ ษา (2559) Built Environment Inquiry Journal (BEI): Faculty of Architecture, Khon Kaen University 139 Volume. 16 No. 1: January-June 2017

ปจั จัยทส่ี ง่ ผลต่อประสิทธภิ าพการออกแบบโดยผู้ใช้สงู อายมุ สี ่วนร่วม พิทยงค์ รุ่งสมบรู ณ์ และญาดา ชวาลกลุ ขอ้ เสนอแนะ นกั ออกแบบควรศกึ ษาและพิจารณาปัจจยั ทง้ั 7 ดา้ นขา้ งต้น เพือ่ สง่ เสรมิ การออกแบบโดยผูใ้ ช้สูงอายมุ ีสว่ น รว่ มใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพสงู สุด ส่งิ สำ� คัญท่สี ุดในการวางแผนและการออกแบบรว่ มกบั ผู้สงู อายนุ ั้น คอื การท�ำความเข้าใจ ความเป็นผู้สูงอายุ เพื่อสามารถวางแผนการท�ำงานร่วมกับผู้สูงอายุ รวมถึงการเข้าใจและการสร้างความสัมพันธ์ที่ดี ระหวา่ งกนั สง่ิ ทตี่ อ้ งเขา้ ใจผสู้ งู อายุ คอื 1) ดา้ นกายภาพ นกั ออกแบบตอ้ งเขา้ ใจถงึ สภาพรา่ งกาย ความสามารถในการ ทำ� กิจกรรมของผ้สู ูงอายทุ ไ่ี มเ่ ท่ากัน 2) ด้านการสือ่ สาร ผู้สงู อายบุ างคนอาจสื่อสารได้ไมด่ ี เน่ืองจากปญั หาการไดย้ ิน การพดู และการเขา้ ใจภาษาทใ่ี ช้ 3) ดา้ นทศั นคตแิ ละประสบการณข์ องผสู้ งู อายุ ตอ้ งเขา้ ใจถงึ ทศั นคตแิ ละประสบการณ์ ที่ผู้สูงอายุมีต่อประเด็นการออกแบบนั้นๆ เพื่อเข้าใจความคิดเชิงบวกและเชิงลบของผู้สูงอายุแต่ละคนที่มีผลต่อการ ท�ำงานร่วมกนั และ 4) ด้านวัฒนธรรมและภาษาต้องทำ� ความเขา้ ใจเชน่ กนั เอกสารอ้างอิง ยุภาพร บญุ ประเสรฐิ . 2558. แนวทางการออกแบบเส้นทางจกั รยานโดยการมีสว่ นรว่ มของประชาชน กรณีศกึ ษา เทศกาลนครนครสวรรค.์ วทิ ยานพิ นธส์ ถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต การวางแผนชุมชนเมือง และสภาพแวดลอ้ ม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยพี ระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง. รงุ่ เรือง ราชมณ.ี 2555. “การวิจัยแบบมีสว่ นร่วมเพื่อพฒั นาหลกั สูตรสถานศกึ ษา รายวิชาเพม่ิ เตมิ เรื่อง การออกแบบลายผา้ มัดหมภ่ี มู ปิ ญั ญาทอ้ งถิ่นไทยโส้บา้ นโพนจาน จงั หวดั นครพนม”. วารสารการวัดผลการศึกษา. ปีที่ 10 (ฉบบั ที่ 1) : 241-250. วพิ รรณ ประจวบเหมาะ. 2552. การสง่ เสรมิ สุขภาพกับปสี ากลวา่ ดว้ ยผ้สู งู อายุ. วทิ ยาลยั ประชากรศาสตร์ จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลยั . ส�ำนกั งานสถิติแหง่ ชาต.ิ 2557. รายงานผลเบอ้ื งตน้ ส�ำรวจประชากรสูงอายุในประเทศไทย พ.ศ. 2557. ส�ำนกั งานสถติ แิ ห่งชาติ. ศศกิ าญจน์ ศรโี สภณ. 2548. การวางแผนปฏิบัตกิ ารพัฒนาท่ีอย่อู าศัยแบบมีส่วนร่วมในชมุ ชนท่านำ้� สามเสน กรุงเทพมหานคร. วิทยานพิ นธม์ หาบณั ฑิต เคหการ สถาปัตยกรรมศาสตร์ จฬุ าลงกรณห์ าวทิ ยาลัย. อรช กระแสอินทร.์ 2557. นวัตกรรมการออกแบบอย่างมีสว่ นรว่ มส�ำหรบั หตั ถกรรมใชส้ อยครวั เรือน. วิทยานพิ นธ์วทิ ยาศาสตรดษุ ฎบี ณั ฑติ วิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั . Abeele, V.V.D. and Rompaey, V.V. 2006. “Introducing Human-Centered Research to Game Design: Design Game Concept for and with Senior Citizens”. Montral, Quebac. April 22-27. 1469-1474. Abras, C. et.al. 2004. “User-Centered Design”. Encyclopedia of Human-Computer Interaction. Davidson, J.L. and Jensen, C. 2013. “Participatory Design with Older Adults: An Analysis of Creativity in the Design of Mobile Healthcare Applications”. C&C’13. June 17-20. Davidson, J.L. and Jensen, C. 2013. “What Health Topics Older Adults Want To Track: A Participatory Design Study”. ASSETS’ 13, October 21-23. 140 วารสารสง่ิ แวดลอ้ มสรรคส์ ร้างวนิ ิจฉยั คณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ปที ่ี 16 ฉบบั ที่ 1 มกราคม-มิถุนายน ประจำ� ปี 2560

Factors Affecting to Efficiency of Participatory Design for Elderly Users Pittayong Roongsomboon and Yada Chavalkul Demirbilek, O. and Demirkan, H. 2004. “Universal product design involving elderly users : a participatory design model”. Applied Ergonomics. 35. 361-370. Demiris, G. et.al. n.d. . Smart Home Sensors for the Elderly: A Model for Participatory Formative Evaluation. Gaffney, G. 1999. Participatory Design Workshops. Usability Techniques series. Gould, J. D. and Lewis, C. 1985. “Designing for usability: Key principles and what designers think”. Communications of the ACM. 28 (3). 300-311. Hawthorn, D. 2007. “Interface design and engagement with older people”. Behaviour & Information Technology. 26(4). July-August 2007. 333-341. Karat, J. 1997. “Evolving the Scope of User-Centered Design”. Communucation of the ACM. 40 (7). 33-38. Lindsay, S. et.al. 2012. “Engaging Older People using Participatory Design”. CHI’12. May 5-10. 1199-1208. Massimi, M. and Baecker, R. 2008. Participatory Design Process with Older Users. University of Toronto. Massimi, M., Baecker, R.M. and Wu, M. 2007. “Using Participatory Activities with Seniors to Critique,Build, and Evaluate Mobile Phones”. ASSET’07, October 15-17. 155-162. Newell, A. et.al. 2007. “Methodologies for Involving Older Adults in the Design Process”. Universal Access in HCI. Part I, HCII 2007, LNCS 4554. 982-989. Sander, E.B.N. 2002. “From User-Centered to Participatory Design Approaches”. Taylor & Francis Books Limited. Sander, E.B.N., Brandt, E. and Binder, T. 2010. “A Framework for Organizing the Tools and Techniques of Participatory Design”. PDC 2010. November 29-December 3. 1-4. Zeisel, J. 2006. Inquiry by Design : Enviroment / Behavior / Neuroscience in Architecture, Interrior, Landscapes and Planning. Newyork: Norton & Company. ฐานขอ้ มลู อเิ ล็กทรอนกิ ส์ จฬุ าวิทยานกุ รม. 2559. การพัฒนาผลติ ภัณฑห์ ัตถกรรมโดยใหล้ กู ค้ามีส่วนรว่ มในการออกแบบ. [ออนไลน์] [อ้างถงึ เม่ือ 7 เมษายน 2559] เขา้ ถงึ ไดจ้ าก: http://www.chulapedia.chula.ac.th/index.php/ ปฐมา หรุน่ รกั วทิ ย.์ 2559. Everyone Deserves The Chance To A Better Life. [ออนไลน]์ [อา้ งถงึ เมอื่ 7 พฤษภาคม 2559] เข้าถงึ ไดจ้ าก: http://www.tcdc.or.th/creativethailand/article/ TheCreative/20117 ยศพล บญุ สม. 2558. สร้างเมืองพัฒนาชมุ ชน ผา่ นกลไกการมีสว่ นร่วมภาคประชาชน. [ออนไลน์] [อา้ งถงึ เมื่อ 7 พฤษภาคม 2559] เข้าถึงไดจ้ าก: http://www.creativemove.com/featured-interview/ yosapol-boonsom/ Built Environment Inquiry Journal (BEI): Faculty of Architecture, Khon Kaen University 141 Volume. 16 No. 1: January-June 2017

ปัจจยั ท่สี ง่ ผลต่อประสิทธภิ าพการออกแบบโดยผ้ใู ช้สูงอายุมีสว่ นร่วม พทิ ยงค์ รงุ่ สมบูรณ์ และญาดา ชวาลกลุ Munizert, E. and Sherwin, D. 2013. Bringing Users into Your Process Through Participatory Design. [Online] [Cited 7 January 2016]. Available from: http://www.slideshare.net/ frogdesign/bringing-users-into-your-process-through-participatory-design/36PLANNING_ PARTICIPATORY_DESIGNSTEPWHEN_TO_USE Teoh, C. 2006. User-centered design (UCD) - 6 methods. [Online] [Cited 7 January 2016]. Available from: http://www.webcredible.com/blog/user-centered-design-ucd-6-methods/ 142 วารสารส่งิ แวดล้อมสรรคส์ รา้ งวนิ จิ ฉยั คณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยั ขอนแก่น ปีที่ 16 ฉบบั ท่ี 1 มกราคม-มิถนุ ายน ประจ�ำปี 2560


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook