มาตรฐานการเรียนร้แู ละตวั ชีว้ ัด ฯ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ๙๖สาระท่ี ๕ เคมีมาตรฐาน ว ๕.๓ เขา้ ใจหลักการทาปฏิบตั กิ ารเคมี การวัดปริมาณสาร หนว่ ยวัดและการเปล่ยี นหน่วย การ คานวณปรมิ าณของสาร ความเข้มขน้ ของสารละลาย รวมทงั้ การบูรณาการความรแู้ ละ ทักษะในการอธิบายปรากฏการณ์ในชวี ติ ประจาวนั และการแก้ปญั หาทางเคมี ตวั ช้วี ัดชัน้ ปี ม.๔ ม.๕ ม.๖เนน้ วทิ ยาศาสตร์ - เน้นวิทยาศาสตร์๑. บอกและอธิบายขอ้ ปฏบิ ัติเบื้องต้น และ ๑. กาหนดปัญหาและนาเสนอแนวทางการปฏบิ ัติตนที่แสดงถงึ ความตระหนกั ใน แก้ปญั หาโดยใช้ความรูท้ างเคมจี ากการทาปฏบิ ัตกิ ารเคมี เพอ่ื ใหม้ คี วาม สถานการณท์ เี่ กดิ ขนึ้ ในชวี ิตประจาวนัปลอดภยั ท้ังต่อตนเอง ผอู้ ่นื และ การประกอบอาชพี หรอื อุตสาหกรรมส่งิ แวดล้อม และเสนอแนวทางแกไ้ ขเมอ่ื ๒. แสดงหลกั ฐานถงึ การบรู ณาการความรู้เกิดอุบัตเิ หตุ ทางเคมีร่วมกบั สาขาวชิ าอ่ืน รวมทัง้ ทกั ษะ อ ู่ยระห ่วาง ํดเาอเกนิสนากรา ้ตรนจัฉด ับพิบมพ์๒. เลอื กและใช้อุปกรณห์ รอื เครอ่ื งมือใน กระบวนการทางวิทยาศาสตรห์ รอืการทาปฏิบตั กิ าร และวดั ปรมิ าณต่าง ๆ กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม โดยได้อย่างเหมาะสม เนน้ การคิดวเิ คราะห์ การแกป้ ญั หาและ๓. นาเสนอแผนการทดลอง ทดลองและ ความคิดสร้างสรรค์ เพ่ือแก้ปัญหาในเขยี นรายงานการทดลอง สถานการณ์หรอื ประเดน็ ทสี่ นใจ๔. ระบหุ น่วยวัดปรมิ าณต่าง ๆ ของสาร ๓. นาเสนอผลงานหรือชน้ิ งานทไ่ี ดจ้ ากการและเปลี่ยนหนว่ ยวดั ให้เป็นหนว่ ยใน แก้ปัญหาในสถานการณ์หรอื ประเด็นท่ีระบบเอสไอด้วยการใชแ้ ฟกเตอรเ์ ปลี่ยน สนใจโดยใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศหน่วย ๔. แสดงหลักฐานการเข้าร่วมการสมั มนา๕. บอกความหมายของมวลอะตอมของ การเขา้ รว่ มประชุมวชิ าการ หรือการแสดงธาตุ และคานวณมวลอะตอมเฉลยี่ ของ ผลงานสง่ิ ประดิษฐ์ในงานนิทรรศการธาตุ มวลโมเลกุล และมวลสูตร๖. อธบิ ายและคานวณปรมิ าณใดปรมิ าณหนึง่ จากความสมั พันธ์ของโมล จานวนอนภุ าค มวล และปริมาตรของแกส๊ ท่ีSTP๗. คานวณอตั ราสว่ นโดยมวลของธาตุองค์ประกอบของสารประกอบตามกฎสดั สว่ นคงท่ี๘. คานวณสตู รอยา่ งง่ายและสตู รโมเลกลุของสาร๙. คานวณความเขม้ ข้นของสารละลายในหนว่ ยต่าง ๆ๑๐. อธิบายวธิ กี ารและเตรยี มสารละลายใหม้ ีความเข้มขน้ ในหน่วยโมลารติ ี และปรมิ าตรสารละลายตามท่กี าหนด๑๑. เปรยี บเทียบจุดเดือดและจดุ เยอื กแข็งของสารละลายกับสารบรสิ ุทธ์ิ รวมทัง้คานวณจดุ เดือดและจดุ เยือกแข็งของสารละลาย
มาตรฐานการเรียนร้แู ละตัวชี้วดั ฯ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) ๙๗สาระท่ี ๖ ฟิสกิ ส์มาตรฐาน ว ๖.๑ เขา้ ใจธรรมชาตทิ างฟิสกิ ส์ ปรมิ าณและกระบวนการวดั การเคลื่อนที่แนวตรง แรงและ กฎการเคลอ่ื นที่ของนิวตนั กฎความโน้มถว่ งสากล แรงเสยี ดทาน สมดลุ กลของวตั ถุ งานและกฎการ อนรุ ักษพ์ ลงั งานกล โมเมนตมั และกฎการอนรุ ักษโ์ มเมนตัม การเคลื่อนที่แนวโค้ง รวมทั้งนาความรู้ ไปใชป้ ระโยชน์ ตัวชว้ี ดั ชน้ั ปี ม.๔ ม.๕ ม.๖เน้นวิทยาศาสตร์ --๑. สบื ค้นและอธิบายการคน้ หาความรู้ทางฟสิ ิกส์ ประวตั คิ วามเป็นมารวมทั้งพัฒนาการของหลกั การและแนวคดิ ทางฟสิ ิกสท์ มี่ ผี ลต่อการอ ู่ยระห ่วาง ํดเาอเกนิสนากรา ้ตรนจัฉด ับพิบมพ์แสวงหาความรูใ้ หมแ่ ละการพัฒนาเทคโนโลยี๒. วัดและรายงานผลการวัดปรมิ าณทางฟสิ ิกส์ได้ถูกต้องเหมาะสม โดยนาความคลาดเคลือ่ นในการวัดมาพิจารณาในการนาเสนอผล รวมทงั้แสดงผลการทดลองในรูปของกราฟ วเิ คราะห์และแปลความหมายจากกราฟเส้นตรง๓. ทดลองและอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างตาแหนง่ การกระจดัความเรว็ และความเรง่ ของการเคล่ือนที่ของวัตถใุ นแนวตรงทีม่ ีความเร่งคงตวั จากกราฟและสมการ รวมทง้ั ทดลองหาค่าความเร่งโนม้ ถว่ งของโลก และคานวณปรมิ าณตา่ ง ๆ ท่เี ก่ยี วขอ้ ง๔. อธิบายแรงและผลของแรงลัพธท์ ม่ี ีต่อการเคลอื่ นทข่ี องวตั ถุ รวมท้ังทดลองหาแรงลพั ธข์ องแรงสองแรงท่ีทามมุ ตอ่ กนั๕. เขียนแผนภาพของแรงทีก่ ระทาตอ่วตั ถุอิสระ และอธบิ ายกฎการเคลื่อนท่ขี องนวิ ตันและการใชก้ ฎการเคลอ่ื นที่ของนวิ ตันกับสภาพการเคลอ่ื นที่ของวัตถุ รวมทั้งทดลองและอธบิ ายความสมั พันธ์ระหวา่ งแรง มวล และความเร่งตามกฎข้อท่ีสองของนิวตนั๖. อธิบายกฎความโน้มถว่ งสากลและผลของสนามโนม้ ถว่ งท่ที าใหว้ ัตถุมี
มาตรฐานการเรยี นรู้และตัวชว้ี ัด ฯ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ๙๘สาระท่ี ๖ ฟิสิกส์อ ู่ยระห ่วาง ํดเาอเกนิสนากรา ้ตรนจัฉด ับพิบมพ์มาตรฐาน ว ๖.๑ เข้าใจธรรมชาตทิ างฟสิ กิ ส์ ปรมิ าณและกระบวนการวัด การเคลอ่ื นท่ีแนวตรง แรงและ กฎการเคลอื่ นที่ของนิวตนั กฎความโน้มถว่ งสากล แรงเสยี ดทาน สมดุลกลของวัตถุ งานและกฎการ อนรุ กั ษ์พลังงานกล โมเมนตัมและกฎการอนุรกั ษ์โมเมนตมั การเคลื่อนท่แี นวโค้ง รวมท้งั นาความรู้ ไปใช้ประโยชน์ ตวั ชว้ี ัดชั้นปี ม.๔ ม.๕ ม.๖ น้าหนกั รวมทงั้ คานวณปริมาณตา่ ง ๆ ทเี่ กย่ี วขอ้ ง ๗. วิเคราะห์และอธบิ ายแรงเสยี ดทาน ระหว่างผิวสัมผสั ของวัตถคุ หู่ น่ึง ๆ ในกรณีทวี่ ัตถุหยดุ น่งิ และวตั ถุ เคลอ่ื นที่ รวมท้งั ทดลองหา สัมประสิทธ์คิ วามเสยี ดทาน ระหวา่ งผิวสมั ผัสของวัตถคุ หู่ นง่ึ ๆ และนาความรเู้ รอื่ งแรงเสยี ดทาน ไปใช้ในชีวติ ประจาวนั ๘. อธิบายสมดลุ กลของวตั ถุ โมเมนต์ และผลรวมของโมเมนตท์ มี่ ตี ่อการ หมุน แรงค่คู วบและผลของแรงคู่ ควบที่มตี อ่ สมดุลของวตั ถุ เขยี น แผนภาพของแรงที่กระทาต่อวตั ถุ อิสระเมอื่ วตั ถุอยใู่ นสมดลุ กล และ คานวณปรมิ าณตา่ ง ๆ ที่เกย่ี วขอ้ ง รวมทัง้ ทดลองและอธิบายสมดลุ ของแรงสามแรง ๙. สงั เกตและอธิบายสภาพการ เคลอ่ื นทีข่ องวตั ถุ เม่ือแรงทก่ี ระทา ต่อวตั ถุผา่ นศูนย์กลางมวลของวตั ถุ และผลของศูนยถ์ ่วงทีม่ ตี อ่ เสถยี รภาพของวัตถุ ๑๐. วิเคราะห์ และคานวณงานของ แรงคงตัว จากสมการและพ้ืนทใี่ ต้ กราฟความสมั พันธ์ระหวา่ งแรงกบั ตาแหนง่ รวมทั้งอธบิ ายและ คานวณกาลงั เฉลยี่ ๑๑. อธบิ ายและคานวณพลงั งานจลน์ พลังงานศักย์ พลังงานกล ทดลอง หาความสมั พันธ์ระหวา่ งงานกบั พลังงานจลน์ ความสัมพันธ์ ระหว่างงานกบั พลงั งานศกั ย์โนม้ ถว่ ง ความสมั พันธร์ ะหว่างขนาด ของแรงท่ีใช้ดงึ สปรงิ กบั ระยะที่
มาตรฐานการเรียนรแู้ ละตัวชี้วดั ฯ (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ๙๙สาระท่ี ๖ ฟิสิกส์อ ู่ยระห ่วาง ํดเาอเกนิสนากรา ้ตรนจัฉด ับพิบมพ์มาตรฐาน ว ๖.๑ เข้าใจธรรมชาตทิ างฟสิ ิกส์ ปริมาณและกระบวนการวัด การเคลอ่ื นที่แนวตรง แรงและ กฎการเคล่ือนที่ของนวิ ตนั กฎความโน้มถว่ งสากล แรงเสียดทาน สมดลุ กลของวตั ถุ งานและกฎการ อนุรกั ษ์พลงั งานกล โมเมนตมั และกฎการอนรุ ักษ์โมเมนตัม การเคลื่อนทีแ่ นวโคง้ รวมทั้งนาความรู้ ไปใช้ประโยชน์ ตวั ชว้ี ัดชนั้ ปี ม.๔ ม.๕ ม.๖ สปรงิ ยืดออกและความสัมพันธ์ ระหว่างงานกับพลังงานศกั ย์ ยืดหยนุ่ รวมท้ังอธิบาย ความสัมพันธร์ ะหวา่ งงานของแรง ลพั ธแ์ ละพลังงานจลน์ และคานวณ งานท่เี กดิ ขึ้นจากแรงลัพธ์ ๑๒. อธิบายกฎการอนรุ ักษ์พลงั งานกล รวมท้ังวิเคราะห์ และคานวณ ปรมิ าณตา่ ง ๆ ทเ่ี กีย่ วขอ้ งกับการ เคลอ่ื นที่ของวตั ถใุ นสถานการณ์ ตา่ ง ๆ โดยใช้กฎการอนรุ ักษ์ พลงั งานกล ๑๓. อธบิ ายการทางาน ประสทิ ธภิ าพ และการไดเ้ ปรยี บเชงิ กลของ เครอ่ื งกลอยา่ งงา่ ยบางชนดิ โดย ใช้ความรู้เรือ่ งงานและสมดุลกล รวมทั้งคานวณประสทิ ธภิ าพและ การไดเ้ ปรยี บเชิงกล ๑๔. อธบิ ายและคานวณโมเมนตมั ของ วตั ถุ และการดลจากสมการและ พื้นท่ใี ต้กราฟความสมั พันธร์ ะหว่าง แรงลัพธ์กับเวลา รวมท้ังอธบิ าย ความสมั พนั ธร์ ะหว่างแรงดลกับ โมเมนตัม ๑๕. ทดลอง อธบิ ายและคานวณ ปรมิ าณตา่ ง ๆ ทเ่ี กยี่ วกับการชน ของวตั ถุในหน่ึงมติ ิทัง้ แบบยืดหยุน่ ไมย่ ดื หยนุ่ และการดีดตวั แยกจาก กนั ในหน่ึงมิติซ่งึ เปน็ ไปตามกฎการ อนรุ ักษ์โมเมนตัม ๑๖. อธบิ าย วเิ คราะห์ และคานวณ ปริมาณต่าง ๆ ที่เก่ียวข้องกบั การ เคล่ือนทแ่ี บบโพรเจกไทล์ และ ทดลองการเคล่ือนทแ่ี บบโพรเจก ไทล์
มาตรฐานการเรียนรูแ้ ละตวั ชี้วัด ฯ (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) ๑๐๐สาระท่ี ๖ ฟสิ ิกส์มาตรฐาน ว ๖.๑ เขา้ ใจธรรมชาติทางฟสิ กิ ส์ ปริมาณและกระบวนการวัด การเคลือ่ นที่แนวตรง แรงและ กฎการเคล่อื นทข่ี องนวิ ตนั กฎความโน้มถ่วงสากล แรงเสยี ดทาน สมดลุ กลของวตั ถุ งานและกฎการ อนรุ ักษ์พลงั งานกล โมเมนตมั และกฎการอนรุ ักษโ์ มเมนตัม การเคลื่อนที่แนวโคง้ รวมทัง้ นาความรู้ ไปใชป้ ระโยชน์ ตวั ชว้ี ัดช้ันปี ม.๔ ม.๕ ม.๖ ๑๗. ทดลองและอธบิ ายความสัมพนั ธ์ ระหวา่ งแรงสศู่ นู ยก์ ลาง รศั มีของ การเคลือ่ นท่ี อัตราเร็วเชงิ เสน้ อตั ราเรว็ เชงิ มุม และมวลของวตั ถุ ในการเคล่อื นท่ีแบบวงกลมใน ระนาบระดับ รวมทง้ั คานวณ ปรมิ าณตา่ ง ๆ ท่ีเกย่ี วขอ้ ง และ ประยกุ ต์ใช้ความร้กู ารเคล่ือนท่ี แบบวงกลมในการอธิบายการ โคจรของดาวเทียมอ ู่ยระห ่วาง ํดเาอเกนิสนากรา ้ตรนจัฉด ับพิบมพ์
มาตรฐานการเรียนรแู้ ละตัวชีว้ ดั ฯ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) ๑๐๑สาระที่ ๖ ฟิสกิ ส์มาตรฐาน ว ๖.๒ เข้าใจการเคลอื่ นทแี่ บบฮาร์มอนิกสอ์ ย่างงา่ ย ธรรมชาตขิ องคลน่ื เสยี งและการไดย้ นิ ปรากฏการณ์ ที่เก่ียวข้องกบั เสียง แสงและการเห็น ปรากฏการณท์ ี่เกยี่ วข้องกับแสง รวมทั้งนาความรไู้ ปใช้ ประโยชน์ ตวั ชวี้ ดั ช้นั ปีม.๔ ม.๕ ม.๖ - เน้นวทิ ยาศาสตร์ - ๑. ทดลองและอธบิ ายการเคลอ่ื นทแี่ บบ ฮาร์มอนกิ อยา่ งงา่ ยของวตั ถตุ ดิ ปลาย สปรงิ และลูกตมุ้ อย่างงา่ ย รวมทัง้ คานวณ ปริมาณตา่ ง ๆ ทีเ่ กีย่ วข้อง ๒. อธบิ ายความถี่ธรรมชาตขิ องวัตถุและ การเกดิ การส่ันพ้องอ ู่ยระห ่วาง ํดเาอเกนิสนากรา ้ตรนจัฉด ับพิบมพ์ ๓. อธิบายปรากฏการณ์คลืน่ ชนดิ ของคลืน่ ส่วนประกอบของคลื่น การแผข่ องหนา้ คลน่ื ด้วยหลักการของฮอยเกนส์ และการ รวมกันของคลื่นตามหลกั การซ้อนทบั พร้อมท้ังคานวณอตั ราเรว็ ความถี่ และ ความยาวคล่นื ๔. สังเกตและอธบิ ายการสะทอ้ น การหกั เห การแทรกสอด และการเล้ยี วเบนของ คล่ืนผิวนา้ รวมทัง้ คานวณปรมิ าณต่าง ๆ ท่ีเกี่ยวขอ้ ง ๕. อธิบายการเกดิ เสยี ง การเคลือ่ นที่ของ เสยี ง ความสมั พันธร์ ะหวา่ งคลื่นการ กระจดั ของอนภุ าคกบั คล่ืนความดนั ความสมั พันธร์ ะหวา่ งอัตราเร็วของเสียง ในอากาศทีข่ ึ้นกับอณุ หภมู ิในหนว่ ยองศา เซลเซียส สมบตั ขิ องคล่นื เสยี ง ไดแ้ ก่ การ สะท้อน การหักเห การแทรกสอด การ เลยี้ วเบน รวมทั้งคานวณปริมาณตา่ ง ๆ ท่ีเกยี่ วขอ้ ง ๖. อธบิ ายความเข้มเสียง ระดับเสยี ง องค์ประกอบ ของการไดย้ ิน คณุ ภาพ เสยี ง และมลพิษทางเสียง รวมทงั้ คานวณ ปริมาณต่าง ๆ ทเี่ กีย่ วข้อง ๗. ทดลองและอธิบายการเกิดการสนั่ พ้อง ของอากาศในทอ่ ปลายเปิดหน่งึ ด้าน รวมท้ังสังเกตและอธิบายการเกดิ บตี คลน่ื นงิ่ ปรากฏการณด์ อปเพลอร์ คลน่ื กระแทกของเสียง คานวณปรมิ าณต่าง ๆ ท่ีเกีย่ วขอ้ ง และนาความร้เู รอื่ งเสยี งไปใช้ ในชีวติ ประจาวนั
มาตรฐานการเรียนรูแ้ ละตวั ชว้ี ัด ฯ (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) ๑๐๒สาระที่ ๖ ฟสิ ิกส์อ ู่ยระห ่วาง ํดเาอเกนิสนากรา ้ตรนจัฉด ับพิบมพ์มาตรฐาน ว ๖.๒ เข้าใจการเคล่อื นทีแ่ บบฮาร์มอนิกส์อยา่ งงา่ ย ธรรมชาตขิ องคล่ืน เสียงและการได้ยนิ ปรากฏการณ์ ท่ีเกี่ยวข้องกับเสยี ง แสงและการเห็น ปรากฏการณท์ ่ีเก่ยี วข้องกับแสง รวมทั้งนาความรไู้ ปใช้ ประโยชน์ ตัวช้ีวัดชนั้ ปี ม.๔ ม.๕ ม.๖ ๘. ทดลองและอธิบายสมบัตกิ ารแทรกสอด ของแสงผ่านสลติ คแู่ ละเกรตติง สมบตั ิ การเลยี้ วเบนและการแทรกสอดของแสง ผ่านสลติ เดี่ยว รวมทง้ั คานวณปรมิ าณ ตา่ ง ๆ ท่ีเกย่ี วข้อง ๙. ทดลองและอธบิ ายการสะทอ้ นของแสง ที่ผวิ วัตถตุ ามกฎการสะทอ้ น เขยี นรงั สี ของแสงและคานวณตาแหน่งและขนาด ภาพของวตั ถเุ มอื่ แสงตกกระทบกระจก เงาราบและกระจกเงาทรงกลม รวมท้งั อธิบายการนาความร้เู ร่อื งการสะท้อน ของแสงจากกระจกเงาราบและกระจกเงา ทรงกลมไปใชป้ ระโยชน์ในชีวติ ประจาวนั ๑๐. ทดลองและอธิบายความสมั พันธ์ ระหว่างดรรชนีหักเห มมุ ตกกระทบ และ มุมหกั เห รวมท้งั อธบิ ายความสมั พนั ธ์ ระหว่างความลกึ จรงิ และความลึกปรากฏ มุมวิกฤตและการสะท้อนกลับหมดของ แสง และคานวณปรมิ าณตา่ ง ๆ ท่ี เกย่ี วข้อง ๑๑. ทดลองและเขียนรงั สขี องแสงเพอ่ื แสดงภาพท่ีเกิดจากเลนสบ์ าง หาตาแหนง่ ขนาด ชนิดของภาพ และความสัมพันธ์ ระหว่างระยะวัตถุ ระยะภาพและความ ยาวโฟกสั รวมทัง้ คานวณปรมิ าณตา่ ง ๆ ท่ีเก่ยี วข้อง และอธิบายการนาความรู้ เรื่องการหกั เหของแสงผ่านเลนสบ์ างไป ใชป้ ระโยชนใ์ นชีวิตประจาวนั ๑๒. อธบิ ายปรากฏการณ์ธรรมชาตทิ ี่ เก่ยี วกับแสง เชน่ รุ้ง การทรงกลด มิราจ และการเหน็ ทอ้ งฟ้าเป็นสตี า่ ง ๆ ในช่วง เวลาตา่ งกัน ๑๓. สังเกตและอธบิ ายการมองเหน็ แสงสี สีของวัตถุ การผสมสารสี และการผสม แสงสี รวมท้ังอธบิ ายสาเหตขุ องการบอดสี
มาตรฐานการเรยี นรูแ้ ละตัวชวี้ ัด ฯ (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) ๑๐๓สาระท่ี ๖ ฟิสิกส์มาตรฐาน ว ๖.๓ เข้าใจแรงไฟฟ้าและกฎของคลู อมบ์ สนามไฟฟ้า ศักย์ไฟฟ้า ความจุไฟฟา้ กระแสไฟฟ้าและกฎของโอห์ม วงจรไฟฟา้ กระแสตรง พลังงานไฟฟ้าและกาลงั ไฟฟา้ การเปล่ยี นพลังงานทดแทนเปน็ พลงั งานไฟฟา้ สนามแมเ่ หล็ก แรงแม่เหล็กทก่ี ระทากับประจุไฟฟ้าและกระแสไฟฟา้ การเหนีย่ วนาแมเ่ หล็กไฟฟ้าและกฎของฟาราเดย์ ไฟฟ้ากระแสสลับ คล่ืนแมเ่ หล็กไฟฟ้าและการส่อื สาร รวมท้งั นาความร้ไู ปใช้ประโยชน์ ตัวชี้วัดชนั้ ปีม.๔ ม.๕ ม.๖- เน้นวทิ ยาศาสตร์ เนน้ วิทยาศาสตร์ ๑. ทดลองและอธิบายการทาวตั ถทุ เ่ี ปน็ ๑. สงั เกตและอธบิ ายเสน้ สนามแมเ่ หลก็ กลางทางไฟฟ้าใหม้ ีประจุไฟฟา้ โดยการ อธิบายและคานวณฟลักซแ์ มเ่ หล็กในอ ู่ยระห ่วาง ํดเาอเกนิสนากรา ้ตรนจัฉด ับพิบมพ์ ขดั สีกันและการเหนี่ยวนาไฟฟ้าสถติ บริเวณทีก่ าหนด รวมทง้ั สังเกต และ ๒. อธิบายและคานวณแรงไฟฟ้าตามกฎ อธบิ ายสนามแมเ่ หล็กทเี่ กิดจาก ของคูลอมบ์ กระแสไฟฟา้ ในลวดตัวนาเส้นตรง และ ๓. อธบิ ายและคานวณสนามไฟฟ้าและแรง โซเลนอยด์ ไฟฟา้ ท่ีกระทากบั อนภุ าคทม่ี ีประจไุ ฟฟา้ ๒. อธิบายและคานวณแรงแมเ่ หลก็ ท่ี ทอี่ ยูใ่ นสนามไฟฟา้ รวมทง้ั หาสนามไฟฟา้ กระทาต่ออนุภาคทม่ี ีประจไุ ฟฟ้าเคลือ่ นที่ ลัพธ์เนอื่ งจากระบบจุดประจโุ ดยรวมกนั ในสนามแม่เหล็ก แรงแมเ่ หลก็ ท่กี ระทา แบบเวกเตอร์ ตอ่ เส้นลวดที่มกี ระแสไฟฟ้าผ่านและวาง ๔.อธิบายและคานวณพลงั งานศักย์ไฟฟา้ ในสนามแม่เหลก็ รัศมคี วามโคง้ ของการ ศักย์ไฟฟ้า และความตา่ งศกั ย์ระหว่าง เคลอื่ นทเี่ มอ่ื ประจเุ คล่ือนทต่ี ้งั ฉากกับ สองตาแหน่งใด ๆ สนามแมเ่ หล็ก รวมทง้ั อธิบายแรง ๕. อธิบายสว่ นประกอบของตัวเกบ็ ประจุ ระหวา่ งเสน้ ลวดตัวนาคู่ขนานท่มี ี ความสมั พนั ธร์ ะหว่างประจุไฟฟ้า ความ กระแสไฟฟา้ ผ่าน ต่างศักย์ และความจุของตวั เกบ็ ประจุ ๓. อธบิ ายหลกั การทางานของ และอธิบายพลังงานสะสมในตวั เกบ็ ประจุ แกลแวนอมิเตอร์และมอเตอรไ์ ฟฟา้ และความจุสมมูล รวมทง้ั คานวณปริมาณ กระแสตรง รวมท้ังคานวณปริมาณต่างๆ ตา่ ง ๆ ที่เกี่ยวข้อง ทเ่ี กีย่ วข้อง ๖. นาความรูเ้ รอื่ งไฟฟ้าสถติ ไปอธบิ าย ๔. สงั เกตและอธิบายการเกดิ อีเอม็ เอฟ หลกั การทางานของเครือ่ งใชไ้ ฟฟา้ บาง เหน่ียวนา กฎการเหน่ยี วนาของฟาราเดย์ ชนดิ และปรากฏการณ์ในชวี ิตประจาวนั และคานวณปรมิ าณต่าง ๆ ทเ่ี ก่ยี วข้อง ๗. อธบิ ายการเคลื่อนท่ขี องอเิ ล็กตรอน รวมทงั้ นาความรเู้ รื่องอีเอม็ เอฟเหนยี่ วนา อสิ ระและกระแสไฟฟ้าในลวดตัวนา ไปอธิบายการทางานของเครื่องใช้ไฟฟ้า ความสมั พันธร์ ะหว่างกระแสไฟฟา้ ในลวด ๕. อธบิ ายและคานวณความต่างศกั ย์อาร์ ตวั นากบั ความเร็วลอยเลื่อนของ เอ็มเอส และกระแสไฟฟ้าอาร์เอม็ เอส อเิ ลก็ ตรอนอสิ ระ ความหนาแนน่ ของ ๖. อธิบายหลักการทางานและประโยชน์ อเิ ล็กตรอนในลวดตัวนาและพ้ืนทหี่ นา้ ตัด ของเครื่องกาเนดิ ไฟฟา้ กระแสสลบั ๓ ของลวดตัวนา และคานวณปริมาณต่าง ๆ เฟส การแปลงอเี อม็ เอฟของหมอ้ แปลง ทเี่ ก่ยี วขอ้ ง และคานวณปรมิ าณต่าง ๆ ทเ่ี ก่ยี วข้อง ๘. อธบิ ายกฎของโอหม์ ความสัมพันธ์ ๗. อธิบายการเกดิ และลกั ษณะเฉพาะของ ระหวา่ งความต้านทานกบั ความยาว คลนื่ แมเ่ หล็กไฟฟ้า แสงไม่โพลาไรส์ แสง พ้นื ทีห่ นา้ ตดั และสภาพต้านทานของ โพลาไรสเ์ ชิงเสน้ และแผ่นโพลารอยด์
มาตรฐานการเรยี นรแู้ ละตัวชี้วดั ฯ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) ๑๐๔สาระท่ี ๖ ฟสิ ิกส์มาตรฐาน ว ๖.๓ เข้าใจแรงไฟฟา้ และกฎของคลู อมบ์ สนามไฟฟ้า ศักย์ไฟฟา้ ความจุไฟฟ้า กระแสไฟฟา้ และกฎของโอห์ม วงจรไฟฟ้ากระแสตรง พลงั งานไฟฟา้ และกาลงั ไฟฟา้ การเปล่ยี นพลังงานทดแทนเปน็ พลงั งานไฟฟา้ สนามแม่เหล็ก แรงแม่เหลก็ ทีก่ ระทากับประจุไฟฟ้าและกระแสไฟฟา้ การเหนย่ี วนาแมเ่ หลก็ ไฟฟา้ และกฎของฟาราเดย์ ไฟฟ้ากระแสสลับ คล่ืนแมเ่ หล็กไฟฟ้าและการสือ่ สาร รวมท้ังนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ ตวั ช้วี ดั ชั้นปีม.๔ ม.๕ ม.๖ ตัวนาโลหะทีอ่ ณุ หภูมิคงตัว และคานวณ รวมทัง้ อธิบายการนาคล่ืนแมเ่ หลก็ ไฟฟา้ ปริมาณตา่ ง ๆ ทเ่ี กี่ยวขอ้ ง รวมทง้ั ในชว่ งความถ่ีต่าง ๆ ไปประยุกต์ใช้และ อธบิ ายและคานวณความต้านทานสมมลู หลักการทางานของอุปกรณท์ เ่ี กี่ยวข้องอ ู่ยระห ่วาง ํดเาอเกนิสนากรา ้ตรนจัฉด ับพิบมพ์ เมอื่ นาตวั ต้านทานมาตอ่ กนั แบบอนุกรม ๘. สบื คน้ และอธิบายการสือ่ สารโดยอาศยั และแบบขนาน คล่นื แม่เหลก็ ไฟฟา้ ในการสง่ ผา่ น ๙. ทดลอง อธิบายและคานวณอีเอม็ เอฟ สารสนเทศ และเปรยี บเทียบการสื่อสาร ของแหล่งกาเนดิ ไฟฟา้ กระแสตรง รวมทง้ั ดว้ ยสญั ญาณแอนะล็อกกับสญั ญาณดิจิทลั อธิบายและคานวณพลงั งานไฟฟ้า และ กาลงั ไฟฟ้า ๑๐. ทดลองและคานวณอเี อม็ เอฟสมมลู จากการต่อแบตเตอร่แี บบอนุกรมและ แบบขนาน รวมทงั้ คานวณปรมิ าณต่าง ๆ ท่เี กย่ี วขอ้ งในวงจรไฟฟา้ กระแสตรงซ่งึ ประกอบดว้ ยแบตเตอรแ่ี ละตัวตา้ นทาน ๑๑. อธิบายการเปลี่ยนพลงั งานทดแทน เป็นพลงั งานไฟฟา้ รวมทัง้ สบื คน้ และ อภิปรายเกยี่ วกบั เทคโนโลยอี ่ืน ๆ ที่นามา แกป้ ัญหาหรือตอบสนองความตอ้ งการ ทางด้านพลงั งานไฟฟ้า
มาตรฐานการเรียนรแู้ ละตวั ชว้ี ัด ฯ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ๑๐๕สาระท่ี ๖ ฟิสิกส์มาตรฐาน ว ๖.๔ เข้าใจความสัมพนั ธข์ องความร้อนกบั การเปลยี่ นอุณหภมู แิ ละสถานะของสสาร สภาพยดื หยุ่นของวสั ดุและมอดลุ ัสของยัง ความดันในของไหล แรงพยุงและหลกั ของอาร์คมิ ีดีส ความตึงผวิ และแรงหนดืของของเหลว ของไหลอดุ มคติและสมการแบรน์ ูลลี กฎของแกส๊ ทฤษฎีจลนข์ องแก๊สอุดมคตแิ ละพลังงานในระบบ ทฤษฎอี ะตอมของโบร์ ปรากฏการณ์โฟโตอิเลก็ ทริก ทวิภาวะของคลืน่ และอนภุ าคกมั มันตภาพรงั สี แรง นวิ เคลียร์ ปฏิกริ ยิ านวิ เคลียร์ พลงั งานนิวเคลียร์ ฟสิ กิ ส์อนภุ าค รวมท้งั นาความรู้ไปใช้ประโยชน์ ตัวช้วี ดั ชนั้ ปีม.๔ ม.๕ ม.๖- - เน้นวิทยาศาสตร์ ๑. อธบิ ายและคานวณความรอ้ นที่ทาให้อ ู่ยระห ่วาง ํดเาอเกนิสนากรา ้ตรนจัฉด ับพิบมพ์ สสารเปลีย่ นอุณหภมู ิ ความร้อนทท่ี าให้ สสารเปลยี่ นสถานะ และความร้อนที่เกดิ จากการถ่ายโอนตามกฎการอนุรักษ์ พลังงาน ๒. อธิบายสภาพยดื หยุ่นและลกั ษณะการยดื และหดตัวของวัสดทุ เี่ ป็นแท่งเมื่อถูก กระทาด้วยแรงค่าต่าง ๆ รวมทัง้ ทดลอง อธิบายและคานวณความเค้นตามยาว ความเครยี ดตามยาว และมอดลุ สั ของยงั และนาความรเู้ ร่ืองสภาพยดื หยุน่ ไปใช้ในชีวติ ประจาวัน ๓. อธบิ ายและคานวณความดนั เกจ ความดัน สัมบูรณ์ และความดันบรรยากาศ รวมทง้ั อธิบายหลักการทางานของแมนอมิเตอร์ บารอมิเตอร์ และเครอ่ื งอดั ไฮดรอลิก ๔. ทดลอง อธิบายและคานวณขนาดแรงพยงุ จากของไหล ๕. ทดลอง อธบิ ายและคานวณความตึงผวิ ของของเหลว รวมทงั้ สังเกตและอธิบาย แรงหนืดของของเหลว ๖. อธบิ ายสมบัติของของไหลอดุ มคติ สมการ ความตอ่ เนอ่ื ง และสมการแบร์นลู ลี รวมทั้งคานวณปริมาณตา่ ง ๆ ท่ีเกย่ี วข้อง และนาความร้เู กย่ี วกับสมการความ ตอ่ เนือ่ งและสมการแบรน์ ูลลไี ปอธบิ าย หลกั การทางานของอุปกรณต์ า่ ง ๆ ๗. อธบิ ายกฎของแกส๊ อุดมคตแิ ละคานวณ ปริมาณต่าง ๆ ทเ่ี ก่ยี วขอ้ ง ๘. อธิบายแบบจาลองของแก๊สอดุ มคติ ทฤษฎีจลน์
มาตรฐานการเรยี นรู้และตวั ชีว้ ัด ฯ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ๑๐๖สาระที่ ๖ ฟิสกิ ส์มาตรฐาน ว ๖.๔ เขา้ ใจความสัมพนั ธ์ของความร้อนกบั การเปลยี่ นอณุ หภมู แิ ละสถานะของสสาร สภาพยดื หยุน่ ของวัสดุและมอดลุ ัสของยัง ความดนั ในของไหล แรงพยุงและหลักของอาร์คิมดี ีส ความตึงผวิ และแรงหนดืของของเหลว ของไหลอดุ มคติและสมการแบรน์ ลู ลี กฎของแกส๊ ทฤษฎจี ลนข์ องแก๊สอุดมคติและพลงั งานในระบบ ทฤษฎอี ะตอมของโบร์ ปรากฏการณโ์ ฟโตอเิ ลก็ ทริก ทวิภาวะของคลนื่ และอนภุ าคกมั มนั ตภาพรังสี แรง นวิ เคลยี ร์ ปฏกิ ริ ิยานิวเคลยี ร์ พลังงานนวิ เคลียร์ ฟสิ ิกสอ์ นุภาค รวมทงั้ นาความรู้ไปใชป้ ระโยชน์ ตัวช้วี ดั ช้นั ปีม.๔ ม.๕ ม.๖ ของแก๊ส และอัตราเรว็ อาร์เอม็ เอสของ โมเลกุลของแก๊ส รวมทัง้ คานวณปรมิ าณอ ู่ยระห ่วาง ํดเาอเกนิสนากรา ้ตรนจัฉด ับพิบมพ์ ตา่ ง ๆ ทเี่ กย่ี วขอ้ ง ๙. อธบิ ายและคานวณงานท่ที าโดยแก๊สใน ภาชนะปดิ โดยความดนั คงตวั และอธบิ าย ความสัมพันธร์ ะหว่างความรอ้ น พลังงาน ภายในระบบ และงาน รวมท้ังคานวณ ปรมิ าณตา่ งๆ ทเี่ ก่ยี วข้อง และนาความรู้ เรอื่ งพลังงานภายในระบบไปอธบิ าย หลักการทางานของเครื่องใชใ้ นชวี ิต ประจาวัน ๑๐. อธิบายสมมตฐิ านของพลังค์ ทฤษฎี อะตอมของโบร์ และการเกดิ เส้น สเปกตรัมของอะตอมไฮโดรเจน รวมทง้ั คานวณปรมิ าณต่าง ๆ ทเี่ กี่ยวขอ้ ง ๑๑. อธบิ ายปรากฏการณ์โฟโตอเิ ล็กทรกิ และ คานวณพลงั งานโฟตอน พลังงานจลนข์ อง โฟโตอิเล็กตรอนและฟงั กช์ นั งานของโลหะ ๑๒. อธิบายทวิภาวะของคล่ืนและอนภุ าค รวมทัง้ อธบิ ายและคานวณความยาวคล่ืน เดอบรอยล์ ๑๓. อธบิ ายกมั มันตภาพรังสีและความ แตกต่างของรงั สแี อลฟา บีตาและแกมมา ๑๔. อธิบายและคานวณ กมั มนั ตภาพของ นิวเคลียส กัมมันตรังสี รวมท้ัง ทดลอง อธิบาย และคานวณจานวนนิวเคลยี ส กมั มันตภาพรงั สที ่ีเหลือจากการสลาย และครึง่ ชวี ติ ๑๕. อธิบายแรงนวิ เคลยี ร์ เสถยี รภาพของ นิวเคลียส และพลงั งานยดึ เหนยี่ ว รวมทง้ั คานวณปรมิ าณตา่ ง ๆ ทเี่ กย่ี วขอ้ ง ๑๖. อธิบายปฏิกิรยิ านิวเคลยี ร์ ฟชิ ชนั และ
มาตรฐานการเรียนรูแ้ ละตวั ชวี้ ัด ฯ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ๑๐๗สาระที่ ๖ ฟสิ กิ ส์มาตรฐาน ว ๖.๔ เข้าใจความสัมพนั ธข์ องความร้อนกับการเปล่ยี นอณุ หภูมิและสถานะของสสาร สภาพยืดหย่นุ ของวัสดุและมอดุลัสของยงั ความดนั ในของไหล แรงพยุงและหลกั ของอาร์คมิ ีดีส ความตึงผิวและแรงหนืดของของเหลว ของไหลอุดมคติและสมการแบรน์ ลู ลี กฎของแกส๊ ทฤษฎีจลนข์ องแกส๊ อุดมคตแิ ละพลังงานในระบบ ทฤษฎีอะตอมของโบร์ ปรากฏการณโ์ ฟโตอเิ ล็กทริก ทวิภาวะของคลน่ื และอนภุ าคกมั มันตภาพรังสี แรง นวิ เคลยี ร์ ปฏกิ ิรยิ านิวเคลียร์ พลงั งานนวิ เคลียร์ ฟิสกิ ส์อนภุ าค รวมท้งั นาความรู้ไปใชป้ ระโยชน์ ตวั ช้วี ดั ชน้ั ปีม.๔ ม.๕ ม.๖ ฟวิ ชนั รวมทัง้ คานวณพลังงานนวิ เคลยี ร์ ๑๗. อธิบายประโยชน์ของพลังงานนิวเคลยี ร์อ ู่ยระห ่วาง ํดเาอเกนิสนากรา ้ตรนจัฉด ับพิบมพ์ และรังสี รวมท้ัง อันตรายและการปอ้ งกนั รังสีในดา้ นต่าง ๆ ๑๘. อธบิ ายการค้นควา้ วิจยั ด้านฟสิ กิ ส์ อนภุ าคแบบจาลองมาตรฐาน และการใช้ ประโยชน์จากการคน้ ควา้ วจิ ยั ดา้ นฟสิ ิกส์ อนุภาคในด้านต่าง ๆ
มาตรฐานการเรยี นรู้และตัวช้ีวัด ฯ (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ๑๐๘สาระที่ ๗ โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศมาตรฐาน ว ๗.๑ เขา้ ใจกระบวนการเปล่ียนแปลงภายในโลก ธรณพี ิบตั ิภัย และผลตอ่ ส่งิ มชี ีวิตและ ส่งิ แวดล้อม การศึกษาลาดับช้ันหนิ ทรพั ยากรธรณี แผนท่ี และการนาไปใช้ประโยชน์ ตวั ชี้วัดชัน้ ปี ม.๔ ม.๕ ม.๖เนน้ วิทยาศาสตร์ --๑. อธบิ ายการแบ่งชน้ั และสมบัติของโครงสรา้ งโลก พร้อมยกตัวอย่างขอ้ มลู ท่ีสนบั สนนุ๒. อธบิ ายหลกั ฐานทางธรณีวทิ ยาที่สนบั สนนุ การเคลือ่ นทขี่ องแผน่ ธรณีอ ู่ยระห ่วาง ํดเาอเกนิสนากรา ้ตรนจัฉด ับพิบมพ์๓. ระบสุ าเหตุและอธบิ ายรปู แบบแนวรอยตอ่ ของแผ่นธรณที ีส่ มั พนั ธก์ บั การเคลื่อนทขี่ องแผน่ ธรณี พรอ้ มยกตวั อย่างหลักฐานทางธรณีวิทยาท่พี บ๔. วเิ คราะหห์ ลักฐานทางธรณวี ทิ ยาที่พบในปัจจบุ ัน และอธิบายลาดับเหตกุ ารณ์ทางธรณวี ิทยาในอดีต๕. อธบิ ายสาเหตุกระบวนการเกดิ ภูเขาไฟระเบดิ และปัจจัยท่ีทาให้ความรนุ แรงของการปะทแุ ละรูปร่างของภูเขาไฟแตกต่างกนั รวมทั้งสืบค้นข้อมลู พน้ื ที่เส่ยี งภัย ออกแบบและนาเสนอแนวทางการเฝ้าระวงั และการปฏบิ ัตติ นให้ปลอดภัย๖. อธบิ ายสาเหตุ กระบวนการเกดิ ขนาดและความรนุ แรง และผลจากแผ่นดนิ ไหวรวมทั้งสืบคน้ ข้อมลู พน้ื ที่เสีย่ งภยัออกแบบและนาเสนอแนวทางการเฝา้ระวงั และการปฏบิ ตั ติ นให้ปลอดภยั๗. อธบิ ายสาเหตุ กระบวนการเกดิ และผลจากสึนามิ รวมทง้ั สืบค้นข้อมลู พน้ื ที่เสี่ยงภยั ออกแบบและนาเสนอแนวทางการเฝา้ ระวงั และการปฏบิ ตั ิตนใหป้ ลอดภยั๘. ตรวจสอบ และระบุชนดิ แร่ รวมท้งัวเิ คราะหส์ มบตั ิและนาเสนอการใช้ประโยชนจ์ ากทรัพยากรแร่ท่ีเหมาะสม๙. ตรวจสอบ จาแนกประเภท และระบุช่อื หนิ รวมทง้ั วิเคราะหส์ มบตั แิ ละ
มาตรฐานการเรียนรแู้ ละตวั ชว้ี ัด ฯ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ๑๐๙สาระท่ี ๗ โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศมาตรฐาน ว ๗.๑ เขา้ ใจกระบวนการเปลย่ี นแปลงภายในโลก ธรณีพบิ ตั ภิ ัย และผลต่อสิ่งมีชีวิตและ สิง่ แวดลอ้ ม การศึกษาลาดับช้ันหนิ ทรัพยากรธรณี แผนที่ และการนาไปใช้ประโยชน์ ตัวช้วี ัดช้นั ปี ม.๔ ม.๕ ม.๖ นาเสนอการใช้ประโยชน์ของทรพั ยากร หนิ ที่เหมาะสม๑๐. อธิบายกระบวนการเกดิ และการ สารวจแหล่งปโิ ตรเลียมและถ่านหนิ โดย ใชข้ อ้ มลู ทางธรณวี ิทยา๑๑. อธิบายสมบตั ิของผลติ ภณั ฑท์ ่ีไดจ้ าก ปโิ ตรเลยี มและถ่านหิน พรอ้ มนาเสนอ การใชป้ ระโยชนอ์ ย่างเหมาะสม๑๒. อา่ นและแปลความหมายจากแผนที่ ภมู ิประเทศและแผนทธ่ี รณวี ิทยาของ พนื้ ทีท่ ก่ี าหนด พร้อมทั้งอธบิ ายและ ยกตัวอย่างการนาไปใชป้ ระโยชน์อ ู่ยระห ่วาง ํดเาอเกนิสนากรา ้ตรนจัฉด ับพิบมพ์
มาตรฐานการเรียนรแู้ ละตวั ชวี้ ัด ฯ (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) ๑๑๐สาระที่ ๗ โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศมาตรฐาน ว ๗.๒ เขา้ ใจสมดุลพลงั งานของโลก การหมุนเวียนของอากาศบนโลก การหมุนเวยี นของน้าในมหาสมุทรการเกิดเมฆ การเปล่ยี นแปลงภูมิอากาศโลก และผลต่อส่ิงมีชวี ิตและส่งิ แวดล้อม รวมทง้ั การพยากรณ์อากาศ ตัวช้ีวดั ช้นั ปีม.๔ ม.๕ ม.๖- เนน้ วิทยาศาสตร์ - ๑. อธิบายปจั จัยสาคญั ท่ีมีผลต่อการรบั และ คายพลังงานจากดวงอาทติ ย์แตกตา่ งกัน และผลที่มตี อ่ อุณหภมู อิ ากาศในแตล่ ะ บรเิ วณของโลก ๒. อธบิ ายกระบวนการทีท่ าใหเ้ กิดสมดลุ พลงั งานของโลกอ ู่ยระห ่วาง ํดเาอเกนิสนากรา ้ตรนจัฉด ับพิบมพ์๓. อธิบายผลของแรงเน่ืองจากความแตกต่าง ของความกดอากาศ แรงคอริออลสิ แรงสู่ ศูนยก์ ลาง และแรงเสยี ดทานทีม่ ตี อ่ การ หมุนเวียนของอากาศ ๔. อธบิ ายการหมุนเวยี นของอากาศตามเขต ละตจิ ดู และผลที่มตี ่อภมู อิ ากาศ ๕. อธิบายปจั จยั ทท่ี าให้เกดิ การแบง่ ชน้ั น้าใน มหาสมุทร ๖. อธิบายปัจจยั ทท่ี าให้เกดิ การหมนุ เวียนของ นา้ ในมหาสมุทรและรปู แบบการหมนุ เวยี น ของนา้ ในมหาสมุทร ๗. อธิบายผลของการหมนุ เวยี นของน้าใน มหาสมทุ รทีม่ ตี อ่ ลกั ษณะลมฟ้าอากาศ สง่ิ มชี ีวิต และสิง่ แวดล้อม ๘. อธบิ ายความสมั พันธร์ ะหวา่ งเสถียรภาพ อากาศและการเกดิ เมฆ ๙. อธิบายการเกิดแนวปะทะอากาศแบบตา่ ง ๆ และลกั ษณะลมฟ้าอากาศทเี่ ก่ยี วขอ้ ง ๑๐. อธบิ ายปจั จยั ตา่ ง ๆ ทีม่ ีผลตอ่ การ เปลี่ยนแปลงภูมอิ ากาศของโลก พรอ้ ม ยกตวั อยา่ งข้อมูลสนับสนนุ ๑๑. วิเคราะห์ และอภิปรายเหตุการณ์ที่เปน็ ผลจากการเปลี่ยนแปลงภูมอิ ากาศโลก และ นาเสนอแนวปฏบิ ตั ขิ องมนุษยท์ ่มี สี ว่ นชว่ ย ในการชะลอการเปลย่ี นแปลงภมู อิ ากาศโลก ๑๒. แปลความหมายสญั ลกั ษณล์ มฟา้ อากาศ บนแผนทอี่ ากาศ ๑๓. วิเคราะห์ และคาดการณล์ ักษณะลมฟ้า อากาศเบ้ืองต้นจากแผนที่อากาศและขอ้ มลู สารสนเทศอน่ื ๆ เพ่อื วางแผนในการ ประกอบอาชีพและการดาเนนิ ชีวติ ให้ สอดคลอ้ งกับสภาพลมฟ้าอากาศ
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชีว้ ัด ฯ (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ๑๑๑สาระท่ี ๗ โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศอ ู่ยระห ่วาง ํดเาอเกนิสนากรา ้ตรนจัฉด ับพิบมพ์มาตรฐาน ว ๗.๓ เขา้ ใจองค์ประกอบ ลักษณะ กระบวนการเกดิ และววิ ฒั นาการของเอกภพ กาแล็กซี ดาวฤกษ์ และระบบสรุ ิยะ ความสัมพนั ธข์ องดาราศาสตร์กบั มนุษยจ์ ากการศึกษาตาแหนง่ ดาวบนทรงกลมฟ้า และปฏิสมั พันธภ์ ายในระบบสรุ ยิ ะ รวมทั้งการประยุกต์ใช้เทคโนโลยอี วกาศในการดารงชีวติ ตัวชี้วดั ชัน้ ปี ม.๔ ม.๕ ม.๖ เนน้ วทิ ยาศาสตร์ ๑. อธบิ ายการกาเนดิ และการเปลย่ี นแปลง พลังงาน สสาร ขนาดอณุ หภมู ิของ เอกภพหลงั เกดิ บิกแบงในช่วงเวลาตา่ ง ๆ ตามววิ ฒั นาการของเอกภพ ๒. อธิบายหลกั ฐานที่สนับสนนุ ทฤษฎี บิกแบง จากความสมั พันธร์ ะหวา่ ง ความเรว็ กบั ระยะทางของกาแล็กซี รวมทั้งขอ้ มลู การคน้ พบไมโครเวฟพืน้ หลงั จากอวกาศ ๓. อธบิ ายโครงสรา้ งและองคป์ ระกอบของ กาแล็กซีทางชา้ งเผอื ก และระบุ ตาแหน่งของระบบสรุ ยิ ะพรอ้ มอธบิ าย เช่อื มโยงกับการสงั เกตเห็นทางช้างเผอื ก ของคนบนโลก ๔. อธบิ ายกระบวนการเกดิ ดาวฤกษ์ โดย แสดงการเปลย่ี นแปลงความดัน อุณหภมู ิ ขนาด จากดาวฤกษก์ ่อนเกิด จนเป็นดาวฤกษ์ ๕. อธบิ ายกระบวนการสร้างพลงั งานของ ดาวฤกษแ์ ละผลทีเ่ กดิ ขน้ึ โดยวเิ คราะห์ ปฏกิ ิรยิ าลูกโซโ่ ปรตอน-โปรตอน และวฏั จกั รคาร์บอน ไนโตรเจน ออกซิเจน ๖. ระบปุ จั จัยทสี่ ง่ ผลตอ่ ความส่องสวา่ งของ ดาวฤกษ์ และอธิบายความสมั พนั ธ์ ระหวา่ งความส่องสวา่ งกบั โชติมาตรของ ดาวฤกษ์ ๗. อธบิ ายความสมั พันธร์ ะหวา่ งสี อณุ หภูมิ ผิว และสเปกตรัมของดาวฤกษ์ ๘. อธบิ ายวิธีการหาระยะทางของดาวฤกษ์ ดว้ ยหลักการแพรลั แลกซ์ พร้อม คานวณหาระยะทางของดาวฤกษ์ ๙. อธิบายลาดบั วิวัฒนาการทส่ี มั พนั ธก์ บั มวลตัง้ ตน้ และวิเคราะห์การ เปล่ยี นแปลงสมบตั บิ างประการของ
มาตรฐานการเรยี นรูแ้ ละตวั ช้ีวดั ฯ (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ๑๑๒สาระท่ี ๗ โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศอ ู่ยระห ่วาง ํดเาอเกนิสนากรา ้ตรนจัฉด ับพิบมพ์มาตรฐาน ว ๗.๓ เขา้ ใจองค์ประกอบ ลกั ษณะ กระบวนการเกดิ และวิวัฒนาการของเอกภพ กาแลก็ ซี ดาวฤกษ์ และระบบสรุ ิยะ ความสมั พันธ์ของดาราศาสตร์กับมนุษยจ์ ากการศึกษาตาแหนง่ ดาวบนทรงกลมฟ้า และปฏิสัมพันธ์ภายในระบบสุริยะ รวมทั้งการประยุกต์ใชเ้ ทคโนโลยอี วกาศในการดารงชวี ิต ตวั ชว้ี ดั ช้ันปี ม.๔ ม.๕ ม.๖ ดาวฤกษใ์ นลาดับววิ ัฒนาการ จาก แผนภาพเฮริ ์ซปรงุ -รสั เซลล์ ๑๐. อธิบายกระบวนการเกดิ ระบบสุริยะ การแบง่ เขตบริวารของดวงอาทิตย์ และ ลักษณะของดาวเคราะห์ทเี่ อ้อื ตอ่ การ ดารงชีวิต ๑๑. อธบิ ายการโคจรของดาวเคราะห์รอบ ดวงอาทิตย์ด้วยกฏเคพเลอร์ และกฎ ความโนม้ ถ่วงของนิวตัน พร้อมคานวณ คาบการโคจรของดาวเคราะห์ ๑๒. อธิบายโครงสรา้ งของดวงอาทติ ย์ การ เกดิ ลมสรุ ยิ ะ พายสุ รุ ยิ ะ และวเิ คราะห์ นาเสนอปรากฏการณ์หรือเหตกุ ารณท์ ี่ เก่ียวข้องกบั ผลของลมสรุ ยิ ะ และพายุ สุริยะท่ีมีตอ่ โลกรวมท้งั ประเทศไทย ๑๓. สรา้ งแบบจาลองทรงกลมฟ้า สงั เกต และเช่อื มโยงจุดและเสน้ สาคัญของ แบบจาลองทรงกลมฟ้ากบั ท้องฟา้ จริง และอธบิ ายการระบุพิกดั ของดาวใน ระบบขอบฟา้ และระบบศนู ย์สตู ร ๑๔. สังเกตทอ้ งฟา้ และอธิบายเสน้ ทาง การข้ึน การตกของดวงอาทิตย์และดาว ฤกษ์ ๑๕. อธิบายเวลาสรุ ยิ คติปรากฏ โดย รวบรวมข้อมลู และเปรียบเทียบเวลา ขณะที่ดวงอาทติ ยผ์ ่านเมริเดียนของผู้ สงั เกตในแตล่ ะวนั ๑๖. อธิบายเวลาสุรยิ คติปานกลาง และ การเปรยี บเทยี บเวลาของแต่ละเขตเวลา บนโลก ๑๗. อธบิ ายมมุ ห่างท่สี มั พนั ธ์กับตาแหน่ง ในวงโคจร และอธบิ ายเชอ่ื มโยงกบั ตาแหนง่ ปรากฏของดาวเคราะห์ที่ สงั เกตได้จากโลก ๑๘. สบื คน้ ข้อมลู อธบิ ายการสารวจ อวกาศโดยใช้กลอ้ งโทรทรรศนใ์ นช่วง ความยาวคลน่ื ต่าง ๆ ดาวเทียม ยาน
มาตรฐานการเรียนรแู้ ละตัวช้ีวดั ฯ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) ๑๑๓สาระท่ี ๗ โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศมาตรฐาน ว ๗.๓ เข้าใจองค์ประกอบ ลักษณะ กระบวนการเกิด และววิ ฒั นาการของเอกภพ กาแล็กซี ดาวฤกษ์ และระบบสุริยะ ความสัมพนั ธข์ องดาราศาสตร์กบั มนุษยจ์ ากการศึกษาตาแหน่งดาวบนทรงกลมฟ้า และปฏสิ มั พันธ์ภายในระบบสุรยิ ะ รวมทั้งการประยุกต์ใชเ้ ทคโนโลยอี วกาศในการดารงชีวติ ตวั ชีว้ ัดชั้นปี ม.๔ ม.๕ ม.๖ อวกาศ สถานอี วกาศ และนาเสนอ แนวคิดการนาความรู้ทางด้าน เทคโนโลยอี วกาศมาประยกุ ตใ์ ช้ใน ชีวิตประจาวันหรอื ในอนาคต ๑๙. สบื ค้นขอ้ มลู ออกแบบและนาเสนอ กิจกรรมการสังเกตดาวบนท้องฟ้าดว้ ย ตาเปลา่ และ/หรือกลอ้ งโทรทรรศน์อ ู่ยระห ่วาง ํดเาอเกนิสนากรา ้ตรนจัฉด ับพิบมพ์
มาตรฐานการเรียนรแู้ ละตัวชว้ี ดั ฯ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) ๑๑๔สาระท่ี ๘ เทคโนโลยีมาตรฐาน ว ๘.๑ เขา้ ใจแนวคดิ หลกั ของเทคโนโลยีเพือ่ การดารงชีวติ ในสงั คมที่มกี ารเปลย่ี นแปลงอย่างรวดเรว็ ใช้ ความรูแ้ ละทกั ษะทางด้านวิทยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์ และศาสตร์อ่ืนๆ เพ่ือแกป้ ญั หาหรือพัฒนางาน อย่างมคี วามคดิ สรา้ งสรรคด์ ว้ ยกระบวนการออกแบบเชิงวศิ วกรรม เลือกใชเ้ ทคโนโลยอี ยา่ ง เหมาะสมโดยคานึงถงึ ผลกระทบต่อชีวติ สังคม และสง่ิ แวดล้อม ตวั ชวี้ ัดชน้ั ปี ป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ป. ๖ ------สาระที่ ๘ เทคโนโลยีอ ู่ยระห ่วาง ํดเาอเกนิสนากรา ้ตรนจัฉด ับพิบมพ์มาตรฐาน ว ๘.๑ เข้าใจแนวคดิ หลักของเทคโนโลยเี พอ่ื การดารงชีวิตในสังคมท่ีมีการเปล่ยี นแปลงอย่างรวดเร็ว ใช้ ความรู้และทักษะทางด้านวทิ ยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์ และศาสตร์อื่นๆ เพ่ือแก้ปญั หาหรือพัฒนางาน อยา่ งมีความคิดสร้างสรรค์ด้วยกระบวนการออกแบบเชงิ วิศวกรรม เลอื กใชเ้ ทคโนโลยอี ย่าง เหมาะสมโดยคานงึ ถงึ ผลกระทบต่อชวี ิต สงั คม และสิ่งแวดล้อม ตวั ช้ีวดั ช้ันปีม.๑ ม.๒ ม.๓ ม.๔ ม.๕ ม.๖๑. อธิบายแนวคดิ ๑. คาดการณ์ ๑. วิเคราะหส์ าเหตุ ๑. วิเคราะห์แนวคดิ ๑. ประยกุ ตใ์ ช้ -หลกั ของ แนวโน้ม หรอื ปัจจยั ทส่ี ง่ ผล หลักของ ความรู้และเทคโนโลยีใน เทคโนโลยีทจ่ี ะ ต่อการ เทคโนโลยี ทกั ษะจากชีวิตประจาวัน เกดิ ข้ึนโดย เปลี่ยนแปลงของ ความสมั พันธ์กับ ศาสตร์ตา่ งๆและวิเคราะห์ พิจารณาจาก เทคโนโลยี และ ศาสตรอ์ ื่น รวมท้ังทรัพยากรสาเหตุหรอื ปัจจยั สาเหตุ หรือ ความสัมพันธ์ของ โดยเฉพาะ ในการทาทส่ี ่งผลต่อการ ปัจจยั ที่ส่งผลตอ่ เทคโนโลยีกับ วิทยาศาสตร์ โครงงานเพื่อเปล่ยี นแปลงของ การเปลยี่ นแปลง ศาสตรอ์ นื่ หรือคณติ ศาสตร์ แก้ปญั หาหรอืเทคโนโลยี ของเทคโนโลยี โดยเฉพาะ รวมท้งั พัฒนางาน๒. ระบุปญั หาหรอื และวิเคราะห์ วิทยาศาสตร์ หรือ ประเมนิ ผลความต้องการใน เปรียบเทยี บ คณติ ศาสตร์ เพ่อื กระทบท่จี ะชีวติ ประจาวัน ตดั สนิ ใจเลอื กใช้ เป็นแนวทางการ เกดิ ข้นึ ต่อมนุษย์รวบรวม เทคโนโลยี โดย แก้ปญั หาหรือ สังคม เศรษฐกิจวเิ คราะหข์ ้อมูล คานงึ ถึง พฒั นางาน และส่ิงแวดล้อมและแนวคดิ ที่ ผลกระทบท่ี ๒. ระบปุ ญั หาหรือ เพือ่ เป็นแนวทางเกี่ยวข้องกับ เกดิ ขน้ึ ตอ่ ชวี ติ ความต้องการของ ในการพฒั นาปญั หา สังคม และ ชุมชนหรอื ท้องถนิ่ เทคโนโลยี๓. ออกแบบวธิ กี าร สงิ่ แวดล้อม เพอ่ื พฒั นางาน ๒. ระบุปญั หาหรอืแก้ปญั หา โดย ๒. ระบปุ ญั หาหรือ อาชพี สรุปกรอบ ความต้องการทมี่ ีวิเคราะห์ ความตอ้ งการใน ของปัญหา ผลกระทบต่อเปรียบเทยี บ และ ชมุ ชนหรือ รวบรวม วิเคราะห์ สงั คม รวบรวมตัดสินใจเลอื ก ทอ้ งถ่นิ สรุป ข้อมลู และแนวคิด วิเคราะห์ข้อมูล
มาตรฐานการเรียนรู้และตวั ช้วี ัด ฯ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ๑๑๕สาระที่ ๘ เทคโนโลยีมาตรฐาน ว ๘.๑ เขา้ ใจแนวคิดหลักของเทคโนโลยเี พือ่ การดารงชวี ติ ในสังคมที่มกี ารเปล่ียนแปลงอยา่ งรวดเรว็ ใช้ ความรแู้ ละทกั ษะทางดา้ นวิทยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์ และศาสตร์อน่ื ๆ เพอ่ื แก้ปัญหาหรือพฒั นางาน อย่างมีความคิดสรา้ งสรรคด์ ว้ ยกระบวนการออกแบบเชงิ วิศวกรรม เลอื กใช้เทคโนโลยอี ย่าง เหมาะสมโดยคานงึ ถงึ ผลกระทบต่อชวี ิต สงั คม และสิ่งแวดล้อม ตัวชีว้ ัดชน้ั ปีม.๑ ม.๒ ม.๓ ม.๔ ม.๕ ม.๖ขอ้ มูลทจี่ าเปน็ กรอบของปัญหา ทเ่ี ก่ียวขอ้ งกบั และแนวคดิ ท่ีนาเสนอแนวทาง รวบรวม ปัญหา โดย เก่ยี วขอ้ งกบัการแกป้ ญั หาให้ วิเคราะหข์ ้อมลู คานึงถงึ ความ ปัญหาท่มี คี วามผู้อื่นเข้าใจ และแนวคดิ ที่ ถกู ตอ้ งดา้ น ซับซอ้ นเพอื่วางแผนและ เก่ียวข้องกบั ทรพั ย์สนิ ทาง สงั เคราะห์วิธกี าร อ ู่ยระห ่วาง ํดเาอเกนิสนากรา ้ตรนจัฉด ับพิบมพ์ดาเนินการ ปัญหา ปัญญา เทคนิคในการแก้ปญั หา ๓. ออกแบบวธิ ีการ ๓. ออกแบบวิธกี าร แกป้ ญั หา โดย๔. ทดสอบ แก้ปญั หา โดย แกป้ ญั หา โดย คานึงถงึ ความประเมินผล และ วิเคราะห์ วิเคราะห์ ถกู ต้องดา้ นระบขุ ้อบกพรอ่ งท่ี เปรยี บเทยี บ เปรยี บเทยี บ และ ทรัพย์สินทางเกิดขนึ้ พร้อมทง้ั และตดั สินใจ ตัดสนิ ใจเลือก ปัญญาหาแนวทางการ เลือกขอ้ มลู ท่ี ข้อมูลทจ่ี าเป็น ๓. ออกแบบวิธีการปรบั ปรุงแก้ไข จาเปน็ ภายใต้ ภายใตเ้ งื่อนไข แก้ปญั หา โดยและนาเสนอผล เงอ่ื นไขและ และทรัพยากรที่มี วเิ คราะห์การแก้ปญั หา ทรพั ยากรที่มอี ยู่ อยู่ นาเสนอ เปรียบเทยี บ และ๕. ใช้ความรู้และ นาเสนอแนวทาง แนวทางการ ตดั สินใจเลอื กทกั ษะเก่ียวกับ การแกป้ ญั หาให้ แกป้ ัญหาให้ผอู้ นื่ ขอ้ มลู ทจี่ าเป็นวัสดุ อุปกรณ์ ผูอ้ ่ืนเข้าใจ เข้าใจด้วยเทคนคิ ภายใต้เงอ่ื นไขเคร่ืองมือ กลไก วางแผน หรอื วธิ กี ารที่ และทรพั ยากรทม่ี ีไฟฟา้ หรอื ขน้ั ตอนการ หลากหลาย อยู่ นาเสนออเิ ลก็ ทรอนิกส์ ทางานและ วางแผนข้ันตอน แนวทางการเพ่ือแกป้ ญั หาได้ ดาเนินการ การทางานและ แกป้ ัญหาให้ผู้อนื่อยา่ งถูกต้อง แกป้ ัญหาอย่าง ดาเนินการ เข้าใจด้วยเทคนิคเหมาะสมและ เป็นขั้นตอน แก้ปัญหาอยา่ ง หรอื วธิ กี ารท่ีปลอดภยั ๔. ทดสอบ เปน็ ขน้ั ตอน หลากหลาย โดย ประเมนิ ผล และ ๔. ทดสอบ ใชซ้ อฟตแ์ วรช์ ว่ ย อธบิ ายปญั หา ประเมนิ ผล ในการออกแบบ หรือขอ้ บกพร่อง วเิ คราะห์และให้ วางแผนขนั้ ตอน ที่เกดิ ขึ้น ภายใต้ เหตุผลของปัญหา การทางาน และ กรอบเงือ่ นไข หรือข้อบกพร่องท่ี ดาเนนิ การ พร้อมทัง้ หาแนว เกดิ ข้นึ ภายใต้ แกป้ ัญหา ทางการปรับปรุง กรอบเง่อื นไข ๔. ทดสอบ แกไ้ ข และ พรอ้ มทงั้ หา ประเมนิ ผล นาเสนอผลการ แนวทางการ วเิ คราะหแ์ ละให้ แก้ปญั หา ปรบั ปรงุ แกไ้ ข เหตผุ ลของปญั หา หรอื ขอ้ บกพร่องท่ี
มาตรฐานการเรยี นรูแ้ ละตัวชว้ี ัด ฯ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) ๑๑๖สาระท่ี ๘ เทคโนโลยีมาตรฐาน ว ๘.๑ เขา้ ใจแนวคดิ หลักของเทคโนโลยีเพ่ือการดารงชีวติ ในสังคมท่ีมีการเปลย่ี นแปลงอยา่ งรวดเร็ว ใช้ความรู้และทักษะทางด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และศาสตร์อน่ื ๆ เพ่อื แก้ปญั หาหรือพัฒนางานอยา่ งมีความคิดสร้างสรรคด์ ว้ ยกระบวนการออกแบบเชงิ วศิ วกรรม เลือกใชเ้ ทคโนโลยอี ย่างเหมาะสมโดยคานงึ ถงึ ผลกระทบต่อชีวิต สังคม และส่ิงแวดล้อม ตัวชีว้ ดั ชัน้ ปีม.๑ ม.๒ ม.๓ ม.๔ ม.๕ ม.๖๕. ใชค้ วามรู้และ และนาเสนอผล เกดิ ข้นึ ภายใต้ ทกั ษะเกยี่ วกับ การแกป้ ญั หา กรอบเงือ่ นไข วสั ดุ อุปกรณ์ ๕. ใชค้ วามรแู้ ละ หาแนวทางการ เครอื่ งมือ กลไก ทักษะเกย่ี วกับ ปรับปรงุ แก้ไข ไฟฟ้า และ วัสดุ อุปกรณ์ และนาเสนอผลอ ู่ยระห ่วาง ํดเาอเกนิสนากรา ้ตรนจัฉด ับพิบมพ์ อเิ ล็กทรอนกิ ส์ เครอื่ งมอื กลไก การแกป้ ญั หา เพ่อื แกป้ ัญหา ไฟฟ้าและ พรอ้ มทง้ั เสนอ หรือพฒั นางาน อิเล็กทรอนกิ ส์ให้ แนวทางการ ไดอ้ ยา่ งถูกต้อง ถูกต้องกับลักษณะ พัฒนาตอ่ ยอด เหมาะสม และ ของงาน และ ๕. ใชค้ วามรูแ้ ละ ปลอดภยั ปลอดภยั เพ่ือ ทักษะเกี่ยวกบั แก้ปัญหาหรือ วัสดุ อุปกรณ์ พัฒนางาน เคร่ืองมอื กลไก ไฟฟ้าและ อเิ ลก็ ทรอนิกส์ และ เทคโนโลยที ี่ ซบั ซอ้ นในการ แก้ปญั หาหรือ พัฒนางาน ได้ อย่างถกู ต้อง เหมาะสม และ ปลอดภัย
มาตรฐานการเรยี นรู้และตัวช้วี ดั ฯ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ๑๑๗สาระที่ ๘ เทคโนโลยีมาตรฐาน ว ๘.๒ เขา้ ใจและใชแ้ นวคิดเชงิ คานวณในการแก้ปัญหาที่พบในชวี ิตจริงอย่างเป็นขน้ั ตอนและเป็นระบบ ใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการสื่อสารในการเรียนรู้ การทางาน และการแก้ปัญหาได้อย่างมี ประสทิ ธิภาพ รเู้ ทา่ ทนั และมีจรยิ ธรรม ตัวชวี้ ัดชน้ั ปี ป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ป. ๖๑. แก้ปญั หาอยา่ ง ๑. แสดงลาดับ ๑. แสดงอลั กอริทึม ๑. ใชเ้ หตผุ ลเชงิ ๑. ใชเ้ หตุผลเชิง ๑. ใช้เหตผุ ลเชงิง่าย โดยใชก้ าร ขั้นตอนการ ในการทางาน ตรรกะในการ ตรรกะในการ ตรรกะในการลองผดิ ลองถูก ทางานหรอื การ หรือการ แก้ปญั หา การ แก้ปัญหา อธิบายและการเปรยี บเทียบ แกป้ ัญหาอย่าง แกป้ ัญหาอย่าง อธิบายการ การอธิบาย ออกแบบวธิ กี าร๒. แสดงลาดบั ง่ายโดยใชภ้ าพ งา่ ยโดยใชภ้ าพ ทางาน การ การงาน แก้ปัญหาที่พบในข้นั ตอนการ สัญลกั ษณ์ หรอื สัญลักษณ์ หรอื คาดการณ์ การคาดการณ์ ชีวติ ประจาวนัทางานหรือการ ขอ้ ความ ขอ้ ความ ผลลพั ธ์ จาก ผลลัพธจ์ าก ๒. ออกแบบและ อ ู่ยระห ่วาง ํดเาอเกนิสนากรา ้ตรนจัฉด ับพิบมพ์แก้ปญั หาอยา่ ง ๒. เขยี นโปรแกรม ๒. เขยี นโปรแกรม ปญั หาอยา่ งง่าย ปญั หาอย่างงา่ ย เขียนโปรแกรมง่าย โดยใช้ภาพ อยา่ งงา่ ย โดยใช้ อย่างงา่ ย โดยใช้ ๒. ออกแบบ และ ๒. ออกแบบและ อยา่ งงา่ ยเพอื่สัญลกั ษณ์ หรือ ซอฟตแ์ วร์หรอื ซอฟต์แวรห์ รือ เขยี นโปรแกรม เขียน แก้ปัญหาในชวี ติข้อความ สือ่ และตรวจหา ส่ือ และตรวจหา อย่างง่าย โดยใช้ โปรแกรมท่ีมีการ ประจาวัน๓. เขียนโปรแกรม ขอ้ ผดิ พลาดของ ขอ้ ผดิ พลาดของ ซอฟตแ์ วรห์ รือ ใช้เหตผุ ลเชิง ตรวจหาอยา่ งง่าย โดยใช้ โปรแกรม โปรแกรม ส่อื และตรวจหา ตรรกะอยา่ งงา่ ย ขอ้ ผดิ พลาดของซอฟต์แวร์ หรือ ๓. ใชเ้ ทคโนโลยีใน ๓. ใช้อนิ เทอร์เนต็ ข้อผิดพลาดและ ตรวจหา โปรแกรมและส่อื การสร้าง จดั คน้ หาความรู้ แก้ไข ข้อผดิ พลาดและ แกไ้ ข๔. ใชเ้ ทคโนโลยีใน หมวดหมู่ ค้นหา ๔. รวบรวม ๓. ใชอ้ นิ เทอร์เน็ต แก้ไข ๓. ใช้อนิ เทอร์เน็ตการสรา้ ง จดั เกบ็ จัดเกบ็ เรยี กใช้ ประมวลผล และ ค้นหาความรู้ ๓. ใช้อินเทอร์เน็ต ในการค้นหาเรียกใชข้ ้อมลู ข้อมูลตาม นาเสนอข้อมูล และประเมนิ คน้ หาขอ้ มลู ข้อมูลอยา่ งมีตามวตั ถุประสงค์ วัตถปุ ระสงค์ โดยใชซ้ อฟต์แวร์ ความน่าเชื่อถือ ติดต่อสอื่ สาร ประสิทธภิ าพ๕. ใชเ้ ทคโนโลยี ๔. ใชเ้ ทคโนโลยี ตามวตั ถปุ ระสงค์ ของข้อมูล และทางาน ๔. ใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศอยา่ ง สารสนเทศอยา่ ง ๕. ใชเ้ ทคโนโลยี ๔. รวบรวม ประเมนิ ร่วมกัน สารสนเทศปลอดภยั ปฏิบตั ิ ปลอดภยั ปฏบิ ตั ิ สารสนเทศอย่าง นาเสนอขอ้ มลู ประเมินความ ทางานร่วมกนัตามข้อตกลงใน ตามข้อตกลงใน ปลอดภัย และสารสนเทศ นา่ เชอ่ื ถือของ อย่างปลอดภยัการใช้ การใช้ ปฏบิ ตั ิตาม โดยใชซ้ อฟตแ์ วร์ ข้อมลู เข้าใจสิทธแิ ละคอมพวิ เตอร์ คอมพวิ เตอร์ ขอ้ ตกลงในการ ท่หี ลากหลาย ๔. รวบรวม หน้าที่ของตนรว่ มกนั ดูแลรกั ษา ร่วมกนั ดูแล ใช้อินเทอร์เนต็ เพอื่ แกป้ ัญหาใน ประเมนิ เคารพในสิทธิอปุ กรณ์เบื้องต้น รกั ษา ชีวติ ประจาวนั นาเสนอข้อมูล ของผู้อื่น แจ้งใช้งานอย่าง อปุ กรณ์เบ้ืองต้น ๕. ใชเ้ ทคโนโลยี และสารสนเทศ ผเู้ ก่ียวขอ้ งเม่อื พบเหมาะสม ใชง้ านอย่าง สารสนเทศอยา่ ง ตามวตั ถุประสงค์ ข้อมูลหรอื เหมาะสม ปลอดภัย เขา้ ใจ โดยใช้ซอฟต์แวร์ บุคคลทีไ่ ม่ สทิ ธแิ ละหนา้ ท่ี หรือบรกิ ารบน เหมาะสม ของตน เคารพใน อนิ เทอร์เน็ตที่ สิทธขิ องผอู้ ื่น หลากหลาย เพอื่ แจง้ ผ้เู ก่ยี วข้อง แกป้ ญั หาใน เมื่อพบข้อมลู ชวี ติ ประจาวัน หรือบุคคลท่ี ๕. ใช้เทคโนโลยี ไม่เหมาะสม
มาตรฐานการเรียนรู้และตวั ช้ีวดั ฯ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ๑๑๘สาระที่ ๘ เทคโนโลยีมาตรฐาน ว ๘.๒ เข้าใจและใชแ้ นวคดิ เชงิ คานวณในการแกป้ ัญหาท่ีพบในชีวติ จรงิ อยา่ งเป็นข้ันตอนและเปน็ ระบบ ใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอ่ื สารในการเรยี นรู้ การทางาน และการแกป้ ัญหาได้อย่างมี ประสิทธภิ าพ รเู้ ทา่ ทนั และมจี รยิ ธรรม ตัวช้วี ัดช้ันปี ป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ป. ๖ สารสนเทศอยา่ ง ปลอดภยั มี มารยาท เข้าใจสทิ ธแิ ละ หน้าท่ีของตน เคารพในสิทธิ ของผอู้ ่นื แจง้ ผเู้ ก่ียวข้อง เม่ือ พบขอ้ มูลหรอื บุคคล ทไี่ ม่เหมาะสมอ ู่ยระห ่วาง ํดเาอเกนิสนากรา ้ตรนจัฉด ับพิบมพ์
มาตรฐานการเรยี นร้แู ละตัวชีว้ ดั ฯ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) ๑๑๙สาระที่ ๘ เทคโนโลยีมาตรฐาน ว ๘.๒ เขา้ ใจและใช้แนวคิดเชิงคานวณในการแกป้ ัญหาท่ีพบในชีวติ จริงอยา่ งเป็นขนั้ ตอนและเปน็ ระบบ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่อื สารในการเรยี นรู้ การทางาน และการแก้ปัญหาได้อย่างมี ประสทิ ธิภาพ รู้เทา่ ทันและมีจรยิ ธรรม ตัวชี้วัดช้ันปีม. ๑ ม. ๒ ม. ๓ ม. ๔ ม. ๕ ม. ๖๑. ออกแบบ ๑. ออกแบบ ๑. พัฒนาแอพ ๑. ประยกุ ต์ใช้ ๑. รวบรวม ๑. ใช้เทคโนโลยีอัลกอริทึมทใี่ ช้ อัลกอรทิ ึมท่ีใช้ พลิเคชันทมี่ ีการ แนวคดิ เชิง วิเคราะห์ข้อมลู และ สารสนเทศในการแนวคดิ เชงิ แนวคดิ เชงิ บรู ณาการกับวชิ า คานวณในการ ใชค้ วามรดู้ า้ น นาเสนอและนามธรรมเพือ่ คานวณในการ อน่ื อย่าง พัฒนาโครงงานที่ วทิ ยาการ แบ่งปนั ขอ้ มลู อยา่ งแก้ปัญหาหรือ แก้ปัญหา หรือ สรา้ งสรรค์ มีการบูรณาการ คอมพวิ เตอร์ สอื่ ปลอดภัย มีอธบิ ายการ การทางานที่พบ ๒. รวบรวมขอ้ มูล กับวชิ าอื่นอยา่ ง ดจิ ทิ ลั เทคโนโลยี จริยธรรม และทางานทพี่ บใน ในชวี ิตจรงิ ประมวลผล สร้างสรรค์ และ สารสนเทศในการ วเิ คราะหก์ าร อ ู่ยระห ่วาง ํดเาอเกนิสนากรา ้ตรนจัฉด ับพิบมพ์ชีวิตจรงิ ๒. ออกแบบและ ประเมนิ ผล เชอื่ มโยงกบั ชวี ติ แก้ปญั หาหรอื เพมิ่ เปล่ยี นแปลง๒. ออกแบบและ เขียนโปรแกรมที่ นาเสนอข้อมลู จริง มลู ค่าให้กบั บริการ เทคโนโลยีเขยี นโปรแกรม ใชต้ รรกะและ และสารสนเทศ หรอื ผลติ ภณั ฑ์ทีใ่ ช้ สารสนเทศที่มผี ลอยา่ งง่าย เพื่อ ฟังกช์ นั ในการ ตามวัตถุประสงค์ ในชีวิตจรงิ อย่าง ต่อการดาเนนิ ชีวติแกป้ ัญหาทาง แก้ปญั หา โดยใชซ้ อฟตแ์ วร์ สร้างสรรค์ อาชพี สังคม และคณิตศาสตร์หรอื ๓. อภิปราย หรอื บริการบน วฒั นธรรมวทิ ยาศาสตร์ องคป์ ระกอบและ อินเทอร์เน็ตที่๓. รวบรวมขอ้ มลู หลกั การทางาน หลากหลายปฐมภมู ิ ของระบบ ๓. ประเมนิ ความประมวลผล คอมพิวเตอร์ นา่ เช่อื ถือของประเมินผล และเทคโนโลยี ข้อมูล วเิ คราะห์นาเสนอข้อมลู การสอ่ื สาร เพ่อื สือ่ และและสารสนเทศ ประยุกตใ์ ช้งาน ผลกระทบจากตามวัตถุประสงค์ หรอื แก้ปญั หา การให้ขา่ วสารท่ีโดยใชซ้ อฟตแ์ วร์ เบื้องต้น ผดิ เพื่อการใช้หรือบริการบน ๔. ใช้เทคโนโลยี งานอยา่ งรู้เทา่อินเทอรเ์ น็ตที่ สารสนเทศอยา่ ง ทนัหลากหลาย ปลอดภัย มคี วาม ๔. ใช้เทคโนโลยี๔. ใชเ้ ทคโนโลยี รบั ผดิ ชอบ สรา้ ง สารสนเทศอย่างสารสนเทศอยา่ ง และแสดงสิทธิใน ปลอดภยั และมีปลอดภัย ใชส้ อื่ การเผยแพร่ ความรบั ผดิ ชอบและแหล่งขอ้ มูล ผลงาน ต่อสังคม ปฏบิ ตั ิตามข้อกาหนด ตามกฎหมายและข้อตกลง เกย่ี วกับ คอมพิวเตอร์ ใช้ ลขิ สทิ ธิ์ของผูอ้ ืน่ โดยชอบธรรม
มาตรฐานการเรยี นรูแ้ ละตัวชี้วัด ฯ (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) ๑๒๐ สาระภูมิศาสตร์ ในกลมุ่ สาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรมทาไมต้องเรยี นภมู ศิ าสตร์ สาระภูมิศาสตร์ช่วยให้ผู้เรียนเข้าใจลักษณะทางกายภาพของโลก ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับส่ิงแวดล้อมที่ก่อให้เกิดการสร้างสรรค์วิถีการดาเนินชีวิต เพ่ือให้รู้เท่าทัน ปรับตัวตามการเปล่ียนแปลงของสิ่งแวดล้อม ตลอดจนสามารถใช้ทักษะ กระบวนการ ความสามารถทางภูมิศาสตร์ แล ะเคร่ืองมือทางภูมิศาสตรจ์ ัดการทรัพยากรและสง่ิ แวดล้อมตามสาเหตุและปจั จัย อันจะนาไปสกู่ ารปรบั ใชใ้ นการดาเนินชวี ิตดงั น้ัน เพ่ือใหก้ ารเรียนรู้สาระภูมิศาสตร์บรรลุผลตามเป้าหมายที่กาหนดไว้ จึงได้กาหนดทิศทางสาหรับครูผู้สอนเพื่อใช้เป็นแนวทางการจัดการเรียนรู้ที่ส่งผลให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจ ความสามารถ และทักษะกระบวนการทางภูมิศาสตร์ ที่สะท้อนสมรรถนะสาคัญและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียนให้สอดคล้องกับจุดมุ่งหมายของหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ ที่มุ่งพัฒนาให้เป็นคนดี มีปัญญา มีความสุข มีศักยภาพในการศึกษาต่อ และการประกอบอาชีพ จึงได้กาหนดแนวทางการจัดการเรียนรู้ ซง่ึ ประกอบด้วย (๑)ความรู้ความเข้าใจทางภูมิศาสตร์ (๒) ความสามารถทางภูมิศาสตร์ (๓) กระบวนการทางภมู ศิ าสตร์ (๔) ทักษะทางภูมศิ าสตร์เรียนรูอ้ ะไรในภมู ิศาสตร์ ลักษณะทางกายภาพของโลก การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ ปัญหาทางกายภาพและภัยพิบัติความสัมพันธ์ของสรรพสิ่งซ่ึงมีผลต่อกัน แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์ การใช้ภูมิสารสนเทศปฏสิ ัมพนั ธร์ ะหวา่ งมนุษยก์ บั ส่ิงแวดล้อมทางกายภาพกบั การสร้างสรรคว์ ิถีการดาเนนิ ชวี ิต กจิ กรรมทางเศรษฐกิจและสังคม ความร่วมมอื ดา้ นทรัพยากรและสงิ่ แวดลอ้ มในประเทศและระหวา่ งประเทศ และการจัดการทรัพยากรและสิง่ แวดล้อมเพอ่ื การพฒั นาอย่างยง่ั ยืนอ ู่ยระห ่วาง ํดเาอเกนิสนากรา ้ตรนจัฉด ับพิบมพ์
มาตรฐานการเรียนรู้และตวั ชี้วัด ฯ (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ๑๒๑คุณภาพผเู้ รียนจบชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 3 มีความรู้เก่ียวกับลักษณะทางกายภาพของส่ิงต่าง ๆ ท่ีอยู่รอบตัวและชุมชน และสามารถปรับตัวเท่าทันการเปลย่ี นแปลงทางกายภาพ และมีสว่ นรว่ มในการจดั การทรพั ยากรและส่งิ แวดล้อมใกล้ตัวจบชั้นประถมศึกษาปที ่ี 6 มีความรู้เกยี่ วกับลักษณะทางกายภาพ ภัยพิบัติ ลักษณะกิจกรรมทางเศรษฐกิจและสังคมในจงั หวัดภาค และประเทศไทย สามารถเตรียมพร้อมเพื่อรับมือกับการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพกับภัยพิบัติต่าง ๆ ในประเทศไทย และหาแนวทางในการจดั การทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมจบชัน้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 3 มีความรู้เกี่ยวกับลักษณะทางกายภาพ ภัยพิบัติ ลักษณะกิจกรรมทางเศรษฐกิจและสังคม ในภูมิภาคต่างๆ ของโลก ความร่วมมือด้านทรัพยากรและส่ิงแวดล้อมระหว่างประเทศ เพื่อเตรียมพร้อมกับการรับมือภยั พิบัติและการจัดการทรพั ยากรและส่ิงแวดล้อมอยา่ งย่งั ยืนจบชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ 6 มีความรู้เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ ปัญหาทางกายภาพและภัยพิบัติ ซ่ึงได้รับอิทธิพลจากปัจจัยทางภูมิศาสตร์ ปฏิสัมพันธ์ระหว่างส่ิงแวดล้อมทางกายภาพกับการสร้างสรรค์วิถีการดาเนินชีวิตความร่วมมือด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมในประเทศและระหว่างประเทศ เพื่อเตรียมพร้อมกับการรับมือต่อการเปลีย่ นแปลงของโลก และการจดั การทรัพยากรและสงิ่ แวดล้อมเพ่ือการพฒั นาอย่างย่งั ยนือ ู่ยระห ่วาง ํดเาอเกนิสนากรา ้ตรนจัฉด ับพิบมพ์
มาตรฐานการเรยี นรู้และตวั ชี้วดั ฯ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ๑๒๒สาระท่ี ๕ ภมู ิศาสตร์มาตรฐาน ส ๕.๑ เข้าใจลักษณะทางกายภาพของโลกและความสัมพนั ธข์ องสรรพส่ิงซงึ่ มีผลต่อกนั ใช้แผนทแี่ ละ เครอ่ื งมือทางภูมศิ าสตร์ในการคน้ หา วิเคราะห์ และสรปุ ข้อมลู ตามกระบวนการทางภมู ศิ าสตร์ ตลอดจนใช้ภูมสิ ารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพ ตวั ช้วี ัดชั้นปี ป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ป. ๖๑. จาแนกสงิ่ ตา่ งๆ ๑. ระบุสิ่งแวดล้อม ๑. สารวจขอ้ มูล ๑. สืบค้นและ ๑.สบื คน้ และ ๑. สืบคน้ และรอบตัวท่เี กดิ ข้ึน ทางธรรมชาติ ทางภมู ิศาสตร์ อธิบายขอ้ มูล อธิบายข้อมูล อธบิ ายข้อมลูเองตามธรรมชาติ และที่มนษุ ย์ ในโรงเรียนและ ลักษณะทาง ลักษณะ ลกั ษณะและทมี่ นุษยส์ รา้ ง สร้างข้นึ ซง่ึ ชมุ ชนโดยใช้ กายภาพของ ทางกายภาพ ทางกายภาพขน้ึ ปรากฏระหวา่ ง แผนผัง แผนท่ี จงั หวดั ตนเอง ของภมู ิภาคของ ของประเทศไทย๒. ระบุ โรงเรียนกับบา้ น และรปู ถา่ ย เพือ่ ดว้ ยแผนที่และ ตนด้วยแผนท่ี ด้วยแผนท่ี รูปความสมั พนั ธ์ของ ๒. ระบุตาแหน่ง แสดง รปู ถา่ ย และรูปถา่ ย ถ่ายทางอากาศ อ ู่ยระห ่วาง ํดเาอเกนิสนากรา ้ตรนจัฉด ับพิบมพ์ตาแหนง่ ระยะ และลกั ษณะทาง ความสัมพนั ธ์ ๒. ระบุแหลง่ ๒. อธบิ ายลกั ษณะ และภาพจาก ทิศของสิง่ ต่างๆ กายภาพของส่ิง ของตาแหน่ง ทรัพยากรและ ทางกายภาพที่ ดาวเทยี ม๓. ใช้แผนผังง่าย ๆ ต่างๆ ทปี่ รากฏ ระยะ ทศิ ทาง สถานทส่ี าคญั ใน ส่งผลตอ่ แหลง่ ๒. อธิบายในการแสดง ในแผนผัง แผน วาดแผนผังเพอื่ จงั หวัดของตน ทรัพยากรและ ความสมั พันธ์ตาแหนง่ ของสิ่ง ที่ รปู ถา่ ย และ แสดงตาแหนง่ ดว้ ยแผนที่และ สถานที่สาคญั ระหวา่ งตา่ งๆในห้องเรยี น ลูกโลก สงั เกต ทีต่ ัง้ ของสถานที่ รูปถ่าย อธบิ าย ในภูมิภาคของ ลักษณะทางสงั เกตและบอก และแสดง สาคัญในบรเิ วณ ลกั ษณะทาง ตน กายภาพกับการเปลยี่ นแปลง ความสมั พันธ์ โรงเรียนและ กายภาพทสี่ ง่ ผล ภัยพิบตั ิของสภาพอากาศ ระหวา่ งโลก ดวง ชมุ ชน ต่อแหล่ง ในประเทศไทย อาทติ ย์และดวง ทรัพยากรและ เพื่อในรอบวนั จันทร์ ท่ที าให้ สถานที่สาคญั เตรียมพรอ้ ม เกิด ในจังหวดั รบั มือภยั พบิ ตั ิ ปรากฏการณ์
มาตรฐานการเรยี นรู้และตวั ช้ีวัด ฯ (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) ๑๒๓สาระท่ี ๕ ภูมิศาสตร์มาตรฐาน ส ๕.๑ เข้าใจลกั ษณะทางกายภาพของโลกและความสัมพันธข์ องสรรพส่ิงซ่ึงมีผลต่อกัน ใช้แผนทแ่ี ละ เคร่ืองมอื ทางภมู ศิ าสตร์ในการคน้ หา วิเคราะห์ และสรปุ ข้อมูลตามกระบวนการทางภูมิศาสตร์ ตลอดจนใชภ้ มู ิสารสนเทศอย่างมีประสทิ ธิภาพ ตวั ชวี้ ัดช้ันปี ตัวชวี้ ัดชว่ งชน้ั ม. ๑ ม. ๒ ม. ๓ ม. ๔ – ๖๑. วเิ คราะหล์ กั ษณะทาง ๑. วิเคราะหล์ กั ษณะทาง ๑. วเิ คราะหล์ กั ษณะทาง ๑. วเิ คราะห์การเปลย่ี นแปลงทางกายภาพของทวีปเอเชีย กายภาพของทวีปยโุ รป กายภาพของ ทวปี กายภาพของพ้นื ท่ีในประเทศไทยและทวปี ออสเตรเลยี และโอ และทวีปแอฟรกิ า โดยใช้ อเมรกิ าเหนอื และทวีป ภูมภิ าคต่างๆ ของโลก ซึ่งได้รบัเชียเนีย โดยใช้เครือ่ งมอื เครอื่ งมอื ทางภมู ศิ าสตร์ อเมริกาใต้ โดยเลอื กใช้ อิทธพิ ลจากปัจจยั ทางภมู ิศาสตร์ทางภูมิศาสตรส์ บื คน้ สืบค้นขอ้ มลู แผนทีเ่ ฉพาะเรื่องและ ๒. วเิ คราะหล์ ักษณะทางกายภาพซ่ึงทาข้อมูล ๒. อธบิ ายมาตราส่วน เครอ่ื งมอื ทางภมู ิศาสตร์ ใหเ้ กดิ ปญั หาหรือภยั พิบตั ทิ าง๒. อธบิ ายพกิ ัดภมู ิศาสตร์ ทิศ และสญั ลักษณ์ สบื ค้นข้อมูล ธรรมชาตใิ นประเทศไทยและภูมภิ าค อ ู่ยระห ่วาง ํดเาอเกนิสนากรา ้ตรนจัฉด ับพิบมพ์(ละติจดู และลองจจิ ูด) ๓. วเิ คราะหส์ าเหตกุ ารเกดิ ๒. วเิ คราะหส์ าเหตุการเกดิ ต่าง ๆ ของโลกเสน้ แบ่งเวลา และ ภัยพิบัติ ของทวปี ยุโรป ภยั พบิ ตั ขิ องทวปี อเมรกิ า ๓. ใช้แผนท่ีและเคร่ืองมือทางภูมศิ าสตร์เปรยี บเทยี บวัน เวลาของ และทวปี แอฟรกิ า เหนือ และทวีปอเมริกาใต้ ในการคน้ หา วเิ คราะห์ และสรปุ ขอ้ มลูโลก ตามกระบวนการทางภูมศิ าสตร์๓. วเิ คราะหส์ าเหตกุ ารเกดิ และนาภมู สิ ารสนเทศมาใชป้ ระโยชน์ภยั พบิ ัติของทวีปเอเชยี ในชวี ิตประจาวนัทวปี ออสเตรเลยี และโอเชยี เนีย
มาตรฐานการเรียนรูแ้ ละตวั ช้วี ดั ฯ (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) ๑๒๔สาระที่ ๕ ภูมศิ าสตร์มาตรฐาน ส ๕.๒ เข้าใจปฏิสัมพันธร์ ะหว่างมนุษย์กบั ส่งิ แวดลอ้ มทางกายภาพท่กี อ่ ใหเ้ กิดการสร้างสรรค์วถิ ีการ ดาเนินชวี ติ มีจิตสานึกและมีส่วนรว่ มในการจดั การทรัพยากร และส่งิ แวดล้อมเพื่อการพฒั นาท่ี ยั่งยนื ตัวช้ีวัดช้นั ปีป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ป. ๖๑. บอกส่ิงตา่ ง ๆ ๑. อธิบาย ๑. เปรียบเทยี บการ ๑. วเิ คราะห์ ๑. วิเคราะห์ ๑. วเิ คราะห์ทีเ่ กดิ ตาม ความสาคญั ของ เปล่ียนแปลง ส่ิงแวดล้อมทาง ส่งิ แวดลอ้ มทาง ปฏสิ มั พนั ธ์ธรรมชาติ ส่ิงแวดล้อม ทาง ส่ิงแวดลอ้ มของ กายภาพท่ีส่งผล กายภาพทมี่ ี ระหว่างทีส่ ง่ ผลต่อความ ธรรมชาตแิ ละที่ ชมุ ชนในอดตี กับ ตอ่ การดาเนิน อิทธพิ ลตอ่ ส่งิ แวดลอ้ มทางเปน็ อยู่ของ มนษุ ยส์ รา้ งขึน้ ปจั จุบนั ชีวิตของคนใน ลักษณะการตัง้ กายภาพกบัมนษุ ย์ ๒. จาแนกและใช้ ๒. อธบิ ายการใช้ จังหวดั ถ่ินฐานและการ ลกั ษณะกจิ กรรม๒. สงั เกตและ ทรัพยากร - ประโยชนจ์ าก ๒. อธิบายการ ยา้ ยถิ่นของ ทางเศรษฐกจิอ ู่ยระห ่วาง ํดเาอเกนิสนากรา ้ตรนจัฉด ับพิบมพ์เปรียบเทยี บ ธรรมชาติที่ใช้ ส่งิ แวดลอ้ มและ เปลย่ี นแปลง ประชากรใน และสงั คมการเปลย่ี นแปลง แลว้ ไมห่ มดไป ทรพั ยากร - สงิ่ แวดลอ้ ม ภูมิภาคของตน ในประเทศไทยของสง่ิ แวดล้อม และทใี่ ชแ้ ลว้ หมด ธรรมชาติ ในจังหวดั และผล ๒.วิเคราะหอ์ ทิ ธพิ ล ๒. วเิ คราะหก์ ารทอี่ ยู่รอบตวั เพือ่ ไปได้อยา่ งค้มุ ค่า ในการสนอง ที่เกิดจากการ ของสิง่ แวดลอ้ ม เปลย่ี นแปลงทางการปฏิบัตติ น ๓. อธบิ ายความ ความตอ้ งการ เปลี่ยนแปลงน้ัน ทางธรรมชาตทิ ่ี กายภาพของอยา่ งเหมาะสม สมั พนั ธข์ อง พืน้ ฐานของ ๓. นาเสนอ ก่อให้เกดิ วถิ ีการ ประเทศไทยใน๓. มสี ว่ นร่วมในการ ฤดูกาลกบั การ มนษุ ย์ และการ แนวทางการ ดาเนนิ ชวี ติ ใน อดตี กับปัจจบุ ันดูแลส่งิ แวดล้อม ดาเนนิ ชีวติ ของ ประกอบอาชีพ จดั การ ภมู ิภาคของตน และผลทีเ่ กิดข้นึท่ีบ้านและช้ัน มนุษย์ ๓. อธิบายสาเหตทุ ี่ ส่ิงแวดล้อมใน ๓. นาเสนอตวั อยา่ ง จากการเรียน ๔. มสี ่วนร่วมในการ ทาใหเ้ กิดมลพษิ จังหวดั ที่สะทอ้ นใหเ้ หน็ เปลี่ยนแปลงนั้น จัดการ โดยมนุษย์ ผลจากการรักษา ๓. นาเสนอตวั อยา่ งที่ ส่ิงแวดล้อม ๔. อธิบายความ และทาลาย สะทอ้ นให้เหน็ ในโรงเรียน แตกตา่ งของ สิ่งแวดล้อม และ ผลจากการรกั ษา ลกั ษณะเมือง เสนอแนวทางใน และทาลาย และชนบท การจัดการ ทรัพยากรและ ๕. อธิบาย สิ่งแวดลอ้ มใน สงิ่ แวดล้อม และ ความสัมพันธ์ ภูมิภาคของตน เสนอแนวทาง ของลกั ษณะ ในการจัดการ ทางกายภาพ อย่างยง่ั ยนื ใน กับการดาเนิน ประเทศไทย ชีวติ ของคนใน ชุมชน ๖. มสี ว่ นรว่ มใน การจัดการ สง่ิ แวดล้อม ในชุมชน
มาตรฐานการเรียนรูแ้ ละตัวช้ีวดั ฯ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) ๑๒๕สาระที่ ๕ ภมู ิศาสตร์มาตรฐาน ส ๕.๒ เขา้ ใจปฏสิ ัมพนั ธร์ ะหวา่ งมนุษยก์ ับส่งิ แวดล้อมทางกายภาพท่ีกอ่ ใหเ้ กดิ การสร้างสรรคว์ ิถีการดาเนิน ชีวิต มจี ติ สานกึ และมสี ว่ นร่วมในการจัดการทรัพยากร และสงิ่ แวดล้อมเพื่อการพัฒนาท่ียั่งยนื ตวั ช้ีวดั ช้ันปี ตัวชวี้ ดั ชว่ งช้ัน ม. ๑ ม. ๒ ม. ๓ ม. ๔ – ๖1. สารวจและระบุทาเลทตี่ งั้ 1. สารวจและระบทุ าเลทตี่ ง้ั 1. สารวจและระบุทาเลทตี่ ้งั ๑. วเิ คราะห์ปฏสิ มั พนั ธร์ ะหว่างของกจิ กรรมทาง ของกิจกรรมทาง ของกจิ กรรมทาง สิง่ แวดล้อมทางกายภาพกับกจิ กรรมเศรษฐกจิ และสังคมใน เศรษฐกจิ และสังคมใน เศรษฐกิจและสังคมใน ของมนุษย์ ในการสรา้ งสรรค์วถิ ีการทวปี เอเชีย ทวปี ทวปี ยุโรป และทวีป ทวีปอเมรกิ าเหนอื และ ดาเนินชีวติ ของทอ้ งถน่ิ ทง้ั ในประเทศออสเตรเลยี และโอเชยี แอฟรกิ า ทวปี อเมรกิ าใต้ ไทยและภูมภิ าคต่างๆ ของโลกเนยี 2. วิเคราะหป์ ัจจยั ทาง 2. วเิ คราะหป์ ัจจยั ทาง และเห็นความสาคญั ของส่งิ แวดลอ้ มท่ี2. วิเคราะห์ปจั จยั ทาง กายภาพและปัจจยั ทาง กายภาพและปัจจยั ทาง มีผลตอ่ การดารงชีวิตของมนุษย์กายภาพและ สังคมท่มี ผี ลต่อทาเลท่ตี งั้ สงั คมทมี่ ผี ลตอ่ ทาเลทตี่ ั้ง ๒. วเิ คราะหส์ ถานการณ์ สาเหตุ และ อ ู่ยระห ่วาง ํดเาอเกนิสนากรา ้ตรนจัฉด ับพิบมพ์ปจั จัยทางสังคมท่ีมผี ล ของกิจกรรมทาง ของกจิ กรรมทางเศรษฐกิจ ผลกระทบของการเปลยี่ นแปลงตอ่ ทาเลทตี่ ั้ง เศรษฐกจิ และสงั คมใน และสงั คมในทวีปอเมริกา ดา้ นทรพั ยากรธรรมชาติและของกจิ กรรมทาง ทวปี ยโุ รป และทวีป เหนอื และทวีปอเมริกาใต้ สิง่ แวดลอ้ มของประเทศไทยและเศรษฐกจิ และสังคม แอฟรกิ า 3. สบื ค้น อภิปรายประเดน็ ภูมภิ าคต่าง ๆ ของโลกในทวีปเอเชีย ทวีป 3. สืบคน้ อภิปรายประเด็น ปญั หาจากปฏิสัมพันธ์ 3. ระบมุ าตรการปอ้ งกันและแก้ไขออสเตรเลยี และ ปญั หาจากปฏิสมั พันธ์ ระหวา่ งสภาพแวดล้อม ปญั หา กฎหมายและนโยบายทโอเชียเนีย ระหว่างสภาพแวดล้อม ทางกายภาพกบั มนษุ ย์ที่ ดา้ นทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละ3. สบื คน้ อภปิ รายประเด็น ทางกายภาพกับมนุษย์ที่ เกิดขึ้นในทวีปอเมริกา ส่ิงแวดล้อม บทบาทขององค์การปญั หาจากปฏิสมั พนั ธ์ เกิดข้นึ ในทวีปยุโรป และ เหนือ และทวีปอเมรกิ าใต้ ทเ่ี ก่ยี วขอ้ ง และการประสานความระหวา่ งสภาพแวดลอ้ ม ทวปี แอฟริกา 4. วเิ คราะห์แนวทางการ รว่ มมอื ท้งั ในประเทศและระหว่างทางกายภาพกบั มนษุ ยท์ ี่ 4. วิเคราะหแ์ นวทางการ จดั การภัยพิบัตแิ ละการ ประเทศเกิดขนึ้ ในทวีปเอเชยี จัดการภยั พบิ ัติและการ จัดการทรัพยากรและ 4. วเิ คราะห์แนวทางและมสี ่วนร่วมในทวปี ออสเตรเลีย และโอ จัดการทรพั ยากรและ สิ่งแวดล้อมในทวีปอเมริกา การจดั การทรัพยากรธรรมชาติเชยี เนีย ส่งิ แวดล้อมในทวีปยโุ รป เหนอื และทวีปอเมริกาใต้ และส่ิงแวดล้อมเพอื่ การพฒั นาทย่ี ง่ั ยืน4. วเิ คราะหแ์ นวทางการ และทวปี แอฟรกิ า อย่าง อย่างย่งั ยนืจัดการภยั พิบตั ิและการ ย่งั ยืน ๕. ระบุความรว่ มมอื ระหว่างจดั การทรพั ยากรและ ประเทศ ทีม่ ผี ลตอ่ การสงิ่ แวดล้อมในทวปี เอเชยี จัดการทรัพยากรและทวีปออสเตรเลยี และโอ สิง่ แวดลอ้ มเชยี เนยี อย่างยั่งยืน
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130