Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ดินในท้องถิ่นของเรา

ดินในท้องถิ่นของเรา

Published by Gus Gingin, 2021-02-02 04:52:18

Description: ดินในท้องถิ่นของเรา

Search

Read the Text Version

เอกสารประกอบการสอน เรอ่ื ง ดินในท้อง ถินของเรา นางสาวเบญญทพิ ย์ พรมหา 62040111121 สาขาวทิ ยาศาสตรท์ วั ไปและชวี ะวทิ ยา

เอกสารประกอบการสอน เรอ่ื ง ดินในทอ้ งถิน่ ของเรา วชิ าวิทยาศาสตร์ ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 2 ความหมายของดิน ดนิ (Soil) คอื วตั ถุท่ีเกิดข้นึ ตามธรรมชาตจิ ากการสลายตัวทางกายภาพ และทางเคมขี องหนิ และแร่ รวมกบั สารอนิ ทรยี ์ ทเ่ี กิดจากการสลายตัวของซากพชื ซากสตั ว์เปน็ ผิวช้ันบนทีห่ มุ้ ห่อโลก ซง่ึ ดินจะมลี ักษณะและ คณุ สมบัตติ า่ งกนั ไปในทต่ี ่างๆ ตามสภาพภมู อิ ากาศ ภูมิประเทศ วตั ถตุ น้ กาเนิด สิ่งมีชีวิตและระยะเวลาการ สร้างตวั ของดิน การเกดิ ดิน 1.พน้ื โลกของเรา ท้ังบนบกและใตด้ นิ มหี ินปกคลมุ อยู่ 2.ความรอ้ นจากดวงอาทติ ย์และรากของต้นไม้ ทาใหเ้ กิดรอยแตกในหิน 3.ในสถานท่ีที่อากาศหนาว นา้ ทีข่ ังตัวอยูใ่ นรอยแตกของหนิ จะแขง็ ตวั และดนั หินให้แตกออกเปน็ ชิ้นเลก็ ๆ 4.ลม ฝน และนา้ กม็ สี ่วนทาใหห้ ินสึกกร่อน พงั ทลายและถกู พัดพาไปตามท่ตี ่างๆ 5.เศษหนิ และผงหินเลก็ ๆ นี้ไมใ่ ชด่ นิ 6.พชื เล็กๆ เจรญิ เติบโตบนเศษหินมสี ัตวต์ ่างๆ มากนิ พชื 7.มูลของสตั ว์ รวมทง้ั ซากพืชและซากสตั ว์ทีต่ ายจะเน่าเป่ือยผุพงั กลายเป็นสารสีดา เรียกว่า ฮวิ มัส 8.เศษหินและผงหนิ เลก็ ๆ ทม่ี ฮี วิ มสั ปนอยู่ เรียกวา่ ดิน องค์ประกอบของดิน ดนิ เกดิ จากการผุพังของหนิ และแรโ่ ดยมีการผสมคลกุ เคล้าเขา้ กนั เป็นเนอ้ื เดยี วกบั อนิ ทรยี วัตถุ ท่เี กิดจากการ ตายและเน่าเป่อื ยของซากพชื และสตั ว์ในสมัยดกึ ดาบรรพ์ เปน็ ระยะเวลาหลายลา้ นๆ ปมี าแล้ว ดังนั้น ดนิ ช้นั บนทีอ่ ดุ มสมบรู ณล์ กึ เพยี ง ๓๐ เซนตเิ มตร ได้ใช้เวลานานเปน็ ล้านปี จงึ เกิดขึ้นมาได้ ดินท่อี ุดมสมบูรณจ์ ะ ประกอบด้วยส่วนทเี่ ปน็ ของแขง็ ครง่ึ หนงึ่ และส่วนทเ่ี ปน็ ช่องว่างอีกครงึ่ หนึ่ง สว่ นทเ่ี ปน็ ของแขง็ นัน้ ร้อยละ ๔๕ โดยปรมิ าตร จะประกอบดว้ ยสว่ นทเี่ ปน็ แรธ่ าตตุ ่างๆ ทเ่ี กดิ จากการผุพงั ของหินและแร่ตน้ กาเนิด อกี รอ้ ยละ ๕ จะประกอบด้วยอนิ ทรียวัตถุ ท่ีเกดิ จากการผุพังของซากพืชและสัตว์ดั้งเดิม ส่วนทเี่ ปน็ ช่องวา่ งอีกครงึ่ หนงึ่ นัน้ จะประกอบดว้ ย หรอื เปน็ ท่อี ยขู่ องน้าและอากาศในดินอย่างละเทา่ ๆ กนั สว่ นทเี่ ปน็ แรธ่ าตุ และอนิ ทรยี วตั ถุจะ เปน็ แหลง่ ที่มาของธาตอุ าหารพชื และส่วนท่ีเป็นช่องวา่ งของดิน จะเปน็ แหลง่ ใหน้ า้ ทเี่ ป็นประโยชน์ และ อากาศ เพอ่ื การหายใจของรากพืช สมบตั ทิ ว่ั ไป 1. ลกั ษณะเนื้อดิน คอื คุณสมบตั ทิ างกายภาพของเนอ้ื ดนิ ทส่ี ามารถสังเกตได้ดว้ ยตาเปล่า บางชนิดเนื้อละเอียด บางชนดิ เนือ้ หยาบ ช้นิ สว่ นเล็กๆ ของดนิ ประกอบดว้ ยกรวด ทราย ดนิ ตะกอน ดนิ เหนียวและฮวิ มัส

2.สขี องดิน คอื สีที่เกดิ จากสารประกอบในดิน ทาใหเ้ ดินมีสี ตา่ งกัน เชน่ ดินที่มี ฮิวมสั ปนอยูม่ าก จะมีสีคลา้ ดินที่มีเหลก็ ปนอยมู่ ากจะมสี นี า้ ตาลแดง 3. ความพรุน คอื ชอ่ งวา่ งระหว่างเม็ดดิน เปน็ ท่ีสาหรบั ให้นา้ และอากาศผา่ นเข้าไปในเนือ้ ดนิ ดนิ ชนั้ บนมคี วาม พรนุ มากกวา่ ดินชั้นล่าง 4. ความเปน็ กรดเป็นเบสของดิน คือ ปรมิ าณของไฮโดรเจนท่มี อี ย่ใู นดินทาใหด้ นิ มีสภาพเปน็ กรดหรือเบส ซง่ึ มี ผลตอ่ การเจริญเติบโตของพืช สมบัตทิ างกายภาพ ดินแต่ละแห่งมสี มบัติแตกต่างกัน ดินบางแหง่ มี ฮวิ มสั หรือซากพชื และซากสตั ว์เน่าเปอื่ ยทบั ถมกนั อยู่ในดินมาก ทาใหด้ นิ มสี ดี า รว่ นซยุ มนี ้าและอากาศในดนิ พอเหมาะ สามารถนามาใช้ในการปลกู พืชได้ ดนิ บางแหง่ เน้อื ละเอยี ด มอี ากาศในดินนอ้ ยมนี า้ อย่ใู นช่องว่างระหว่างเม็ดดนิ มาก สามารถนามาป้นั ใหเ้ ป็นรูปตา่ งๆ ได้ ดนิ บาง แหง่ ประกอบดว้ ยหนิ ขนาดเล็กมอี ากาศแทรกอยใู่ นดนิ มาก แตม่ นี ้าในดนิ น้อย จึงไมเ่ หมาะท่จี ะนามาใช้ในการ ปลกู พืช ชนดิ และประเภทของดิน ดินตามลกั ษณะของเน้ือดิน แบ่งได้ 3 ชนิด 1.ดนิ ทราย เปน็ ทป่ี ระกอบด้วยทรายต้งั แตร่ ้อยละ 70 ขึ้นไป โดยนา้ หนักมสี มบัตเิ หมอื นทราย น้าซมึ ผ่านได้ งา่ ยมาก 2.ดินรว่ น เป็นดนิ ทป่ี ระกอบดว้ ย ทราย โคลนตม และดนิ เหนียว โดยมปี ริมาณดนิ ทรายและดินเหนียวไม่ มากนกั ดังน้ัน น้าและอากาศจงึ ไหลผ่านดินรว่ นได้ดีกวา่ ดนิ เหนียว 3.ดนิ เหนียว เปน็ ดนิ ทมี่ เี น้อื ละเอียดแน่น อุ้มนา้ ไดด้ ี และไม่ยอมให้น้าซมึ ผ่านไดง้ า่ ย ไม่เหมาะสมในการ เพาะปลกู พืช ประเภทของดิน โดยทวั่ ไปแบ่งดนิ ออกเป็น 2 ประเภทงา่ ยๆ คือ ดินชั้นบนและดินชนั้ ลา่ ง 1.ดนิ ชั้นบน เปน็ ดนิ ท่ีมคี วามอุดมสมบรู ณ์ มแี ร่ธาตหุ ลายชดิ และมซี ากพชื ซากสตั วเ์ นา่ เปือ่ ย (ฮวิ มสั ) ที่พชื ตอ้ งการทับถมกนั อยู่มาก ลกั ษณะของเนื้อดินเปน็ สีดาคล้าเมด็ ดนิ หยาบ หรือเมด็ ดนิ มขี นาดใหญร่ ว่ นซุย เปน็ ดนิ ทเ่ี หมาะต่อการเจรญิ เติบโตของพชื 2.ดินชั้นลา่ ง อยถู่ ดั จากดินชัน้ บนลงไป มีความอุดมสมบรู ณ์นอ้ ยมาก เนื้อดนิ แน่น เม็ดละเอียด สีจาง เปน็ ดนิ ท่ีไมเ่ หมาะตอ่ การเจรญิ เตบิ โตของพืช ปัจจยั ทมี่ ผี ลกระทบตอ่ ดิน สาเหตแุ ละผลกระทบของมลพิษทางดิน

สาเหตุของมลพษิ ทางดิน ปญั หาทเี่ กดิ ขนึ้ บนดนิ แยกได้เปน็ สองประเภทคือ 1. สภาพธรรมชาติ ไดแ้ ก่ สภาพทเ่ี กดิ ตามธรรมชาตขิ องบรเิ วณนนั้ ๆ เชน่ บริเวณทีม่ ีเกลอื ใน ดินมาก หรือ บรเิ วณท่ดี นิ มคี วามหนาแน่นนอ้ ย เป็นตน้ ทาให้ดินบรเิ วณนน้ั ไมเ่ หมาะ แกก่ ารเจริญเตบิ โตของพชื ปรากฏการณธ์ รรมชาติบางอยา่ ง เช่นพายนุ ้าท่วมกท็ าให้ ดนิ ทรายถูกพัดพาไปไดส้ งิ่ ปฏิกลู ทม่ี ีชีวิต ซึ่งไดแ้ ก่ ส่ิงมีชวี ติ ท่อี ยใู่ นดนิ หรอื ถูก ใส่ในดนิ ทาให้ดินเสยี ได้โดยอาจเป็นตวั กอ่ โรคหรือกอ่ ความกระทบกระเทอื นตอ่ ความเป็นอยู่ของสงิ่ มีชวี ติ 2. การกระทาของมนุษย์ ส่วนมากมกั เกดิ เนอ่ื งจากความรเู้ ทา่ ไมถ่ งึ การณ์ มงุ่ แต่จะดดั แปลง ธรรมชาติเพอ่ื หวัง ผลประโยชนอ์ ยา่ งใดอย่างหนงึ่ โดยไมค่ านงึ ถึงผลเสียทเ่ี กิดขน้ึ ภายหลัง ดงั ตวั อยา่ งต่อไปนี้ 1. การใชส้ ารเคมแี ละสารกัมมนั ตรังสี สารเคมี ได้แก่ ยาฆ่าแมลง ยาปราบศตั รพู ืช สารเคมเี หลา่ นบ้ี างชนดิ ไม่ สะสมในดนิ เพราะแบคทเี รยี ในดินทาลายไดแ้ ตพ่ วกคลอริเนทเตด ไฮโดรคารบ์ อน (chlorinated hydrocarbon) และสารประกอบ คลอริเนทเตด ฟนี อกซี (chlorinated phenoxy) บางชนดิ คงทนในดนิ เพราะแทรกในตะกอนหรือดินเหนียวได้ดีทาใหแ้ บคทีเรยี ทาลายได้ ยาก ยาปราบวชั พชื บางชนดิ เช่น ยาฆา่ แมลงประเภทดดี ที ี และดลี ดริน ทนทานตอ่ การถูก ทาลายในดนิ มาก จึงสะสมเพมิ่ ปรมิ าณในห่วงโซ่อาหาร ตามลาดบั ขัน้ ต่าง ๆ โดยถ่ายทอด ผา่ นกนั เปน็ ขั้น ๆ สว่ นสารเคมจี ากโรงงานหรอื สถานวจิ ัยต่าง ๆ ไม่ว่าจะเปน็ น้าายาเคมี หรือโลหะทเ่ี ป็นเศษที่เหลือท้ิงหลงั จากแยกเอาสงิ่ ทต่ี อ้ งการออกแลว้ เชน่ โรงงานถลงุ โลหะต่าง ๆ หรอื โรงงานแยกแร่ รวมทงั้ สารกัมมนั ตงั รงั สตี ่าง ๆ เช่น พวกท่มี ากบั ฝ่นุ กัมมนั ตรงั สจี ากการทดลองระเบิด ปรมาณู จากของเสียทที่ งิ้ จากโรงงาน และสถานวิจยั ที่ ใชก้ มั มนั ตรงั สี สารเคมเี หล่านบี้ างชนิดเปน็ อนั ตรายตอ่ ส่งิ มีชีวติ โดยตรงบางชนดิ เปลย่ี น สภาวะของดนิ ทาใหด้ นิ เปน็ กรดหรอื ด่าง พืชจงึ ไม่เจรญิ เตบิ โต 2. การใส๋ปุย๋ เมอ่ื ใสป่ ุ๋ยลงในดนิ สง่ิ ที่คาดว่าจะเกิดขึน้ กค็ อื การสะสมของสารเคมโี ดย เฉพาะอยา่ งยง่ิ ไนโตรเจน ฟอสฟอรสั และโพแทสเซยี ม การสะสมนอ้ี าจถงึ ขนั้ เปน็ พษิ ได้ ปยุ๋ บางชนดิ ทีน่ ยิ มใช้กนั มาก เชน่ แอมโมเนียม ซลั เฟต จะถกู แบคทเี รยี ในดนิ ยอ่ ยสลาย ในปฏกิ ริ ิยารีดักชนั ได้ก๊าซไฮโดรเจนซลั ไฟด์ ซ่งึ เปน็ อันตรายต่อระบบ การหายใจ ของรากพืช ทาให้ดูดแร่ธาตตุ ่าง ๆ ไดน้ อ้ ยลง 3. นา้ ชลประทาน ดินเปน็ พิษจากนา้ ชลประทานได้เนอื่ งจากนา้ ทีม่ ตี ะกอนเกลือ และสาร เคมอี น่ื ๆ รวมทั้งยา ฆา่ แมลงปะปนมาดว้ ย เพราะนา้ ไหลผ่านบรเิ วณต่าง ๆ ยง่ิ ถา้ ไหลผา่ น บรเิ วณทด่ี ินอยู่ในสภาพทถี่ ูกกดั กร่อนได้ งา่ ย บรเิ วณทม่ี เี กลอื มาก ๆ และมกี ารใชย้ าปราบ ศตั รพู ชื กนั อย่างกว้างขวางแล้ว น้ากจ็ ะยงิ่ ทาใหด้ ินท่ีได้รบั การทดนา้ นั้นมโี อกาสได้รบั สารพิษมากขึน้ นอกจากนี้นา้ ชลประทานทาให้ดินเป็นพษิ อกี ได้ โดยเมือ่ ทดน้า ชลประทานเขา้ ไปในไร่นาหรือบรเิ วณใดกต็ าม นา้ จะไหลซมึ ลงสู่เบื้องลา่ งละลายเอาเกลือซง่ึ สะสมในดนิ ชนั้ ลา่ ง ๆ ขนึ้ มาปะปนในดนิ ชนั้ บน เมอื่ หยุดการทดนา้ น้าทข่ี ังทผ่ี ิวดินบนระเหยแหง่ ไป น้าทเ่ี ต็มไปด้วยเกลือกจ็ ะ เคลอ่ื นข้ึนสดู่ ินบนแทน และเมอื่ นา้ แหง่ ไปก็จะเหลอื สว่ นทเี่ ป็นเกลอื สะสมอยู่ทสี่ ่วนของผิวดิน 4. การใชย้ าปราบศตั รูพืชและสตั ว์ ดนิ บรเิ วณทม่ี กี ารเพาะปลกู สะสมสารพิษจากยาปราบ ศตั รูพืชมากกวา่ บรเิ วณอ่ืน ๆ ยาปราบศัตรพู ืชบางชนิดเมือ่ คลุกเคลา้ ลงในดนิ แลว้ จะเกิด ปฏิกิรยิ าเคมขี น้ึ และสูญหายไปจากดิน

แตบ่ างชนิดคงทนต่อการสลายตวั และสะสมอยู่ ในดินเป็นเวลานาน ๆ เชน่ ประเภทที่มตี ะกว่ั อาเซนิก ทองแดง หรือปรอทผสมอยู่ สาร เหลา่ นมี้ คี รงึ่ ชวี ิต (half life = เวลาที่ฤทธิ์ของยาปราบศตั รพู ชื จะหมดไปครงึ่ หนง่ึ เมอื่ ผสม คลกุ เคลา้ กับดนิ ) สงู ถึง 10-30 ป. รองลงไปไดแ้ กพ่ วกดีลดรนิ บเี อชซี เป็นตน้ 5. การทง้ิ ขยะมูลฝอยและของเสยี ตา่ ง ๆ ลงในดนิ ขยะส่วนใหญจ่ ะสลายตัวให้สารประกอบ อนิ ทรีย์ และอนินท รียม์ ากมายหลายชนิดด้วยกนั แต่กม็ ีขยะบางชนิดทส่ี ลายตวั ยาก เช่น วัสดุทท่ี าด้วยผา้ ฝา้ ย หนงั พลาสตกิ โลหะ ขยะประเภทนี้ถ้าทาลายโดยการ เผาจะเหลือเกลอื โดยเฉพาะเกลอื ไนเตรตสะสมอยเู่ ป็นจานวนมาก แลว้ ละลายไปตาม น้า สะสมอยใู่ นบริเวณใกลเ้ คียงการทงิ้ ของเสยี จากโรงงานอตุ สาหกรรม โรงงานอตุ สาหกรรม ต่าง ๆ เปน็ แหล่งผลติ ของเสยี ทสี่ าคัญย่งิ โดยเฉพาะของเสียจาก โรงงานทม่ี โี ลหะหนักปะปน ทาให้ดินบรเิ วณ น้นั มีโลหะหนกั สะสมอยมู่ าก โลหะหนกั ทีส่ าคัญได้แก่ ตะก่วั ปรอท และแคดเม่ยี ม สาหรบั ในประเทศไทย เท่านน้ั ท่ีมี รายงานพบวา่ การเสอื่ มคุณภาพของดินเน่ืองจากตะกว่ั คือโรงงานถลงุ ตะกวั่ จาก ซากแบตเตอรเ่ี กา่ ท่ตี าบลครุใน อาเภอพระประแดง จงั หวดั สมทุ รปราการ ไดน้ าเอากาก ตะกัว่ หรอื เศษตะก่วั ทีไ่ มใ่ ชป้ ระโยชนม์ า ถมทาถนน ทาใหด้ ินบรเิ วณนน้ั เกิดสภาพ เปน็ พษิ เป็นอนั ตรายต่อพืชและผบู้ รโิ ภค(สุมาลี พติ รากลุ 2532:257) ของเสียจากสตั ว์ การเส่ือมคณุ ภาพของดินเนือ่ งจากของเสียจากสตั ว์นั้นพบมากในบรเิ วณที่ เล้ยี งสัตวเ์ ป็น จานวนมาก เพราะสง่ิ ขบั ถ่ายของสัตวท์ ่ีนามากองทบั ถมไวท้ าใหจ้ ุลินทรยี ์ ย่อยสลายได้เปน็ อนมุ ลู ไนเตรต และ อนุมูลไนไตรต์ ถ้าอนุมลู ดงั กล่าวนสี้ ะสมอยมู่ าก ในดินบรเิ วณนั้นจะเกิดเปน็ พิษได้ 6. การเพาะปลกู ดนิ ทใ่ี ชใ้ นการเพาะปลกู เป็นเวลานาน ๆ โดยมไิ ด้คานึงถึงการบารงุ รักษา อยา่ งถกู วธิ จี ะทาให้ แรธ่ าตุในดนิ ถกู ใช้หมดไป จนในทีส่ ดุ ไมอ่ าจปลูกพืชไดอ้ กี 7. การหกั ร้างถางป่า เปน็ ผลทาใหเ้ กิดความเสยี หายกบั ดินไดท้ าใหด้ นิ ปราศจากพืชปกคลมุ หรือไมม่ รี ากของ พืชยึดเหนย่ี ว เกดิ การสญู เสียหนา้ ดินและเกดิ การพงั ทลายไดง้ า่ ย ในท่ีสดุ บรเิ วณนน้ั จะกลายเป็นที่แหง้ แลง้ เม่ือ มีฝนตกกจ็ ะเกิดพายอุ ยา่ งรุนแรงและมี นา้ ทว่ มฉับพลันได้ ดงั ตัวอย่างความเสียหายในจงั หวดั นครศรีธรรมราช เมอื่ เดอื น ธนั วาคม พ.ศ. 2531 ความเสยี หายในจังหวัดชมุ พรและประจวบคีรขี นั ธ์ เมอื่ เดอื นพฤศจกิ ายน พ.ศ. 2532 (สถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี 2535:77-78) ผลกระทบจากมลพษิ ทางดนิ 1. อันตรายตอ่ มนุษย์ ดินทาใหเ้ กดิ พษิ ตอ่ มนุษย์โดยทางอ้อม เช่น พษิ จากไนเตรต ไนไตรต หรือยาปราบ ศัตรูพชื โดยได้รับเขา้ ไปในรปู ของนา้ ดม่ื ที่มสี ารพิษปะปน โดยการรบั ประทาน พืชผกั ท่ปี ลูกในดินทมี่ ีการสะสม ตวั ของสารทมี่ ีพษิ 2. อันตรายตอ่ สตั ว์ ดนิ ทเ่ี ปน็ พษิ ทาใหเ้ กดิ อันตรายต่อสัตว์คล้ายคลงึ กับของมนษุ ย์ แตส่ ัตวม์ ี โอกาสไดรั ับพิษ มากกวา่ เพราะกนิ นอน ขุดคุ้ย หาอาหารจากดินโดยตรง นอกจากนี้การ ใชย้ าฆา่ แมลงที่ไม่ถกู หลักวิชาการยัง เป็นการทาลายแมลงทเี่ ปน็ ประโยชน็ เชน่ ตวั ห้า ทาให้ผลผลติ ทางการเกษตรลดลงได้ ปัจจยั ที่มีผลกระทบต่อดิน สาเหตุของมลพษิ ทางดิน ปญั หาทีเ่ กิดขึน้ บนดิน แยกได้เปน็ สองประเภทคือ

1. สภาพธรรมชาติ ไดแ้ ก่ สภาพท่ีเกิดตามธรรมชาตขิ องบริเวณน้นั ๆ เช่น บรเิ วณท่ีมเี กลอื ใน ดินมาก หรือ บรเิ วณทีด่ นิ มีความหนาแน่นน้อย เป็นตน้ ทาใหด้ นิ บริเวณนนั้ ไมเ่ หมาะ แกก่ ารเจรญิ เตบิ โตของพืช ปรากฏการณธ์ รรมชาตบิ างอยา่ ง เชน่ พายนุ ้าท่วมก็ทาให้ ดนิ ทรายถูกพัดพาไปไดส้ ่ิงปฏกิ ลู ทมี่ ชี ีวิต ซ่ึง ไดแ้ ก่ ส่งิ มชี วี ติ ทีอ่ ย่ใู นดนิ หรอื ถกู ใส่ในดนิ ทาให้ดินเสยี ไดโ้ ดยอาจเปน็ ตวั ก่อโรคหรอื กอ่ ความกระทบกระเทอื น ต่อ ความเปน็ อยู่ของสิง่ มชี ีวิต 2. การกระทาของมนุษย์ ส่วนมากมักเกดิ เนอ่ื งจากความรเู้ ทา่ ไม่ถึงการณ์ ม่งุ แตจ่ ะดัดแปลง ธรรมชาติเพื่อหวัง ผลประโยชน์อยา่ งใดอยา่ งหน่ึงโดยไม่คานงึ ถึงผลเสียทเ่ี กิดขนึ้ ภายหลงั ดงั ตวั อย่างตอ่ ไปน้ี 1. การใชส้ ารเคมีและสารกมั มันตรงั สี สารเคมี ไดแ้ ก่ ยาฆา่ แมลง ยาปราบศตั รูพืช สารเคมี เหล่านี้บางชนดิ ไมส่ ะสมในดินเพราะแบคทเี รยี ในดินทาลายไดแ้ ต่พวกคลอรเิ นทเตด ไฮโดรคาร์บอน (chlorinated hydrocarbon) และสารประกอบ คลอรเิ นทเตด ฟนี อกซี (chlorinated phenoxy) บาง ชนิดคงทนในดินเพราะแทรกในตะกอนหรอื ดนิ เหนียวได้ดที าใหแ้ บคทเี รยี ทาลายได้ ยาก ยาปราบวัชพชื บางชนดิ เช่น ยาฆา่ แมลงประเภทดดี ที ี และดีลดรนิ ทนทานตอ่ การถกู ทาลายในดินมาก จึงสะสมเพมิ่ ปรมิ าณในหว่ งโซ่อาหารตามลาดบั ข้ันตา่ ง ๆ โดยถ่ายทอด ผา่ นกันเปน็ ขน้ั ๆ สว่ นสารเคมีจากโรงงานหรอื สถานวจิ ยั ตา่ ง ๆ ไมว่ ่าจะเป็นน้าายาเคมี หรือโลหะท่เี ปน็ เศษทีเ่ หลือทง้ิ หลงั จากแยกเอาสงิ่ ที่ตอ้ งการออก แล้ว เช่น โรงงานถลงุ โลหะต่าง ๆ หรือโรงงานแยกแร่ รวมทั้งสารกัมมนั ตงั รงั สีตา่ ง ๆ เช่น พวกทีม่ ากับ ฝนุ่ กมั มันตรงั สจี ากการทดลองระเบิดปรมาณู จากของเสยี ทที่ ิง้ จากโรงงาน และสถานวิจยั ท่ี ใช้ กมั มนั ตรงั สี สารเคมเี หล่านบ้ี างชนดิ เป็นอนั ตรายต่อสิ่งมีชีวิตโดยตรงบางชนิดเปล่ยี นสภาวะของดินทาให้ดิน เปน็ กรดหรอื ดา่ ง พชื จงึ ไม่เจรญิ เตบิ โต 2. การใสป๋ ุ๋ย เม่ือใสป่ ุย๋ ลงในดิน สงิ่ ท่คี าดว่าจะเกดิ ข้ึนก็คอื การสะสมของสารเคมีโดยเฉพาะอยา่ งยิ่ง ไนโตรเจน ฟอสฟอรสั และโพแทสเซียม การสะสมนอี้ าจถึงข้ันเปน็ พษิ ได้ ปุ๋ยบางชนิดท่ีนยิ มใชก้ นั มาก เช่น แอมโมเนียมซลั เฟต จะถกู แบคทเี รียในดินย่อยสลายในปฏกิ ริ ยิ ารดี กั ชันได้กา๊ ซไฮโดรเจนซลั ไฟด์ ซง่ึ เปน็ อนั ตรายตอ่ ระบบการหายใจ ของรากพืช ทาใหด้ ดู แรธ่ าตุตา่ ง ๆ ไดน้ อ้ ยลง 3. น้าชลประทาน ดินเปน็ พิษจากน้าชลประทานไดเ้ น่ืองจากน้าทม่ี ีตะกอนเกลอื และสาร เคมอี ื่น ๆ รวมทง้ั ยาฆา่ แมลงปะปนมาด้วย เพราะนา้ ไหลผ่านบรเิ วณตา่ ง ๆ ย่งิ ถา้ ไหลผ่าน บรเิ วณท่ีดนิ อยู่ในสภาพท่ถี กู กดั กรอ่ นไดง้ า่ ย บรเิ วณทม่ี เี กลือมากๆ และมีการใชย้ าปราบ ศตั รพู ืชกนั อย่างกว้างขวางแลว้ น้ากจ็ ะยงิ่ ทาให้ ดินทไี่ ดร้ ับการทดน้านัน้ มีโอกาสไดร้ บั สารพิษมากข้ึน นอกจากนน้ี า้ ชลประทานทาให้ดินเป็นพิษอกี ได้ โดยเม่อื ทดน้าชลประทานเข้า ไปในไร่นาหรือบรเิ วณใดกต็ าม น้าจะไหลซึมลงสเู่ บอ้ื งลา่ งละลายเอาเกลอื ซึ่งสะสมในดิน ชั้นล่าง ๆ ขนึ้ มาปะปนในดินช้นั บน เมอื่ หยดุ การทดน้า นา้ ที่ขงั ที่ผวิ ดนิ บนระเหยแหง่ ไป นา้ ทเ่ี ตม็ ไปด้วยเกลือก็ จะเคลือ่ นข้ึนสู่ดนิ บนแทน และเม่อื น้าแห่งไปกจ็ ะเหลอื สว่ นท่เี ป็นเกลอื สะสมอยทู่ ่สี ว่ นของผวิ ดิน 4. การใช้ยาปราบศัตรพู ืชและสตั ว์ ดินบรเิ วณทมี่ กี ารเพาะปลกู สะสมสารพษิ จากยาปราบ ศตั รพู ืชมากกวา่ บรเิ วณอืน่ ๆ ยาปราบศตั รพู ชื บางชนิดเมื่อคลกุ เคล้าลงในดนิ แลว้ จะเกดิ ปฏกิ ิรยิ าเคมีขน้ึ และ สญู หายไปจากดนิ แตบ่ างชนิดคงทนตอ่ การสลายตวั และสะสมอยู่ในดินเปน็ เวลานาน ๆ เชน่ ประเภททมี่ ตี ะก่วั

อาเซนกิ ทองแดง หรือปรอทผสมอยู่ สารเหล่านีม้ ีครึ่งชวี ิต (half life = เวลาทฤี่ ทธข์ิ องยาปราบศัตรพู ืชจะ หมดไปครงึ่ หนงึ่ เม่ือผสมคลุกเคล้ากบั ดนิ ) สงู ถงึ 10-30 ป. รองลงไปไดแ้ ก่พวกดลี ดริน บีเอชซี เปน็ ต้น 5. การทิง้ ขยะมลู ฝอยและของเสยี ต่าง ๆ ลงในดินขยะส่วนใหญจ่ ะสลายตัวใหส้ ารประกอบ อนิ ทรยี ์ และอนนิ ทรียม์ ากมายหลายชนดิ ด้วยกนั แตก่ ็มขี ยะบางชนดิ ทส่ี ลายตัวยาก เชน่ วสั ดทุ ที่ าด้วยผ้าฝ้าย หนัง พลาสตกิ โลหะ ขยะประเภทนีถ้ ้าทาลายโดยการ เผาจะเหลอื เกลอื โดยเฉพาะเกลอื ไนเตรตสะสมอยเู่ ป็น จานวนมาก แล้วละลายไปตาม น้า สะสมอย่ใู นบรเิ วณใกลเ้ คยี งการทง้ิ ของเสียจากโรงงานอตุ สาหกรรม โรงงานอุตสาหกรรมต่างๆ เปน็ แหล่งผลติ ของเสียทส่ี าคัญยิง่ โดยเฉพาะของเสยี จาก โรงงานท่ีมโี ลหะหนัก ปะปนทาใหด้ นิ บรเิ วณน้ันมโี ลหะหนกั สะสมอยมู่ าก โลหะหนักที่สาคญั ไดแ้ ก่ ตะกวั่ ปรอท และแคดเมีย่ ม สาหรับในประเทศไทยเท่าน้นั ทีม่ ี รายงานพบว่าการเส่ือมคุณภาพของดนิ เน่ืองจากตะกั่ว คือโรงงานถลงุ ตะก่ัว จาก ซากแบตเตอรเี่ ก่าทต่ี าบลครุใน อาเภอพระประแดง จงั หวดั สมุทรปราการได้นาเอากาก ตะกว่ั หรอื เศษ ตะกั่วทีไ่ มใ่ ช้ประโยชนม์ าถมทาถนน ทาใหด้ นิ บริเวณน้ันเกิดสภาพเป็นพษิ เปน็ อันตรายต่อพืชและผบู้ รโิ ภค (สุมาลี พติ รากลุ 2532:257) ของเสยี จากสัตว์ การเส่ือมคณุ ภาพของดนิ เนอื่ งจากของเสยี จากสตั ว์น้นั พบมาก ในบริเวณที่ เลีย้ งสัตว์เปน็ จานวนมากเพราะส่งิ ขบั ถ่ายของสตั วท์ ี่นามากองทบั ถมไวท้ าใหจ้ ลุ ินทรีย์ ย่อยสลายได้ เป็นอนุมลู ไนเตรตและอนุมลู ไนไตรต์ ถ้าอนุมลู ดังกล่าวนีส้ ะสมอยมู่ าก ในดนิ บรเิ วณนัน้ จะเกดิ เป็นพิษได้ 6. การเพาะปลกู ดนิ ท่ีใช้ในการเพาะปลูกเป็นเวลานาน ๆ โดยมิได้คานึงถงึ การบารุงรักษาอยา่ งถกู วิธจี ะ ทาใหแ้ ร่ธาตใุ นดินถูกใช้หมดไป จนในทส่ี ดุ ไมอ่ าจปลูกพืชไดอ้ ีก 7. การหักรา้ งถางปา่ เปน็ ผลทาให้เกิดความเสียหายกับดินไดท้ าให้ดินปราศจากพืชปกคลมุ หรือไมม่ ีรากของพชื ยดึ เหนีย่ ว เกดิ การสูญเสียหนา้ ดินและเกิดการพงั ทลายได้งา่ ยในที่สดุ บรเิ วณนน้ั จะ กลายเป็นทีแ่ หง้ แลง้ เมอ่ื มีฝนตกกจ็ ะเกิดพายอุ ยา่ งรนุ แรงและมีน้าท่วมฉบั พลนั ได้ ดงั ตวั อยา่ งความเสียหายใน จังหวัดนครศรธี รรมราช เมอื่ เดอื นธนั วาคม พ.ศ. 2531 ความเสียหายในจงั หวดั ชุมพรและประจวบครี ีขนั ธ์ เม่ือ เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2532 (สถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ผลกระทบจากมลพษิ ทางดนิ 1. อนั ตรายตอ่ มนุษย์ ดินทาให้เกิดพษิ ต่อมนษุ ยโ์ ดยทางออ้ ม เช่น พษิ จากไนเตรต ไนไตรต หรอื ยาปราบ ศตั รูพืช โดยไดร้ ับเขา้ ไปในรปู ของนา้ ดม่ื ทมี่ สี ารพษิ ปะปน โดยการรบั ประทาน พชื ผกั ที่ปลกู ในดนิ ทม่ี กี ารสะสม ตวั ของสารทมี่ พี ษิ 2. อนั ตรายตอ่ สัตว์ ดินท่เี ป็นพษิ ทาใหเ้ กิดอนั ตรายต่อสัตวค์ ลา้ ยคลึงกับของมนุษย์แต่สตั วม์ ี โอกาสไดรั บั พษิ มากกว่า เพราะกินนอน ขุดคุ้ย หาอาหารจากดินโดยตรง นอกจากน้ีการ ใช้ยาฆ่าแมลงที่ไมถ่ กู หลักวชิ าการยัง เป็นการทาลายแมลงทเ่ี ป็นประโยชน็ เชน่ ตวั ห้า ทาให้ผลผลติ ทางการเกษตรลดลงได้


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook