Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore นางสาวจุฑามาศ มามงคล เลขที่ 11 ปวส 2

นางสาวจุฑามาศ มามงคล เลขที่ 11 ปวส 2

Published by จิว'ววว เวล'รี่, 2020-10-05 02:23:26

Description: นางสาวจุฑามาศ มามงคล เลขที่ 11 ปวส 2

Search

Read the Text Version

การบญั ชีตน้ ทุนมาตรฐาน หน่วยท่ี 2 Standard Costing จัดทำโดย นำงสำวจุฑำมำศ มำมงคล เลขที่ 11 สำขำ กำรบัญชี แผนกพณิชยกำร เสนอ คณุ ครู สำยฝน สำยประสิทธ์ิ ภำคเรยี นที่ 1 ปีกำรศกึ ษำ 2563 วิทยำลัยเทคนคิ เทงิ

การบญั ชีตน้ ทุนมาตรฐาน Standard Costing

สาระการเรียนรู้ 1.ความหมายของการบญั ชตี ้นทุนมาตรฐาน 2.การคานวณต้นทุนสนิ ค้าตามวิธีตน้ จริง วิธีตน้ ทุนปกติ และวธิ ีตน้ ทกุ มาตรฐาน 3.การกาหนดมาตรฐานตน้ ทุนและการเปรียบเทียบผลต่าง 4.การคานวณผลตา่ งเกย่ี วกบั วตั ถุดบิ ทางตรง 5.การบันทกึ บญั ชเี กีย่ วกบั วตั ถดุ ิบทางตรง 6.การคานวณผลต่างเกย่ี วกับแรงงานทางตรง 7.การบันทึกบญั ชเี กี่ยวกบั แรงงานทางตรง 8.การคานวณผลตา่ งเก่ยี วกบั คา่ ใชจ้ า่ ยการผลติ 9.การบนั ทกึ บญั ชีเกยี่ วกบั ค่าใชจ้ า่ ยการผลติ

กำรบญั ชตี น้ ทนุ มำตรฐำน การบัญชีต้นทุนมาตรฐาน (Standard Costing) ถือเสมือนเป็นเครื่องมือในการบริหาร จัดการตน้ ทนุ ใหฝ้ ่ายบริหาร เพื่อใช้ในการวางแผนและควบคุมต้นทุนการผลิต ตามท่ีทราบแล้วว่า กิจการสามารถเลือกระบบบัญชเี พอ่ื สะสมข้อมูลต้นทุนและจัดทารายงานทางการเงินตามลักษณะ การผลิตสินค้าได้ 2 ระบบคือการบัญชีต้นทุนงาน (Job Costing) และการบัญชีต้นทุนช่วงการ ผลิต (Process Costing) กิจการจะเลือกปฏิบัติตามระบบบัญชีใดข้ึนอยู่กับลักษณะของสินค้าท่ี ผลิตการบัญชีต้นทุนมาตรฐาน เป็นลักษณะการบัญชีที่ใช้เพื่อเปรียบเทียบต้นทุนท่ีเกิดข้ึนจริงกับ มาตรฐานที่กาหนดไว้อย่างเหมาะสม เป็นเคร่ืองมือในการควบคุมและบริหารจัดการต้นทุนการ บญั ชตี ้นทุนมาตรฐานจึงมปี ระโยชน์ตอ่ ผ้บู ริหารเปน็ อยา่ งมาก กิจการสามารถนาวิธีการบัญชีต้นทุนมาตรฐานไปประยุกต์ใช้กับระบบการบัญชีต้นทุน งานสั่งทาและระบบการบัญชีต้นทุนช่วงการผลิต เพื่อบริหารจัดการต้นทุนให้เกิดประสิทธิภาพ บรรลุวัตถุประสงค์ของกิจการคือ สร้างกาไรและสร้างความพึงพอใจต่อผู้ถือหุ้นมากท่ีสุดบน พน้ื ฐานของผู้ประกอบการท่ีมีคณุ ธรรมและยดึ หลักธรรมาภิบาลการ

ควำมหมำยของกำรบญั ชีต้นทุนมำตรฐำน การบัญชีตน้ ทุนมาตรฐาน หมายถึง ระบบการบญั ชีตน้ ทุนการผลติ ซ่ึงถูกกาหนดไว้ล่วงหน้าก่อนทา การผลิตจริงทั้งมาตรฐานปริมาณ (Quantity Standard) และมาตรฐานราคา (Price Standard) โดย กาหนดอย่างมีหลักเกณฑ์ตามความเหมาะสมของกิจการและต้องร่วมมือกับทุกฝ่ายที่เก่ียวข้อง เพื่อนา จานวนทกี่ าหนดไว้ลว่ งหนา้ หรอื มาตรฐานมาเปรียบเทียบกับผลการผลิตจริงเพ่ือพัฒนาต้นทุนให้ได้ต้นทุนต่า ทส่ี ุด สินคา้ มคี ณุ ภาพตามตอ้ งการสรา้ งกาไรสงู สดุ ให้กิจการ วธิ กี ารบญั ชตี ้นทุนมาตรฐานนอกจากมีประโยชน์ในการบริหารจดั การต้นทุนจากการนาผลต่างที่ได้ จากการเปรียบเทียบต้นทุนมาตรฐานกับต้นทุนที่เกิดขึ้นจริงไปปรับการทางานของทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง ผู้บริหารสามารถใช้วิธีการบัญชีต้นทุนมาตรฐานเพื่อควบคุมการทางานวางแผนการผลิตประกอบการ ตัดสินใจท่ีเป็นประโยชน์ต่อกิจการแล้วในการตีราคาสินค้าคงเหลือปลาย งวดกิจการสามารถใช้ราคา มาตรฐานของสนิ ค้าเพ่อื คานวณมลู ค่าสนิ ค้าคงเหลือปลายงวดได้

วิธีการบัญชีต้นทุนมาตรฐานนอกจากมีประโยชน์ในการบริหารจัดการต้นทุน จากการนาผลต่างทไ่ี ดจ้ ากการเปรียบเทียบต้นทนุ มาตรฐานกับต้นทุนท่ีเกิดข้ึนจริงไปปรับ การทางานของทุกฝ่ายท่ีเก่ียวข้องผู้บริหารสามารถใช้วิธีการบัญชีต้นทุนมาตรฐานเพื่อ ควบคุมการทางานวางแผนการผลิตประกอบการตัดสินใจท่ีเป็นประโยชน์ต่อกิจการแล้ว ในการตีราคาสินค้าคงเหลือปลายงวดกิจการสามารถใช้ราคามาตรฐานของสินค้าเพื่อ คานวณมูลค่าสนิ ค้าคงเหลอื ปลายงวดได้

ขอ้ สังเกต หากเราเปรยี บเทยี บ “ ต้นทุนมาตรฐาน” (Standard Cost) กบั “ งบประมาณ (Budget) วา่ มีความสมั พันธก์ นั เหมอื นกนั หรอื แตกตา่ งกันอยา่ งไรพอสรปุ ได้วา่ “ ตน้ ทุนมำตรฐำน” ถูกกาหนดเป็นมาตรฐานตอ่ หนว่ ยเทียบเท่าหน่วยสาเร็จรูปตาม ส่วนประกอบของตน้ ทนุ การผลติ “ งบประมำณ” ถูกกาหนดเป็นยอดรวมทัง้ หมดโดยแยกเป็นแต่ละรายการตน้ ทุนการผลติ ที่ คาดวา่ จะเกิด

กำรคำนวณตน้ ทุนสินคำ้ ตำมวธิ ตี น้ ทนุ จริงวิธีตน้ ทนุ ปกตแิ ละวธิ ีต้นทุนมำตรฐำน การคานวณต้นทุนการผลิตสินคา้ มวี ิธกี ารทแี่ ตกตา่ งกันตามลกั ษณะการเกบ็ สะสมต้นทนุ การผลติ ตามขนาดและลกั ษณะการปฏิบตั งิ านของแต่ละกิจการ แบง่ การคานวณตน้ ทนุ การผลิตสนิ ค้าได้ 3 วิธี คอื 1. วิธีตน้ ทุนจรงิ (Actual Cost) 2. วธิ ีตน้ ทุนปกติ (Normal Cost) 3. วิธีต้นทนุ มาตรฐาน (Standard Cost)

วธิ ีต้นทุนจริง การคานวณต้นทุนสินค้าวิธีน้ีส่วนประกอบของต้นทุนการผลิตทั้งหมดจะถูกบันทึกด้วย ปริมาณที่ใช้จริงและราคาท่ีซ้ือจริงไม่มีการกาหนดกาลังการผลิตและอัตราค่าใช้จ่ายการผลิตคิดเข้า งานไว้ล่วงหน้าและไม่มีการเปรียบเทียบผลต่างของการผลิตท้ังผลต่างปริมาณและผลต่างราคาวิธี ต้นทุนจริงนีเ้ หมาะสาหรบั กจิ การที่ผ้บู ริหารสามารถควบคุมและดูแลการใช้ต้นทุนได้อย่างทั่วถึงและมี ประสิทธิภาพ

บญั ชีงำนระหว่ำงทำแสดงรำยละเอียดดังน้ี งำนระหว่ำงทำ วัตถดุ บิ ทางตรง ปริมำณจริง x รำคำจริง แรงงานทางตรง เวลำจริง x อัตรำจริง ค่าใช้จ่ายการผลติ ปรมิ ำณจรงิ x รำคำจริง

วิธตี ้นทนุ ปกติ การคานวณต้นทุนสินค้าวิธีน้ีวัตถุดิบทางตรงและแรงงานทางตรงจะถูก บนั ทกึ ดว้ ยปริมาณที่ใชจ้ ริงและราคาท่ีซ้ือจริง สว่ นค่าใช้จา่ ยการผลิตจะบันทึกโดยวิธี คิดเข้างาน มีการกาหนดอัตราค่าใช้จ่ายการผลิตคิดเข้างานต่อฐานกิจกรรมไว้ ล่วงหน้า (Predetermine Overhead Rate) และเลือกฐานกิจกรรมที่ใช้ เม่ือ คานวณค่าใช้จ่ายการผลิตคิดเข้างานแล้วจะเปรียบเทียบค่าใช้จ่ายการผลิตจ่ายจริง กับค่าใช้จ่ายการผลิตคิดเข้างาน เม่ือมีผลต่างของค่าใช้จ่ายการผลิตคิดเข้างานสูง หรือต่าไปนาไปปรับปรุงกับบัญชีต้นทุนขายหรือปรับปรุงบัญชีต้นทุนขาย บัญชีงาน ระหว่างทาและบัญชีสินค้าสาเร็จรูป ตามส่วนที่เหมาะสม วิธีต้นทุนปกติน้ีเหมาะกับ กจิ การที่มีคา่ ใช้จ่ายการผลิตเป็นจานวนมากและต้องการกาหนดอัตราค่าใช้จ่ายการ ผลติ คดิ เข้างานเพ่ือควบคมุ ตน้ ทนุ ค่าใช้จา่ ยการผลิต

บัญชีงำนระหว่ำงทำแสดงรำยละเอียดดังนี้ งำนระหวำ่ งทำ วัตถดุ บิ ทางตรง ปรมิ ำณจรงิ x รำคำจรงิ แรงงานทางตรง เวลำจรงิ x อตั รำจรงิ คา่ ใชจ้ า่ ยการ ฐำนจริง x อัตรำคิดเข้ำงำน ผลติ คดิ เข้างาน

วธิ ีตน้ ทนุ มำตรฐำน การคานวณต้นทนุ การผลิตตามวิธีน้ี กิจการจะกาหนดปรมิ าณวัตถุดิบทางตรง จานวนช่ัวโมง แรงงานทางตรงที่ควรใช้และกาหนดราคาท่ีควรจัดซ้ือหรือควรจ่ายไว้ล่วงหน้า พร้อมทั้งกาหนดอัตรา คา่ ใชจ้ า่ ยการผลิตคดิ เข้างานทั้งคา่ ใชจ้ า่ ยการผลิตผันแปร และค่าใช้จ่ายคงที่โดยแยกส่วนประกอบของ ต้นทุนการผลิตทงั้ 3 ประเภทตามพฤติกรรมตน้ ทุนแบบผันแปร (Variable Cost) และต้นทุนแบบคงที่ (Fixed Cost)

บญั ชงี ำนระหว่ำงทำแสดงรำยละเอียดดังน้ี งำนระหว่ำงทำ วตั ถดุ บิ ทางตรง ปรมิ ำณมำตรฐำน x รำคำมำตรฐำน แรงงานทางตรง เวลำมำตรฐำน x อัตรำมำตรฐำน ค่าใช้จา่ ยการ ฐำนตำมมำตรฐำน x ผลิตคดิ เขา้ งาน อัตรำคิดเขำ้ งำน

กำรกำหนดมำตรฐำนต้นทุนและกำรเปรียบเทยี บผลต่ำง หน่วยงานที่มีหน้าที่กาหนดมาตรฐานต้องมีข้อมูลเพ่ือใช้ในการกาหนดมาตรฐาน อย่างเหมาะสมและเพียงพอเพราะมาตรฐานที่กาหนดข้ึนจะต้องใช้ในการ เปรียบเทียบ ควบคุมและวางแผนต้นทุนการผลิต มาตรฐานท่ีกาหนดข้ึนต้องเป็นท่ียอมรับเหมาะสมและ ปฏิบัติได้จริง เมื่อนามาเปรียบเทียบกับผลการปฏิบัติงานจริงผลต่งท่ีเกิดขึ้นเป็นท่ียอมรับ และนามาปรบั ปรงุ แกไ้ ขการปฏิบตั งิ านของฝา่ ยที่เกีย่ วข้อง

กำรกำหนดมำตรฐำนตน้ ทนุ (Standard Setting) มาตรฐานต้นทุนการผลิตจะถูกกาหนดท้ัง 2 ด้านคือมาตรฐานปริมาณหรือมาตรฐาน ประสิทธภิ าพและมาตรฐานดา้ นราคาหรอื มาตรฐานด้านการจา่ ยเงนิ โดยแยกกาหนดมาตรฐานตาม ส่วนประกอบของต้นทุนการผลิตทั้ง 3 ประเภทคือวัตถุดิบทางตรงแรงงานทางตรงและค่าใช้จ่าย การผลิต

1. วัตถุดิบทำงตรง (Direct Materials) เป็นสว่ นประกอบของตน้ ทนุ การผลิตทมี่ ลี กั ษณะพฤตกิ รรมตน้ ทนุ เปน็ แบบผนั แปรกาหนดมาตรฐาน 2 ด้าน ดังน้ี 1.1 มำตรฐำนปริมำณวัตถุดิบ (Quantity Standard) เป็นการกาหนดเก่ียวกับปริมาณหน่วยของวัตถุดิบ ทางตรงทีใ่ ชใ้ นการผลติ สนิ คา้ ตอ่ หน่วยอาจกาหนดเป็นน้าหนักท่ีใช้หรือหน่วยนับอื่นเช่นกระป้องกิโลกรัมความยาวเป็น เมตรเป็นตน้ ฝา่ ยทอ่ี อกแบบสนิ ค้าและฝา่ ยท่ีทาการผลิตจะเปน็ ผ้กู าหนดมาตรฐานจานวนวตั ถดุ ิบทใี่ ช้ 1.2 มำตรฐำนรำคำ (Price Standard) เป็นการกาหนดราคาต่อหน่วยของวัตถุดิบทางตรงท่ีใช้ในการผลิต สินค้าต่อหน่วยฝ่ายที่รับผิดชอบการกาหนดมาตรฐานราคาของวัตถุดิบทางตรงก็คือฝ่ายจัดซ้ือการกาหนดราคาให้ เหมาะสมและปฏบิ ตั ิไดจ้ ริงควรศกึ ษาขอ้ มลู ทีเ่ กยี่ วข้องโดยเฉพาะอย่างยิง่ แนวโนม้ ทจ่ี ะเปน็ ไปในอนาคตสภาวะแวดล้อม ท่ีเกี่ยวขอ้ งสภาพเศรษฐกจิ สังคมนโยบายการเมอื งฯลฯ

2. แรงงำนทำงตรง (Direct Labor) เปน็ ส่วนประกอบของต้นทุนการผลิตในส่วนของการแปรสภาพมีพฤติกรรมต้นทนุ เปน็ แบบผันแปรให้ กาหนดมาตรฐาน 2 ด้านดงั น้ี 2.1 มำตรฐำนจำนวนช่ัวโมงหรือประสิทธิภำพ (Time EfficiencyStandard) เป็นการกาหนด เกยี่ วกับจานวนช่วั โมงแรงงานทางตรงทใ่ี ชใ้ นการผลิตสนิ ค้าต่อหนว่ ยฝ่ายท่ีออกแบบสินค้าและฝ่ายท่ีทาการผลิต จะเป็นผูก้ าหนดมาตรฐานจานวนชว่ั โมงแรงงานทางตรงท่ีใช้ 2.2 มำตรฐำนอัตรำกำรจ้ำง (Wage Rate Standard) เป็นการกาหนดอัตราการจ้างแรงงาน ทางตรงที่ใช้ในการผลิตสินค้าต่อชั่วโมงแรงงานทางตรงฝ่ายที่รับผิดชอบในการกาหนดมาตรฐานอัตราค่าจ้าง แรงงานคอื ฝา่ ยจ้างแรงงานการกาหนดอัตราใหเ้ หมาะสมและปฏบิ ัตไิ ดจ้ รงิ ควรศึกษาข้อมูลท่ีเกี่ยวข้องโดยเฉพาะ อย่างย่ิงแนวโนม้ ท่จี ะเปน็ ไปในอนาคตสภาวะแวดล้อมท่ีเกยี่ วข้องสภาพเศรษฐกจิ สังคมนโยบายการเมือง ฯลฯ

2.1 มำตรฐำนจำนวนช่ัวโมงหรอื ประสิทธภิ ำพ (Time EfficiencyStandard) เป็นการกาหนดเกีย่ วกบั จานวนชวั่ โมงแรงงานทางตรงทใี่ ช้ในการผลิตสินคา้ ตอ่ หน่วยฝา่ ยที่ออกแบบสนิ ค้าและฝ่ายทที่ าการผลติ จะเปน็ ผกู้ าหนดมาตรฐานจานวนชั่วโมง แรงงานทางตรงทใี่ ช้

2.2 มำตรฐำนอัตรำกำรจำ้ ง (Wage Rate Standard) เป็นการกาหนดอตั ราการจ้างแรงงานทางตรงท่ีใช้ในการผลิตสินค้าตอ่ ชว่ั โมงแรงงาน ทางตรงฝ่ ายที่รับผิดชอบในการกาหนดมาตรฐานอตั ราค่าจ้างแรงงานคือฝ่ ายจ้างแรงงานการ กาหนดอตั ราให้เหมาะสมและปฏิบตั ไิ ด้จริงควรศึกษาข้อมลู ที่เกี่ยวข้องโดยเฉพาะอยา่ งยิ่งแนวโน้ม ที่จะเป็นไปในอนาคตสภาวะแวดล้อมทเ่ี กี่ยวข้องสภาพเศรษฐกิจสงั คมนโยบายการเมือง ฯลฯ

3. คำ่ ใชจ้ ่ำยกำรผลติ (Manufacturing Overhead) เป็นส่วนประกอบของตน้ ทนุ การผลติ ในส่วนของตน้ ทุนแปรสภาพมี พฤติกรรมต้นทุนเป็นทั้ง แบบต้นทุนผันแปรและแบบต้นทุนคงท่ีวิธีการกาหนดมาตรฐานจะมีความแตกต่างกันตามลักษณะ พฤติกรรมตน้ ทุนดงั นี้ 3.1 ค่ำใช้จ่ำยกำรผลิตผันแปร (Variable Manufacturing Overhead) ให้เลือกฐาน กจิ กรรมที่ใช้และกาหนดอตั ราคา่ ใชจ้ ่ายการผลติ ผันแปรตอ่ ฐานกิจกรรมที่เลือกโดยกาหนดมาตรฐาน 2 ด้านดังนี้

3.1.1 มำตรฐำนประสิทธิภำพ (Variable Overhead Efficiency Standard) เลือกฐาน กจิ กรรมแลว้ กาหนดจานวนตามฐานกิจกรรม 3.1.2 มำตรฐำนกำรจ่ำยเงิน (Spending Variable Overhead Standard) กาหนดค่าใช้จ่าย การผลติ ผันแปรต่อหน่วยของฐานกจิ กรรมทเ่ี ลอื กฝา่ ยควบคุมค่าใชจ้ า่ ยการผลติ ผันแปรเป็นผกู้ าหนด เมือ่ ทาการผลติ แล้วนาหน่วยที่ผลิตเสร็จคานวณค่าใช้จ่ายการผลิตผันแปรคิดเข้างานผลต่างท่ีเกิดข้ึนถ้า เปน็ ผลตา่ งทีไ่ ม่น่าพอใจใหน้ าไปปรบั ปรุงและแก้ไขตามฝา่ ยท่เี ก่ยี วขอ้ ง

3.2 ค่ำใชจ้ ่ำยกำรผลติ คงที่ (Fixed Manufacturing Overhead Costs) กาหนดอตั ราคา่ ใช้จ่ายการผลติ คงท่ีคิดเข้างานไวล้ ว่ งหนา้ ทาโดยประมาณตน้ ทนุ ค่าใช้จ่ายการผลิต คงที่ตลอดปีหารดว้ ยกาลังการผลิตตามฐานกิจกรรมที่เลือก 3.2.1 มำตรฐำนกำลังกำรผลิต (Volume Standard) เม่ือเลือกฐานกิจกรรมแล้วฝ่ายผลิต กาหนดกาลังการผลติ ตามฐานกิจกรรมร่วมกับฝา่ ยการตลาด 3.2.2 มาตรฐานการจ่ายเงินตามงบประมาณ (Budget Standard) กาหนดงบประมาณ คา่ ใชจ้ ่ายการผลติ คงทฝ่ี ่ายที่ทาหน้าท่ีควบคุมค่าใชจ้ ่ายการผลิตคงทเ่ี ปน็ ผู้กาหนด

กำรเปรยี บเทียบผลตำ่ งเม่ือผลติ ได้จำนวนผลผลิต (Output) แล้วนาจานวนผลผลิตที่ทาได้มาคานวณปริมาณแยกตามส่วนประกอบของ ต้นทนุ การผลติ วา่ ควรใช้ในจานวนมาตรฐานเทา่ ใดหรอื ควรจะจ่ายในราคามาตรฐานเท่าใด เปรียบเทียบกับปริมาณท่ีใช้จริงและราคาที่จ่ายจริงหากกิจการใช้ระบบการบัญชีต้นทุน ช่วงการผลิตผลผลิตที่นามาคานวณเพื่อเปรียบเทียบนั้นต้องเป็นผลผลิตที่คานวณหน่วย เทียบเท่าหน่วยสาเร็จรูปหากกิจการใช้ระบบการบัญชีต้นทุนงานส่ังทาก็ใช้จานวนหน่วย ของสินคา้ ทผ่ี ลิตเสรจ็ แตล่ ะงาน

ผลตำ่ งท่ีเกดิ ขน้ึ คอื ผลการปฏิบตั ิงานของแต่ละฝา่ ยทเ่ี ก่ียวข้องว่ามผี ลการปฏิบัติงานสูงหรือต่ากว่ามาตรฐานอย่างไร ผู้บริหารจะใช้ผลต่างที่เกิดข้ึนเหล่านี้เพ่ือบริหารจัดการต้นทุนให้เหมาะสมโดยแยกเปรียบเทียบ 2 ด้านตาม สว่ นประกอบของต้นทุนการผลิตดงั นี้ 1. วัตถุดิบทำงตรง 1.1 ผลต่ำงปริมำณ (Quantity Variance) เกิดจากการเปรียบเทียบจานวนมาตรฐานดิบทาง ตรงท่คี วรใชต้ ามผลผลิตที่ทาได้ กบั จานวนวตั ถุดิบทางตรงท่ีใช้จริง ผลต่างปริมาณวัตถุดิบทางตรงถ้าเป็นผลต่าง ที่ไม่น่าพอใจใหน้ าไปปรับปรุงและแก้ไขการทางานของฝา่ ยผลติ 1.2 ผลต่ำงรำคำ (Price Variance) เกิดจากการเปรียบเทียบผลต่างระหว่างราคาวัตถุดิบตาม มาตรฐานกบั ราคาวัตถดุ บิ ที่ซอ้ื จริงผลต่างราคาวตั ถุดิบถ้าเป็นผลต่างท่ีไม่น่าพอใจให้นาไปปรับปรุงและแก้ไขการ ทางานของฝ่ายจัดซ้ือ

2. แรงงำนทำงตรง 2.1 ผลต่ำงประสิทธิภำพแรงงำน (Efficiency Variance) เกิดจากการเปรียบเทียบ จานวนมาตรฐานของช่วั โมงแรงงานทางตรงทค่ี วรใช้ตามผลผลิตทีท่ าได้กับจานวนช่ัวโมงแรงงานทาง ตรงท่ีใช้จริงผลต่างประสิทธิภาพแรงงานถ้าเป็นผลต่างที่ไม่น่าพอใจให้นาไปปรับปรุงและแก้ไขการ ทางานของฝ่ายผลติ 2.2 ผลต่ำงอัตรำค่ำจ้ำง (Wage Rate Variance) เกิดจากการเปรียบเทียบผลต่าง ระหว่างอัตราค่าจ้างแรงงานทางตรงตามมาตรฐานกับอัตราค่าจ้างแรงงานทางตรงจริงผลต่างอัตรา คา่ จ้างของแรงงานทางตรงถา้ เป็นผลต่างท่ีไม่น่าพอใจให้นาไปปรับปรุงและแก้ไขการทางานของฝ่าย จ้างแรงงาน

3. คำ่ ใชจ้ ำ่ ยกำรผลิต 3.1 ค่ำใชจ้ ำ่ ยกำรผลติ ผันแปร 3.1.1 ผลต่ำงประสิทธิภำพค่ำใช้จ่ำยกำรผลิตผันแปร (Variable Overhead Efficiency Variance) เกิดจากการเปรียบเทียบจานวนมาตรฐานตามผลผลิต ของฐานกิจกรรมท่ีเลือกกับจานวนฐานกิจกรรมท่ีเกิดข้ึนจริงผลต่างประสิทธิภาพของ ค่าใช้จ่ายการผลิตผันแปรถ้าเป็นผลต่างที่ไม่น่าพอใจให้นาไปปรับปรุงและแก้ไขการทางาน ตามฝา่ ยของฐานกิจกรรม 3.1.2 ผลต่ำงกำรจ่ำยเงิน (Spending Variance) เกิดจากการเปรียบเทียบ ผลต่างระหว่างอัตราคา่ ใชจ้ า่ ยการผลติ ผนั แปรคิดเข้างานกบั อัตราค่าใช้จ่ายการผลิตผนั แปรท่ี เกดิ จริงผลต่างการจ่ายเงินของค่าใช้จ่ายการผลิตผันแปรถ้าเป็นผลต่างท่ีไม่น่าพอใจให้นาไป ปรบั ปรุงและแกไ้ ขการทางานของฝา่ ยควบคมุ คา่ ใช้จา่ ยการผลิตผันแปร

3.2 คำ่ ใชจ้ ำ่ ยกำรผลิตคงท่ี 3.1.1 ผลต่ำงกำลังกำรผลิตหรือผลต่ำงเน่ืองจำกประสิทธิภำพของค่ำใช้จ่ำยกำรผลิตคงท่ี (Volume Variance or Fixed Efficiency Variance) เกิดจากการเปรียบเทียบจานวนกาลังการผลิตตามงบประมาณกับกาลังการ ผลิตตามผลผลิตท่ีทาได้จริง ตามฐานกิจกรรมท่ีเลือก (คิดเข้างาน) ผลต่างกาลังการผลิต ถ้าเป็นผลต่างที่ไม่น่าพอใจให้ นาไปปรบั ปรุงและแกไ้ ขการทางานของฝา่ ยผลติ 3.1.2 ผลตำ่ งกำรจ่ำยเงินตำมงบประมำณ (Budget Variance) เกิดจากการเปรียบเทียบผลต่างระหว่าง การจ่ายเงินของค่าใช้จ่ายการผลิตคงท่ีกับงบประมาณของค่าใช้จ่ายการผลิตคงที่ผลต่างการจ่ายเงินตามงบประมาณของ ค่าใช้จ่ายการผลิตคงที่ถ้าเป็นผลต่างท่ีไม่น่าพอใจให้นาไปปรับปรุงและแก้ไขการทางานของฝ่ายควบคุมงบประมาณ ค่าใช้จ่ายการผลิตคงท่ีข้อสังเกตหากกิจการบันทึกค่าใช้จ่ายการผลิตเกิดข้ึนจริงโดยไม่แยกต้นทุนผันแปรและต้นทุนคงที่ ออกจากกนั ให้เปรยี บเทียบผลตา่ งการจา่ ยเงนิ รวมกนั ได้เมอื่ เปรียบเทยี บผลต่างแต่ละประเภทตามส่วนประกอบของต้นทุน การผลติ แล้วต้องระบุวา่ ผลตา่ งที่เกดิ ข้นึ เปน็ ผลตา่ งประเภทใดดงั ต่อไปนี้

3.1.2 ผลตำ่ งกำรจ่ำยเงนิ ตำมงบประมำณ (Budget Variance) เกิดจากการเปรียบเทียบผลต่างระหว่างการจ่ายเงินของค่าใช้จ่ายการผลิตคงที่ กับงบประมาณของ ค่าใช้จ่ายการผลิตคงท่ี ผลต่างการจ่ายเงินตามงบประมาณของค่าใช้จ่ายการผลิตคงท่ี ถ้าเป็นผลต่างท่ีไม่น่าพอใจให้ นาไปปรบั ปรุงและแก้ไขการทางานของฝ่ายควบคมุ งบประมาณค่าใชจ้ า่ ยการผลิตคงท่ี ข้อสังเกต หากกจิ การบนั ทกึ คา่ ใช้จ่ายการผลิตเกิดขึ้นจริงโดยไม่แยกต้นทุนผันแปรและต้นทุนคงท่ีออกจาก กนั ให้เปรยี บเทยี บผลตา่ งการจ่ายเงินรวมกันได้ เม่ือเปรียบเทียบผลต่างแต่ละประเภทตามส่วนประกอบของต้นทุนการผลิตแล้วต้องระบุว่าผลต่างที่เกิดข้ึน เปน็ ผลตา่ งประเภทใด ดังต่อไปน้ี

เม่ือเปรยี บเทยี บผลต่างแต่ละประเภทตามส่วนประกอบของต้นทนุ การผลติ แลว้ ต้องระบวุ า่ ผลต่างทเ่ี กิดขน้ึ เปน็ ผลต่างประเภทใด ดงั ต่อไปนี้ 1. ผลต่ำงท่ีน่ำพอใจ (Favorable Variance) หมายถึงผลต่างของราคาหรือผลต่าง ของปริมาณท่ีกาหนดตามมาตรฐานสูงกว่าราคาหรือปริมาณที่เกิดจริงผลต่างที่น่าพอใจเป็น ผลต่างทถ่ี อื วา่ การทางานเปน็ ทย่ี อมรบั ได้ 2. ผลต่ำงที่ไม่น่ำพอใจ (Unfavorable Variance) หมายถึงผลต่างของราคาหรือ ปริมาณท่ีกาหนดตามมาตรฐานต่ากว่าราคาหรือปริมาณที่เกิดจริงผลต่างท่ีไม่น่าพอใจเป็น ผลต่างท่ีถือเป็นผลการทางานต่ากว่ามาตรฐานที่กาหนดไว้ควรได้รับการแก้ไขตามหน้าที่ รบั ผิดชอบ

กำรคำนวณผลต่ำงเกีย่ วกับวตั ถดุ ิบทำงตรง วัตถุดิบทำงตรง เป็นส่วนประกอบท่ีสาคัญของต้นทุนการผลิตมีพฤติกรรมต้นทุนแบบผันแปรมี ลักษณะพิเศษคือต้องมีการจัดซ้ือไว้ล่วงหน้าก่อนทาการผลิตซ่ึงการซื้อแต่ละครั้งอาจมีราคาแตกต่างกันหาก กิจการท่ีใช้วิธีต้นทุนจริงหรือวิธีต้นทุนปกติจะบันทึกราคาวัตถุดิบท่ีซ้ือในราคาจริงการเบิกใช้อาจจะเบิกจาก วัตถดุ บิ ทจ่ี ดั ซื้อในแต่ละรอบทีม่ ีราคาแตกต่างกันก็จะบันทึกราคาวัตถุดบิ ทเ่ี บิกใช้ในราคาจริงที่บนั ทึกไว้เชน่ กัน

กำรคำนวณผลตำ่ งเกีย่ วกับวัตถุดบิ แบ่งเป็นกรณตี ำ่ ง ๆ ดังน้ี 1. ผลต่ำงรำคำแบง่ ตำมวิธีกำรบันทกึ บญั ชีดังน้ี 1.1 ผลต่างราคาเมื่อซ้ือ 1.2 ผลตา่ งราคาเมอื่ ใช้ 2. ผลตำ่ งปริมำณ 1. ผลตำ่ งรำคำ 1.1 ผลต่างราคาเมื่อซื้อวิธีน้ีบัญชีวัตถุดิบจะถูกบันทึกในราคามาตรฐาน จาเป็นต้องคานวณผลต่างราคาเม่ือซ้ือ ทันทีที่จัดซื้อราคาท่ีจัดซ้ือควรต่ากว่าราคามาตรฐานที่ กาหนด

1.2 ผลต่างราคาเม่ือใช้วิธีนี้บัญชีวัตถุดิบจะถูกบันทึกในราคาที่ซื้อจริง จงึ ไม่คานวณผลตา่ งราคาเม่อื ซือ้ จะคานวณผลตา่ งราคาเมอ่ื เบิกวตั ถุดบิ ไปใช้ 2. ผลต่ำงปริมำณ ผลต่างปริมาณคานวณเพื่อเปรียบเทียบปริมาณวัตถุดิบที่ควรใช้ตาม มาตรฐานกบั ปรมิ าณทใี่ ชจ้ ริงปริมาณท่ีควรใช้ตามมาตรฐานควรต่ากว่าปริมาณที่ ใช้จรงิ

กำรบันทึกบัญชีเก่ียวกบั วตั ถดุ ิบทำงตรง วัตถุดิบทำงตรง เป็นส่วนประกอบส่วนหนึ่งของต้นทุนกำรผลิตที่มี พฤติกรรมต้นทุนแบบผันแปร หำกกิจกำรใช้ระบบต้นทุนจริง (Actual Costing) หรือระบบต้นทุนปกติ (Normal Costing) วัตถุดิบทำงตรงถูกบันทึกในจำนวนท่ี ใชจ้ ริงและรำคำซือ้ จริง ในระบบต้นทุนมำตรฐำนวัตถุดิบทำงตรงจะบันทึกด้วยปริมำณตำม มำตรฐำนท่ีควรใช้จำกผลผลิตท่ีทำได้จริงกับรำคำตำมมำตรฐำนที่กำหนดกำร บันทึกบญั ชีเกยี่ วกบั วตั ถดุ บิ ทำได้ 2 วธิ คี ือ 1. บันทกึ ตำมรำคำมำตรฐำน 2. บนั ทกึ ตำมรำคำซื้อจริงกำร

1. บนั ทึกตำมรำคำมำตรฐำน วิธีน้ีจะบันทึกบัญชีวัตถุดิบในราคามาตรฐานหากมีผลต่างราคาจะบันทึกผลต่างราคา ท้ังหมดเม่ือจัดซ้ือไว้ในบัญชีผลต่างราคาเม่ือซ้ือ บัญชีวัตถุดิบแสดงในราคามาตรฐาน เม่ือเบิกใช้ก็ บันทึกผลต่างเฉพาะผลต่างจานวนในวันส้ินงวดบัญชีต้องปรับผลต่างราคาเมื่อซ้ือออกมาเป็นผลต่าง ราคาเมื่อใช้ ให้ผลต่างราคาเมื่อซื้อเหลือตามส่วนของจานวนวัตถุดิบคงเหลือปลายงวด และถือเป็น บัญชีท่ีต้องนาไปปรับมูลค่าวัตถุดิบคงเหลือในวันส้ินงวดเพ่ือให้บัญชีวัตถุดิบทางตรงแสดงยอดที่ แทจ้ ริง มขี ั้นตอนการบันทกึ ดงั น้ี 1.1 บนั ทกึ บญั ชซี อ้ื 1.2 บันทกึ บญั ชเี มอื่ เบิกใช้ 1.3 บนั ทึกปรบั ปรงุ ผลตา่ งราคาเมอ่ื ซอื้ กับผลตา่ งราคาเมอ่ื ใชใ้ นวนั สน้ิ งวด 1.4 บนั ทึกปดิ บญั ชีผลตา่ งวัตถดุ ิบ

2. บันทกึ ตำมรำคำซอ้ื จรงิ การบนั ทึกบญั ชวี ัตถุดิบตามราคาซื้อจริง บัญชีวัตถุดิบจะถูกบันทึกในราคาทุนท่ีซ้ือ บัญชีวัตถุดิบแสดงในราคาทุนท่ีซื้อเม่ือเบิกใช้จะบันทึกผลต่างท้ังผลต่างเน่ืองจากราคา และ ผลต่างเนื่องจากจานวน ในวันสิ้นงวดบัญชีไม่ต้องบันทึกปรับผลต่างราคาในวันสิ้นงวดบัญชี วตั ถุดิบทางตรงจะแสดงยอดในราคาทุนที่แท้จริง มีข้ันตอนการบันทึก ดงั น้ี 2.1 บันทึกบญั ชีเม่ือซอ้ื 2.2 บนั ทึกบญั ชีเมื่อใช้ 2.3 บันทึกปิดบัญชีผลตา่ ง

กำรบันทึกบัญชเี กย่ี วกับแรงงำนทำงตรง แรงงำนทำงตรง เป็นสว่ นประกอบสว่ นหนง่ึ ของตน้ ทุนการผลติ ที่มพี ฤตกิ รรมต้นทุนแบบผันแปรหากกจิ การ ใช้ระบบต้นทุนจริง (Actual Costs) หรือ ระบบต้นทุนปกติ (Normal Costs) แรงงานทางตรงถูกบันทึกในจานวนที่ ใชจ้ ริงและอัตราทีเ่ กิดจริง ในระบบต้นทุนมาตรฐานแรงงานทางตรงจะบันทึกการเกิดค่าแรงทางตรงและทางอ้อมตามปกติและจะ บนั ทกึ แรงงานทางตรงเขา้ งานตามเวลามาตรฐานทค่ี วรใช้จากผลผลิตท่ที าไดจ้ ริงในอัตราคา่ จ้างตามมาตรฐานท่ีกาหนด พรอ้ มบันทึกผลต่างเก่ยี วกบั ค่าแรงและโอนปดิ ผลตา่ ง มีขนั้ ตอนการบนั ทกึ บญั ชดี ังนี้ 1. บนั ทกึ กำรเกดิ คำ่ แรง 2. บนั ทึกค่ำแรงเข้ำงำน 3. บันทกึ ปิดบญั ชีผลตำ่ ง

การคานวณผลต่างเกย่ี วกบั ค่าใช้จ่ายการผลติ ค่าใช้จ่ายการผลิตเป็นส่วนประกอบของต้นทุนการผลิตในส่วนของต้นทุนแปรสภาพ มี ลักษณะพฤติกรรมต้นทุนเป็นทั้งต้นทุนแบบผันแปรและต้นทุนแบบคงที่ วิธีต้นทุนมาตรฐานน้ี ค่าใช้จ่ายการผลิตจะถูกกาหนดอัตราค่าใช้จ่ายการผลิตคิดเข้างานไว้ล่วงหน้าทั้งในส่วนท่ีเป็นต้นทุน ผันแปรและต้นทุนคงที่ โดยเลือกฐานกิจกรรมท่ีใช้เป็นอัตราคิดเข้างาน อัตราค่าใช้จ่ายการผลิต คิด เข้างานดังกล่าว มักจะใช้ชั่วโมงแรงงานทางตรงเป็นฐานกิจกรรม ค่าใช้จ่ายการผลิตผันแปร จะถูก กาหนดเป็นอัตราค่าใช้จ่ายการผลิตคิดเข้างานต่อช่ัวโมงแรงงานทางตรงโดยไม่จาเป็นต้องกาหนด กาลังการผลิต ส่วนค่าใช้จ่ายการผลิตคงท่ีจะถูกกาหนดอัตราคิดเข้างานต่อชั่วโมงแรงงานทางตรง โดยประมาณค่าใชจ้ ่ายการผลติ คงทต่ี ลอดปี

ผลตา่ งเกีย่ วกับค่าใชจ้ ่ายการผลิตตามวิธีตน้ ทุนมาตรฐานมีลักษณะที่ แตกต่างกันตามวิธีทใ่ี ช้และจดุ มุง่ หมายของผ้บู ริหารคานวณได้ 3 แบบคอื 1. การคานวณผลตา่ งแบบ 4 ทาง 2. การคานวณผลตา่ งแบบ 3 ทาง 3. การคานวณผลต่างแบบ 2 ทางกา

1. กำรคำนวณผลตง่ ค่ำใช้จ่ำยกำรผลิตแบบ 4 ทำง การคานวณผลตา่ งค่าใชจ้ า่ ยการผลิตแบบ 4 ทางเปน็ การคานวณแยกระหวา่ งคา่ ใช้จ่ายการผลิตผนั แปร 2 ด้านและค่าใชจ้ ่ายการผลติ คงที่ 2 ด้านคานวณผลต่าง 4 ทางดังนี้ 1.1 ค่ำใชจ้ ำ่ ยกำรผลิตผันแปร 1.1.1 ผลงการจ่ายเงนิ 1.1.2 ผลต่างประสทิ ธภิ าพ 1.2 ค่ำใชจ้ ่ำยกำรผลิตคงที่ 1.2.1 ผลต่างงบประมาณ 1.2.2 ผลงกาลงั การผลิต

กำรบนั ทึกบัญชีเกี่ยวกบั ผลต่ำงคำ่ ใชจ้ ่ำยกำรผลติ ค่าใช้จ่ายการผลิตเป็นส่วนประกอบของต้นทุนการผลิตท่ีมีการบันทึกบัญชี ค่าใช้จ่ายการผลิตที่เกิดข้ึนจริงตลอดงวดบัญชีไว้ในบัญชีค่าใช้จ่ายการผลิตผันแปรและ ค่าใชจ้ ่ายการผลติ คงทห่ี รอื อาจบนั ทึกไว้ในบัญชคี ่าใชจ้ า่ ยการผลติ รวมก็ได้ กิจการที่ใช้วิธีต้นทุนมาตรฐานเมื่อส้ินงวดบัญชีจะบันทึกค่าใช้จ่ายการผลิตคิด เขา้ งานด้วยฐานกิจกรรมตามมาตรฐานท่คี วรใช้ตามผลผลิตที่ทาได้จริงและอัตราค่าใช้จ่าย การผลติ คดิ เข้างานที่กาหนดไวล้ ่วงหน้าและบันทกึ ผลต่างท่ีเกิดขน้ึ

กำรปดิ บัญชผี ลตำ่ งเกี่ยวกบั คำ่ ใช้จำ่ ยกำรผลิต ในวนั สิน้ งวดบัญชีกจิ การต้องปิดผลตา่ งทกุ รายการเนอ่ื งจากบญั ชผี ลตา่ งทกุ บญั ชีมีลกั ษณะเปน็ บญั ชีชวั่ คราวจึงต้องปดิ ใหห้ มดภายในงวดบัญชโี ดยสามารถปิดเข้า บญั ชดี งั ต่อไปน้ี 1. บญั ชีตน้ ทุนขายทัง้ หมด 2. แบ่งส่วนเข้าบญั ชีตน้ ทนุ ขายบญั ชงี านระหวา่ งทาและบัญชีสินคา้ สาเรจ็ รปู 3. บญั ชกี าไรขาดทนุ ท้ังหมดกจิ การ

สรปุ วิธีการบัญชีต้นทุนมาตรฐานเป็นวิธีการบัญชีที่มีการกาหนดต้นทุนการผลิตตาม ส่วนประกอบไว้ล่วงหน้าอย่างรอบคอบและร่วมมือกันทุกฝ่ายที่เก่ียวข้อง การกาหนด มาตรฐานตามส่วนประกอบของต้นทุนน้ันกาหนดท้ังปริมาณท่ีควรใช้และราคาที่ควรซ้ือท้ัง วัตถดุ บิ ทางตรงแรงงานทางตรงและค่าใช้จ่ายการผลิตในการกาหนดอัตราค่าใช้จ่ายการผลิต คดิ เข้างานตอ้ งคานึงถงึ ระดบั การผลิตที่เป็นระดับการผลิตปกติและมาตรฐานท่ีกาหนดขึ้นมา ใช้ควรมีการกาหนดเวลาใช้ ควรได้รับการปรับปรุงและกาหนดใหม่ตามสถานการณ์ สภาพแวดลอ้ มทางเศรษฐกจิ สังคมทเี่ ปลย่ี นแปลง

เมื่อผลิตได้จริงนาผลผลิตที่ได้จริงเปรียบเทียบต้นทุนการผลิตตามส่วนประกอบของ ต้นทุนการผลิตว่าควรใช้ส่วนประกอบของต้นทุนการผลิตในปริมาณเท่าใดและควรจัดซื้อหรือ จ่ายเงินจานวนเท่าใดหากมีผลต่างเกิดข้ึนให้นาผลต่างมาวิเคราะห์ว่าเป็นผลต่างท่ีน่าพอใจ หรือไม่น่าพอใจเพ่ือนาผลต่างท่ีไม่น่าพอใจไปปรับปรุงและแก้ไขการปฏิบัติงานของฝ่ายที่ เกี่ยวข้องวิธีการบัญชีต้นทุนมาตรฐานเป็นประโยชน์ต่อผู้บริหารเป็นอย่างมากทั้งในเร่ืองการ ควบคมุ ตน้ ทนุ การผลิตการกาหนดราคาขายรวมถงึ การตรี าคาสนิ ค้าคงเหลือปลายงวด อำ้ งอิง หนงั สือต้นทนุ 2


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook