Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เครื่องมือวัดค่าคงที่

เครื่องมือวัดค่าคงที่

Published by vichaya1978, 2017-03-22 05:59:27

Description: Unit_9

Search

Read the Text Version

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 9 เกจ (Gauge)9.1 เกจบล็อค (Gauge Block, Slip Gauge) เกจบลอ็ ค เปน็ แท่งทดสอบขนาดมาตรฐาน สามารถใช้ทดสอบขนาดเครื่องมือวัดใน การวัดขนาดงานและใช้วัดเปรียบเทียบ ดังน้ันเกจบล็อคจึงถูกสร้างข้ึนมาให้มีขนาดแน่นอน ผิวของเกจบล็อคจะมีความเรยี บเปน็ มนั เงา มขี นาดให้เลอื กหลายขนาดตามต้องการ 9.1.1 ลกั ษณะรูปร่างของเกจบล็อค 1.) รูปส่ีเหล่ียมจตั ุรัส 2.) รูปสี่เหลยี่ มผืนผ้า 3.) รูปทรงกระบอกภาพที่ 9-1 เกจบล็อครปู ส่ีเหลย่ี มจตั รุ ัส ภาพท่ี 9-2 เกจบลอ็ ครูปสีเ่ หล่ยี มผืนผ้า (Square Gauge Block Sets) (Rectangular Gauge Block)ภาพท่ี 9-3 เกจบล็อครูปทรงกระบอก (Cylindrical Gauge Block)

9.1.2 วสั ดุท่ีใช้ทาเกจบล๊อค เกจบลอ๊ คทน่ี ิยมใช้ในปัจจุบันทาจาก 1.) เหลก็ เครอื่ งมือ (Tool Steel) 2.) เหลก็ ซลิ ิกอน ไนไตร (Silicon Nitride) 3.) เหลก็ คารไ์ บด์ (Tungsten Carbide) 4.) เซรามกิ ทาจากเซอโคเนียม (Zirconium) (Cera Block) กราฟท่ี 9-1 กราฟความสัมพันธ์ระหวา่ งแรงทก่ี ระทากบั การสกึ หรอ จากกราฟความสัมพันธข์ องเกจบล๊อคท่ที าจากวสั ดตุ ่าง ๆ จะเหน็ ได้ว่า 1.) เกจบล๊อคที่สกึ หรอมากทส่ี ุด คือเหลก็ เคร่ืองมอื 2.) เหลก็ ซิลกิ อนไนไตรสกึ หรอนอ้ ยกวา่ 3.) เหลก็ คารไ์ บดส์ กึ หรอรองลงมา 4.) เซรามกิ เป็นวสั ดุที่มีการสกึ หรอนอ้ ยทส่ี ดุ 9.1.3 เกจบล๊อคมาตรฐาน เกจบลอ๊ คมาตรฐาน แบง่ เปน็ 4 เกรด คอื 1.) เกรด K เกจบล๊อคชนิดน้ีมีความเที่ยงตรง และความแม่นยาสูงสุด ขนาดทุกช้ินไม่มีความผิดพลาดในการผลิตและจะใช้งานในห้องปฏิบัติการมาตรฐานเท่าน้ัน ใช้เป็นเกจบล๊อคต้นแบบแล้วนาเกจบลอ๊ คเกรดต่ากวา่ มาสอบเทียบ 2.) เกรด 0 เกจบล๊อคชนิดนี้ใช้ในห้องทดลองท่ีต้องการตรวจสอบความเที่ยงตรง และแมน่ ยาในการสอบเทยี บของเครือ่ งมอื ทีต่ อ้ งการความละเอยี ดสูง 3.) เกรด 1 เกจบล๊อคใช้ตรวจสอบค่ามาตรฐานของเครื่องมือวัด และเกจวดั ตา่ ง ๆ 4.) เกรด 2 เกจบล๊อคใช้ตรวจสอบเครื่องมือวัด ในสายการผลิตในโรงงาน และใช้ประกอบต้ังค่าท่ีตอ้ งการความละเอยี ดในการติดตงั้ อุปกรณ์ในโรงงาน

ขนาดเกจบล๊อคสี่เหล่ยี มผนื ผา้ ระบบองั กฤษ (INCH RECTANGULAR GAUGE BLOCK SETS) บลอ๊ คเกจ 1 ชดุ จานวนชิ้น ขนาดเลก็ – ขนาดใหญ่ ขนาดเพมิ่ ขน้ึ แผน่ ละ (จานวนชิน้ ) (น้วิ )81 1 0.05” 10 0.1000 – 0.1009” 0.0001”36 49 0.101 – 0.149” 0.001” 17 0.15 – 0.95” 0.05”28 4 1 – 4” 1” 1 0.05” 10 0.1000 – 0.1009” 0.0001” 9 0.101 – 0.109” 0.001” 9 0.11 – 0.19” 0.01” 4 0.2 – 0.5” 1” 1 1” 1 2” 0.0001” 1 4” 0.001” 1 0.02005” 0.01” 9 0.0201 – 0.0209” 9 0.021 – 0.029” 9 0.01 – 0.09”ตารางที่ 9.1 ขนาดของเกจบล๊อคส่เี หลยี่ มจัตุรสั ระบบองั กฤษ

ขนาดเกจบลอ๊ คสเี่ หล่ยี มผนื ผ้าระบบเมตริก (METRIC RECTANGULAR GAUGE BLOCK SETS)บล๊อคเกจ 1 ชดุ จานวนชิน้ ขนาดเลก็ – ขนาดใหญ่ ขนาดเพิ่มขน้ึ แผ่นละ(จานวนชิ้น) (นว้ิ )112 1 1.0005 มม. 9 1.001 – 1.009 มม. 0.001 มม.103 49 1.01 – 1.49 มม. 0.01 มม.76 49 0.5 – 24.5 มม. 0.5 มม. 4 25 – 100 มม. 25 มม.47 1 1.005 มม. 49 1.01 – 1.49 มม. 0.01 มม.32 49 0.5 – 24.5 มม. 0.5 มม. 4 25 – 100 มม. 25 มม. 1 1.005 มม. 49 1.01 – 1.49 มม. 0.01 มม. 19 0.5 – 9.5 มม. 0.5 มม. 4 10 – 40 มม. 10 มม. 3 50 – 100 มม. 25 มม. 1 1.005 ม. 9 1.01 – 1.09 มม. 0.01 มม. 9 1.1 – 1.9 มม. 0.1 มม. 24 1 – 24 มม. 1 มม. 4 25 – 100 มม. 25 มม. 1 1.005 มม. 9 1.01 – 1.09 มม. 0.01 มม. 9 1.1 – 1.9 มม. 0.1 มม. 9 1 – 9 มม. 1 มม. 3 10 – 30 มม. 10 มม. 1 60 มม.ตารางที่ 9.2 ขนาดของเกจบล๊อคสี่เหล่ยี มจัตุรัสระบบเมตริก

ภาพที่ 9-4 ลกั ษณะของเกจบลอ๊ คบรรจอุ ย่ใู นกล่อง ลักษณะของเกจบล๊อครูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า ระบบเมตริกและระบบอังกฤษมีขนาดจานวนช้ินเท่ากับเกจบล๊อคส่เี หลีย่ มจตั รุ สั 9.1.4 ขน้ั ตอนการประกอบเกจบล๊อค เนื่องจากเกจบล๊อคมีหลายขนาด ขนาดที่ต้องการอาจไม่สามารถหาขนาดได้จากเกจบล๊อค จาเป็นต้องใช้เกจหลาย ๆ ช้ินประกอบร่วมกัน การนาเกจบล๊อคหลายชิ้น มาประกอบเข้าด้วยกันขนาดท่ไี ดอ้ าจผดิ พลาดได้ เมื่อปี ค.ศ. 1870 เซอร์โจเซฟ วทิ เวอร์ท ได้ทาชิ้นงานให้มีผิวเรียบเป็นมันเงา และไดท้ าความสะอาดผวิ งานทั้งสองให้สะอาดเม่ือนาช้ินงานท้ังสองมากดและเลื่อนสัมผัสกันปรากฏว่าช้ินงานทง้ั สองเกาะตดิ กนั แน่น และต้องออกแรงมากจึงจะทาใหช้ ้นิ งานท้ังสองแยกออกจากกนัภาพท่ี 9-5 เกจบลอ๊ ค 1 ชุด 112 ชิน้ ภาพที่ 9-6 เกจบลอ๊ ค 1 ชดุ 103 ชนิ้9.1.5 ขน้ั ตอนการเลือกเกจบลอ๊ ค 1.) จะต้องทราบขนาดท่จี ะประกอบเกจบล๊อคใหม้ จี านวนแผน่ น้อยท่ีสดุ 2.) ให้ทาความสะอาดเกจบลอ๊ ค โดยใชผ้ ้าสะอาดเช็ดใหป้ ราศจากคราบน้ามนั 3.) สังเกตผวิ ของเกจบล๊อคบรเิ วณที่ต้องประกอบผิวของเกจจะมีผวิ เรียบเป็นมนั เงา

4.) ให้ประกอบเกจบล๊อคขนาดใหญ่สุดกับขนาดของเกจบล๊อคที่มีขนาดใกล้เคียงก่อนเพราะเกจบล๊อคขนาดใหญจ่ ะสามารถตดิ ไดแ้ น่นกวา่ ดีกวา่ 5.) ทดสอบการเกาะยึดแน่นของเกจบล๊อคทั้งสองก่อนที่จะประกอบขนาดของเกจบลอ๊ ค แผ่นตอ่ ไป9.1.6 การใชง้ านเกจบลอ๊ ค 1. เชด็ ทาความสะอาดเกจบล๊อค เกจบล๊อค บรเิ วณทเ่ี รยี บเป็นเงาให้สะอาดภาพที่ 9-7 การเช็ดทาความสะอาดเกจบลอ๊ ค 2. นาด้านที่เรียบเป็นเงากดเข้าหากันต้ังแต่ ขอบ และคอ่ ยเลอ่ื นพรอ้ มกดดว้ ยภาพท่ี 9-8 เรมิ่ กดเกจบลอ๊ คเขา้ หากัน 3. เล่ือนและกดเกจบล๊อคจนกระทั่งเก จบล๊อคเสมอกันภาพที่ 9-9 เร่ิมเล่ือนเกจบล๊อคให้เสมอกัน

4. ลองดึงเกจบล๊อคทดสอบว่ายึดติดแน่น หรือไม่ ถ้ายึดติดแน่นดีแสดงว่าการ ประกอบขนาดเกจบล๊อคถูกตอ้ งภาพที่ 9-10 ตรวจสอบการประกอบเกจบลอ๊ ค 5. การถอดเกจบล๊อคสามารถทาได้ 2 วิธี ซึ่งจะเลือกวธิ ีใดกไ็ ด้ 1.) วิธีการเลื่อนดังภาพที่ 9-12 โดย การเล่ือนออกจากกนั 2.) วธิ ีการหมนุ ดงั ภาพที่ 9-13 โดยการ หมุนออกจากกนัภาพที่ 9-11 การถอดเกจบล๊อคโดยการเลื่อนออกจากกัน 6. ทาความสะอาดแล้วชโลมน้ามันและ เก็บใสก่ ล่องทต่ี าแหน่งเดมิภาพที่ 9-12 การถอดเกจบล๊อคโดยการหมนุ

9.1.7 การเก็บและบารงุ รักษาเกจบล๊อค เกจบล๊อคเปน็ เคร่อื งวัดท่ีมีความละเอียดสูงและราคาแพง การใช้งานจะต้องใช้ด้วยความระมัดระวังและใชอ้ ย่างถกู วธิ ี 1. ก่อนใชง้ านควรทาความสะอาดเกจบลอ๊ คใหด้ ีก่อนใชง้ าน 2. เมื่อเลิกใชค้ วรเกบ็ ชโลมนา้ มันและเก็บใสก่ ลอ่ งใหเ้ รยี บรอ้ ย 3. อยา่ ให้เกจบล๊อคทม่ี รี อยเยินกับเกจบลอ๊ คท่ีดี เพราะทาให้เกจบลอ๊ คชารุดเสียหาย 4. พยายามหลกี เลย่ี งการใชม้ ือเปล่าจับเกจบลอ๊ คขณะวดั งาน เนือ่ งจากความร้อนจากมือจะทาใหเ้ กจขยายตัว ควรสวมถงุ มอื หรอื ใชไ้ ม้หนบี จบั เกจบล๊อคขณะวดั ขนาดงาน 5. เมื่อพบเกจบลอ๊ คชารุด มรี อยเยิน ควรแยกออกและซ่อมสว่ นทช่ี ารุดทันที ภาพที่ 9-13 การแก้รอยเยินของเกจบล๊อค ลบรอยเยินด้วยหนิ อลมู เิ นียมเซรามคิ ภาพท่ี 9.14 การตรวจสอบสแนปเกจดว้ ยเกจบล๊อค

9.2 เกจก้ามปู 9.2.1 ลกั ษณะของเกจก้ามปู เกจก้ามปู เป็นเกจที่ใช้ตรวจสอบขนาดของช้ินงานโดยเฉพาะขนาดใดขนาดหนึ่งเท่าน้ันส่วนมากจะใช้ในงานผลิตชิ้นส่วนเคร่ืองกล โดยในเกจตัวเดียวกันน้ันจะมีปากวัดสูงสุดและต่าสุดในตัวเดียวกัน และขนาดของปากวัดท่ีแตกต่างกันนี้ ไม่ได้แตกต่างกันมาก แต่จะแตกต่างกันในพิกัดความเผื่อเลก็ นอ้ ยเท่าน้นั ลกั ษณะของเกจกา้ มปูแบง่ ไดด้ ังนี้ 1. เกจกา้ มปทู ใี่ ช้ตรวจสอบงานขนาดเลก็ภาพที่ 9-15 ภาพท่ี 9-16 บริเวณกลางลาตัวของเกจก้ามปูจะเป็นตัวเลขขนาดกาหนด ซึ่งอาจจะเป็นขนาดกาหนดของชน้ิ งานท่ีกาหนดข้ึนเอง หรือขนาดกาหนดที่เป็นมาตรฐานของเพลา ซึ่งจะต้องมีตัวอักษรและตัวเลขต่อท้ายขนาดกาหนด ด้านบนและด้านล่างของขนาดกาหนดจะเป็นตัวเลขจานวนเต็มมีเคร่ืองหมายบวกหรือลบ มีหน่วยเป็น µm (หารดว้ ย 1000 เปน็ มลิ ลเิ มตร) เม่อื เปล่ยี นเปน็ มลิ ลเิ มตรแลว้ นาไปบวกหรือลบออกจากขนาดกาหนดตามเคร่ืองหมายท่ีอยู่ข้างหน้า จะเป็นขนาดที่แท้จริงของเกจก้ามปูตัวนั้นปากวัดด้านบนหรือปากวัดเสีย (NOT GO) ซ่ึงมีสีแดงทาไว้ ท่ีขอบด้านในของลาตัวมีค่าเท่ากับขนาดเล็กสุดของเพลาท่ีจะนามาตรวจสอบ ส่วนปากวัดด้านล่างหรือปากวัดดี (GO) ระยะห่างของปากวัดด้านน้ีเท่ากับขนาดโตสุดของเพลาที่จะนามาตรวจสอบ

2. เกจก้ามปูท่ีใช้ตรวจสอบงานขนาดใหญ่ เพ่อื ไมใ่ หล้ าตวั ของเกจกา้ มปยู าวเกนิ ไป ซงึ่ ยากต่อการเก็บและบารุงรักษา จึงรวมปากวดั ท้งั ค่ไู ว้ดา้ นเดยี วกันภาพที่ 9-17 แบบปรับคา่ ได้ ภาพท่ี 9-18 แบบปรับค่าไมไ่ ด้ ตรงกลางของลาตัวจะมีตัวเลขขนาดกาหนด ปากวัดคู่นอกหรือปากวัดดี (GO) มีระยะห่างระหว่างปากวัดเท่ากับขนาดโตสุดของเพลาท่ีจะนามาตรวจสอบ ส่วนปากวัดคู่ในหรือปากวัดเสีย (NOTGO) มรี ะยะห่างระหว่างปากวัดเท่ากับขนาดเล็กสุดของเพลาท่ีจะนามาตรวจสอบ ท่ีปากวัดด้านซ้ายมือของปากวดั ทงั้ คจู่ ะมีตัวเลขเปน็ µm แสดงค่าพกิ ดั สงู สดุ และพกิ ัดตา่ สุดภาพที่ 9-19 ปากวัดดี ภาพที่ 9-20 ปากวัดเสยี

ปากวดั ทัง้ คู่จะแยกอยู่คนละอนั เกจก้ามปูอันหนึ่งจะเป็น “ปากวัดเสีย” มีสีแดงทาไว้ที่ขอบด้านในของลาตวั ระยะห่างของปากวดั เทา่ กับขนาดเล็กสุดของเพลาท่ีจะนามาตรวจสอบ ส่วนอีกอันหน่ึงจะเป็น“ปากวัดดี” ระยะห่างของปากวัดเท่ากับขนาดโตสุดของเพลาท่ีจะนามาตรวจสอบบนลาตัวของปากวัดทั้งคู่จะมขี นาดกาหนดซ่ึงเขียนไว้เหมือนกัน ที่ปากวัดด้านซ้ายมือจะมีตัวเลขเป็น µm แสดงค่าเหนือพิกัดและใต้พิกดั เอาไว้ 9.2.2 การใช้เกจก้ามปู เกจก้ามปู เป็นเครื่องมือใช้ตรวจสอบช้ินงานว่าใช้ได้หรือไม่ได้เท่านั้น แต่ไม่สามารถ บอกไดว้ า่ ขนาดท่แี ท้จรงิ มีค่าเท่าใด ชนิ้ งานทต่ี รวจสอบจะถกู ต้องหรือไม่ข้ึนอยู่กับความรู้สึกสัมผัสและ วิธีการใช้ทีถ่ กู ต้อง 1. ขนาดของชน้ิ งานถกู ตอ้ ง ชิน้ งานผา่ นปากวัดดีได้ แต่ไม่ผ่านปาก วดั เสยี ขนาดช้นิ งานอยู่ในพกิ ัดความเผ่อืภาพท่ี 9-21 2. ขนาดของชิ้นงานโตเกินไป ช้ินงานไม่ผ่านปากวัดดีได้ ขนาด ชน้ิ งานโตกวา่ คา่ พิกัดความเผ่ือท่ียอมให้ชิ้นงาน มขี นาดโตสุดได้ภาพที่ 9-22

3. ขนาดของชน้ิ งานเล็กเกนิ ไป ชิ้นงานสามารถผ่านปากวัดเสียได้ ขนาดช้ินงานเล็กกว่าค่าพิกัดความเผื่อที่ยอมให้ ชิ้นงานมีขนาดเลก็ สุดได้ ภาพที่ 9-23 9.2.3 การตรวจสอบชิ้นงานดว้ ยเกจกา้ มปู การวางช้ินงานและวิธีจับเกจก้ามปูก็มีส่วนสาคัญต่อขนาดของชิ้นงานท่ีจะตรวจสอบมากการตรวจสอบชิ้นงานตามแนวนอนจะสามารถตรวจสอบได้ง่ายและถูกต้องมากกว่า โดยเพียงแต่วางลาตัวของเกจก้ามปใู ห้ตั้งฉากกับผวิ งานแลว้ ปล่อยใหป้ ากวดั ผา่ นผิวงานด้วยน้าหนักของตัวเอง ห้ามออกแรงกดเกจก้ามปู ภาพท่ี 9-24 วธิ ตี รวจสอบขนาดของชิน้ งานในแนวนอน การตรวจสอบช้ินงานในแนวตั้ง ผู้ตรวจสอบจะต้องออกแรงกดปากวัดให้ผ่านผิวงาน ด้วยแรงกดท่พี อเหมาะ ถ้าออกแรงกดมากเกินไป ปากวัดอาจผ่านผิวงานได้เหมือนกัน เน่ืองจากปากวัด อา้ ออก

ภาพที่ 9-25 วธิ ีตรวจสอบขนาดของชนิ้ งานในแนวต้งั 9.2.4 การตรวจสอบระยะหา่ งของปากวัด แม้ว่าผิวสัมผัสของปากวัดทั้งคู่จะผ่านการชุบผิวแข็งมาแล้วก็ตาม แต่ถ้าใช้อย่างผิดวิธีเช่น ออกแรงกดมากเกินไป หรือผิวเพลาหยาบเกินไป ฯลฯ ผิวสัมผัสงานของปากวัดทั้งคู่จะสึกหรอ ซ่ึงหมายความว่าเกจก้ามปูอันน้ันเสียแล้ว วิธีตรวจสอบระยะห่างของปากวัดท่ีมีขนาดเท่ากับ 20 มม. ให้ใช้เกจแท่งทห่ี นา 20 มม. ทดสอบดู ภาพที่ 9-26 ระยะหา่ งปากวดั ของเกจก้ามปูทีย่ ังไมส่ กึ เพราะเกจแท่งไมส่ ามารถผ่านปากวัดได้ ภาพที่ 9-27 ผิวสัมผสั งานของปากวดั ลึก เพราะเกจแทง่ สามารถผา่ นปากวัดได้ หมายเหตุ ขณะทดสอบระยะหา่ งของปากวดั กับเกจแท่ง ให้ผิวสัมผัสงานของปากวัดผ่านเกจแท่งด้วยน้าหนักของตัวเองหรือในบางกรณีที่ตรวจสอบระยะห่างของปากวัดที่มีพิกัดความเผื่อไม่แน่นอน ควรใช้ไมโครมิเตอรแ์ บบคาลปิ เปอรท์ ไ่ี ด้มาตรฐานเป็นตวั ตรวจสอบปากวัดของเกจก้ามปู

9.2.5 ขอ้ ควรระวัง 1.) ห้ามใชต้ รวจสอบผิวเพลาทห่ี ยาบหรอื ยงั ไมผ่ ่านการเจียระไนมา 2.) หา้ มใชต้ รวจสอบเพลาที่กาลงั หมุน 3.) ห้ามออกแรงกดปากวัดให้ผา่ นช้ินงาน 4.) ก่อนทดสอบเพลา จะต้องทาความสะอาดท่ีเพลาและเกจก้ามปูโดยเฉพาะที่ผิวสัมผัสงานใหส้ ะอาดปราศจากคราบน้ามันและฝุ่น 5.) ห้ามใชต้ รวจสอบเพลาทร่ี อ้ น 6.) เม่ือต้องการจะตรวจสอบเพลาหลาย ๆ จุด จะต้องยกเกจก้ามปูข้ึนก่อน แล้วจึงเล่ือนเพลาไปในตาแหนง่ ทตี่ ้องการ 7.) ก่อนใช้เกจก้ามปู จะต้องตรวจสอบความสมบูรณ์โดยเฉพาะท่ีผิวสัมผัสงานว่ามีรอยเยนิ หรือไม่ ถา้ มีใหล้ บออกดว้ ยหินนา้ มันอยา่ งละเอยี ด 9.2.6 วธิ กี ารเกบ็ และบารงุ รักษา 1. อยา่ เกบ็ เกจกา้ มปูรวมกบั เครอ่ื งมืออ่นื ๆ 2. หลงั จากเลิกใชแ้ ล้ว ใหเ้ ชด็ ดว้ ยผ้าสะอาดแลว้ จึงทาน้ามนั กันสนมิ 3. หา้ มเก็บไว้ในที่ ๆ มอี ณุ หภมู ิรอ้ นจดั หรอื เย็นจดั เกนิ ไป 9.3 เกจทรงกระบอก 9.3.1 ลักษณะของเกจทรงกระบอก เกจทรงกระบอก (Plug gauge) ใชส้ าหรับตรวจสอบขนาดของรตู า่ ง ๆ สาหรับรูปร่างของเกจทรงกระบอกนนั้ โดยทวั่ ไปแบ่งออกเป็น 3 สว่ น คอื ส่วนที่ 1 ด้ามจับ ท่ีด้ามจับจะพิมพ์ลายกันลื่นเพ่ือให้จับชิ้นงานได้สะดวก ตรงกลางของดา้ มจบั จะมีตวั เลขกาหนดขนาดของเกจทรงกระบอก แตถ่ า้ เป็นเกจทรงกระบอกท่ีใช้ตรวจสอบความโตในรูที่เป็นมาตรฐาน จะมีสัญลักษณ์เป็นตัวอักษรและมีตัวเลขต่อท้ายขนาดกาหนดเช่น 25H7, 30S7 เป็นต้น ปลายสุดของด้ามจับจะมีเครื่องหมายบวกหรือลบและตัวเลขจานวนเต็มมีหน่วยเป็น µm (หารด้วย 1000 เป็นมิลลิเมตร) ซึ่งเม่ือเปลี่ยนเป็นมิลลิเมตรแล้วนาไปบวกหรือลบออกจากขนาดกาหนดตามเครื่องหมายที่อยู่ข้างหนา้ จะเปน็ ขนาดทีแ่ ท้จรงิ ของเกจทรงกระบอกของด้านน้ัน ภาพที่ 9-28

สว่ นที่ 2 ด้านวัดท่ใี ช้งานไมไ่ ดห้ รือด้านเสีย (NOT GO) ซึง่ จะมสี แี ดงทาเอาไว้ ขนาดของดา้ นเสียจะเท่ากบั ขนาดความโตสูงสุดที่ยอมให้ หรือมีค่าเท่ากับขนาดกาหนดบวกหรือลบด้วยค่าสูงสุดของพกิ ดั ส่วนท่ี 3 ดา้ นทีใ่ ชง้ านได้หรือด้านดี (GO) จะมีความหนามากกว่าด้านเสีย ขนาดของด้านดีน้ีจะเท่ากับขนาดความโตต่าสุดที่ยอมให้ได้ หรือมีค่าเท่ากับขนาดกาหนดบวกหรือลบด้วยค่าต่าสุดของพกิ ัด 9.3.2 การใช้เกจทรงกระบอก เกจทรงกระบอกเปน็ เครือ่ งมอื ใชต้ รวจสอบชน้ิ งานว่าใช้ได้หรือไม่เท่านั้น แต่ไม่สามารถบอกได้ว่าขนาดความโตในของรูท่ีแท้จริงมีค่าเท่าใด ช้ินงานที่ตรวจสอบจะถูกต้องหรือไม่ขึ้นอยู่ กับความร้สู ึกสมั ผสั และวธิ ใี ชท้ ถ่ี ูกต้อง ภาพที่ 9-29 ด้านเสียไม่สามารถสวมผ่านได้ ด้านดีสามารถสวมผ่านได้ขนาดความโตในของรูจะอยู่ในค่าพิกัดความเผ่ือ แสดงว่าช้ินงานใช้ได้ ภาพที่ 9-30 ด้านเสยี และด้านดีไม่สามารถสวมผ่านได้ขนาดความโตของรูในจะเล็กกว่าค่าพิกัดความเผื่อ แสดงว่าชิน้ งานใช้ไม่ได้ ภาพที่ 9-31 ด้านเสียและด้านดีสามารถสวมผ่านได้ขนาดความโตของรูในจะโตกว่าค่าพิกัดความเผ่ือ แสดงว่าช้ินงานใชไ้ มไ่ ด้

9.3.3 การตรวจสอบชนิ้ งานด้วยเกจทรงกระบอก การตรวจสอบช้ินงานในแนวตั้ง ใช้มือจับเกจทรงกระบอกท่ีด้ามจับให้อยู่เหนือช้ินงานและสัมผัสกับผิวช้ินงานโดยให้แกนกลางของเกจทรงกระบอกกับของรูเป็นเส้นตรงเดียวกัน ปล่อยมือให้เกจทรงกระบอกผ่านผวิ งานดว้ ยนา้ หนกั ของตวั เองภาพท่ี 9-32 ภาพที่ 9-33 การตรวจสอบชิ้นงานในแนวนอน ให้ปลายเกจทรงกระบอกจ่อที่ปากรู ขยับด้ามจับเบาๆ แลว้ ค่อย ๆ ใสโ่ ดยใหเ้ กจทรงกระบอกต้งั ฉากกบั แกนกลาง หลกั จากน้ันจึงออกแรงดันเขา้ ไป ภาพท่ี 9-349.3.4 ขอ้ ควรระวัง 1.) ทาความสะอาดชนิ้ งานและเกจทรงกระบอกก่อนใช้ทกุ ครัง้ 2.) ผวิ งานจะใช้ตรวจสอบดว้ ยเกจทรงกระบอกจะต้องมีผิวเรียบและผา่ นการเจียระไน มาแล้ว 3.) รทู ี่ใช้ตรวจสอบขนาดดว้ ยเกจทรงกระบอกจะตอ้ งเป็นรูท่ที ะลตุ ลอด หรอื ถา้ ไม่ทะลุ ตลอดใหใ้ ช้เกจทรงกระบอกที่ระบายอากาศได้ 4.) จะตอ้ งลบคมช้ินงานเสียกอ่ นนามาตรวจสอบดว้ ยเกจทรงกระบอก 5.) จะต้องวางเกจทรงกระบอกให้อยใู่ นแนวร่วมศูนยก์ บั รู 6.) ใหเ้ กจทรงกระบอกผ่านเขา้ ไปในชิน้ งานด้วยนา้ หนกั ของตวั เอง อย่าออกแรงดนั 7.) เม่อื สวมลงไปในชน้ิ งานแลว้ อยา่ หมุนเกจทรงกระบอก

8.) เม่อื สวมเกจทรงกระบอกไม่เข้า ควรหมุนเปลยี่ นตาแหน่ง กอ่ นหมนุ ต้องยกให้ พ้นผิวงานเสยี ก่อน 9.) ควรยดึ หรือจับช้ินงานใหแ้ นน่ ก่อนตรวจสอบ 10.) อยา่ ใช้ตรวจสอบงานท่ีกาลังหมุนหรือเกอื บหยุดหมุน 11.) อย่าใช้ตรวจสอบช้นิ งานขณะที่รอ้ น 12.) ขณะใช้ควรจบั ทีด่ ้ามของเกจทรงกระบอกเทา่ นั้น 13.) กอ่ นใชเ้ กจทรงกระบอกจะต้องตรวจสอบดูความเรยี บร้อย เช่น มรี อยเยนิ ทเี่ กดิ จาก การตกหลน่ หรือไม่ ถ้ามใี ห้สง่ ไปตรวจสอบ 14.) เม่อื ไม่ใชง้ านให้วางไว้ในกล่องไม้หรอื ตง้ั ขน้ึ เพราะถา้ วางกับพนื้ อาจจะกลิง้ ตกพน้ื ได้ 9.3.5 วิธีการเกบ็ บารงุ รักษา 1.) หลกั จากเลกิ ใชแ้ ล้วให้รบี เช็ดด้วยผ้าทส่ี ะอาด และทานา้ มันกนั สนิม 2.) ขณะเกบ็ ควรแยกจากกันเพอ่ื ป้องกันไม่ให้กล้ิงมากระทบกนั 9.4 หวีวัดฟนั เกลยี ว (Thread Pitch Gauge) การผลิตเกลียวขึ้นมาใหม่ด้วยเคร่ืองกลึง หรือการกาหนดขนาดเพื่อจัดซ้ือ จาเป็นต้องทราบค่าระยะพติ ช์ (Pitch) ของเกลียวตวั เดิมเสียก่อน การหาระยะพิตช์ของเกลียวสามารถกระทาได้หลายวิธี เช่น ใช้เครอ่ื งมอื วัด วดั ระยะหา่ งของสนั เกลยี ว ซ่ึงวัดได้ไม่สะดวกนักและได้ค่าท่ีไม่ละเอียดพอ เน่ืองจากสันเกลียวแหลม โดยเฉพาะการวัดระยะพิตช์ของเกลียวใน ดังน้ันการวัดระยะพิตช์และการตรวจสอบความถูกต้องของรปู ฟนั เกลียวได้สะดวกและรวดเร็วจึงใช้เครื่องมอื ตรวจสอบทม่ี ชี ่ือวา่ “หวีวัดฟันเกลียว” ภาพท่ี 9-34 ลักษณะเกลยี วเมตริก

9.4.1 ลักษณะสร้างของหววี ัดฟันเกลียว หวีวัดฟันเกลียวจัดทามาเป็นชุด ๆ หนึ่งมีหลาย แผ่น แต่ละแผ่นจะทาเป็นรูปฟันเกลียวพร้อมตัวเลขแสดง ระยะพิตช์ตา่ ง ๆ กันตามลาดับ และร้อยด้วยสลักเก็บไว้ใน ด้ามจับทั้งสองด้าน สาหรับเกลียวเมตริก ตาม DIN 13/14 จะมีทั้งหมด 24 แผ่น โดยเร่ิมจากระยะพิตช์ละเอียดสุด 0.25 มม. ถึงหยาบสุด 6.00 มม. หวีวัดฟันเกลียวทาจาก เหล็กแผ่นสปริงแตล่ ะแผน่ มีความหนาประมาณ 0.60 มม.ภาพท่ี 9-35 ลกั ษณะหวีวดั ฟนั เกลียว 9.4.2 ชนดิ ของหวีวัดเกลยี ว ระบบเมตรกิ มรี ะยะ ฟิตตง้ั แต่ 0.25 – 6 มม. ระบบอังกฤษ มีขนาดเกลยี วต่อนิ้ว ตงั้ แต่ 62 – 4 เกลยี วต่อนว้ิ ภาพท่ี 9-36 หวีวดั เกลียว 9.4.3 การใชห้ ววี ัดฟนั เกลยี ว หวีวัดฟนั เกลยี วสามารถใช้งานได้ 2 ลักษณะ คือ 1.) การตรวจสอบระยะพติ ช์ของเกลยี ว ใช้วดั หาระยะพิตช์ของเกลียวนอกและ เกลียวใน วิธีใช้ เลือกแผ่นท่ีมี ระยะพิตช์ ใกล้เคียงกับระยะพิตช์ของเกลียว แล้ววางทาบ ลงบนสันเกลียว ส่วนแผ่นท่ีเหลือทั้งหมดให้ พับเก็บไว้ในด้ามจับ ถ้าไม่สามารถวางทาบลง บนสันเกลียวได้ทุกฟันให้เปล่ียนแผ่นใหม่จน สามารถวางทาบลงได้ทกุ ฟันภาพท่ี 9-37 การตรวจสอบระยะพิตชเ์ กลียวนอก

อ่านระยะพติ ชข์ องเกลยี วจากตวั เลขนบแผ่นหวีวดั ฟันเกลียว ภาพท่ี 9-38 การตรวจสอบระยะพิตชเ์ กลยี วใน 2.) การตรวจสอบรปู ฟันเกลยี ว ใช้ตรวจสอบความถูกต้องของรูปฟันเกลียว เช่น ความลึก มุมรวม มุมแต่ละด้านส่วนโค้งทก่ี น้ ร่องและความหนาของสนั เกลยี วในกรณีท่ีไมต่ ้องการความละเอียดมากนัก โดยหันหน้าเข้าหาแสงสวา่ งหรือกลอ่ งไฟ โดยวางทาบหวีวดั ฟนั เกลียวลงบนสันเกลียว สังเกตแสงท่ีลอดผ่านมาระหว่างหวีวัดฟนั เกลยี วกบั เกลยี วของช้ินงาน ดงั ภาพที่ 9-39 และภาพที่ 9-40 ภาพที่ 9-39 รูปฟนั เกลียวทถี่ ูกต้อง ภาพที่ 9-40 รูปฟันเกลยี วที่ไมถ่ กู ตอ้ ง มมี ุมเอียง หมายเหตุ การตรวจสอบรูปฟันเกลียวด้วยหวีวัดฟันเกลียว จะตรวจสอบได้เฉพาะเกลียวนอกท่ีมี ขนาดโตพอทจี่ ะเหน็ แสงลอดผ่านไดเ้ ทา่ น้ัน

9.4.4 วิธีการวดั ด้วยหวีวดั ฟันเกลยี ว วิธกี ารวัดหาระยะพิตช์ของเกลยี วหรอื ตรวจสอบความถกู ต้องของเกลียวจะวัดค่าได้อย่างถูกต้องก็ต่อเมื่อได้วางทาบหวีวัดฟันเกลียวลงบนเกลียวชิ้นงานในตาแหน่งที่ถูกต้อง ฟันเกลียวของแผ่นหวีวัดฟนั เกลยี วจะต้องวางแนบสนิทกับทุกฟันของเกลียวชิ้นงานและอยู่ในแนวเดียวกับแกนศูนย์กลางชิ้นงานดงั ภาพท่ี 9-41 ภาพที่ 9-41 แนวตาแหนง่ วางหววี ัดฟนั เกลยี ว 9.4.5 ขอ้ ควรระวงั ในการใชห้ วีวดั ฟันเกลียว 1.) ก่อนวางทาบหวีวัดฟนั เกลยี วควรทาความสะอาดเกลียวและหวีวัดฟันเกลียวเสียก่อนโดยเฉพาะเกลียวละเอียดและเกลียวใน 2.) ขณะใช้งานให้นาออกมาใช้ทลี ะใบสว่ นใบท่ีไมใ่ ช้ ใหพ้ บั เกบ็ ไว้ในด้ามจบั 3.) อยา่ เกบ็ หวีวัดฟันเกลยี วรวมกับเครอ่ื งมือวัดอื่น ๆ

9.5 เกจวดั ความโตรคู ว้าน (TELESCOPING GAUGE SETS) เกจวัดความโตรูคว้าน เป็นเครื่องมือวัดประเภทถ่ายทอดขนาด ลักษณะการใช้งานเพ่ือใช้วัดเส้นผ่าศูนย์กลางรูขนาดโตที่ไม่สามารถใช้เครื่องมือวัดแบบมีสเกลเข้าไปวัดได้ นาเกจวัดขนาดรูท่ีวัดได้มาเปรียบเทยี บหรือวดั ขนาดจากเวอร์เนยี คาลปิ เปอร์ หรอื ไมโครมเิ ตอร์ เพ่อื ใหท้ ราบค่าและขนาดที่วัดได้ภาพท่ี 9-41 เกจวัดความโตรูควา้ นระบบเมตริก เกจวัดความโตรูคว้าน 1 ชุด ประกอบด้วยเกจวัดขนาดต่าง ๆ กันจานวน 6 ตัว เพ่ือให้สามารถเลือกใช้ให้เหมาะสมกับขนาดของรูชิ้นงาน ขนาดของเกจวัดในระบบเมตริกรูใหญ่กว่า 8 มม. ขึ้นไปและไมเ่ กิน 150 มม. ในระบบอังกฤษรขู นาด 5 น้ิวขึน้ ไป และไม่เกนิ 6 นวิ้ 169.5.1 เกจวัดความโตรคู วา้ นระบบเมตริก 8 – 12.7 มม. ตัวท่ี 1 วดั ขนาดเส้นผ่าศนู ยก์ ลางไดต้ ้งั แต่ 12.7 – 19 มม. ตวั ท่ี 2 วดั ขนาดเสน้ ผ่าศนู ย์กลางได้ต้ังแต่ 19 – 32 มม. ตัวที่ 3 วดั ขนาดเส้นผา่ ศนู ย์กลางได้ตั้งแต่ 32 – 54 มม. ตวั ที่ 4 วัดขนาดเสน้ ผา่ ศูนยก์ ลางได้ตั้งแต่ 54 – 90 มม. ตวั ท่ี 5 วัดขนาดเส้นผ่าศนู ยก์ ลางไดต้ ั้งแต่ 90 – 150 มม. ตวั ท่ี 6 วดั ขนาดเส้นผ่าศนู ย์กลางไดต้ ง้ั แต่

9.5.2 เกจวดั ความโตรคู ว้านระบบองั กฤษ 5 1 นิ้ว ตวั ที่ 1 วัดขนาดเส้นผา่ ศูนยก์ ลางได้ตั้งแต่ 16 2 นว้ิ ตวั ที่ 2 วัดขนาดเสน้ ผา่ ศูนย์กลางไดต้ งั้ แต่ 13 นว้ิ ตัวท่ี 3 วัดขนาดเส้นผา่ ศนู ย์กลางไดต้ ง้ั แต่ 24 นิ้ว ตัวท่ี 4 วัดขนาดเส้นผ่าศูนยก์ ลางได้ตั้งแต่ 3 11 น้วิ ตวั ที่ 5 วัดขนาดเส้นผา่ ศูนยก์ ลางได้ตัง้ แต่ 44 นิ้ว ตวั ที่ 6 วดั ขนาดเสน้ ผา่ ศูนย์กลางไดต้ ง้ั แต่ 11 21 48 21 31 82 31 6 49.5.3 ขนั้ ตอนในการใชเ้ กจวดั ความโตรูควา้ นวัดขนาดงาน 1.) ทาความสะอาดเกจวดั และรขู องชิน้ งาน 2.) ใช้บรรทัดวดั ขนาดรูชน้ิ งานและเลือกใชเ้ กจวดั ให้มีขนาดใกล้เคียงกับขนาดชิน้ งาน 3.) หุบแกนวัดทงั้ 2 ขา้ ง ให้เล็กกวา่ รชู ้นิ แลว้ ลอ็ คไว้ 4.) สวมเกจวดั เข้าไปในรูช้ินงานคลายลอ็ คหวั สกรู ให้แกนวัดดันออกมาสมั ผสั กบั ผิวช้ินงาน ดงั รูปที่ 9.42 5.) เมอ่ื แกนวดั สมั ผสั กับผวิ งานพอดแี ล้วล็อคหวั สกรู ดงั รูปที่ 9-43 6.) ค่อยเอียงเกจวดั แล้วเอาออกมาภายนอก 7.) นาเกจวัดงานมาวดั ถา่ ยขนาดจากไมโครมเิ ตอร์ หรอื เวอรเ์ นยี และอ่านคา่ ท่ีวดั ได้ ดงั รปู ท่ี 9-44ภาพท่ี 9-42 สวมเกจวดั เขา้ ไปในรูชิน้ งานคลายสกรูล็อคใหแ้ กนวดั ออกสมั ผัสรูชิ้นงาน

ภาพที่ 9-43 การวดั ขนาดรูช้ินงานและลอ็ คสกรแู กนวัด ภาพที่ 9-44 นาเกจวดั มาวดั ถ่ายขนาดจากไมโครมเิ ตอร์ 9.6 การตรวจสอบเรยี ว ในการผลิตชิ้นงานเรียว สามารถทาได้ด้วยการกลึงเรียว บนเคร่ืองกลึงการเจียระไนเรียว การตรวจสอบความถูกตอ้ ง ของรูงานในสว่ นของมุมเรยี ว ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางระยะต่าง ๆ ตลอดจนความยาวเรียวในการใช้เครื่องมือตรวจสอบวัดขนาดความเรียวได้ยากเพราะฉะนั้นการตรวจสอบวัดรูเรียวได้สะดว กและรวดเรว็ จึงใช้เกจเพลาเรยี วเปน็ ตัวตรวจสอบ ประเภทของการตรวจสอบเรียว 1.) การตรวจสอบเรียวภายนอก โดยใช้เกจวดั เพลาเรียว (Taper Plug Gauge) 2.) การตรวจสอบเรยี วภายใน โดยใชเ้ กจรเู รียว (Taper Ring Gauge)

9.6.1 เกจวัดเพลาเรียว (Taper Plug Gauge) ภาพท่ี 9-45 เกจวัดเพลาเรยี ว สว่ นประกอบของเกจวัดเพลาเรยี ว ลกั ษณะของเกจวดั เพลาเรยี วด้ามจบั จะเป็นปลอกพมิ พ์ลายนามาสวมใสเ่ พอื่ ทาให้สามารถจับเพลาเรียวไดถ้ นดั ขณะใชง้ าน ทีด่ ้ามจะมีรายละเอยี ดขนาดบอกไว้ ส่วนประกอบของเกจวัดเพลาเรยี วดังนี้ 1.) เป็นงานกลึงเรียวและผ่านการเจียระไน ให้มีขนาดได้มาตรฐานเรียวต่าง ๆ เช่น เรียวระบบมอส (MORSE) วสั ดทุ ่ีใช้ทาลาตัวแท่งทาจากเหล็กแข็งคุณภาพสูงผ่านการชุบแข็งและเจียระไนให้ได้ขนาด 2.) ปลายก่ัน อยู่ส่วนปลายด้ามมีลักษณะเช่นเดียวกับปลายของดอกสว่านก้านเรียวเป็นตัวตรวจสอบระยะหา่ งของร่องในการทาปลอกเรียว 3.) ส่วนปลายทั้งสองข้าง จะถูกเจาะรูยันศูนย์ไว้ เพื่อใช้ทดสอบจับยันศูนย์หัวท้ายของแท่งทดสอบบนเคร่ืองกลึงเพื่อลอกขนาดเพ่ือเอียงทามุมเรียวบนเคร่ืองกลึง เพื่อกลึงเพลาเรียวให้ได้ขนาดตามตน้ แบบ 9.6.2 ข้นั ตอนการตรวจสอบรเู รยี วโดยใช้เกจเพลาเรียวทดสอบ 1.) ทาความสะอาดรูเรียวทีต่ ้องการทดสอบ 2.) เลือกเกจเพลาเรยี วให้ใกลเ้ คยี งกับขนาดรู 3.) ใช้ชอลค์ หรือปากกาเคมีทีม่ ีสีเห็นชัด ขีดเปน็ เสน้ ยาวตามความยาวของเรียว โดยรอบ 3 เสน้ 4.) จึงใส่เกจเพลาเรียวเข้าไปในรู 5.) ดนั เกจเพลาเรยี วเขา้ ไปในรใู ห้สดุ และหมนุ ไปทางเดยี วใหร้ อบ 6.) ดงึ เกจออกจากรูเรียว 7.) สังเกตดูว่าสีทท่ี าไว้บนเกจส่วนใดหายไป แสดงวา่ บริเวณน้ันจะเป็นสว่ นของเพลา ท่ีความเรียวไม่ถูกตอ้ งจะต้องกลึงบรเิ วณนน้ั ออก

8.) การใชเ้ กจเพลาเรยี วจะตอ้ งตรวจสอบหลาย ๆ คร้ังจนกระท่งั เมือ่ ใส่เกจเข้าไปแลว้ ตลอดความยาวของเกจสีจะถูกลบหมดตลอดทง้ั แนวแสดงว่ารเู รียวนน้ั ไดข้ นาดรเู รียวไดม้ าตรฐาน ภาพท่ี 9-46 การใช้ชอล์คทาบนเกจเพลาเรียว ภาพท่ี 9-47 การใส่เกจวัดเพลาเรยี วเขา้ ไปในรู ภาพท่ี 9-48 การหมุนเกจเพลาเรยี วเพ่ือตรวจสอบหารอยชอล์ค

ภาพท่ี 9-49 อัตราเรยี วของงานถกู ต้อง สีโคนเรียวลอกออกเท่ากัน ภาพที่ 9-50 อัตราเรียวของงานมากเกินไป สีโคนเรยี วลอกออกทปี่ ลายก่ัน ภาพที่ 9-51 อตั ราเรียวของงานน้อยเกินไป สีโคนเรียวลอกออกท่ใี กลด้ า้ มจบั9.6.3 ขอ้ ควรระวังในการใชเ้ พลาเรียว 1. รเู รยี วท่ีต้องทดสอบ ควรมผี ิวเรียบ 2. ทาความสะอาดบริเวณภายในรขู องช้นิ งานไมค่ วรมคี ราบน้ามันหลงเหลืออยู่ 3. การใช้เกจเพลาเรียวตรวจสอบวัดรูเรียว ควรหมุนเพียงรอบเดียวไม่ควรหมุนหลาย รอบ 4. หลังเลิกใช้แลว้ ควรชโลมน้ามนั บริเวณเรียวก่อนเก็บ

9.6.4 เกจวดั รเู รียว (TAPER RING GAUGE) เกจวดั รูเรยี ว ถกู สร้างข้นึ มาเพ่ือใช้ตรวจสอบความเรียวของเพลามาตรฐาน ภาพท่ี 9-52 เกจวัดรูเรียว 9.6.5 ลกั ษณะของเกจวัดรูเรียว เกจวัดรูเรียวถูกผลิตข้ึนมาด้วยการกลึงรูเรียวโดยใช้เครื่องกลึงให้ใกล้เคียงกับขนาดแล้วเจยี ระไนรใู นให้มผี ิวเรยี บและได้ขนาดมาตรฐาน วสั ดทุ ่ีใช้ ทาจากเหล็กแข็งท่ีมีคุณภาพสูงเมื่อกลึงเสร็จแล้วจะนาไปชุบแข็งและใช้เครื่องเจียระไนใหไ้ ดข้ นาดมาตรฐาน 9.6.6 วธิ ีการตรวจสอบโดยใช้เกจวัดรเู รยี ว 1. ทาความสะอาดเพลาท่ีตอ้ งการตรวจสอบ 2. เลือกเกจวัดรเู รยี วทมี่ ีขนาดใกลเ้ คียงกับเพลาทตี่ ้องการทดสอบทาความสะอาดให้ เรียบร้อย 3. ขดี เสน้ บาง ๆ ตรงกลางของเพลาเรยี วตามความยาวของเรยี ว 3 เส้นรอบเพลาเรยี ว 4. ใสเ่ กจวดั รเู รียว เข้าไปในเพลาดนั จนตดิ 5. หมุนเกจวดั รเู รยี วไปทางเดียวโดยรอบ 6. ถอดเกจออกมาให้สังเกตดูทีเ่ พลาเรียววา่ สีทท่ี าไว้บรเิ วณส่วนใดถูกลบออกมากท่สี ดุ แสดงว่าส่วนนน้ั ความเรียวยงั ไมไ่ ด้ขนาดจะตอ้ งกลงึ บรเิ วณนั้นออก 7. ตรวจสอบแบบนีห้ ลายครง้ั จนกระท่งั สีทต่ี ิดบนเพลาถกู ลบออกเทา่ ๆ กัน ตลอด ความยาวแสดงว่าขนาดความเรียวได้ตามมาตรฐาน

ภาพท่ี 9-53 การทาสีชอล์คบนเพลาเรยี วเพอ่ื ตรวจสอบ ภาพท่ี 9-54 ใสเ่ กจวัดรเู รยี วเขา้ ไปในเพลา ภาพท่ี 9-55 หมนุ รเู รียวบนเพลาและดึงออก

ภาพท่ี 9-56 ขนาดความโตของเพลาถูกต้อง ปลายด้านเล็กอยู่ระหวา่ งผิวต่างระดบั ท้ังสองพอดีภาพที่ 9-57 ขนาดความโตของเพลาจะเล็กเกินไป ปลายด้านเล็กอยูเ่ ลยผวิ ต่างระดับทั้งสองออกไปภาพที่ 9-58 ขนาดความโตของเพลาจะโตเกนิ ไป ปลายดา้ นเล็กยงั ไม่ถงึ ผิวต่างระดับทง้ั สองความโต


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook