Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เครื่องมือวัดถ่ายขนาด

เครื่องมือวัดถ่ายขนาด

Published by vichaya1978, 2017-03-22 05:40:54

Description: Unit_3

Search

Read the Text Version

หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 3 วงเวียนถา่ ยขนาด (Caliper and Divider) ลกั ษณะงานท่ีใชว้ ดั ดว้ ยคาลิปเปอร์ ได้แก่ การวดั เปรียบเทียบขนาดงาน งานตรวจสอบขนาดงานว่าเล็กหรือใหญ่กว่าขนาดกาหนด และงานวัดขนาดท่ีมีลักษณะตกร่องภายนอก เมื่อต้องการความสะดวกรวดเร็วและไม่ตอ้ งการคา่ วดั ที่ละเอยี ดมากนกั ภาพท่ี 3-1 ตัวอยา่ งงานวดั ดว้ ยคาลปิ เปอร์3.1 ลกั ษณะของคาลปิ เปอร์ ลกั ษณะของคาลิปเปอรค์ ลา้ ยกบั วงเวียน สามารถถา่ ยขนาดเพอื่ วัดขนาดงานได้ ทงั้ ภายนอกและภายในด้วยขาของคาลิปเปอร์ คาลิปเปอรน์ น้ั แยกตามประเภทของงานได้ 2 ประเภทคอื 3.1.1 คาลิปเปอร์วัดนอก (Outside Caliper) มีช่ือท่ีเรียกกันท่ัวไปว่า “เขาควาย” ใช้วัดหรือตรวจสอบขนาดภายนอกของช้ินงาน ขาของเขาควายมีลักษณะโค้งเข้าเพ่ือหลบผิวงาน ลักษณะสร้างของคาลิปเปอร์ท่ีใช้วัดขนาดภายนอก แบ่งได้เป็น 2ลกั ษณะคอื คาลปิ เปอร์ท่ปี รบั ดว้ ยความฝืด คาลิปเปอร์ลักษณะน้ีแขนวงเวียนมีลักษณะบาง แขง็ แรง และไมบ่ ดิ งอง่าย สร้างดว้ ยเหล็กสปริง แขนวง เวยี นทั้งสองยดึ ติดกนั ด้วยหมุดยา้ การกางออก หรือหบุ เข้าดว้ ยวิธกี ารเคาะที่แขนวงเวียน ภาพท่ี 3-2 คาลปิ เปอรแ์ บบปรับดว้ ยความฝืด

 คาลิปเปอร์ท่ีปรบั โดยหมนุ เป็นเกลียว คาลิปเปอร์ลักษณะน้ี แขนวงเวียนคอ่ นขา้ งใหญ่ เพราะทาจากเหล็กอ่อนขาของวงเวยี นจะหุบเข้าหากัน ตลอดเวลาดว้ ยแรงสปริง ระยะหา่ งของเกลียวสมั ผสั ปรับ ด้วยการหมนุ แป้นเกลียวเข้า / ออกตามตอ้ งการ ภาพท่ี 3-3 คาลิปเปอร์แบบปรบั ด้วยแป้นเกลียว 3.1.2 คาลปิ เปอร์วดั ใน (Inside Caliper or Divider) คาลิปเปอรว์ ดั ใน หรือทเ่ี รียกกนั ทัว่ ไปว่า “ตีนผี” ใช้วัดหรือตรวจสอบขนาดภายในช้ินงาน เช่นรูเจาะหรือรูคว้านโต ๆ เป็นต้น ขาของวงเวียนทาให้มีลักษณะโค้งออก เพื่อให้เข้ียวสัมผัส สัมผัสกับผิวงานดา้ นในได้ ลักษณะสร้างของวงเวยี นแบบนอ้ี าจแบ่งได้เปน็ 2 ลักษณะ เช่นเดียวกัน คือ แบบปรับด้วยความฝืดและด้วยการหมุนแป้นเกลียว โดยแบบปรับด้วยแป้นเกลียว ขาของวงเวียนจะกางออกตลอดเวลาด้วยแรงสปรงิ ระยะหา่ งของเขี้ยวสมั ผัสปรบั ดว้ ยการหมุนแปน้ เกลยี วเข้าออกตามต้องการ ภาพท่ี 3-4 ลักษณะของคาลิปเปอรว์ ัดใน

3.2 ลักษณะงานวดั ด้วยคาลปิ เปอร์ แบ่งออกเป็นลักษณะใหญ่ ๆ ได้ 3 ลกั ษณะ คอื 3.2.1 การวัดเปรยี บเทียบขนาด งานสองชิน้ ว่า เล็กหรอื ใหญก่ ว่ากนั โดยไม่จาเป็นตอ้ งทราบค่า วดั จริงที่เป็นตวั เลข 3.2.2 ตรวจสอบขนาด จากเคร่ืองมือวัดท่ีมีขีด สเกลวัดเมื่อปรับขนาดคาลิปเปอร์แล้ว นาไป ต ร ว จ ส อ บ ข น า ด ชิ้ น ง า น ว่ า เ ล็ ก ห รื อ ใ ห ญ่ ก ว่ า ขนาดกาหนด 3.2.3 วัดถ่ายขนาด ของชิ้นงาน แล้วนามาวัด หาค่ากับเครื่องมอื วดั ที่มีสเกลมาตรา ภาพท่ี 3-5 ลกั ษณะงานวดั ด้วยคาลปิ เปอร์3.3 วิธีใชง้ านคาลปิ เปอร์ การท่ีจะใช้คาลิปเปอร์วัดขนาดให้ได้ค่าที่ถูกต้องและแม่นยานั้นทาได้ยากมาก เน่ืองจากเป็นเครื่องมือวัดที่ไม่มีขีดสเกลให้อ่านได้ชัดเจน ผู้วัดด้วยคาลิปเปอร์ต้องฝึกจนมีทักษะอย่างเพียงพอจึงจะสามารถวดั ช้ินงานไดอ้ ย่างถกู ต้อง กล่าวคือ 3.3.1 การปรบั ระยะหา่ งของเข้ียวสัมผัส โดยการเคาะแขนวงเวยี นเพือ่ ปรับระยะห่างของเข้ียวสัมผัสจะต้องทาอย่างถูกวิธีเพื่อไม่ให้เข้ียวสัมผัสเสยี หาย จากภาพที่ 3-.6 หลังจากปรับขนาด คร่าว ๆ ด้วยมือแล้ว จึงทาการปรับละเอียดโดย วิธีการจับตัวคาลิปเปอร์เคาะกับวัตถุอื่น ๆ โดย เคาะทขี่ าวงเวียนด้านในเพื่อกางออก และเคาะที่ ขาวงเวยี นดา้ นนอกเพอ่ื หุบเขา้ ภาพท่ี 3-6 การปรับระยะห่างเข้ียวสมั ผสั ของคาลปิ เปอรว์ ัดนอก

จากภาพท่ี 3-7 หลังจากปรับขนาดคร่าว ๆ ด้วยมือแล้วจึงทาการปรับละเอียด โดยเคาะท่ี ขาวงเวยี นดา้ นใน เพือ่ กางออกและเคาะทขี่ า วงเวยี นดา้ นนอกเพอ่ื หบุ เข้า ภาพที่ 3-7 การปรบั ระยะหา่ งเขย้ี วสมั ผสั ของคาลปิ เปอร์วัดใน จากภาพที่ 3-8 การเคาะปรับขาวงเวียน เชน่ น้จี ะทาให้เข้ียวสัมผัสเยินเสียหายเม่ือนาไป วัดช้ินงานจะทาใหค้ า่ วัดผดิ พลาด ภาพท่ี 3-8 การเคาะปรับขาวงเวียนท่ีผดิ วธิ ี 3.3.2 การสัมผสั ของเขย้ี วสัมผสั วัดทั้งสองกับชิ้นงาน โดยจะตอ้ งใชค้ วามรสู้ กึ สมั ผัส ในการฝกึ ทกั ษะการจับ ควรจบั ในแนวดิ่ง ดงั ภาพที่ 3-9 ก่อนเร่ิมวัดหรอื ตรวจสอบขนาด จะต้องทาใหร้ ะยะห่างของเขี้ยวสัมผัสมากกว่าความโตงานเล็กน้อยแล้วค่อย ๆ ปรับใหแ้ คบเข้าจนสัมผสั พอดกี ับผวิ งานนั้น  ถ้าระยะสัมผัสแคบเกินไป คาลิปเปอร์จะ ลอยจากนิ้วมอื และคา้ งอยบู่ นผิวงาน  ถ้าระยะสัมผัสกว้างเกินไปคาลิปเปอร์จะ ผ่านผิวงานโดยตลอด น้าหนักของคาลิปเปอร์ จะอย่บู นนว้ิ มือตลอดเวลา  ถ้าระยะสัมผัสพอดีคาลิปเปอร์จะลอยจาก นิ้วมือ และเลื่อนผ่านผิวสัมผัสไปช้า ๆ ด้วย น้าหนักของตัวคาลิปเปอร์เอง ภาพท่ี 3-9 การสมั ผสั ของเขยี้ วสัมผสั

3.3.3 แนวแกนวัดชิ้นงานของคาลปิ เปอร์ ต้องคานึงว่าแนวแกนวัดของคาลิปเปอร์ (Axis of Caliper) อยู่ในเส้นวัดชิ้นงาน (Line ofMeasurement) นั้นจรงิ หรือไม่ โดยทดสอบขยับเขี้ยวสัมผัสดู หรือเปรียบเทียบค่าวัดได้สุดแต่ละลักษณะงานวิธีขยับเขี้ยวสัมผัสวัดควรขยบั เข้ยี วใดเขยี้ วหน่งึ เพยี งเขย้ี วเดยี ว ภาพท่ี 3-10 แนวการวดั ชิ้นงานทรงกระบอก ภาพที่ 3-11 แนวการวดั ช้ินงานทรงสเี่ หลีย่ ม

3.4 ข้อควรระวงั ในการใชค้ าลิปเปอร์ ช่างทดี่ ีนอกจากจะวดั ขนาดงานอยา่ งถูกวิธเี พื่อให้ได้ขนาดงานท่ีถูกต้องแล้ว ยังจะต้องรู้จักระมัดระวังเคร่อื งมือวัดไมใ่ หช้ ารดุ เสียหายอกี ดว้ ย ขอ้ ควรระวงั ทงั้ หลายอาจกลา่ วแยกเปน็ ขอ้ ๆ ดังนี้ 1. ก่อนวดั ชิ้นงานจะตอ้ งทาความสะอาดช้ินงานทกุ คร้ัง 2. กอ่ นใชค้ าลปิ เปอร์ถ่ายขนาดควรตรวจดูความสมบูรณข์ องแขนวงเวียนถา่ ยขนาดนนั้ ก่อน เช่น เข้ยี วสัมผัสวดั เยินหรือไม่ ความฝืดระหวา่ งแขนวงเวียน การบดิ ตวั ของแขนวงเวียน 3. อยา่ วดั ชิ้นงานทก่ี าลังหมนุ 4. อย่าทาคาลิปเปอรห์ ล่นลงกบั พื้นหรอื วางแรงเกนิ ไป 5. ขณะถา่ ยขนาดกับเครือ่ งมอื วดั ชนดิ อนื่ ควรระมัดระวังการขยับตัวของแขนวงเวยี น 6. ทาความสะอาดคาร์ลปิ เปอร์ทกุ ครงั้ หลังใช้งาน 7. ทาน้ามนั กนั สนมิ 8. ควรเกบ็ คาลปิ เปอร์แยกจากเครอื่ งมืออื่น 9. ทาความสะอาดทุกคร้งั กอ่ นและหลงั การใชง้ าน


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook