Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การสอบเทียบเครื่องมือวัด

การสอบเทียบเครื่องมือวัด

Published by vichaya1978, 2017-03-22 06:13:19

Description: หน่วยที่ 10 การสอบเทียบเครื่องมือวัด

Search

Read the Text Version

หน่วยการเรียนรู้ที่ 10 หลกั การสอบเทยี บมาตรฐานเคร่ืองมอื วดั10.1 การสอบเทยี บมาตรฐานเคร่ืองมอื วดั กระบวนการสอบเทียบมาตรฐานคือกระบวนการในการวดั เพื่อเปรียบเทียบระหว่างการทางานของเครื่องมือวดั ที่นามาสอบเทียบมาตรฐาน (Unit Under Calibration) และ (Measurement Standard) หลกั สาคญั อยทู่ ่ีเคร่ืองมือมาตรฐานในการสอบเทียบตอ้ งสามารถสอบกลบั ไดถ้ ึงมาตรฐานของหน่วยวดั สากล(SI Unit) การวดั เพอ่ื การสอบเทยี บโดยทวั่ ไปมีอยู่ สามชนิดคอื 1.1 การวดั เพื่อทาใหเ้ ห็นวา่ เครื่องมือวดั ยงั ทางานไดต้ ามขอ้ กาหนดเฉพาะ 1.2 การวดั เพ่ือปรับแต่งผลตอบสนองต่อคา่ ที่วดั ของเคร่ืองมือวดั 1.3 การวดั เพื่อใหไ้ ดค้ า่ แก้ (Correction factor) องค์ประกอบของการสอบเทยี บมาตรฐานเคร่ืองวดัการสอบเทียบมาตรฐานเครื่องวดั จะตอ้ งประกอบดว้ ย 5 องคป์ ระกอบหลกั ดงั ต่อไปน้ี 1) บุคลากรผทู้ าการสอบเทียบ 2) อุปกรณ์มาตรฐานการสดั (Measurement Standard) 3) สภาพแวดลอ้ มในการสอบเทียบมาตรฐานเคร่ืองวดั 4) เอกสารข้นั ตอนการสอบเทียบมาตรฐานเครื่องมือวดั 5) ระบบคุณภาพในการสอบเทียบมาตรฐานเครื่องวดั สาหรับสี่องค์ประกอบแรกเม่ือมีครบก็สามารถทาให้เกิดการสอบเทียบมาตรฐานเคร่ืองวดั ได้ส่วนองคป์ ระกอบขอ้ สุดทา้ ยคือ ระบบท่ีจดั ข้ึนเพ่ือให้การสอบเทียบมาตรฐานดาเนินไปอย่างมีคุณภาพคงเส้นคงวาและเป็ นท่ียอมรับในระดบั สากล ในการพิจารณาเพ่ือหาองค์ประกอบในการสอบเทียบให้ครบองค์ มีขอ้ ควรพจิ ารณาดงั ต่อไปน้ี1. บุคลากร ในการสอบเทียบมาตรฐานเครื่องวดั จะตอ้ งมีเจา้ หน้าที่เป็ นผทู้ าการสอบเทียบ ซ่ึงผทู้ ่ีรับผิดชอบจะตอ้ งจดั เตรียมเจา้ หน้าที่ท่ีจะทาหนา้ ท่ีในการสอบเทียบมาตรฐานเครื่องวดั ใหไ้ ด้ การคดั เลือกเจา้ หน้าที่ท่ีจะมาทาการสอบเทียบมาตรฐานควรพจิ ารณาจากคุณสมบตั ิดงั ต่อไปน้ี 1.1 ผา่ นการศึกษาที่จาเป็ น ไดร้ ับการฝึ กอบรมมีความรู้ทางเทคนิค และมีประสบการณ์ในงานท่ีจะตอ้ งรับผดิ ชอบ 1.2 มีความสามารถในการแกป้ ัญหา กลา้ ตดั สินใจในทางเทคนิค 1.3 มีความอดทน ซ่ือสัตย์ ซ่ือตรง 1.4 เป็นผทู้ ่ีนิยมชมชอบความสมบูรณ์ 1.5 เป็นผทู้ ี่มีใจกวา้ ง ยอมรับความคิดเห็นผอู้ ่ืน 1.6 เป็นผมู้ ีความมน่ั ใจในตวั เอง

1.7 ยอมรับขอ้ ผดิ พลาดที่อาจเกิดข้ึน กลา้ สอบถามปัญหาท่ีเห็นวา่ ยงั ไมเ่ ขา้ ใจ 1.8 มีความสามารถในการร่วมงานกบั ผอู้ ่ืนไดเ้ ป็นอยา่ งดี ท่ีกล่าวมาคือ คุณลกั ษณะทางอุดมคติของบุคคลท่ีจะปฏิบตั ิงานในหอ้ งปฏิบตั ิการสอบเทียบ2. อปุ กรณ์มาตรฐานการวดั (Measurement Standard) นอกจากตอ้ งมีบุคลากรที่จะมาทาการสอบเทียบมาตรฐานเครื่องวดั ดงั กล่าวแลว้ อุปกรณ์มาตรฐานการวดัก็เป็นองคป์ ระกอบอนั ดบั ท่ีสองของการสอบเทียบ การจดั เตรียมหาอุปกรณ์มาตรฐานการวดั น้นั จะตอ้ งจดั เตรียมใหไ้ ดต้ ามคุณสมบตั ิดงั ต่อไปน้ี 2.1 ตอ้ งมีความถูกตอ้ งสูงเพียงพอต่อการใชง้ านเป็ นอุปกรณ์มาตรฐาน ตวั อย่างเช่นในหน่วยงานของทา่ นมีเคร่ืองวดั ที่ตอ้ งการทดสอบมาตรฐานที่ตอ้ งการความถูกตอ้ งในการวดั เท่ากบั +/- 1% ของค่าที่อ่านได้ ท่านจาเป็ นที่จะตอ้ งจดั เตรียมตวั มาตรฐานที่มีความถูกตอ้ งดีกว่า +/- 0.33% ถึง +/- -0.1% (ขอ้ กาหนด ISO 10012แนะนาให้ใชอ้ ุปกรณ์มาตรฐานที่มีค่าความไม่แน่นอนเป็ นอย่างน้อย หน่ึงในสาม ถึงหน่ึงในสิบของ ความไม่แน่นอนของเครื่องมือที่จะนามาสอบเทียบ) 2.2 ตอ้ งเป็นอุปกรณ์ที่มีเสถียรภาพในการทางานสูง กล่าวคือ ค่าความถูกตอ้ งในการทางานไมเ่ ปล่ียนไปตามเวลามากจนทาใหค้ วามถูกตอ้ งลดลงจนไมส่ ามารถยอมรับได้ 2.3 ตอ้ งมีพสิ ยั และรายละเอียดในการวดั ที่เพยี งพอตอ่ การใชง้ านสอบเทียบ 2.4 ตอ้ งเป็นเครื่องมือท่ีสามารถสอบยอ้ นกลบั ไดถ้ ึงมาตรฐานแห่งชาติ 2.5 ถ้าเป็ นไปได้ควรเลือกซ้ือเครื่องมือมาตรฐานการวดั ที่สามารถหาที่สอบเทียบมาตรฐานได้ง่ายภายในประเทศ เพราะการสอบเทียบมาตรฐานเครื่องมือที่เป็ นมาตรฐานการวดั จะตอ้ งกระทาทุกวงรอบเวลาท่ีกาหนด การหาแหล่งสอบเทียบยาก จะทาใหเ้ กิดปัญหาในการสอบเทียบในคร้ังตอ่ ไป3. ข้นั ตอนการสอบเทยี บมาตรฐาน (Callibration Procodure) เป็ นอีกองค์ประกอบหน่ึง ของการสอบเทียบมาตรฐานเคร่ืองวดั เพราะถ้าปราศจากข้นั ตอนการสอบเทียบมาตรฐานเคร่ืองวดั ที่จดั เตรียมไวอ้ ยา่ งดี การสอบเทียบท่ีกระทาแต่ละคร้ังก็จะไดผ้ ลท่ีไม่ซ้ากนั ทาให้ไม่สามารถเชื่อถือผลการสอบเทียบคร้ังใดวา่ ถูกตอ้ ง การให้ไดม้ าซ่ึงข้นั ตอนการสอบเทียบมาตรฐานเครื่องวดั จะไดม้ าจาก 3.1 ข้นั ตอนการสอบเทียบมาตรฐานที่จดั พิมพโ์ ดยองคก์ รมาตรฐานสากล เช่น ISO 3.2 ข้นั ตอนการสอบเทียบมาตรฐานท่ีจดั พมิ พโ์ ดยองคก์ รระดบั กลุ่มประเทศ 3.3 ข้นั ตอนการสอบเทียบมาตรฐานที่จดั พิมพโ์ ดยหน่วยงานแห่งชาติ 3.4 ข้นั ตอนท่ีจดั ทาโดยหน่วยงานท่ีมีชื่อเสียง 3.5 ส่ิงพมิ พท์ างวชิ าการการ ทางวทิ ยาศาสตร์ หรือวารสาร 3.6 ข้นั ตอนการสอบเทียบมาตรฐานที่จดั พิมพโ์ ดยบริษทั ผผู้ ลิตเคร่ืองมือวดั น้นั 3.7 ข้นั ตอนการสอบเทียบท่ีพฒั นาข้ึนเองโดยห้องปฏิบตั ิการ โดยผูช้ านาญการในสาขาต่างๆ และได้ผา่ นการตรวจยนื ยนั วา่ ข้นั ตอนน้นั สามารถใชง้ านไดต้ ามวตั ถุประสงคจ์ ริง ห้องปฏิบตั ิการสอบเทียบมาตรฐานที่ประสงค์จะใช้ข้นั ตอนการสอบเทียบมาตรฐานท่ีพฒั นาข้ึนเองในการสอบเทียบ ต้องแจ้งให้ลูกคา้ รับทราบ

ข้นั ตอนการสอบเทียบท่ีจะใชใ้ นการสอบเทียบ และลูกคา้ ตอบยืนยนั ให้ใช้ไดก้ ่อนจึงจะสามารถใชข้ ้นั ตอนการสอบเทียบมาตรฐานท่ีพฒั นาข้ึนเองได้ ตามขอ้ กาหนดขอ้ 5.4.2 ของ ISO/ICE 17025 กาหนดให้ห้องปฏิบตั ิการสอบเทียบมาตรฐานตอ้ งใช้ข้นั ตอนการสอบเทียบมาตรฐานซ่ึงเป็นไปตามความตอ้ งการของลูกคา้ และมีความเหมาะสมกบั ขอบข่ายการสอบเทียบของห้องปฏิบตั ิการ ห้องปฏิบตั ิการควรเลือกใช้ข้นั ตอนการสอบเทียบท่ีจดั พิมพเ์ ป็ นมาตรฐานระดบั สากลหรือมาตรฐานระดบั ภูมิภาค หรือมาตรฐานระดบั ประเทศ หอ้ งปฏิบตั ิการตอ้ งใชข้ ้นั ตอนการสอบเทียบมาตรฐานที่ไดร้ ับการยืนยนั คร้ังล่าสุด เน้ือหาในข้นั ตอนการสอบเทียบมาตรฐานเคร่ืองมือวดั ควรประกอบดว้ ยหวั ขอ้ ต่าง ๆตามขอ้ 5.4.4 ของ ISO/IEC 170254. สภาพแวดล้อมของห้องปฏิบัติการสอบเทยี บ ในการสอบเทียบน้ันจะตอ้ งมีการควบคุมสภาพแวดลอ้ มของห้องท่ีทาการสอบเทียบให้มีสภาวะตามขอ้ กาหนดสากล ของหอ้ งสอบเทียบมาตรฐานเครื่องมือวดั กล่าวคือ 4.1 ตอ้ งควบคุมอุณหภูมิในห้องสอบเทียบมาตรฐานให้คงท่ีตามที่กาหนดโดยมาตรฐานตวั อยา่ งเช่นหอ้ งปฏิบตั ิการสอบเทียบมาตรฐานเครื่องวดั ทางไฟฟ้ าโดยทวั่ ไปจะควบคุมอุณหภูมิ ให้อยทู่ ี่ 23 องศาเซลเซียส+/- 3 องศาเซลเซียส นอกจากจะตอ้ งควบคุมอุณหภูมิให้ไดใ้ นค่าดงั กล่าวแลว้ จะตอ้ งควบคุมให้การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิในแต่ละชั่วโมงไม่ควรมากกว่า 0.6 องศาเซลเซียส เน่ืองจากอุณหภูมิมีผลกระทบโดยตรงต่อความถูกตอ้ งในการทางานของเคร่ืองวดั การเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิอยา่ งมากจะทาให้ผลการสอบเทียบมาตรฐานเกิดความไม่แน่นอน 4.2 ตอ้ งควบคุมความช้ืนสัมพทั ธ์ในอากาศ ภายในห้องสอบเทียบให้มีค่าอยู่ท่ี 45 % RH +/- 15% RHสาหรับหอ้ งปฏิบตั ิการสอบเทียบทางไฟฟ้ า อน่ึงหากค่าความช้ืนสัมพทั ธ์ในอากาศมีมากเกินกวา่ ขีดจากดั จะทาให้เกิดสนิมกบั ส่วนที่เป็ นโลหะของเครื่องมือวดั ในทางตรงกนั ขา้ มการมีความช้ืนในอากาศนอ้ ยกวา่ ที่กาหนด ก็ก่อให้เกิดปัญหาเรื่องประจุไฟฟ้ าในอากาศจะเกิดข้ึนง่าย ซ่ึงบางคร้ังจะทาลายชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์บางชิ้นได้การควบคุมความช้ืนสัมพทั ธ์จึงมีความจาเป็นดงั กล่าว 4.3 ปริมาณฝ่ นุ เนื่องจากห้องปฏิบตั ิการสอบเทียบมาตรฐานเครื่องวดั ประกอบดว้ ยเครื่องมือท่ีมีความถูกตอ้ งสูง และรายละเอียดในการวดั สูงมาก ปริมาณฝ่ นุ ที่มากเกินไปอาจ จะทาใหผ้ ลการวดั ผดิ พลาดได้ เน่ืองจากฝ่ ุนจะเขา้ ไปจบั บริเวณรอยต่อหรือหัววดั ต่าง ๆ สาหรับขอ้ กาหนดเรื่องปริมาณฝ่ ุนในห้องสอบเทียบทางไฟฟ้ าไม่ไดม้ ีการกาหนดตายตวั ไวแ้ ต่ตอ้ งรักษาความสะอาดภายในหอ้ งสอบเทียบตลอดเวลา 4.4 ระดบั คลื่นรบกวนในอากาศ ห้องปฏิบตั ิการสอบเทียบมาตรฐานเคร่ืองมือวดั ทางไฟฟ้ า ควรจะตอ้ งเลือกทาเลที่ต้งั ท่ีมีคลื่นรบกวนในอากาศต่าเพอ่ื มิใหเ้ กิดการรบกวนการสอบเทียบมาตรฐานเคร่ืองมือวดั สถานท่ีซ่ึงควรหลีกเล่ียงไดแ้ ก่ สถานที่ใกลห้ ้องส่งวิทยุ ใกลส้ ายไฟฟ้ าแรงสูง ใกลแ้ หล่งท่ีกาเนิดคล่ืนรบกวนทางไฟฟ้ าตา่ ง ๆ 4.5 มีระดบั แสงสวา่ งบนโต๊ะสอบเทียบมาตรฐานเพียงพอท่ีจะทาใหเ้ จา้ หนา้ ท่ีผทู้ าการสอบเทียบไม่ตอ้ งใชส้ ายตามากจนปวดลูกตา ระดบั แสงบนโตะ๊ สอบเทียบไม่ควรนอ้ ยกวา่ 100 ฟุต/แรงเทียน 4.6 ระดบั เสียงในหอ้ งปฏิบตั ิการระดบั เสียงในพ้นื ท่ีสอบเทียบมาตรฐานเครื่องวดั ท่ีมีความดงั มากเกินไปจะทาให้ผลการวดั บางชนิดผดิ พลาด และยงั ส่งผลโดยตรงต่อสุขภาพของผปู้ ฏิบตั ิงาน ในเรื่องความสามารถใน

การไดย้ นิ เสียง เร่ืองความเครียดในขณะทางาน ดงั น้นั หอ้ งปฏิบตั ิการสอบเทียบทวั่ ไปจึงพยายามรักษาระดบั เสียงในหอ้ งปฏิบตั ิการใหม้ ีค่าไมเ่ กินกวา่ 45 db(A) 4.7 ความกดดนั บรรยากาศภายในห้องปฏิบตั ิการ เพื่อเป็ นการป้ องกนั ฝ่ ุนจากภายนอกไม่ให้เขา้ ไปในห้องปฏิบตั ิการสอบเทียบ และป้ องกนั ไม่ให้อากาศร้อนนอกห้องปฏิบตั ิการรั่วไหล เขา้ มาในห้องปฏิบตั ิการ จึงควรรักษาความกดดนั ภายในหอ้ งใหม้ ากกวา่ บรรยากาศภายนอกอยรู่ ะหวา่ ง 0.05 ถึง 0.1 นิ้วน้า 4.8 ความส่นั สะเทือนของพ้ืนที่ การสอบเทียบมาตรฐานบางชนิดไดร้ ับผลจากความสัน่ สะเทือนตวั อยา่ งเช่นการสอบเทียบมาตรฐานเคร่ืองชงั่ ดงั น้นั ควรเลือกที่ต้งั ห้องปฏิบตั ิการที่ห่างไกลจากแหล่งที่ทาให้เกิดความสั่นสะเทือนถา้ เป็นไปได้ หรือใชก้ รรมวธิ ีป้ องกนั ความสน่ั สะเทือนโดยวธิ ีอื่น ๆ5. ระบบคุณภาพ การที่เราสามารถจดั หาองค์ประกอบในการสอบเทียบมาตรฐานเคร่ืองวดั ไดค้ รบตามท่ีกล่าวมาแต่ตน้ ก็น่าจะเพียงพอต่อการสอบเทียบมาตรฐานเครื่องวดั ได้ แต่แทจ้ ริงแลว้ ยงั มีสิ่งท่ีไม่มีตวั ตน แต่สาคญั มากในการสอบเทียบมาตรฐานเครื่องมือวดั ก็คือ ระบบคุณภาพในการสอบเทียบมาตรฐานเคร่ืองมือวดั ระบบคุณภาพ(Quality System) หมายถึงระบบท่ีประกอบด้วยโครงสร้างองค์กรหน้าที่ความรับผิดชอบ วิธีการดาเนินการกระบวนการ และทรัพยากร สาหรับการนาการบริหารงานคุณภาพไปปฏิบตั ิระบบคุณภาพในการสอบเทยี บมาตรฐานประกอบด้วยสองส่วนใหญ่ ๆ กค็ อื 5.1 การควบคุมคุณภาพในการปฏิบตั ิการสอบเทียบ หมายถึงระเบียบท่ีเขียนข้ึน หรือขอ้ บงั คบั ต่าง ๆหรือระบบ ข้นั ตอนการทางานต่าง ๆ ในการปฏิบตั ิงานประจาวนั ที่จะทาให้มนั่ ใจว่าการปฏิบตั ิงานมีคุณภาพตลอดเวลา โดยปกติแล้วห้องปฏิบตั ิการสอบเทียบมกั จะกาหนดนโยบายคุณภาพของหน่วยงานไวเ้ พ่ือเป็ นแนวทางในการปฏิบตั ิงานใหเ้ ป็นไปตามนโยบายคุณภาพตลอดเวลา 5.2 การประกนั คุณภาพในการปฏิบตั ิการสอบเทียบมาตรฐาน หมายถึงการวางแผนการปฏิบตั ิที่เป็ นระบบ เพื่อแสดงใหเ้ ห็นอยา่ งเพยี งพอวา่ ระบบหรือ อุปกรณ์มาตรฐานมีคุณภาพตามท่ีตอ้ งการอยา่ งแทจ้ ริง ซ่ึงการประกนั คุณภาพน้ีอาจจะกระทาไดโ้ ดยกรรมวธิ ีตอ่ ไปน้ีก) การใช้วธิ ีการเกบ็ ข้อมูลโดยหลกั สถิติ การประกันคุณภาพวิธีน้ีจดั เป็ นการประกันคุณภาพภายในห้องปฏิบตั ิการสอบเทียบ ซ่ึงผูบ้ ริหารหอ้ งปฏิบตั ิการที่มีความรู้ทางดา้ นสถิติเบ้ืองตน้ ก็สามารถท่ีจะเขา้ ใจ และสามารถดาเนินการประกนั คุณภาพโดยหลกั สถิติได้ ตวั อยา่ งเช่น การเก็บขอ้ มูลค่าของอุปกรณ์มาตรฐานเป็ นระยะเวลาช่วงหน่ึง และกาหนดแนวโนม้การเล่ือนคา่ ในอนาคต หรือการใช้ Control Chartข) การขอรับการรับรองความสามารถห้องปฏิบตั กิ าร (Laboratory Accreditation) การขอรับการรับรองห้องปฏิบตั ิการสอบเทียบมาตรฐานเคร่ืองมือวดั ตามมาตรฐานสากล ISO/IEC17025 หรือ มอก. 17025 น้นั เป็ นกรรมวิธีการประกันคุณภาพจากภายนอกกล่าวคือ ห้องปฏิบตั ิการจะตอ้ งจดั ระบบคุณภาพให้เป็ นไปตามขอ้ กาหนด อีกท้งั แสดงให้เห็นจริง ซ่ึงความสามารถในการวดั ทางวิชาการ และไดร้ ับการตรวจสอบโดยผเู้ ชี่ยวชาญทางวชิ าการที่เป็ นกลาง หอ้ งปฏิบตั ิการท่ีผา่ นการรับรองความสามารถแลว้ จะไดร้ ับการยอมรับในผลการวดั จากหน่วยงาน และองคก์ รต่าง ๆ

ค) การเข้าร่วมโครงการทดสอบความชานาญ (Proficiency Testing Program) ไดแ้ ก่การท่ีห้องปฏิบตั ิการเขา้ ร่วมในโครงการทดสอบความชานาญในการวดั กบั องคก์ รท่ีจดั ใหม้ ีการทาการทดสอบความชานาญ ซ่ึงการทดสอบความชานาญในการวดั น้นั ผเู้ ขา้ ร่วมจะตอ้ งทาการวดั อุปกรณ์มาตรฐานที่รู้ค่าความถูกตอ้ ง และรายงานผลการวดั ตามสภาพจริงที่หอ้ งปฏิบตั ิการวดั ได้ โดยผจู้ ดั โครงการจะเป็นผปู้ ระเมินวา่ หอ้ งปฏิบตั ิการท่ีเขา้ ร่วมโครงการมีความสามารถในการวดั ตามท่ีระบุไวจ้ ริงหรือเปล่า การเขา้ ร่วมการทดสอบความชานาญน้ีจดั เป็นการประกนั คุณภาพจากภายนอก ทาให้ไดร้ ับการยอมรับในวงกวา้ ง แมห้ น่วยงานท่ีมีระบบคุณภาพแต่ไม่ประสงคจ์ ะขอรับรองความสามารถของหอ้ งปฏิบตั ิการ ก็สามารถเขา้ ร่วมโครงการได้ หากวา่ ไดม้ ีการจดั ระบบคุณภาพในหน่วยงานแลว้10.2 การสอบกลบั ได้ของเครื่องมอื มาตรฐาน หมายถึงการบอกไดถ้ ึงผลการวดั แต่ละคร้ังท่ีเราทาการวดั ห่างจากค่ามาตรฐานแห่งชาติหรือนานาชาติอยู่เทา่ ใด โดยสอบเทียบยอ้ นกลบั ไปยงั มาตรฐานโดยไม่ขาดช่วง จากรูปแสดงให้เห็นถึงความสามารถสอบกลบั ได้ของเคร่ืองมือวดั ท่ีใช้ในการผลิต ว่าสามารถสอบยอ้ นกลบั ไดถ้ ึงมาตรฐานแห่งชาติ ซ่ึงอธิบายไดด้ งั น้ี ส่วนล่างสุดคือสินคา้ ที่ผลิตเป็ นส่ิงที่ถูกวดั โดยใชเ้ คร่ืองมือวดั หรือทดสอบในการวดั จะเห็นไดว้ ่าสินคา้ จะดีหรือไม่ดี เป็ นไปตามมาตรฐานหรือไม่ก็อยู่ท่ีคุณภาพของเคร่ืองมือวดั และทดสอบ (Testing Equipment) เป็ นปัจจยั สาคญั และเครื่องวดั ที่ใชใ้ นการทดสอบก็จะตอ้ งมีการรับการสอบเทียบเพ่ือยืนยนั ค่าความถูกตอ้ งเม่ือใช้ไปได้ระยะเวลาหน่ึง ซ่ึงจะต้องสอบเทียบกับเคร่ืองมือมาตรฐานการวดั ท่ีมีความถูกต้องดีกว่า และรู้ค่าความถูกต้อง เคร่ืองมือท่ีใช้ในการสอบเทียบน้ีเราเรียกว่าCalibrating Instrument และเครื่องมือท่ีใชเ้ ป็ นตวั อา้ งอิงในการสอบเทียบก็ยงั ตอ้ งการสอบเทียบมาตรฐานตามระยะเวลา โดยจะสอบเทียบกบั อุปกรณ์มาตรฐานท่ีดีกวา่ เราเรียกอุปกรณ์มาตรฐานชนิดน้ีวา่ Industrial Standardsและก็เป็ นไปในแนวทางเดิมคือ Industrial Standard จะตอ้ งรับการสอบเทียบมาตรฐานกบั เครื่องมือวดั ท่ีดีกวา่ ซ่ึง

ในระดบั น้ีก็คือมาตรฐานแห่งชาติของประเทศต่าง ๆ น้นั เอง เป็ นท่ีน่าสังเกตวา่ การสอบยอ้ นน้ีมิไดห้ มายถึงการส่งเครื่องมือวดั ของเราไปยงั หอ้ งปฏิบตั ิการสอบเทียบ ระดบั สูงสุดเลยทีเดียว แทจ้ ริงแลว้ มีการสอบเทียบถ่ายทอดกนั มาเป็นช้นั ๆ แตข่ บวนการน้ีจะตอ้ งทาอยา่ งต่อเน่ือง จะขาดช่วงใดช่วงหน่ึงมิไดเ้ ลย10.3 เครื่องมือสอบเทยี บมาตรฐาน 10. 3.1 เกจบลอ็ ก (Gauge Block) เกจบล็อก หรือ แท่งเทียบมาตรฐาน (End Gauge) เป็ นมาตรฐานดา้ นความยาวชนิดหน่ึงใชเ้ ป็ นมาตรฐานอา้ งอิงดา้ นความยาวและมิติ มีรูปทรงเป็ นส่ีเหล่ียมมุมฉากทาจากวสั ดุท่ีมีความแขง็ มีความทนทานต่อการเสียดสี ไม่สึกหรอและไม่เป็ นสนิมง่าย ผิวหน้าสัมผสั ท้งั สองดา้ นเรียบและขนานกนั สามารถนามาประกบ(wring) เขา้ ดว้ ยกนั ได้ เน่ืองจากเป็ นมาตรฐานที่ทาจากโลหะดงั น้นั ความยาวน้ีจะแปรผนั กบั อุณหภูมิที่เปลี่ยนไปค่าที่ถูกตอ้ งของเกจบล็อกอา้ งอิงท่ีอุณหภูมิ 20  C วสั ดุที่ใช้ทาแท่งเทียบมาตรฐานเป็ นจาพวก Stainless Steel,Ceramic, Chrome Plated Steel, Tungsten Carbide, Chrome Carbide เป็นตน้ 10. 3.2 ความยาวของเกจบลอ็ ก ความยาวหรือความหนาของเกจบล็อกคือ ระยะจากผวิ หน้าสัมผสั ทตี่ ้ังฉากระหว่าง ณ ตาแหน่งตรงกลางดังรูปท่ี 10.1 รูปที่ 10.1 แสดงลกั ษณะโครงสร้างของเกจบลอ็ ก1. หลักในการเลอื ก Gauge Block Set มีอยู่ 3 หลกั เกณฑ์ ทสี่ าคัญ (Calibration- /Tolerance class according toDIN ISO EN 3650) คา่ Tolerance class ตามมาตรฐานของ DIN ISO 3650 มีอยู่ 4 classes ดว้ ยกนั 1.1 Calibration Class K เหมาะสาหรับการใช้งานที่ต้องการความเท่ียงตรงและความแม่นยาสูงสุดโดยเฉพาะในการนาไปใช้งานใน Clean room หรือ Calibration labs ภายในโรงงาน สาหรับนาไปทาการสอบเทียบกบั gauge block ท่ีมี class ต่ากวา่ รับรองความเท่ียงตรงและแม่นยาดว้ ย DKD Calibration Certificate และรายงานค่า Deviation ของ gauge block แตล่ ะตวั 1.2 Tolerance Class 0 สาหรับการใช้งานในห้องวิจยั ห้องทดลอง test laboratories และ precisioninspection ท่ีตอ้ งการความเท่ียงตรงและแม่นยาในการสอบเทียบ gauge blocks และเครื่องมือวดั ที่มีความละเอียดสูง

1.3 Tolerance Class 1 สาหรับการใชง้ านใน Inspection room เช่นเช็ตค่าของเครื่องมือวดั และ gaugesต่างๆ 1.4 Tolerance Class 2 สาหรับการใชง้ านในสายการผลิต เช่น เช็ตค่าของเครื่องมือวดั ตรวจเช็คขนาดของ jig และ tools2. วสั ดุของ Gauge Block (Material ) มีท้งั แบบเหล็ก หรือ แบบ เซรามิกตามแต่ลกั ษณะการใชง้ าน3. Size of Set จานวนของ gauge blocks ในแต่ละชุดข้ึนอยกู่ บั ความจาเป็ นในการใชง้ าน เช่นใน gauge blocks ชุดใหญ่121 ชิ้น 409/409 C เหมาะสาหรับการใชง้ าน Inspection rooms เป็นตน้ 4. 3. 3 การสอบเทยี บเกจบลอ็ ก (Gauge Block Calibration) ในการสอบเทียบเกจบล็อกน้นั จะตอ้ งคานึงถึงระดบั ช้นั ของเกจบล็อกเป็ นสาคญั เน่ืองจากเกจบล็อกในระดบั ท่ีสูงกว่าจะมีค่าถูกตอ้ ง (Accuracy) สูงกว่า จากหลกั การน้ีเราจึงใช้เกจบล็อกที่มีระดบั ช้นั ต่ากวา่ (UnderTest) โดยใชเ้ คร่ือง Gauge Block Comparator (ดูรูปท่ี 10.2) รูปที่ 10.2 เครื่อง Gauge Block Comparator สาหรับเกจบลอ็ กเกรด 00 หรือ เกรด K จะตอ้ งสอบเทียบกบั ความยาวคลื่นแสง (Absolute measurement)ของเลเซอร์ ตามขอ้ แนะนาของ ISO 3650 : 1996 โดยใชเ้ คร่ือง Gauge Block Interferometer แสดงดงั รูปที่ 10.3รูปท่ี 10.3 แสดงหลกั การสอบเทยี บเกจบล็อกเกรด 00 หรือ เกรด K โดยใช้เคร่ือง Gauge Block Interferometer

ห้องปฏบิ ตั ิการสอบเทยี บตามมาตรฐาน ISO/IEC 17025:1999ความเป็ นมาของ ISO/IEC 17025-1999 ISO/IEC 17025 เป็ นมาตรฐานสากลซ่ึงประกาศใชโ้ ดยองคก์ รระหวา่ งประเทศวา่ ดว้ ยการมาตรฐานหรือInternational Organization for Standardization ห รื อ เ รี ย ก ย่อ ๆ ว่า ISO ใ น ข ณ ะ เ ดี ย ว กัน InternationalElectrotechnical Commission หรือ IEC ซ่ึงเป็ นกลุ่มผลิตภณั ฑ์ไฟฟ้ าก็ได้ให้การยอมรับในมาตรฐานน้ีเช่นกันมาตรฐานฉบบั น้ีเกิดจากการนาขอ้ กาหนด ISO/IEC Guide 25 ที่เป็ นเพียงขอ้ แนะนาที่ไดร้ ับความยอมรับอย่างกวา้ งขวาง มาปรับปรุงเพ่อื ใหเ้ ป็นมาตรฐานขอ้ กาหนดทวั่ ไปวา่ ดว้ ยความสามารถของหอ้ งปฏิบตั ิการทดสอบและสอบเทียบ โดยความหมายของตวั เลข 17025 ท่ีใชใ้ ห้หมายถึง ชุดอนุกรมมาตรฐาน 17000 ท่ีเก่ียวกบั ขอ้ แนะนาท่ีมีอยู่ เลข 25 คงไวซ้ ่ึงหมายเพ่ือให้เห็นว่าเป็ นมาตรฐานท่ีปรับปรุงมาจาก ISO/IEC Guide 25 นั่นเอง ISO/IEC17025 จึงเป็ นมาตรฐานท่ีเก่ียวขอ้ งโดยตรงกบั อุตสาหกรรม โดยเฉพาะในความตอ้ งการท่ีตอ้ งมีการทดสอบหรือสอบเทียบในหอ้ งปฏิบตั ิการเพื่อให้แน่ใจวา่ ผลิตภณั ฑ์ที่ผลิตออกมาน้นั มีคุณลกั ษณะตามขอ้ กาหนดที่วางไวท้ ุกประการ ในมาตรฐาน ISO/IEC 17025 หรือ มอก.17025 ไดใ้ ห้นิยามคาสาคญั บางคาซ่ึงควรทาความเขา้ ใจไวใ้ นเบ้ืองตน้ ได้แก่ คาว่า ห้องปฏิบตั ิการ หมายถึงหน่วยงานท่ีทาการสอบเทียบ และ/หรือทดสอบ การทดสอบหมายถึง การดาเนินการทางวิชาการท่ีประกอบดว้ ยการตรวจลกั ษณะเฉพาะหรือสมรรถนะอย่างหน่ึงหรือหลายอย่างของผลิตภณั ฑ์ การสอบเทียบ หมายถึงชุดดาเนินการทางมาตรวิทยาเพ่ือหาความสัมพนั ธ์กนั ระหว่างค่าช้ีบอกของเคร่ืองวดั กบั ระบบการวดั อีกนยั หน่ึงเป็ นการนาสิ่งท่ีมีความแม่นยามาเปรียบเทียบกบั ส่ิงท่ีตอ้ งการวดัมาตรฐาน ISO/IEC 17025 น้นั เร่ิมใชใ้ นปี 1999 และสานกั งานมาตรฐานผลิตภณั ฑอ์ ุตสาหกรรม (สมอ.) รับมาใช้แบบเหมือนกนั ทุกประการ เรียกส้ัน ๆ วา่ \"มอก.17025\" ประกาศใช้อย่างเป็ นทางการเดือนกนั ยายน 2543 ดว้ ยสมอ.เล็งเห็นถึงความจาเป็ นท่ีหน่วยงานต่าง ๆ ท่ีทาหน้าท่ีทดสอบหรือสอบเทียบผลิตภณั ฑ์ตอ้ งจดั ทาระบบคุณภาพให้ไดม้ าตรฐานน้ี เพื่อให้ผลการทดสอบและสอบเทียบเป็ นท่ีเชื่อมน่ั และยอมรับในตลาดโลก จึงมีการอบรมให้ความรู้เกี่ยวกบั มาตรฐานแก่หน่วยงานที่สนใจ สาหรับหน่วยงานที่เคยไดร้ ับการรับรองตามมาตรฐานมอก.ฉบบั เดิมปี 2537 ก็จะตอ้ งปรับปรุงใหไ้ ดต้ ามมาตรฐานฉบบั ใหม่ และจะตอ้ งไดร้ ับการตรวจประเมินเพิ่มเติมเน่ืองดว้ ยมีรายละเอียดบางส่วนเพิ่มข้ึนจากมาตรฐานฉบบั เดิม การให้ไดม้ าซ่ึงใบรับรองมาตรฐานฉบบั น้ีน้ันองคก์ รท่ีสนใจควรศึกษาและทาความเขา้ ใจในรายละเอียดของขอ้ กาหนดตา่ ง ๆ ในมาตรฐานใหช้ ดั เจน เพอื่ ทาให้สามารถนาความเขา้ ใจไปปรับปรุงระบบท่ีมีอยู่แลว้ หรือสร้างระบบบางส่วนท่ียงั ไม่มีให้สอดคลอ้ งเป็ นไปตามเกณฑ์ท่ีกาหนด มาตรฐานฉบบั น้ีมีขอ้ กาหนดหลกั ๆ 2 ส่วน ได้แก่ ส่วนบริหารและส่วนจดั การทางเทคนิคขอ้ กาหนดดา้ นบริหาร มีวตั ถุประสงค์ท่ีจะให้การดาเนินการต่าง ๆ ของห้องปฏิบตั ิการเป็ นไปอย่างสม่าเสมอส่งผลให้การบริการลูกคา้ เป็ นไปอย่างคงเส้นคงวา แต่ท้งั น้ีตอ้ งอาศยั ความร่วมมือและการประสานงานกนั ท้งัองคก์ รเพ่ือให้บรรลุวตั ถุประสงคข์ องการให้บริการแก่ลูกคา้ ภายใตข้ อ้ กาหนดน้ีจะประกอบไปดว้ ยหลกั เกณฑ์ต่าง ๆ 14 ขอ้ ดว้ ยกนั ดงั น้ี 1. การจัดองค์กร (Organization) ตอ้ งมีบุคลากรท่ีรับผดิ ชอบดา้ นการจดั การ (Quality manager) งาน

ทางวิชาการ (Technical management) โดยเขียนหนา้ ที่ความรับผิดชอบใหช้ ดั เจน มีนโยบายและข้นั ตอนในการจดั การองคก์ รและมีการเขียนโครงสร้างโดยรวม 2. ระบบคุณภาพ (Quality system) ตอ้ งจดั ทาระบบคุณภาพ นโยบายคุณภาพ แลว้ นาไปปฏิบตั ิรวมท้งัรักษาระบบไว้ โดยมีโครงสร้างเอกสาร 3. การควบคุมเอกสาร (Document control) ตอ้ งจดั ทาข้นั ตอนการควบคุมเอกสารและรักษาระบบไว้ โดยเอกสารท้งั หมดตอ้ งทบทวนและอนุมตั ิโดยผูม้ ีอานาจรับผิดชอบ มีการทา Master list ของเอกสาร และตอ้ งทาข้นั ตอนในการเปล่ียนแปลงเอกสาร 4. การทบทวนคาขอใช้บริการ ข้อเสนอ และสัญญา (Review of requests, tender and contracts)ตอ้ งทานโยบายและข้นั ตอนในการทบทวนคาขอของลูกคา้ การย่ืนขอ้ เสนอของห้องปฏิบตั ิการและสัญญาท่ีเกิดข้ึน 5. การจ้างเหมาช่วงการทดสอบ และสอบเทียบมาตรฐาน (Subcontracting of tests And calibrations) การจา้ งห้องปฏิบตั ิการรับเหมาช่วงตอ้ งเป็ นห้องปฏิบตั ิการที่ไดร้ ับรองมาตรฐาน ISO/IEC17025 ตอ้ งแจง้ ลูกคา้ และไดร้ ับการอนุมตั ิจากลูกคา้ เป็น ลายลกั ษณ์อกั ษร โดยมีการทาทะเบียนหอ้ งปฏิบตั ิการรับเหมาช่วงไว้ 6. การจัดซื้อบริการและส่ิงสนับสนุนต่าง ๆ (Purchasing services and supplies) ตอ้ งมีนโยบายและข้นั ตอนในการเลือกและจดั ซ้ือสารเคมีและวสั ดุสิ้นเปลือง รวมท้งั จดั จา้ งบริการท่ีจะนามาใชใ้ นห้องปฏิบตั ิการตอ้ งสาเนาเอกสาร การจดั ซ้ือจดั จา้ งและมีการตรวจสอบ Specification และ Verification ของสารเคมีและวสั ดุสิ้นเปลือง เก็บไวเ้ ป็นหลกั ฐานก่อนจะนามาใชง้ าน มีการทาทะเบียนรายชื่อบริษทั ท่ีใชท้ ้งั หมด 7. การให้บริการต่อลูกค้า (Service to the client) ตอ้ งมีนโยบายและข้นั ตอนในการใหค้ วามร่วมมือกบั ลูกคา้ ในดา้ นคาร้องขอของลูกคา้ และการเก็บความลบั ของลูกคา้ 8. ข้อร้องเรียน (Complaints) ตอ้ งมีนโยบายและข้นั ตอนในการแกไ้ ข ขอ้ ร้องเรียนที่ไดร้ ับจากลูกคา้หรือหน่วยงานอื่น ๆแลว้ ทาบนั ทึกเก็บไว้ เพือ่ สอบสวนดาเนินการแกไ้ ขและหาทางป้ องกนั การเกิดซ้าต่อไป 9. การควบคุมงานทดสอบและสอบเทียบท่ีไม่เป็ นไปตามข้อกาหนด (Control of nonconforming testingand/or calibration work) ตอ้ งมีนโยบายและข้นั ตอนในการจดั การเมื่อทิศทางของงานหรือผลการทดสอบหรือสอบเทียบไมต่ รงตามข้นั ตอนใน Method หรือความตอ้ งการของลูกคา้ 10. การดาเนินการเพื่อป้ องกนั ข้อบกพร่อง (Corrective action) ตอ้ งมีนโยบายและข้นั ตอนเพอ่ื แกไ้ ขเม่ืองานไม่เป็ นไปตามนโยบายหรือข้นั ตอนในระบบคุณภาพหรือทางวชิ าการ โดยตอ้ งมีการตรวจสอบสาเหตุท่ีทาให้เกิดปัญหา กาหนดระดบั ของปัญหาวา่ เกิดความเสียหายหรืออนั ตรายระดบั ใด แลว้ ทาบนั ทึกสอบสวนและหาทางแกไ้ ข จากน้นั ตอ้ งเฝ้ าระวงั ผลการแกไ้ ขวา่ เป็ นไปอยา่ งไดผ้ ลและมีประสิทธิภาพหรือไม่ ในทุกคร้ังที่เกิดความผดิ ปกติในระบบตอ้ งมีการตรวจติดตามเพมิ่ เติมอยา่ งเร็วที่สุดเท่าที่จะทาได้ 11. การดาเนินการเพื่อป้ องกันข้อบกพร่อง (Preventive action) ตอ้ งวางแผนการป้ องกนั การไม่เป็นไปตามขอ้ กาหนดและเฝ้ าระวงั โดยจดั ทาข้นั ตอนเพอ่ื ลดการเกิดซ้า 12. การควบคุมการบันทึก (Control of records) ตอ้ งจดั ทาและรักษาข้นั ตอนในการช้ีเฉพาะรวบรวมทาสารบญั การเขา้ ถึงเอกสาร การจดั เขา้ แฟ้ ม การเก็บเอกสาร การซ่อมบารุงเอกสาร การแจกจ่ายเอกสาร การบนั ทึกทางคุณภาพและวชิ าการ โดยกาหนดระยะเวลาเก็บ 3 ปี

13. การตรวจติดตามคุณภาพภายใน (Internal audits) Quality manager เป็นผจู้ ดั ต้งั คณะผตู้ รวจติดตาม โดยตอ้ งทาการวางแผนข้นั ตอน และโปรแกรมการตรวจติดตามท้งั ในส่วนของระบบคุณภาพและกิจกรรมการทดสอบหรือสอบเทียบหากพบความผดิ พลาดใหแ้ จง้ หอ้ งปฏิบตั ิการใหท้ าการแกไ้ ขทนั ทีและใหแ้ จง้ตอ่ ลูกคา้ เป็นเอกสารหากมีผลกบั ผลการทดสอบหรือสอบเทียบของลูกคา้ 14. การทบทวนระบบการจัดการ (Management reviews) ฝ่ ายบริหารของหอ้ งปฏิบตั ิการตอ้ งจดั ทาข้นั ตอนในการทบทวนระบบคุณภาพกิจกรรมการทดสอบ สอบเทียบ แลว้ ทาการแกไ้ ขปรับปรุงเมื่อจาเป็ น โดยปกติจะทาทุก 12 เดือนนิยามศัพท์มาตรวทิ ยา มาตรฐานนิยามศพั ทก์ าหนดข้ึนเพ่ือใหผ้ เู้ ก่ียวขอ้ งกบั การชง่ั ตวงวดั เขา้ ใจความหมายของศพั ทท์ ี่ใชท้ างมาตรวทิ ยาถูกตอ้ งตรงกนั มาตรฐานนิยามศพั ทแ์ บง่ เป็น 6 หมวด คือ หมวดที่ 1 ศพั ทเ์ กี่ยวกบั ปริมาณและหน่วย หมวดที่ 2 ศพั ทเ์ ก่ียวกบั การวดั หมวดท่ี 3 ศพั ทเ์ กี่ยวกบั การวดั หมวดท่ี 4 ศพั ทเ์ ก่ียวกบั เครื่องวดั หน่วยท่ี 5 ศพั ทเ์ กี่ยวกบั ลกั ษณะของเครื่องวดั หมวดท่ี 6 ศพั ทเ์ ก่ียวกบั มาตรฐานการวดั คณะกรรมการมาตรฐานผลิตภณั ฑอ์ ุตสาหกรรมไดพ้ ิจารณามาตรฐานน้ีแลว้ เห็นสมควรเสนอคณะรัฐมนตรีประกาศตามมาตรา 15 แห่งพระราชบญั ญตั ิมาตรฐานผลิตภณั ฑอ์ ุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 และมีประกาศของกระทรวงอุตสาหกรรมฉบบั ที่ 1378 (พ.ศ.2531) ออกตามความในพระราชพระราชบญั ญตั ิมาตรฐานผลิตภณั ฑอ์ ุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เร่ือง การกาหนดมาตรฐานผลิตภณั ฑอ์ ุตสาหกรรมนิยามศพั ทม์ าตรวทิ ยา มาตรฐานเลขท่ี มอก. 235 เล่ม 14 - 2531 ประกาศใช้ ณวนั ที่ 1 กนั ยายน พ.ศ.2531มาตรวทิ ยา (Metrology) หมายถึง ความรู้ท่ีเก่ียวกบั การวดั หมายเหตุ มาตรวทิ ยาครอบคลุมทุกเร่ือง ท้งั ทางทฤษฏีและทางปฏิบตั ิ ไม่วา่ จะมีความแมน่ ระดบั ใดและไมว่ า่ จะอยสู่ าขาวทิ ยาศาสตร์ หรือสาขาเทคโนโนยใี ดการวดั (Measurement) หมายถึง ชุดของดาเนินการต่างๆ ท่ีมีวตั ถุประสงคเ์ พอื่ หาค่าของปริมาณใดปริมาณหน่ึงความแม่น (Accuracy) หมายถึง ความถูกตอ้ งใกลเ้ คียงกนั ระหวา่ งผลของการวดั กบั ค่าจริง ของปริมาณท่ีวดั ได้ความเทย่ี ง (Precision) หมายถึง ความสามารถในการวดั ปริมาณเดิมที่ไดค้ ่าๆ เดิม

ค่าผดิ พลาด (Error) หมายถึง คา่ ช้ีบอกของเครื่องวดั ลบดว้ ยลบดว้ ยคา่ จริงของปริมาณที่ถูกวดัค่าผดิ พลาดของการวดั (Error of measurement) หมายถึง ผลของการวดั ลบดว้ ยคา่ จริงของปริมาณที่วดัค่าปรับแก้ (Correction) หมายถึง ค่าที่ชดเชยสาหรับค่าผดิ พลาดเชิงระบบที่สมมติข้ึนโดยนามาบวกพชี คณิตกบั ค่ายงั ไมป่ รับแก้ของการวดัค่าผดิ พลาดสุ่ม, ค่าผดิ พลาดไร้ระบบ (Random error) หมายถึง ส่วนประกอบของค่าผดิ พลาดของการวดั ในชุดของจานวนการวดั ปริมาณท่ีวดั เดียวกนั แปรผนั ไปในทางที่คาดคะเนไมไ่ ด้ค่าความผดิ พลาดระบบ (Systematic error) หมายถึง ส่วนประกอบของค่าผดิ พลาดของการวดั ในชุดของจานวนการวดั ปริมาณที่วดั เดียวกนั คงตวั อยู่หรือแปรผนั ไปในทางท่ีคาดคะเนได้ความไม่แน่นอนของการวดั (Uncertainty of measurement) หมายถึง การประมาณบอกลกั ษณะในค่าพสิ ัยของคา่ ซ่ึงครอบคลุมค่าจริงของปริมาณท่ีวดั หมายเหตุ ความไมแ่ น่นอนของการวดั โดยทวั่ ไปประกอบดว้ ยส่วนประกอบตา่ งๆ ส่วนประกอบบ่างส่วน อาจประมาณไดจ้ ากพ้ืนฐานการกระจา่ ยทางสถิติ ของผลของอนุกรมการวดั และบอกลกั ษณะไดโ้ ดยค่าเบ่ียงเบนมาตรฐานการทดลอง การประมาณส่วนประกอบอ่ืนๆ สมารถหาไดจ้ ากประสบการณ์หรือขอ้ สนเทศเทา่ น้นัความสอบกลบั ได้ (Traceability) หมายถึง สมบตั ิของผลการวดั ที่สามารถหาความสมั พนั ธ์กบั มาตรฐานท่ีเหมาะสม ซ่ึงโดยทว่ั ไปไดแ้ ก่มาตรฐานระหวา่ งประเทศ หรือมาตรฐานแห่งชาติ โดยเปรียบเทียบอยา่ งต่อเน่ืองกนั เป็ นลูกโซ่การสอบเทยี บ (Calibration) หมายถึง ชุดของการดเนินการซ่ึงสร้างความสมั พนั ธ์ระหวา่ งคา่ การช้ีบอก โดยเคร่ืองวดั หรือระบบการวดั หรือคา่ ที่แสดง โดยเคร่ืองวดั ท่ีเป็นวสั ดุกบั ค่าสมนยั ท่ีรู้ของปริมาณที่วดั ภายใตภ้ าวะท่ีบง่ ไว้ หมายเหตุ 1. ผลการสอบเทียบ ทาใหส้ ามารถประมาณคา่ ผดิ พลาดของการช้ีบอก ของเคร่ืองวดั หรือระบบการวดัหรือเร่ืองวดั ท่ีเป็นวสั ดุ หรือกาหนดคา่ ทาเคร่ืองหมายบนสเกล ณ ท่ีใดที่หน่ึง 2. การสอบเทียบอาจหาสมบตั ิทางมาตรวทิ ยาอื่นๆ ไดด้ ว้ ย 3. ผลการสอบเทียบอาจบนั ทึกไวใ้ นเอกสาร บางคร้ังเรียกวา่ ใบรับรองการสอบเทียบ หรือ รายงานการสอบเทียบความทวนซ้าได้ (Repeatability) หมายถึง ความสามารถของเครื่องวดั ที่ใหผ้ ลตอบสนองเหมือนกนั ท่ีสุด สาหรับการใชส้ ิ่งเร้าเดียวกนัภายใตภ้ าวะที่กาหนดของการใช้

ความแม่นของการวดั (Accuracy of measurement) หมายถึง ความถูกตอ้ งใกลเ้ คียงกนั ระหวา่ งผลของการวดั กบั คา่ จริง ของปริมาณท่ีวดั


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook