124 การตรวจราชการและนิเทศงาน กรณีปกติ รอบที่ 2 เขตสุขภาพท่ี 1 จังหวัดลำปาง Area based ประเด็นการตรวจราชการ เรื่องที่เปน็ ปัญหาสำคัญในพ้นื ทีเ่ ขตสขุ ภาพ ประเดน็ เด็ก 0-5 ปี ท่ีมภี าวะเตย้ี 1. สถานการณ์และสภาพปญั หาภาวะโภชนาการเด็กปฐมวัย การดำเนินงานโภชนาการของ กลุ่มเด็กแรกเกิด ถึง 5 ปี จังหวัดลำปาง ปีงบประมาณ 2564 จากข้อมูลภาวะโภชนาการ 0 - 5 ปี จังหวัดลำปาง ปีงบประมาณ 2564 ไตรมาส2 ซ่ึงเป็นข้อมูลจาก Health Data Center กระทรวงสาธารณสุขซ่ึงประเมินจากแฟ้ม NUTRITION และแฟ้ม PERSON หากเด็กคนเดิมมี การช่ังน้ำหนักวัดส่วนสูงหลายสถานพยาบาล จะนับทุกสถานพยาบาล เม่ือเด็กคนเดิมมีการชั่งน้ำหนักวัด ส่วนสูงหลายไตรมาส จะนับทุกไตรมาส และหากเด็กคนเดิมมีการชั่งน้ำหนักวัดส่วนสูงหลายครั้งในไตรมาส จะนับตามการช่ังวัดครั้งสุดท้ายในไตรมาส พบว่า มีการติดตามโภชนาการในคลินิกเด็กสุขภาพดีโดยการช่ัง น้ำหนักและวัดส่วนสูง ร้อยละ 86.46 สูงดีสมส่วนร้อยละ 55.18 ซ่ึงยังไม่ต่ำกว่าค่าเป้าหมายท่ีกระทรวง กำหนด (ร้อยละ 62 ) เมื่อพิจารณาขอ้ มลู เด็กอายุ 5 ปี พบวา่ เพศชายมสี ่วนสูงเฉล่ีย 109.33 เซนตเิ มตรสว่ นสูง เฉล่ียเด็กเพศหญิงอยู่ที่ 108.54 เซนติเมตร เด็กแรกเกิด ถึง 5 ปี ท่ีวัดความยาวหรือสว่ นสูงทั้งหมดมีภาวะเตี้ย ร้อยละ 12.96 มีภาวะผอม ร้อยละ 5.08 มีภาวะอ้วน ร้อยละ 12.49 เมื่อพิจารณาภาวะโภชนาการตามช่วง อายุ การครอบคลุมในการชั่งน้ำหนักวัดส่วนสูง เด็ก 0-2 ปี ร้อยละ 88.91 สูงดีสมส่วนร้อยละ 68.13 มีภาวะ เตี้ยร้อยละ 14.05 มีภาวะผอม ร้อยละ 5.21 มีภาวะอ้วน ร้อยละ 4.65 การครอบคลุมในการชั่งน้ำหนักวัด ส่วนสูง เด็ก 3-5 ปี ร้อยละ 84.45 สูงดีสมส่วนร้อยละ 69.04 พบว่ามีภาวะเตี้ย ร้อยละ 11.43 มีภาวะผอม รอ้ ยละ 5.0 มภี าวะอ้วน ร้อยละ 5.26 2. แนวทางและมาตรการในการดำเนินงาน การดำเนินการแก้ไขปัญหาเด็กเต้ียเป็นนโยบายที่สำคัญและเร่งด่วนท่ีต้องดำเนินการโดยกำหนด ความท้าทายเพ่ือให้ เด็กปฐมวัยมีภาวะเต้ียน้อยกว่า รอ้ ยละ 10 จากการดำเนินการในปี 2563 พบว่าการดูแล เด็กเต้ียในพื้นที่จังหวัดลำปาง พบว่ามีความหลากหลายในการบริหารจัดการและการติดตามเด็กเข้าสู่ระบบ บรกิ ารสาธารณสุข จึงได้เพ่มิ การจดั บริการดังน้ี 1) การกำหนดเกณฑ์ประเมินและแนวปฏิบัติการดูแลภาวะการเจรญิ เติบโต เด็ก 0-5 ปี รวมถึงการส่งต่อ เข้าสูร่ ะบบริการสาธารณสุขได้ทันเวลา โดยให้ทุกสถานบริการมีทะเบียนเด็กเตีย้ และค่อนข้างเต้ีย โดย เด็กเต้ียทุกคน ต้องมี Individual Care Plan ประเมินโดยแพทย์หรือผู้รับผิดชอบงานโดยประเมิน พฤติกรรมการบริโภคอาหาร พร้อมกับผู้ปกครองและมีการสอบถามและบันทึกใน Individual Care Plan เริ่มดำเนินการในเดอื น กุมภาพนั ธ์ 2564 ตารางที่ 1 เกณฑป์ ระเมนิ และแนวปฏิบตั ิการดแู ลภาวะการเจริญเติบโต เดก็ 0-5 ปี อยตู่ ำ่ กวา่ เสน้ อยู่ระหว่างเสน้ อยูต่ ่ำกว่าเส้น -1.5 SD -1.5SD ถงึ เสน้ -2 SD -2 SD คอ่ นผอม-ผอม W/H ค่อนข้างเตีย้ H/A เตี้ย H/A -ผอม W/H น้ำหนกั ท่ีอย่ใู นเกณฑท์ ีเ่ สยี่ งตอ่ การขาด สว่ นสงู อยใู่ นเกณฑ์เสีย่ งต่อ สว่ นสงู อยใู่ นเกณฑข์ าดอาหารแบบเร้ือรัง อาหาร การขาดอาหาร พบแพทย์ มี Care plan รายบคุ คล ตดิ ตามเยีย่ ม ทุก 2 เดือน น้ำหนักท่อี ยใู่ นเกณฑท์ เี่ ส่ยี งตอ่ การขาด หากไมด่ แู ล สว่ นสูงจะไมเ่ พม่ิ ขน้ึ จะ ส่วนสูงนอ้ ยกวา่ มาตรฐาน การ สำนักงานสาธารณสขุ จงั หวดั ลำปาง ตรวจราชการและนิเทศงาน รอบท่ี 2 ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564
125 การตรวจราชการและนเิ ทศงาน กรณีปกติ รอบที่ 2 เขตสขุ ภาพที่ 1 จังหวดั ลำปาง อยตู่ ่ำกวา่ เสน้ อยรู่ ะหว่างเส้น อย่ตู ำ่ กว่าเสน้ -1.5 SD -1.5SD ถึงเส้น -2 SD -2 SD ค่อนผอม-ผอม W/H คอ่ นข้างเตีย้ H/A เตี้ย H/A -ผอม W/H อาหาร เป็นเดก็ เตี้ยได้ เจรญิ เตบิ โตไมด่ ี แสดงถงึ การได้รบั หากไมด่ ูแล นำ้ หนกั จะไมเ่ พิม่ ขึ้นหรือ อาหารไมเ่ พยี งพอเปน็ เวลานาน ขาด ลดลง อาหารเรือ้ รัง อยใู่ นระดบั ผอมได้ นำ้ หนักทีอ่ ย่ใู นเกณฑข์ าดอาหาร เดก็ มนี ้ำหนักนอ้ ยกวา่ เด็กทม่ี สี ่วนสูง เท่ากนั แสดงว่าไดร้ บั อาหารไม่เพยี งพอ ส่งเสรมิ การด่ืมนม 2 กล่อง ไข่ 1 ฟอง ส่งเสริมการด่มื นม 2 กลอ่ ง ไข่ 1 ฟอง สง่ เสรมิ การดมื่ นม 2 กล่อง ไข่ 1 ฟอง นอน 10-12 ชม. มีกจิ กรรมทางกาย นอน 10-12 ชม. มีกจิ กรรมทางกาย นอน 10-12 ชม. มีกจิ กรรมทางกาย อยา่ งน้อย 3ชม.+พบโภชนาการใน PCU อย่างน้อย 3ชม.+พบโภชนาการใน อยา่ งน้อย 3ชม. แบบกลมุ่ /เด่ยี ว +พบโภชนาการในPCU เมนูอาหารของแตล่ ะกลมุ่ วัย PCU แบบกลมุ่ /เดี่ยว เมนูอาหารของแตล่ ะกลมุ่ วยั เมนอู าหารของแตล่ ะกลมุ่ วยั 2) ติดตามภาวะโภชนาการในคลินิกเด็กสุขภาพดีโดยการช่ังน้ำหนักและวัดส่วนสูง มีการติดตาม ทุก 2 เดือนโดยมีประเมินผ่านกราฟประเมินการเจริญเติบโตในสมุดสีชมพู ติดตามการกินนมและไข่ ของเด็กเตี้ยทุกราย รวมถึงการกินยาน้ำเสริมธาตุเหล็กต่อเน่ือง และเยี่ยมโดย อสม. หากติดตาม ตดิ ต่อกนั 3 ครั้ง หากภาวะโภชนาการไม่ดขี น้ึ สง่ พบแพทย์โรงพยาบาลลำปางเพอื่ คน้ หาสาเหตุตอ่ ไป 3) พฒั นาศักยภาพ พ่อแม่ ผ้ปู กครอง /อสม. /ครผู ดู้ ูแลเด็ก จังหวัดลำปางได้กำหนดให้มีการพัฒนา ศักยภาพอาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.)เชี่ยวชาญด้านการส่งเสริมสุขภาพเด็กปฐมวัย โดยได้ สนับสนุนหลกั สูตรกลาง 6 ชม. เพื่อให้เป็นมาตรฐานเดียวกันท้ังจังหวัด โดยเน้นการปฏิบัติด้านการส่งเสริม พัฒนาการเด็กด้วยคู่มือ DSPM การใช้กราฟประเมินโภชนาการในสมุดสีชมพู การดูแลสุขภาพช่องปาก และการเลือกรับประทานอาหารในเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ เตี้ย ผอม อ้วน เพื่อให้เกิดการดูแลเด็ก ปฐมวัยอย่างยั่งยืนในหมู่บ้านและชุมชน โดยการคัดเลือก อสม. หมู่บ้านละ 1 คนนั้น ได้กำหนดคุณสมบัติ คือ ต้องเป็น อสม.ท่ีมีอายุ ไม่เกิน 45 ปี สามารถใช้ Application มือถือได้ มีประสบการณ์ในการเลี้ยงดู บุตรหลาน สำหรับครูผู้ดูแลเด็ก ครูโรงเรียนอนุบาล ทุกสังกัดได้ดำเนินการร่วมกับศึกษาธิการจังหวัด ลำปาง ท้องถิ่นจังหวัดลำปาง และพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดลำปาง อบรมพัฒนา ศักยภาพครูพ่ีเลี้ยงสัญจร ในการใช้เครื่องมือประเมินพัฒนาการ DSPM การประเมินโภชนาการ การดูแล สุขภาพช่องปาก เพื่อให้เกิดการพัฒนางานในสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยท่ีเป็นรูปแบบเดียวกันทั้งจังหวัดและ ทุกกระทรวงขับเคล่ือนไปพร้อมกัน ภายใต้มาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยแห่งชาติ โดยกำหนด ดำเนินการเดือน มีนาคมและเมษายน 2564 แต่ด้วยสถานการณ์การแพร่ระบาดโรคติดเช้ือในพ้ืนที่ จึงได้ ปรับรปู แบบและเล่ือนการจดั อบรมออกไป ในเดอื น กรกฎาคม 2564 4) ประสานความมือกับเครอื ข่ายด้านวิชาการ โดยบูรณาการรว่ มกับศึกษาธิการจังหวัดลำปาง ปรับแผนการ สอนในเวทีคณะอนุกรรมการเดก็ ปฐมวัยจังหวัดลำปาง เพ่ิมกิจกรรมกระโดดโลกเต้นเล่นอิสระ แบบสะสม อยา่ งน้อย 3 ชม./วัน ในการแก้ปัญหาเด็กเตย้ี ในพ้นื ทเี่ พ่ือใหเ้ กิดการแกป้ ัญหาภาวะทพุ โภชนาการในพ้ืนท่ี อยา่ งยัง่ ยนื 5) ประสานความร่วมมือกับเครือข่ายองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินและภาคประชาชน กำหนดให้สถานบริการ ทุกแห่งขอรับการสนับสนุนโครงการแก้ปัญหาเด็กเต้ีย หรือสนับสนุนข้อมูลวิชาการให้ อสม.ในหมู่บ้าน และ ครูผู้ดูแลเด็กเห็นความสำคัญของภาวะทุพโภชนาการเด็กปฐมวัย ทั้งเด็ก เต้ีย อ้วน ผอม และเสนอ สำนกั งานสาธารณสุขจังหวดั ลำปาง ตรวจราชการและนเิ ทศงาน รอบที่ 2 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564
126 การตรวจราชการและนิเทศงาน กรณีปกติ รอบที่ 2 เขตสขุ ภาพที่ 1 จังหวดั ลำปาง โครงการต่อองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น กำหนดให้ทุกสถานบริการขอรับการสนับสนุน นม 2 กล่อง ไข่ 1 ฟอง จากองคก์ รปกครองส่วนท้องถ่นิ และแหลง่ อ่นื ที่พร้อมสนับสนุน 3. ผลการดำเนนิ งาน ผลการดำเนินงานโภชนาการเด็กปฐมวัยจังหวดั ลำปาง แสดงตามตารางดังต่อไปนี้ ตารางที่ 2 เดก็ อายุ 0-5 ปี สูงดสี มส่วน ปี 2562 – ปี 2564(ไตรมาส2) ปี 2562 ปี2563 ปี 2564(ไตรมาส2) อำเภอ สูงดี ชาย หญิง สูงดี ชาย หญิง สงู ดี ชาย หญงิ สมสว่ น สูงเฉลยี่ สูงเฉล่ยี สมส่วน สงู เฉล่ีย สงู เฉล่ยี สมสว่ น สูงเฉลย่ี สงู เฉลยี่ เมืองลำปาง 56.1 110.15 108.46 59.08 110.58 109.64 59.08 110.05 109.18 แม่เมาะ 60.94 109.93 108.37 60.85 109.36 108.72 51.78 108.09 108.22 เกาะคา 57.41 111.2 109.99 54.83 110.1 107.83 51.12 109.24 107.48 เสรมิ งาม 49.07 112.04 109.7 55.68 111.26 110.18 53.79 108.57 108.32 งาว 49.09 107.84 108.23 51.75 107.94 107.86 51.47 107.69 107.52 แจ้หม่ 53.38 108.71 107.21 60.86 110.58 109.74 57.31 110.42 109.58 วงั เหนอื 52.28 109.05 107.7 55.03 109.59 108.19 50.61 108.09 107.1 เถิน 57.99 109.31 108.63 54.67 111.21 109.01 60.34 111.07 110.3 แมพ่ รกิ 48.96 109.16 104.56 55.92 110.42 109.4 58.2 111.18 110.63 แมท่ ะ 50.74 109 106.55 52.89 108.79 109.12 50 108.49 108.58 สบปราบ 61.1 110.55 109.25 63.66 109.22 108.68 60.87 107.17 107.41 ห้างฉัตร 56.26 108.7 109.07 58.98 109.89 108.46 51.93 110.39 107.29 เมืองปาน 54.47 109.28 109.34 56.53 109.91 110.73 53.44 108.9 107.76 รวม 54.77 109.57 108.34 57.09 109.96 109.07 55.18 109.33 108.54 ท่ีมา : Health Data Center กระทรวงสาธารณสขุ 23 มิถุนายน 2564 จากข้อมูลเด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วน ปี 2562 - 2564 (ไตรมาส2) ภาพรวมจังหวัดลำปาง3ปี ย้อนหลัง พบว่าผลงาน เด็กสูงดีสมส่วน ในปี 2562 ร้อยละ 54.77 เด็กชายสูงเฉลี่ย 109.57 เซนติเมตร เด็กหญิงสูงเฉลี่ย 108.34 เซนติเมตร ปี 2563 เด็กสูงดีสมส่วน ร้อยละ 57.09 เด็กชายสูงเฉล่ีย 109.96 เซนติเมตร เด็กหญิงสูงเฉลี่ย 109.07 เซนติเมตร เด็กสูงดีสมส่วน ในปี 2564 ไตรมาส2 ร้อยละ 55.18 เด็กชายสูงเฉลี่ย 109.33 เซนติเมตร เด็กหญิงสูงเฉลี่ย 108.54 เซนติเมตร พบว่าทุกอำเภอยังไม่ผ่านเกณฑ์ที่ กำหนด ตารางที่ 3 ข้อมูลภาวะโภชนาการ 0 - 5 ปี จังหวัดลำปาง ปี 2562 – ปี 2564(ไตรมาส2) ภาวะเตยี้ ภาวะผอม ภาวะอว้ น อำเภอ ปี 2562 ป2ี 563 ปี 2564 ปี 2562 ป2ี 563 ปี 2564 ปี 2562 ป2ี 563 ปี 2564 (ไตรมาส2) (ไตรมาส2) (ไตรมาส2) เมืองลำปาง 12.91 12.97 10.78 5.03 6.2 4.28 14.54 12.62 11.45 แมเ่ มาะ 11.38 12.29 16.66 4.73 6.9 5.88 7.69 9.71 11.29 เกาะคา 11.23 12.21 14.39 8.73 6.95 6.12 10.96 15.59 14.11 เสรมิ งาม 15.99 13.58 15.65 7.65 6.21 4.08 17.45 14.66 14.84 งาว 20.03 18.42 15.49 8.3 5.99 5.07 15.21 16.74 15.35 แจ้ห่ม 14.4 11.06 10.9 7.97 5.29 4.51 12.09 11.84 13.01 วงั เหนอื 15.64 11.04 17.59 6.72 5.64 2.96 10.78 13.11 12.44 เถนิ 12.05 6.95 8.8 8.54 11.56 7.88 12.39 11.4 10.55 สำนักงานสาธารณสุขจงั หวดั ลำปาง ตรวจราชการและนิเทศงาน รอบที่ 2 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564
127 การตรวจราชการและนิเทศงาน กรณปี กติ รอบท่ี 2 เขตสุขภาพที่ 1 จงั หวดั ลำปาง ภาวะเต้ีย ภาวะผอม ภาวะอว้ น อำเภอ ปี 2562 ป2ี 563 ปี 2564 ปี 2562 ป2ี 563 ปี 2564 ปี 2562 ปี2563 ปี 2564 (ไตรมาส2) (ไตรมาส2) (ไตรมาส2) แมพ่ รกิ 16.46 10.96 7.85 6.37 6.37 5.79 16.64 15.34 13.64 แม่ทะ 20.64 17.27 16.83 6.09 7.11 5.81 13.9 15.25 12.71 สบปราบ 10.83 7.51 10.16 7.22 5.19 4.38 9.24 8.36 10.96 หา้ งฉตั ร 15.26 14.4 14.98 7.67 7.05 5.22 11.95 13.43 14.18 เมอื งปาน 13.63 14.18 14.15 6.45 5.67 5.44 13.13 13.12 12.79 รวม 14.58 12.94 12.96 6.90 6.61 5.08 13.07 13.09 12.49 ทมี่ า : Health Data Center กระทรวงสาธารณสุข 23 มิถุนายน 2564 จากข้อมูลภาวะโภชนาการ 0 - 5 ปี ปี 2564 ไตรมาส 2 พบว่า ภาวะเตี้ย เด็ก 0-5 ปี มี ภาวะเตี้ย ร้อยละ 12.96 มีภาวะเตี้ยมากที่สุดคืออำเภอวังเหนือ ร้อยละ 17.59 อำเภอแม่ทะ 16.83 และ อำเภอแม่เมาะ ร้อยละ 16.66 ซึ่งพบวา่ เกินคา่ มาตรฐานที่กำหนดคือไม่เกินร้อยละ 10 ภาวะผอม เด็ก 0-5 ปี มีภาวะผอม ร้อยละ 5.08 มีภาวะผอมมากท่ีสุดคืออำเภอเถิน ร้อยละ 7.88 อำเภอเกาะคา ร้อยละ6.12 และ อำเภอแม่เมาะ ร้อยละ 5.88 ซ่ึงพบว่าเกินค่ามาตรฐานท่ีกำหนดคือไม่เกินร้อยละ 5 ภาวะอ้วน เด็ก 0-5 ปี มี ภาวะอ้วน ร้อยละ 12.49 มีภาวะอ้วน มากที่สุดคืออำเภองาว ร้อยละ 15.35 อำเภอเสริมงาม ร้อยละ 14.84 และอำเภอห้างฉตั ร ร้อยละ 14.18 ซึง่ พบวา่ เกนิ ค่ามาตรฐานท่ีกำหนดคือไมเ่ กินรอ้ ยละ 10 ตารางท่ี 4 ข้อมูลภาวะโภชนาการ 0 - 5 ปี จังหวัดลำปาง ปี 2564 (ไตรมาส2)เปรียบเทียบช่วงอายุ 0-2 ปี และ 3-5 ปี 0-2ปี 3-5ปี อำเภอ ชัง่ นน. ภาวะเตี้ย ภาวะผอม ภาวะอว้ น ชัง่ นน. ภาวะเตีย้ ภาวะผอม ภาวะอ้วน วดั สส. วดั สส. เมอื งลำปาง 82.96 12.66 4.62 4.29 80.28 9.21 4.11 4.68 แม่เมาะ 96.76 17.76 6.11 3.93 85.39 13.49 6.54 4.31 เกาะคา 85.65 15.65 5.12 4.99 77.70 11.40 5.89 6.77 เสรมิ งาม 97.29 15.58 3.95 7.67 94.10 11.94 3.64 5.47 งาว 89.40 15.77 5.80 4.85 79.81 12.90 5.35 5.72 แจห้ ม่ 97.04 11.00 3.21 3.89 98.67 8.70 4.95 5.40 วงั เหนอื 92.23 18.56 4.30 4.64 91.29 16.35 1.77 4.77 เถนิ 94.27 11.05 7.73 3.65 87.18 5.98 6.64 3.51 แมพ่ รกิ 85.42 13.17 3.41 7.80 68.47 3.95 6.14 5.70 แมท่ ะ 96.76 16.38 5.33 5.58 89.33 16.63 6.91 5.85 สบปราบ 87.02 8.84 6.08 2.76 88.93 10.52 2.79 5.79 หา้ งฉตั ร 81.62 15.68 5.43 5.12 82.95 13.40 5.44 6.23 เมอื งปาน 87.06 11.45 5.62 4.62 86.85 17.07 5.96 7.09 รวม 88.91 14.05 5.21 4.65 84.45 11.43 5.00 5.26 ทมี่ า : Health Data Center กระทรวงสาธารณสุข 23 มถิ นุ ายน 2564 สำนกั งานสาธารณสุขจังหวดั ลำปาง ตรวจราชการและนเิ ทศงาน รอบท่ี 2 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564
128 การตรวจราชการและนเิ ทศงาน กรณปี กติ รอบที่ 2 เขตสุขภาพที่ 1 จังหวัดลำปาง จากข้อมูลภาวะโภชนาการ 0 - 5 ปี จังหวัดลำปาง ปีงบประมาณ 2564 ไตรมาส2 ซ่ึงเป็นข้อมูล จาก Health Data Center กระทรวงสาธารณสุขซ่ึงประเมินจากแฟ้ม NUTRITION และแฟ้ม PERSON หาก เด็กคนเดิมมีการชั่งน้ำหนักวัดส่วนสูงหลายสถานพยาบาล จะนับทุกสถานพยาบาล หากเด็กคนเดิมมีการช่ัง น้ำหนักวัดส่วนสูงหลายไตรมาส จะนับทุกไตรมาส หากเด็กคนเดิมมีการชั่งน้ำหนักวัดส่วนสูงหลายคร้ังในไตร มาส จะนับตามการช่ังวัดครั้งสุดท้ายในไตรมาสพบว่า การครอบคลุมในการชั่งน้ำหนักวัดส่วนสูง เด็ก 0-2 ปี ร้อยละ 88.91 พบว่ามีภาวะเต้ีย ร้อยละ 14.05 มีภาวะผอมร้อยละ 5.21 มีภาวะอ้วน ร้อยละ 4.65 การครอบคลุมในการชั่งน้ำหนักวัดส่วนสูง เด็ก3-5 ปี ร้อยละ84.45 พบว่ามีภาวะเต้ีย รอ้ ยละ 11.43 มีภาวะ ผอมร้อยละ 5..00 มีภาวะอ้วน ร้อยละ 5.26 เมือ่ เปรียบเทยี บช่วงอายุ 2 ช่วงแล้วพบว่า เดก็ 0-2 ปี มีภาวะเต้ีย มากกว่าเด็ก 3-5ปี จึงติดตามเด็กที่มีภาวะเต้ียในปีงบประมาณ 2563 ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการ รบั ประทานอาหาร และการได้รับนมไข่ รวมถงึ การให้ทานยาน้ำเสริมธาตเุ หลก็ เปรยี บเทยี บไตรมาส 2 ในเดก็ คนเดิม ตารางท่ี 5 ข้อมูลการเปลี่ยนแปลงภาวะโภชนาการเดก็ 0 - 5 ปที ่มี ภี าวะเตีย้ ในปี 2563 จังหวัดลำปาง เปรยี บเทียบ ปี 2564 (ไตรมาส2) (ตดิ ตามเดก็ คนเดมิ ) อำเภอ เด็กเตยี้ และ เด็กเตย้ี และ รอ้ ยละเดก็ เต้ยี สงู ดีสมส่วน รอ้ ยละสงู ดสี ม คอ่ นข้างเตี้ย ปี คอ่ นข้างเตยี้ และค่อนขา้ งเตย้ี ไตรมาส 2/2564 ส่วน ไตรมาส 2/2564 2563 เมอื งลำปาง 1,005 682 67.86 323 32.14 แมเ่ มาะ 244 169 69.26 75 30.74 เกาะคา 261 197 75.48 64 24.52 เสรมิ งาม 195 137 70.26 58 29.74 งาว 389 265 68.12 124 31.88 แจห้ ม่ 233 159 68.24 74 31.76 วังเหนือ 182 129 70.88 53 29.12 เถนิ 264 200 75.76 64 24.24 แมพ่ ริก 76 55 72.37 21 27.63 แมท่ ะ 270 203 75.19 67 24.81 สบปราบ 121 87 71.90 34 28.10 หา้ งฉัตร 334 233 69.76 101 30.24 เมืองปาน 253 188 74.31 65 25.69 รวม 3,827 2,704 70.66 1,123 29.34 ทีม่ า : Health Data Center กระทรวงสาธารณสุข 23 มถิ นุ ายน 2564 จากการเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการในเด็กที่มีภาวะเต้ียและค่อนข้างเตี้ย ปี 2563 ท้ังหมด 3,827 คน เปรียบเทียบกับปี 2564 ไตรมาส 2 พบว่า เด็กเตี้ยและค่อนข้างเตี้ยในปี 2563 ยังคงมี ภาวะเต้ียและค่อนข้างเต้ีย ร้อยละ 70.66 พบท่ีอำเภอเถนิ มากท่ีสุดรอ้ ยละ 75.76 และเปลี่ยนเป็นสูงดีสมส่วน ร้อยละ 29.34 พบว่าอำเภอท่ีเด็กเตี้ยและค่อนข้างเต้ียมีภาวะโภชนาการเป็นสูงดีสมส่วนมากที่สุดคือ อำเภอ เมืองลำปาง ร้อยละ 32.14 จากการเฝา้ ระวงั เดก็ ทมี่ ีภาวะเต้ียในปี 2563 ท้ังหมด 3,827 คน มีการติดตามโดย ใช้ Indidual careplan และให้ความรู้เร่ืองโภชนาการ โดยในปี 2563 ได้สนับสนุนเมนูอาหารเพ่ือใช่ในการให้ คำแนะนำพ่อแม่ ผู้ดูแลเด็กผ่านคลินิกเด็กสุขภาพดี และติดตามผ่าน อสม.ทุก 2 เดือน พบว่าเด็กเตี้ย สำนักงานสาธารณสขุ จังหวดั ลำปาง ตรวจราชการและนเิ ทศงาน รอบที่ 2 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564
129 การตรวจราชการและนิเทศงาน กรณปี กติ รอบที่ 2 เขตสขุ ภาพที่ 1 จังหวดั ลำปาง ได้ทานนม 2 กล่อง ไข่ 1 ฟอง หรือโปรตีนทดแทน เช่น เต้าหู้ไข่ เน้ือไก่ เนื้อปลา ทั้งหมด 3,318 คน คิดเป็น ร้อยละ 86.70 และเด็กกลุ่มนี้ได้ทานยาน้ำเสริมธาตุเหล็ก 3,551 คน คิดเป็นร้อยละ 92.79 และในปี2564 ได้ สนับสนุนเมนูอาหารเพิ่มเติม ในศูนย์พัฒนาเด็กปฐมวยั และโรงเรยี นอนุบาลในรูปแบบไฟล์อิเล็กทรอนิก จาก การประเมินศูนย์พัฒนาเด็กปฐมวัย ในเดือนมีนาคม 2564 พบว่า ทุกแห่งมีเมนูอาหารที่ประกอบด้วยไข่เป็น วัตถดุ ิบ หรือ โปรตนี ท่ีให้พลังงานเทียบเทา่ ในอาหารกลางวัน ทุกม้ือ และจะมีการแจกเมนอู าหารในการประชุม ครผู ดู้ แู ลเด็กทกุ สงั กัดตอ่ ไป ตารางที่ 6 ข้อมลู การเปล่ยี นแปลงภาวะโภชนาการเดก็ 0 – 2และ 3-5ปี ที่มภี าวะเตี้ยในปี 2563 เปรียบเทยี บ ปี 2564 (ไตรมาส2) (ตดิ ตามเดก็ คนเดมิ ) เด็ก 0-2 ปี เด็ก 3-5 ปี อำเภอ เดก็ เตยี้ เดก็ เตยี้ ร้อยละ สงู ดีสม รอ้ ยละ เด็กเตยี้ เดก็ เตย้ี ร้อยละ สูงดสี ม รอ้ ยละ และ และ เด็กเตยี้ ส่วน สูงดีสม และ และ เดก็ เตย้ี สว่ น สูงดสี ม ค่อนข้าง ค่อนขา้ ง และ สว่ น คอ่ นขา้ ง ค่อนขา้ ง และ ส่วน เตย้ี ปี เต้ีย คอ่ นขา้ ง เต้ีย ปี เตีย้ ค่อนขา้ ง 2563 เตย้ี 2563 เตย้ี เมอื งลำปาง 469 322 68.66 147 31.34 536 360 67.16 176 32.84 แม่เมาะ 138 94 68.12 44 31.88 106 75 70.75 31 29.25 เกาะคา 136 102 75.00 34 25.00 125 95 76.00 30 24.00 เสรมิ งาม 111 77 69.37 34 30.63 84 60 71.43 24 28.57 งาว 196 135 68.88 61 31.12 193 130 67.36 63 32.64 แจห้ ม่ 123 77 62.60 46 37.40 110 82 74.55 28 25.45 วังเหนือ 100 71 71.00 29 29.00 82 58 70.73 24 29.27 เถิน 145 109 75.17 36 24.83 119 91 76.47 28 23.53 แมพ่ รกิ 42 28 66.67 14 33.33 34 27 79.41 7 20.59 แมท่ ะ 110 76 69.09 34 30.91 160 127 79.38 33 20.63 สบปราบ 58 35 60.34 23 39.66 63 52 82.54 11 17.46 หา้ งฉัตร 158 111 70.25 47 29.75 176 122 69.32 54 30.68 เมอื งปาน 114 79 69.30 35 30.70 139 109 78.42 30 21.58 รวม 1,900 1,316 69.26 584 30.74 1,927 1,388 72.03 539 27.97 ท่มี า : Health Data Center กระทรวงสาธารณสุข 23 มถิ นุ ายน 2564 จากการเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการในเด็กที่มีภาวะเตี้ยและค่อนข้างเตี้ย ปี 2563 เปรียบเทียบกับปี 2564 ไตรมาส 2 พบว่า เด็กเต้ียและค่อนข้างเตี้ยช่วงอายุ 0-2ปี ยังคงมีภาวะเต้ียและ ค่อนข้างเต้ีย ร้อยละ 69.26 พบมากที่สุดท่ีอำเภอ เถิน ร้อยละ 75.17 และเปล่ียนเป็นสูงดีสมส่วน ร้อยละ 30.74 พบมากสุดที่อำเภอสบปราบ ร้อยละ 39.66 สำหรับเด็กเต้ียและค่อนข้างเต้ียช่วงอายุ 3-5ปี ยังคงมี ภาวะเตี้ยและค่อนข้างเต้ีย ร้อยละ 72.03 พบมากท่ีสุดที่อำเภอสบปราบ ร้อยละ 82.54 และเปล่ียนเป็นสูงดี สมส่วน รอ้ ยละ 32.84 พบมากสุดทอ่ี ำเภอเมืองลำปาง สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดลำปาง ตรวจราชการและนเิ ทศงาน รอบที่ 2 ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564
130 การตรวจราชการและนิเทศงาน กรณปี กติ รอบท่ี 2 เขตสุขภาพที่ 1 จังหวัดลำปาง ตารางที่ 7 เด็กอายุ 6 เดือน-5 ปี ได้รับยานำ้ เสริมธาตเุ หล็ก เขตสุขภาพท่ี 1จังหวัดลำปาง ปงี บประมาณ2562 – 2564 (ไตรมาส2) ปงี บประมาณ2562 ปงี บประมาณ2563 ปีงบประมาณ2564 อำเภอ เดก็ ท้งั หมด ไดร้ ับยานำ้ รอ้ ย เด็กทั้งหมด ไดร้ บั ยาน้ำ รอ้ ยละ เด็กทงั้ หมด ไดร้ ับยานำ้ รอ้ ย ท่มี ารับบริการ เสรมิ ธาตุ ละ ท่มี ารับบริการ เสรมิ ธาตุ ทม่ี ารับบรกิ าร เสรมิ ธาตุ ละ เหลก็ เหล็ก เหลก็ คลนิ ิก คลินิก คลินิก ภมู คิ ้มุ กนั ภมู ิคุ้มกนั ภมู คิ มุ้ กัน เมืองลำปาง 3,174 2,245 70.73 3,257 2,508 77 1,005 806 80.2 แมเ่ มาะ 1,094 844 77.15 1,026 871 84.89 333 286 85.89 เกาะคา 1,177 854 72.56 1,124 879 78.2 347 293 84.44 เสรมิ งาม 604 450 74.5 612 472 77.12 218 191 87.61 งาว 1,859 1,222 65.73 1,787 1,167 65.3 415 362 87.23 แจ้ห่ม 920 685 74.46 796 665 83.54 241 219 90.87 วังเหนือ 1,032 926 89.73 981 827 84.3 317 285 89.91 เถนิ 1,916 1,287 67.17 2,059 1,286 62.46 471 403 85.56 แมพ่ ริก 331 288 87.01 316 295 93.35 87 81 93.1 แมท่ ะ 1,028 922 89.69 1,037 870 83.9 335 271 80.9 สบปราบ 586 494 84.3 525 444 84.57 161 143 88.82 หา้ งฉตั ร 870 600 68.97 795 509 64.03 242 163 67.36 เมอื งปาน 960 909 94.69 716 580 81.01 242 207 85.54 รวม 15,551 11,726 75.40 15,031 11,373 75.66 4,414 3,710 84.05 ทีม่ า : Health Data Center กระทรวงสาธารณสขุ 23 มถิ ุนายน 2564 หมายเหตุ :: นบั เฉพาะเด็กไทยท่ีมารับบริการในแฟ้ม EPI จากผลการดำเนินงานการได้รับยาน้ำเสริมธาตุเหล็ก เด็กอายุ 6 เดือน – 5 ปี ในจังหวัดลำปาง ปีงบประมาณ 2562-2564 พบว่า ได้รับยาน้ำเสริมธาตุเหล็กร้อยละ 75.40 75.66 และ 84.05 ตามลำดับ สำหรับการตรวจสอบข้อมูลการจ่ายยา พบว่า ทางสำนักโภชนาการ ได้กำหนดในTEMPLATE วิธีการจัดเก็บ ข้อมลู ของ HDC คือนับเฉพาะเด็กไทยที่มารับบริการในแฟ้ม EPIซ่งึ จะไม่ครอบคลุมกลมุ่ เปา้ หมายท่ีไดร้ ับยา ซ่ึง ในกรณีท่ียายังไม่หมด หรือรับยานอกช่วงการรับวัคซีนเช่นมารับในวนั ท่ีมีการคัดกรองพัฒนาการ เด็กกลุ่มนี้จะ ไมถ่ ูกนบั เป็นผลงาน อีกทั้งยังนบั เด็กท่ีมารบั วคั ซีนบาดทะยักและพิษสนุ ัขบ้า กถ็ ูกนบั เป็นกล่มุ เป้าหมายในการ รบั ยา สำนกั งานสาธารณสขุ จังหวัดลำปาง ตรวจราชการและนเิ ทศงาน รอบท่ี 2 ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564
131 การตรวจราชการและนิเทศงาน กรณปี กติ รอบท่ี 2 เขตสุขภาพที่ 1 จังหวัดลำปาง โครงการส่งเสริมพัฒนาการและโภชนาการของเด็กปฐมวัยท่ีได้ขอรับสนับสนุนปีงบ 2564 เพ่ือแก้ปัญหา โภชนาการเดก็ ปฐมวยั ลำดบั อำเภอ จำนวนโครงการ จำนวนโครงการ อยรู่ ะหวา่ ง ดำเนนิ การเสรจ็ ท่เี สนอ ท่ีได้รับสนับสนนุ ดำเนินการ นม ไข่ 1 อ.เมืองลำปาง 16 7 7 0 2 อ.แม่เมาะ 7 4 4 0 3 อ.เกาะคา 12 12 10 2 4 อ.เสริมงาม 11 11 7 4 5 อ.งาว 74 13 6 อ.แจห้ ม่ 11 11 4 7 7 อ.วังเหนอื 4 3 2 1 8 อ.เถิน 22 8 8 0 9 อ.แม่พริก 8 6 5 1 10 อ.แม่ทะ 9 1 1 0 11 อ.สบปราบ 3 3 3 0 12 อ.หา้ งฉัตร 7 2 2 0 13 อ.เมอื งปาน 5 2 2 0 รวม 122 74 56 18 4. ปัญหาอปุ สรรคและแนวทางแก้ไข 1. การจัดทำแนวทางการดูแลเด็กเตี้ยในระดับ PCU เป็นการดำเนินงานรูปแบบใหม่เริ่ม ดำเนินการตามแนวทางที่วางไว้ในเดือนกุมภาพันธ์2564 อาจทำให้พบปัญหาช่วงเร่ิมดำเนินการ รวมถึงการ พัฒนารูปแบบเก็บข้อมูลเพื่อสามารถใช้ร่วมกันได้ระหว่างสถานบริการและในระดับจังหวัด เพ่ือประกอบเป็น Dataset ใช้ในการคืนขอ้ มูลใหก้ ับผมู้ ีส่วนไดส้ ่วนเสีย ภาคเี ครือข่าย 2. การวางแผนดำเนนิ การกิจกรรมในศนู ย์พัฒนาเด็กเล็กและชุมชนไม่สามารถทำได้เนื่องจากเกิด โรคระบาดในพื้นที่ 3. การขอสนบั สนุนโครงการแก้ไขปัญหาเด็กทุพโภชนาการในพน้ื ท่ี ชะงกั เนื่องจากอยรู่ ะหวา่ งการ เลือกตงั้ ท้องถิน่ ทำให้โครงการอย่รู ะหวา่ งรอพจิ ารณาและเร่ิมดำเนนิ การไดช้ ้า 4. การพิจารณ าโครงการโดยใช้งบประมาณ กองทุนสุขภาพตำบลยังเป็นประเด็นที่ คณะอนุกรรมการในการพิจารณาอนุมัติไม่ม่ันใจในการใช้งบประมาณ เนื่องจากหากใช้งบประมาณกองทุน สุขภาพตำบลจะต้องใช้ระเบียบกระทรวงสาธารณสุขซ่ึงทำได้เพียงการสนับสนุนวิชาการ ไม่สามารถซื้อของได้ แนวทางคือต้องบรรจเุ ป็นเทศบัญญัติในการแก้ไขปัญหาในพ้ืนที่ของท้องถ่ิน ซง่ึ สามารถซ้ือนมซื้อไข่ได้ในรายที่มี ภาวะทุพโภชนาการ 5. การดำเนินงานอบรมครูพี่เลี้ยง ครูโรงเรียนอนุบาล ล่าช้า เนื่องจากช่วงเวลาท่ีเหมาะสม สะดวกในการทำงานไม่ตรงกัน สำนกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั ลำปาง ตรวจราชการและนิเทศงาน รอบที่ 2 ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564
132 การตรวจราชการและนิเทศงาน กรณีปกติ รอบที่ 2 เขตสขุ ภาพที่ 1 จังหวดั ลำปาง 5. แผนการดำเนินการต่อไป 1. การดำเนินงานแก้ไขปัญหาเด็กเต้ียไม่สามารถดำเนินการแก้ไขเฉพาะหน่วยงานสาธารณสุขได้ ต้องอาศัยภาคีเครือข่ายในพ้ืนท่ีร่วมดำเนินการแก้ไขทั้ง พ่อแม่ผู้ปกครอง ครูผู้ดูแลเด็ก องค์กรปกครองส่วน ท้องถ่ิน ภาคประชาชน ต้องเห็นความสำคัญของภาวะทุพโภชนาการในเด็กปฐมวัยต้องแก้ไขเร่งด่วนและเพื่อ ไม่ให้เกิดปัญหาในการโครงการโดยใช้งบประมาณ กองทุนสุขภาพตำบลและให้เกิดความมั่นใจในการใช้ งบประมาณสนับสนุนนมและไข่ในเดก็ ปฐมวัยท่ีมีภาวะทุพโภชนาการ หน่วยงานสาธารณสุขต้องเร่งสร้างความ เขา้ ใจและผลกั ดันให้ องค์กรปกครองส่วนท้องถนิ่ กำหนดเปน็ เทศบญั ญัติ 2. ติดตามการดำเนินโครงการที่ไดร้ ับการสนบั สนนุ ในพนื้ ที่ 3. พฒั นาระบบการแก้ไขปญั หาเดก็ เต้ียรว่ มกนั กบั PM อำเภออย่างสมำ่ เสมอ 4. นำเสนอผลการดำเนินงานต่อคณะอนุกรรมการเด็กปฐมวัยระดับจังหวัดเพ่ือดำเนินการแก้ไข ปัญหาเดก็ ปฐมวัยร่วมกัน 4 กระทรวง ผ้รู ายงาน นางสาวนรศิ รา ชุ่มธิ ตำแหน่ง นักวชิ าการสาธารณสขุ ปฏบิ ตั กิ าร กลุม่ งานสง่ เสริมสขุ ภาพ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดลำปาง โทร 054 227527 E-mail: [email protected] สำนกั งานสาธารณสุขจังหวัดลำปาง ตรวจราชการและนเิ ทศงาน รอบที่ 2 ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564
133 การตรวจราชการและนิเทศงาน กรณปี กติ รอบท่ี 2 เขตสขุ ภาพท่ี 1 จังหวดั ลำปาง Area based ประเด็นการตรวจราชการ เร่อื งท่ีเปน็ ปัญหาสำคญั ในพนื้ ทเี่ ขตสุขภาพ ประเด็น เดก็ 0-5 ปี มีพฒั นาการสมวยั 1. สถานการณ์และสภาพปญั หาพัฒนาการเด็กปฐมวัย สถานการณ์พฒั นาการเด็กปฐมวัย จากผลการดำเนินงานปีงบประมาณ 2564 ผลงานความครอบคลุมการคัดกรองพัฒนาการเด็ก ปฐมวัย 5 กลุ่มเปา้ หมาย 9, 18, 30, 42 และ 60 เดือน (เปา้ หมาย ร้อยละ 90) รอ้ ยละ 94.75 พบสมวัยคร้ัง แรกร้อยละ 70.04 ผลการคัดกรองพบเด็กที่สงสัยพัฒนาการล่าช้าเป็นไปตามเป้าหมายท่ีกระทรวงกำหนด (ร้อยละ25)ร้อยละ 29.93 เดก็ ท่ีสงสยั พฒั นาการล่าช้าได้รบั การติดตามกระตุน้ ภายใน 1 เดือน (เป้าหมาย รอ้ ย ละ 90) ร้อยละ 90.36 พบว่าเด็กอายุ 0-5 ปีได้รับการคัดกรองพัฒนาการและมีพัฒนาการสมวัย ร้อยละ 91.02 ซึ่งสูงกว่าเป้าหมาย (เป้าหมายร้อยละ 85) จากการทบทวนการดำเนินงานท่ีผ่านมาพบว่า จังหวัด ลำปางมีประเด็นในการพัฒนางานเด็กปฐมวัย ในการเพ่ิมประสิทธิภาพการ ใช้คู่มือ DSPM ในการประเมิน พัฒนาการเด็กปฐมวัยโดย พ่อแม่ ผู้ปกครอง มีการใช้ DSPM น้อย เด็กบางคนอาศัยอยู่กับปู่ ย่า ตายายไม่ใช้ DSPM เพราะเชื่อว่าเมื่อโตขึ้นก็ทำได้เอง และKey man ท่ีสำคัญที่ช่วยในการแก้ปัญหาการส่งเสริมพัฒนาการ เด็กในเด็กท่ีอยู่กับปู่ย่าตายาย คือ อสม.ที่ดูแลครัวเรือน ซ่ึงขณะน้ีได้รับการฝึกทักษะประเมิน DSPM ไม่ ครอบคลุมทุกพื้นที่ สำหรับในสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย ครูโรงเรียนอนุบาลส่วนใหญ่ไม่ใช้เคร่ืองมือ DSPM เน่ืองจากมีมาตรฐานการประเมินพัฒนาการเด็ก4 ด้าน(ดานรางกาย อารมณ จิตใจ สังคม)ตามหลักสูตร การศึกษาปฐมวัย พทุ ธศกั ราช 2561 ทกี่ ระทรวงศึกษาธกิ ารกำหนดไว้ 2.แนวทาง/กิจกรรมและผลการดำเนนิ งาน จดุ เน้นในการดำเนนิ งานเด็กปฐมวยั ปี 2564 1). ส่งเสรมิ การใช้คูม่ อื DSPM และสง่ ตอ่ เขา้ ระบบบริการไดท้ ันเวลา จากการดำเนินงานในปี 2563 พบว่า พ่อแม่ ผู้ปกครอง มีการใช้ DSPM น้อย เด็กบางคนอาศัย อยู่กับปู่ ย่า ตายายซ่ึงไม่ใช้ DSPM จังหวัดลำปางจึงได้ปรับรูปแบบการส่งเสริมการใช้ คู่มือ DSPM เพื่อใช้ใน การส่งเสริมพัฒนาการเด็ก โดยเร่ิมตั้งแต่การให้รู้จักคู่มือ DSPM ตั้งแต่คลินิกฝากครรภ์ ในไตรมาส 3 ของการ ตั้งครรภ์ (ANC) ในโรงเรียนพ่อแม่ และสนับสนุนคู่มือDSPM และส่ือวีดีทัศน์การประเมินพัฒนาการเด็ก และ การส่งเสริมโภชนาการเด็ก ให้คลินิกเอกชน (สูติ-เด็ก) โดยพบว่าได้รับการสอน ร้อยละ 94.97 และได้รับการ สอนและฝึกใช้ในคลินิกหลังคลอด ก่อนจำหน่ายกลับบ้าน ร้อยละ 99.46 สำหรับคลินิกสุขภาพเด็กดี กำหนดใหท้ ุก PCU จัด Class ส่งเสรมิ พัฒนาการเด็ก โดยมีการสอนการใช้ DSPM สอนใช้กราฟโภชนาการ ทุก 3 เดือน โดยคัดเลือกผู้ปกครองเด็กที่ไม่อยู่ในช่วงประเมินพัฒนาการโดยเจ้าหน้าท่ีมารับการสอนและ มีLine Group เพื่อเพิ่มช่องทางในการสอ่ื สารท่ีมีตัวอย่างให้เห็นอย่างชัดเจนในการติดตาม กระตุ้น หนุนเสรมิ ให้เกิด การกระตุ้นกันเองระหว่างผู้ปกครองที่อยู่ในกลุ่ม โดยมี CPMอำเภอและผู้รับผิดชอบงานระดับ รพ.สต.เป็นท่ี ปรึกษาและสนับสนุนความรู้ และสามารถเป็นช่องทางในการส่งต่อเด็กเขา้ สู่ระบบบริการไดโ้ ดยไม่จำเป็นต้องรอ ใหค้ รบอายตุ ามช่วงประเมนิ พัฒนาการ (9, 18, 30,42 และ 60เดือน) รวมถงึ ไดก้ ำหนดให้ อสม.ตดิ ตามกระตุ้น และส่งเสริมพัฒนาการ ติดตามช่ังน้ำหนัก วัดส่วนสูง ประเมินภาวะการเจริญเติบโตของเด็กใน หมู่บ้าน โดยใช้กราฟประเมินในสมุดสีชมพูเพื่อให้พ่อแม่หรือผู้ปกครองทราบสถานะโภชนาการของเด็ก จาก การติดตามในคลินิกเด็กสขุ ภาพดี พบว่ามพี อ่ แม่ผ้ปู กครองใช้คู่มือ DSPM ในการสง่ เสริมพัฒนาการทุกชว่ งอายุ ร้อยละ 72.58 พบสงสัยล่าช้า ร้อยละ 10.50 และส่งมาเข้ามาประเมินซ้ำโดยเจ้าหน้าท่ีสาธารณสุขโดยไม่ต้อง รอให้ถึงเวลาที่ต้องประเมินตามช่วงอายุ พบสงสัยล่าช้าจริง ร้อยละ 50.05 ซึ่งเด็กกลุ่มนี้พ่อแม่และ อสม. สามารถสง่ เสริมและกระตุน้ พัฒนาการไดเ้ พ่ือใหม้ ีพัฒนาการเป็นไปตามวัย สำนกั งานสาธารณสุขจงั หวัดลำปาง ตรวจราชการและนิเทศงาน รอบท่ี 2 ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564
134 การตรวจราชการและนเิ ทศงาน กรณปี กติ รอบท่ี 2 เขตสขุ ภาพท่ี 1 จงั หวดั ลำปาง สำหรับศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ได้มีการกำหนดใหค้ รูพีเ่ ลี้ยงเด็กใช้คูม่ ือ DSPM ประเมนิ พัฒนาการเด็ก ทุกคน ก่อนช่วงอายุที่จะได้รับการประเมินโดย เจ้าหน้าที่ คือ ก่อน 30 เดือน ก่อน 42 เดือน และก่อน 60 เดือน โดยพบว่า ครูพี่เลี้ยงสามารถใช้คู่มือ DSPM แล้ว พบสงสัยล่าช้า 10.12 เม่ือประเมินซ้ำโดยเจ้าหน้าท่ี สาธารณสุข พบสงสัยล่าช้าจริง 35.63 ซ่ึงเด็กกลุ่มน้ีจะได้รับการส่งเสริม กระตุ้น ให้พัฒนาการเป็นไปตามช่วง อายุได้ ทั้งในศูนย์พัฒนาเล็ก โดยครูพ่ีเลี้ยงและพ่อแม่ผู้ปกครองท่ีบ้าน สำหรับช่วงเดือน เมษายนเป็นต้นมา ไม่ได้มีการประเมินพัฒนาการโดยครูพี่เล้ียงเนื่องจากสถานการณ์โรคระบาดในพื้นที่ ไม่มีการเปิดการเรียนการ สอนในเดก็ ปฐมวยั 2). พฒั นาศักยภาพ พ่อแม่ ผปู้ กครอง /อสม. /ครผู ดู้ แู ลเด็ก จงั หวัดลำปางได้กำหนดให้มีการพัฒนาศักยภาพอาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.)เชี่ยวชาญ ด้านการส่งเสริมสุขภาพเด็กปฐมวัย โดยได้สนับสนุนหลักสูตรกลาง 6 ชม. เพื่อให้เป็นมาตรฐานเดียวกันทั้งจังหวัด โดยเน้นการปฏิบัติด้านการส่งเสริมพัฒนาการเด็กด้วยคู่มือ DSPM การใช้กราฟประเมินโภชนาการในสมุดสีชมพู การดูแลสุขภาพช่องปาก และการเลือกรับประทานอาหารในเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ เตี้ย ผอม อ้วน เพ่ือให้เกิด การดูแลเด็กปฐมวัยอย่างย่ังยืนในหมู่บ้านและชุมชน สำหรับการคัดเลือก อสม. หมู่บ้านละ 1 คนน้ัน ได้กำหนด คุณสมบัติ คือ ต้องเป็น อสม.ท่ีมีอายุ ไม่เกิน 45 ปี สามารถใช้ Application มือถือได้ มีประสบการณ์ในการเล้ียงดู บุตรหลาน สำหรับครูผู้ดูแลเด็ก ครูโรงเรียนอนุบาล ทุกสังกัดได้ดำเนินการร่วมกับศึกษาธิการจังหวัดลำปาง ท้องถ่ินจังหวัดลำปาง และพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์จังหวัดลำปาง อบรมพัฒนาศักยภาพครูพี่เล้ียง สัญจร ในการใช้เครื่องมือประเมินพัฒนาการ DSPM การประเมินโภชนาการ การดูแลสุขภาพช่องปาก เพื่อให้เกิด การพัฒนางานในสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยท่ีเป็นรูปแบบเดียวกันท้ังจังหวัดและทุกกระทรวงขับเคลื่อนไปพร้อมกัน ภายใต้มาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยแห่งชาติ โดยกำหนดดำเนินการเดือน มีนาคมและเมษายน 2564 ด้วย สถานการณ์โรคระบาดในพื้นที่ จึงเล่ือนมาเป็น ช่วงเดือน กรกฎาคม และเพ่ิมประเด็นการควบคุมป้องกันโรคระบาด ในสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย 3.ผลการดำเนินงานพัฒนาการเดก็ จังหวัดลำปาง แสดงตามตารางดงั ต่อไปน้ี ตารางที่ 1 ร้อยละเด็กกลุ่มเปา้ หมายไดร้ ับการคดั กรองพัฒนาการ ปี 2562 – 2564 (ต.ค.63 – เม.ย.64) ไดร้ ับการคัดกรอง พบสงสัยพฒั นาการลา่ ช้า ไดร้ ับการติดตาม พฒั นาการสมวัย พฒั นาการ 2564 2564 2564 2564 อำเภอ ปี ปี (ต.ค. ปี ปี (ต.ค. ปี ปี (ต.ค. ปี ปี (ต.ค. 2562 2563 63 – 2562 2563 63 – 2562 2563 63 – 2562 2563 63 – เม.ย. เม.ย. เม.ย. เม.ย. 64) 64) 64) 64) เมอื งลำปาง 84.88 91.54 91.79 28.35 31.87 31.39 82.36 87.95 82.17 79.64 87.57 86.08 แมเ่ มาะ 93.06 93.67 91.70 29.1 27.7 32.53 93.68 96.97 87.95 89.15 91.12 86.38 เกาะคา 97.68 97.84 98.25 25.77 30.95 24.89 86.07 95.4 90.91 93.26 95.09 95.07 เสริมงาม 96.64 95.88 99.00 31.4 30.43 36.82 97.2 93.72 96.69 92.59 91.16 94.02 งาว 96.19 97.13 97.74 32.14 29.9 32.12 92.49 92.02 95.55 93.58 94.75 96.34 แจ้ห่ม 94.97 97.42 96.65 33.1 33.68 26.90 97.48 91.5 93.83 91.72 92.07 93.94 วังเหนือ 96.77 96.83 98.20 30.87 33.7 28.45 97.35 97.25 98.02 94.61 94.4 96.82 เถนิ 96.3 96.44 97.41 36.21 29.57 37.54 95.72 93.45 93.93 93.64 93.52 94.63 สำนักงานสาธารณสขุ จงั หวัดลำปาง ตรวจราชการและนเิ ทศงาน รอบที่ 2 ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564
135 การตรวจราชการและนเิ ทศงาน กรณีปกติ รอบที่ 2 เขตสขุ ภาพที่ 1 จังหวัดลำปาง ไดร้ ับการคัดกรอง พบสงสัยพัฒนาการลา่ ชา้ ไดร้ บั การติดตาม พัฒนาการสมวยั พฒั นาการ 2564 2564 2564 2564 อำเภอ ปี ปี (ต.ค. ปี ปี (ต.ค. ปี ปี (ต.ค. ปี ปี (ต.ค. 2562 2563 63 – 2562 2563 63 – 2562 2563 63 – 2562 2563 63 – เม.ย. เม.ย. เม.ย. เม.ย. 64) 64) 64) 64) แมพ่ รกิ 88.81 88.71 88.24 31.37 21.14 22.92 91.45 92.47 92.73 86.19 87.3 86.40 แมท่ ะ 96.81 94.72 97.92 32.35 30.75 24.23 97.15 92.76 99.51 94.58 91.78 97.57 สบปราบ 93.5 91.29 88.43 31.75 29.43 27.90 96.5 92.96 80.18 89.66 85.82 80.13 หา้ งฉัตร 94.46 96.36 96.06 30.22 26.33 25.43 93.81 92.5 95.74 89.36 92.85 93.64 เมืองปาน 92.11 91.47 90.52 29.44 31.81 28.31 92.83 95.85 86.27 89.24 89.53 85.69 รวม 92.56 94.32 94.75 30.55 30.50 29.93 91.71 92.25 90.36 88.76 90.96 91.02 ทม่ี า : Health Data Center กระทรวงสาธารณสขุ 16 มถิ นุ ายน 2564 จาก Health Data Center กระทรวงสาธารณสุข ณ วันท่ี 16 มิถุนายน 2564 พบว่าผลการ คัดกรองพัฒนาการเด็กกลุ่มเป้าหมาย 9, 18, 30, 42 และ 60เดือน ในปี ปี 2562 – 2564 (ต.ค.63 – เม.ย. 64) พบเด็กกลุ่มเป้าหมายคัดกรองได้ครอบคลุม ร้อยละ 92.56, 93.53และ 94.75 ตามลำดับ เด็กท่ีได้รับการคัด กรองผลสงสัยล่าช้า ร้อยละ 30.55, 30.50 และ 29.93 ตามลำดับ เด็กท่ีสงสัยล่าช้าได้รับการติดตาม ร้อย 91.71, 92.25 และ90.61 ตามลำดับ เด็ก 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย ร้อยละ 88.76, 90.96 และ 91.02 ตามลำดบั ตารางท่ี 2 แสดงจำนวนและรอ้ ยละเดก็ ท่ไี ด้รบั การคัดกรองพัฒนาการ และมีพัฒนาการสมวัยในคร้ังแรกที่ ประเมินปีงบประมาณ 2564 (ต.ค.63 – เม.ย.64) อำเภอ ได้รับการคัดกรองพัฒนาการ พฒั นาการสมวัยในครัง้ แรกที่ ประเมนิ เปา้ หมาย คัดกรอง ร้อยละ สมวัย ร้อยละ เมืองลำปาง 2960 2717 91.79 1863 68.57 แม่เมาะ 771 707 91.70 477 67.47 เกาะคา 912 896 98.25 672 75.00 เสรมิ งาม 502 497 99.00 314 63.18 งาว 930 909 97.74 617 67.88 แจ้ห่ม 627 606 96.65 442 72.94 วังเหนือ 723 710 98.20 508 71.55 เถิน 1042 1015 97.41 634 62.46 แม่พริก 272 240 88.24 184 76.67 แม่ทะ 864 846 97.92 641 75.77 สบปราบ 458 405 88.43 292 72.10 ห้างฉัตร 786 755 96.06 563 74.57 เมืองปาน 601 544 90.52 390 71.69 สำนักงานสาธารณสุขจงั หวัดลำปาง ตรวจราชการและนิเทศงาน รอบที่ 2 ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564
136 การตรวจราชการและนเิ ทศงาน กรณีปกติ รอบที่ 2 เขตสุขภาพท่ี 1 จงั หวัดลำปาง อำเภอ ไดร้ ับการคัดกรองพัฒนาการ พัฒนาการสมวัยในครง้ั แรกที่ ประเมิน เป้าหมาย คดั กรอง ร้อยละ สมวัย ร้อยละ รวม 11448 10847 94.75 7597 70.04 ท่ีมา : Health Data Center กระทรวงสาธารณสุข 16 มถิ นุ ายน 2564 ความครอบคลุมในตรวจคัดกรองพัฒนาการเด็กตามช่วงอายุเป้าหมาย ทั้งหมด 11,448 คน ได้รับการตรวจคัดกรอง 11,847 คน คิดเป็นร้อยละ 94.75 และผลการประเมินพัฒนาการผ่านในคร้ังแรกท่ี ประเมิน 7,597 คน คดิ เป็นร้อยละ 70.04 ซ่ึงก่อนที่จะมาประเมินโดยเจ้าหน้าท่ีตามช่วงอายุ จงั หวดั ลำปางได้ ส่งเสริมให้พ่อ แม่ ผู้ปกครอง อสม. และครูพ่ีเล้ียงเด็ก ได้ใช้คู่มือ DSPM เพ่ือให้เกิดการเรียนรู้และฝึกการ ส่งเสริมพฒั นาการมากอ่ น และเมื่อพบวา่ เดก็ ทุกชว่ งวัยทำไม่ไดต้ ามช่วงอายุสามารถส่งมาพบเจ้าหน้าท่ีกอ่ นช่วง อายเุ ป้าหมายทีต่ ้องประเมินได้ ตารางท่ี 3 แสดงจำนวนและร้อยละเด็กท่ีได้รับการคัดกรองพัฒนาการพบสงสัยล่าช้าและได้รับการติดตาม ปีงบประมาณ 2564 (ต.ค.63 – เม.ย.64) อำเภอ เปา้ หมาย คดั กรอง ร้อยละ สงสัยลา่ ชา้ รอ้ ยละ ได้รับการ ร้อยละ ตดิ ตาม เมืองลำปาง 2960 2717 91.79 853 31.39 696 82.17 แมเ่ มาะ 771 707 91.70 230 32.53 197 87.95 เกาะคา 912 896 98.25 223 24.89 200 90.91 เสริมงาม 502 497 99.00 183 36.82 175 96.69 งาว 930 909 97.74 292 32.12 279 95.55 แจห้ ม่ 627 606 96.65 163 26.90 152 93.83 วงั เหนือ 723 710 98.20 202 28.45 198 98.02 เถิน 1042 1015 97.41 381 37.54 356 93.93 แมพ่ ริก 272 240 88.24 55 22.92 51 92.73 แมท่ ะ 864 846 97.92 205 24.23 202 99.51 สบปราบ 458 405 88.43 113 27.90 89 80.18 หา้ งฉตั ร 786 755 96.06 192 25.43 180 95.74 เมืองปาน 601 544 90.52 154 28.31 132 86.27 รวม 11,448 10,847 94.75 3246 29.93 2,907 90.36 ทีม่ า : Health Data Center กระทรวงสาธารณสขุ 16 มิถนุ ายน 2564 จากการคัดกรองพฒั นาการเด็กตามชว่ งอายุเป้าหมาย 10,847 คน พบสงสยั ลา่ ชา้ 3,246 คน คิดเป็นร้อยละ 29.93 ซ่งึ ต้องติดตามกระตนุ้ ฝึกเด็กเพ่ือให้พัฒนาการเป็นไปตามวัย ภายใน 30วนั ซ่ึงติดตามได้ 2,907 คน คิดเป็นร้อยละ 90.36 อย่างไรก็ตามต้องมีการทบทวนประเด็นในการติดตามกระตุ้น และให้พ่อแม่ ผู้ปกครอง อสม. ฝึกและกระตุ้นเพ่ือส่งเสริมพัฒนาการเด็กท่ีได้รับการคัดกรองพัฒนาการเพื่อประเมินตามช่วง อายทุ ีเ่ ด็กควรทำได้ สำนกั งานสาธารณสุขจังหวดั ลำปาง ตรวจราชการและนเิ ทศงาน รอบท่ี 2 ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564
137 การตรวจราชการและนิเทศงาน กรณีปกติ รอบที่ 2 เขตสุขภาพที่ 1 จงั หวดั ลำปาง ตารางท่ี 4 แสดงจำนวนและร้อยละเด็ก0-5ปี ท่ีได้รับการคัดกรองพัฒนาการและมีพัฒนาการสมวัย ปีงบประมาณ 2564 (ต.ค.63 – เม.ย.64) อำเภอ เป้าหมาย คดั กรอง รอ้ ยละ พฒั นาการ ร้อยละ สมวัย เมืองลำปาง 2960 2717 91.79 2,548 86.08 แม่เมาะ 771 707 91.70 666 86.38 เกาะคา 912 896 98.25 867 95.07 เสริมงาม 502 497 99.00 472 94.02 งาว 930 909 97.74 896 96.34 แจ้หม่ 627 606 96.65 589 93.94 วังเหนือ 723 710 98.20 700 96.82 เถนิ 1042 1015 97.41 986 94.63 แมพ่ รกิ 272 240 88.24 235 86.40 แมท่ ะ 864 846 97.92 843 97.57 สบปราบ 458 405 88.43 367 80.13 ห้างฉตั ร 786 755 96.06 736 93.64 เมอื งปาน 601 544 90.52 515 85.69 รวม 11,448 10,847 94.75 10,420 91.02 ท่ีมา : Health Data Center กระทรวงสาธารณสุข 16 มิถุนายน 2564 จากการกลุ่มเป้าหมายเด็ก0-5ปี ที่เป็นเป้าหมายในการคัดกรองพัฒนาการ 11,448 คน ผล การประเมินพัฒนาการผ่านในครั้งแรกที่ประเมิน 7,597 คน คิดเป็นร้อยละ 70.04 ในรายที่พบสงสัย พัฒนาการล่าช้าได้รับการกระตุ้นพัฒนาการและติดตามเพื่อประเมินซ้ำ ภายใน 30 วัน พบว่าเด็กท่ีได้รับการ ประเมินมพี ฒั นาการสมวัย 10,420คน คิดเป็นรอ้ ยละ 91.02 เมื่อเทยี บกับกลุ่มเป้าหมายท้งั หมด 4. ปญั หาอุปสรรคและแนวทางแก้ไข 1) การดำเนนิ งานเรื่องพัฒนาการเดก็ ปฐมวยั ในพ้นื ทโี่ ดยเคร่ืองมือ DSPM ทำได้ใน ศูนย์พฒั นาเดก็ ปฐมวยั สงั กัดทอ้ งถิ่น แต่ในสังกัดศึกษาธกิ ารยงั มคี วามเขา้ ใจท่ไี ม่ตรงกัน เนื่องจากครู รร.อนบุ าลเข้าใจว่าการ ประเมินพัฒนาการเด็กทำอยู่แล้ว แตใ่ ชเ้ กณฑ์ด้านการศึกษา 4 ด้าน 2) พ่อแม่ ผู้ดแู ลอายุมากและเขา้ ใจวา่ เปน็ หน้าท่ีของเจ้าหน้าท่สี าธารณสุข และคดิ ว่าเม่ือถงึ วัยเดก็ จะ ทำไดเ้ อง 3) สถานการณก์ ารระบาดของโรคในพื้นที่ทำให้ผู้ปกครองไมพ่ าเด็กมาเข้ารับการประเมนิ พฒั นาการ สำนกั งานสาธารณสขุ จังหวดั ลำปาง ตรวจราชการและนิเทศงาน รอบท่ี 2 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564
138 การตรวจราชการและนเิ ทศงาน กรณปี กติ รอบท่ี 2 เขตสุขภาพที่ 1 จังหวดั ลำปาง 5. แผนการดำเนินการตอ่ ไป 1) ปรับแนวทางการจัดระบบบริการ New Service งานอนามัยเด็กปฐมวัยโดยใช้พื้นฐาน 2P Safety ภายใต้กรอบแนวคิดการปรับรูปแบบบริการ เป็นการพัฒนาระบบบริการเดิมโดยบูรณาการงาน 3 ส่วนคือ 1) คลินิกบรกิ ารใน รพช. PCU รพ.สต. 2) ระบบดูแลต่อเนือ่ ง 3) ระบบทีม FCT และ มอค. โดยการลดบริการเชิง รบั และเพม่ิ บริการเชงิ รกุ 2) พฒั นาศกั ยภาพพอ่ แม่ ผู้ดแู ลเดก็ อสม. เพอ่ื รองรบั การปดิ สถานศึกษา ผู้รายงาน นางสาวนริศรา ชมุ่ ธิ ตำแหนง่ นกั วชิ าการสาธารณสุขปฏบิ ัตกิ าร กล่มุ งานสง่ เสรมิ สขุ ภาพ สำนกั งานสาธารณสุขจังหวัดลำปาง โทร 054 227527 E-mail: [email protected] สำนกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั ลำปาง ตรวจราชการและนิเทศงาน รอบที่ 2 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564
139 การตรวจราชการและนเิ ทศงาน กรณีปกติ รอบท่ี 2 เขตสุขภาพท่ี 1 จังหวัดลำปาง Area based ประเด็นการตรวจราชการ เรือ่ งที่เป็นปัญหาสำคัญในพนื้ ท่เี ขตสขุ ภาพ ประเด็น ผสู้ งู อายคุ ณุ ภาพ (พลดั ตกหกล้ม) ตวั ชวี้ ัด (KPI) /คา่ เปา้ หมาย ตัวชีว้ ดั ค่าเป้าหมาย 1. ร้อยละของประชากรสงู อายุท่ีมีพฤติกรรมสขุ ภาพที่พึงประสงค์ ร้อยละ 50 2. ร้อยละของผูส้ งู อายุในชมรมผู้สงู อายุได้รับการจดั ทำแผนส่งเสริมสขุ ภาพรายบุคคล ร้อยละ 100 (Individual Wellness Plan) (อำเภอละ 1 ชมรมๆ ละ 25แผน) 3. รอ้ ยละของผู้สูงอายุที่มภี าวะพึ่งพิงได้รับการดแู ลตาม Care Plan 4. รอ้ ยละของตำบลท่ีมีระบบการส่งเสริมสุขภาพดแู ลผู้สูงอายุระยะยาว ร้อยละ 85 รอ้ ยละ 95 (Long Term Care) ในชุมชนผา่ นเกณฑ์ รอ้ ยละ 100 5. ร้อยละของโรงพยาบาล ระดับ M2 ขนึ้ ไป มีการจดั ตงั้ คลนิ กิ ผ้สู งู อายุ 1. สถานการณ์/วเิ คราะหบ์ รบิ ท/ปัญหา จังหวัดลำปาง จังหวัดลำปาง มีสัดส่วนของประชากรผู้สูงอายุเพิ่มข้ึนอย่างต่อเน่ือง และในปี 2564 ก้าวเข้าสู่ สังคมผู้สูงอายุ โดยสมบูรณ์ (Complete aged society) โดยมีประชากรผู้สูงอายุ 60 ปีข้ึนไปทั้งหมด 179,014 คน คิดเป็นร้อยละ 24.32 ของประชากรรวม (ในปี 2560 2561 2562 และ 2563 ร้อยละ 19.47 ,20.32 ,21.98 และ23.13 ตามลำดับ) พบ 12 อำเภอ ท่ีมสี ัดส่วนประชากรผสู้ ูงอายุมากกว่าร้อยละ 20 อำเภอท่ีมสี ัดส่วนของ ประชากรผู้สูงอายุสูงสุด 3 อันดับแรก ได้แก่ อำเภอแม่พริก แม่ทะ และเกาะคา ร้อยละ 27.22, 26.92 และ 26.29 ตามลำดับ ตาราง 1 จำนวนประชากรผู้สูงอายุจงั หวดั ลำปาง แยกรายอำเภอ ปีงบประมาณ 2564 อำเภอ ประชากรท้งั หมด(คน) ผูส้ ูงอาย(ุ คน) รอ้ ยละ 1. เมอื งลำปาง 226,116 55,760 24.66 2.แมเ่ มาะ 39,815 7,432 18.67 3.เกาะคา 59,199 15,563 26.29 4.เสริมงาม 30,901 7,417 24.00 5.งาว 54,554 12,617 23.13 6.แจ้หม่ 38,809 9,542 24.59 7.วังเหนือ 43,960 10,060 22.88 8.เถนิ 58,917 14,737 25.01 9.แมพ่ ริก 15,924 4,335 27.22 10.แมท่ ะ 57,521 15,483 26.92 11.สบปราบ 26,932 6,939 25.76 12.หา้ งฉัตร 50,472 11,929 23.63 13.เมอื งปาน 32,906 7,200 21.88 736,026 179,014 24.32 รวม (ข้อมลู จากทะเบียนราษฎร์ 2563) สำนกั งานสาธารณสุขจังหวัดลำปาง ตรวจราชการและนเิ ทศงาน รอบท่ี 2 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564
140 การตรวจราชการและนเิ ทศงาน กรณีปกติ รอบท่ี 2 เขตสขุ ภาพที่ 1 จังหวดั ลำปาง สถานการณ์ผู้สูงอายภุ าวะพลดั ตกหกล้ม ตาราง 2 แสดงผลการคัดกรองผู้สงู อายุที่มภี าวะข้อเข่าผิดปกติ และเสย่ี งต่อการพลัดตกหกล้ม ปี 2561-2564 ปี ผู้สงู อายทุ ี่มภี าวะข้อเขา่ ผ้สู งู อายเุ สยี่ งต่อการพลดั ตกหกล้ม ผิดปกติ (ร้อยละ) (รอ้ ยละ) 2561 8.65 5.22 2562 7.61 3.88 2563 8.32 3.58 2564 (ต.ค. 63 – 16 มิ.ย. 64) 9 5.73 จากตาราง ผลการคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุ 10 กลุ่มโรค ประเด็นภาวะข้อเข่าผิดปกติในผู้สูงอายุ ข้อมูลจากการคัดกรองของสถานบริการจังหวัดลำปาง ข้อมูลตั้งแต่ปี 2561-2564 (16 มิ.ย. 2564) พบความ ภาวะข้อเข่าผดิ ปกติของผู้สูงอายุ มีร้อยละความเสี่ยงแนวโน้มที่สูงข้ึนจากปี 2561 ถึงปี 2564 และมีความเสี่ยง ต่อการหกล้มในผู้สูงอายดุ ้วยวิธี Time Up and Go test ของสถานบริการจังหวัดลำปาง ข้อมูลตง้ั แตป่ ี 2561- 2564 (16 มิ.ย. 2564) พบความเสี่ยงต่อการหกล้มของผู้สูงอายุ มีร้อยละความเส่ียงแนวโน้มท่ีสูงข้ึนจากปี 2561 ถึงปี 2564 สาเหตุที่สูงขึ้นอาจเป็นเพราะประสิทธิภาพของการคัดกรอง ประเมินความเสี่ยงภาวะข้อเข่า และการหกล้มท่ีดีขึ้น สามารถค้นหา คัดกรอง ความเสี่ยงเพื่อเฝ้าระวังได้มากขึ้น หรอื อาจเป็นเพราะผู้สูงอายุมี ภาวะข้อเข่าเสี่ยงสูงขึ้น และมีความเส่ยี งการหกลม้ สูงข้ึนด้วยสาเหตุปจั จัยตา่ งๆ ตาราง 3 แสดงจำนวนผูป้ ่วยกระดูกหักรอบข้อสะโพก จงั หวัดลำปาง ปี 2561-2564 ปี จำนวนผูป้ ว่ ยกระดกู หักรอบขอ้ สะโพก (คน) 2561 445 2562 511 2563 487 2564 (ต.ค. 63 – เม.ย. 64) 231 จากตาราง จำนวนผ้ปู ว่ ยกระดูกหกั รอบข้อสะโพก จงั หวัดลำปาง ปี 2561-2564 พบวา่ ในปี 2561 มผี ้ปู ว่ ยกระดกู หักรอบข้อสะโพก จำนวน 445 คน ปี 2562 มจี ำนวน 511 คน ปี 2563 จำนวน 487 คน และ ปี 2564 มีจำนวน 231 คน ตามลำดับ ในปี 2563 มีการคัดกรองโรค /ภาวะเส่ือมหรือกลุ่มอาการ Geriatric Syndromes พบความเส่ียง/ ผิดปกติ มากท่ีสุด ได้แก่ ภาวะโภชนาการ พบผู้สูงอายุที่มีดัชนีมวลกายเกิน (เร่ิมอ้วนและอ้วน) ร้อยละ 20.55 (ผอม ร้อยละ 17.85) รองลงมา ได้แก่ มีภาวะข้อเข่าเส่ือม ร้อยละ 8.32 ,เส่ียงต่อภาวะหกล้ม ร้อยละ 3.58 และเร่ิมมีภาวะสมองเส่ือม ร้อยละ 1.38 มีชมรมผู้สูงอายุตำบลทั้งหมด 100 ชมรม ผ่านเกณฑ์ชมรมผู้สูงอายุ คุณภาพ 93 ชมรม คิดเป็นร้อยละ 93 และการประเมินผลตำบล LTC. ผ่านเกณฑ์ 90 ตำบล จากท้ังหมด 100 ตำบล คิดเป็นร้อยละ 90 จากความเส่ียงและสถานการณ์ สรปุ ปญั หาในการทำงาน และกำหนดประเดน็ ในการพฒั นาในระบบ การดแู ลผ้สู ูงอายุ สำนักงานสาธารณสขุ จงั หวดั ลำปาง ตรวจราชการและนเิ ทศงาน รอบท่ี 2 ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564
141 การตรวจราชการและนิเทศงาน กรณปี กติ รอบที่ 2 เขตสุขภาพท่ี 1 จงั หวดั ลำปาง 2. แนวทางการดำเนินงานผู้สูงอายุ จังหวดั ลำปาง 1.ส่งเสรมิ และสนบั สนนุ 2.พฒั นาระบบการดูแล 3.พฒั นาศกั ยภาพ 4.พัฒนาระบบบริหาร บุคลากรในการดแู ล จดั การโดยการมสี ่วนร่วม การจดั กิจกรรมสง่ เสริม สุขภาพผูส้ ูงอายุ ผู้สงู อายุในพืน้ ที่ ของภาคีเครือข่าย สขุ ภาพในผสู้ ูงอายุ 3.1 สำรวจ และจัดทำ 4.1 คนื ขอ้ มลู ใหส้ ว่ น ทะเบียน Care ราชการทเ่ี กีย่ วข้อง และ 1.1 สนับสนุนแนวทาง 2.1 ทบทวนแนวทาง Manager / Care ทำงานรว่ มเครือข่ายใน Giver ใหเ้ ป็นปัจจุบัน จังหวดั * เครือข่ายที่ การประเมินสขุ ภาพ/คดั และสง่ เสริมใหจ้ ดั คลินกิ 3.2 สนับสนุนให้ สำคัญ – สาขาสมาคมสภา บคุ ลากรไดร้ บั การ ผสู้ งู อายุจงั หวดั - พมจ กรองภาวะเสี่ยง ผู้สงู อายุใน รพช. อบรมฟน้ื ฟู CM - อบจ. - ท้องถ่ินจังหวัด * ผู้จดั การดแู ลผสู้ งู อายุ LTC. * 1.2 ส่งเสรมิ และสนบั สนนุ 2.2 สนบั สนุนขอ้ มลู / (Care Manager) ตาม 4.2. เยี่ยมตดิ ตามการ หลักสูตรของกรม ดำเนินงานสูงอายุ ,COC , การจดั กจิ กรรมสง่ เสรมิ แนวทาง การจัด อนามัย Palliative อำเภอ ละ 1 วัน 3.3 ส่งบุคลากรอบรม โดยทีมระดบั จังหวดั สุขภาพ ส่ิงแวดลอ้ มทเ่ี อ้อื ตอ่ ผจู้ ดั การดแู ลผู้สูงอายุ 4.3.ตดิ ตามข้อมลู เชิง (Care Manager) ตาม คุณภาพหลังการดแู ลตาม - เน้นการออกกำลังกายใน ผูส้ งู อายุ/พิการ หลักสตู รของกรม Care plan/ระบบเย่ยี มบา้ น อนามยั (COC.คน้ หาปญั หาสู่เวที ชมรมผสู้ งู อายุ และพัฒนา 2.3 พฒั นาสถานบรกิ าร 3.4 สนับสนนุ ใหท้ กุ พชอ.ได้ ) อำเภออบรมฟืน้ ฟู ศกั ยภาพชมรมฯ ทกุ ชมรม ทุกระดับให้ผา่ นเกณฑ์ ความร้ผู ู้ดแู ลผู้สูงอายุ (Care Giver) 1.3 ส่งเสริมให้จดั กจิ กรรม สวล.5 ดา้ น (ส่งิ อำนวย ลดภาวะเสย่ี งจากการ ความสะดวก/สวล.5 ประเมนิ สขุ ภาพในสถาน ดา้ น) ทกุ สถานบริการ บรกิ าร ดงั นี้ 1) พอกเข่า ประเมินตัวเอง/ 2) กายบรหิ าร 3) ตรวจ วางแผน/ปรบั ปรุง สุขภาพฟนั 4) ประเมิน 2.4 LTC. : ประเมนิ โภชนาการ (BMI) 5) ตนเองเพือ่ พฒั นาตาม 6 ประเมนิ Fall องค์ประกอบ สำนกั งานสาธารณสขุ จังหวัดลำปาง ตรวจราชการและนิเทศงาน รอบท่ี 2 ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564
142 การตรวจราชการและนิเทศงาน กรณปี กติ รอบที่ 2 เขตสขุ ภาพท่ี 1 จงั หวดั ลำปาง 3. ผลการดำเนนิ งานคดั กรองและประเมินสุขภาพผู้สูงอายจุ ังหวัดลำปาง การคัดกรองและประเมนิ สุขภาพผูส้ ูงอายุในปี 2564 (ต.ค.63 – 16 มิ.ย. 64) ผู้สงู อายเุ ขา้ ถงึ บรกิ าร การคดั กรอง/ประเมนิ สุขภาพท้ังรา่ งกายและจติ ใจ ดังน้ี 3.1 ความสามารถในการดำเนินกิจวตั รประจำวนั (ADL.) ในผู้สูงอายุ ตาราง 4 ความครอบคลุมในการคัดกรองความสามารถในการดำเนินกิจวตั รประจำวนั (ADL.) ในผู้สูงอายุท่ีอยู่ ในพน้ื ทีจ่ รงิ จำแนกรายอำเภอ ปีงบประมาณ 2564 (ต.ค.63 – 16 มิ.ย. 64) จำนวน จำนวนผู้สงู อายไุ ดร้ ับการคัดกรอง อำเภอ ผูส้ งู อายุ ทั้งหมด ตดิ สังคม (ADL 12-20) ตดิ บ้าน (ADL 5-11) ติดเตยี ง (ADL 0-4) รวม จำนวน รอ้ ยละ จำนวน ร้อยละ จำนวน รอ้ ยละ จำนวน ร้อยละ เมอื งลำปาง 49,929 41,057 96.87 1,063 2.51 265 0.63 42,385 84.89 แมเ่ มาะ 6,728 5,748 97.06 145 2.45 29 0.49 5,922 88.02 เกาะคา 14,065 11,674 97.71 219 1.83 54 0.45 11,947 84.94 เสรมิ งาม 7,055 6,645 97.99 102 1.50 34 0.50 6,781 96.12 งาว 10,758 9,655 96.60 282 2.82 58 0.58 9,995 92.91 แจห้ ม่ 9,088 8,174 98.13 116 1.39 40 0.48 8,330 91.66 วังเหนอื 9,490 8,669 97.30 197 2.21 44 0.49 8,910 93.89 เถิน 13,198 11,655 97.56 240 2.01 51 0.43 11,946 90.51 แมพ่ ริก 4,048 3,595 95.94 126 3.36 26 0.69 3,747 92.56 แม่ทะ 14,302 12,083 96.98 317 2.54 59 0.47 12,459 87.11 สบปราบ 6,621 6,223 98.42 67 1.06 33 0.52 6,323 95.5 ห้างฉตั ร 11,026 9,658 98.49 109 1.11 39 0.40 9,806 88.94 เมอื งปาน 6,965 5,757 97.30 135 2.28 25 0.42 5,917 84.95 รวม 163,273 140,593 97.32 3,118 2.16 757 0.52 144,468 88.48 แหล่งขอ้ มูล : จาก HDC. ขอ้ มูล ณ วันที่ 16 มถิ ุนายน 2564 จากตารางข้อมูลท่ี 2 ข้อมูลความครอบคลุมในการคัดกรองความสามารถในการดำเนินกิจวัตร ประจำวัน (ADL) ปีงบประมาณ 2564 จังหวัดลำปางดำเนินการคัดกรองครอบคลุม ร้อยละ 88.48 เม่ือ พิจารณารายอำเภอ พบอำเภอเสริมงาม ดำเนินการคัดกรองและบันทึกข้อมูลได้มากท่ีสุด ร้อยละ 96.12 สำหรบั อำเภออ่ืนๆทำได้มากกว่ารอ้ ยละ 80 ทุกอำเภอ จากการประเมิน ADL.แบ่งสมรรถนะผู้สูงอายุเพ่ือการดูแล ได้ดังนี้ กลุ่ม 1 ร้อยละ 97.32 ผู้สูงอายุท่ีมีภาวะพึ่งพงิ (กล่มุ 2 และ 3) มรี ้อยละ 2.16 และ 0.52 ตามลำดับ (มีจำนวน 3,875 คน) ซง่ึ ทงั้ 3 กล่มุ มี จำนวนใกลเ้ คยี งกับ ปี 2563 สำนักงานสาธารณสขุ จงั หวดั ลำปาง ตรวจราชการและนิเทศงาน รอบที่ 2 ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564
143 การตรวจราชการและนิเทศงาน กรณีปกติ รอบท่ี 2 เขตสขุ ภาพที่ 1 จงั หวดั ลำปาง 3.2 การคัดกรองโรคท่ีเป็นปญั หาสำคญั ตาราง 5 ความครอบคลุมของการคัดกรองโรคที่เป็นปัญหาสำคัญ ปีงบประมาณ 2564 (ต.ค.63 – 16 มิ.ย. 64) จำแนกรายอำเภอ อำเภอ ผ้สู งู อายุ HT DM CVD Risk ช่องปาก (คน) คดั กรอง ร้อยละ คดั กรอง รอ้ ยละ คัดกรอง ร้อยละ คัดกรอง ร้อยละ เมืองลำปาง 49,929 24,162 48.39 34,623 69.34 18,450 36.95 38,488 77.09 แมเ่ มาะ 6,728 3,629 53.94 5,380 79.96 2,582 38.38 5,527 82.15 เกาะคา 14,065 6,539 46.49 10,700 76.08 6,509 46.28 11,625 82.65 เสรมิ งาม 7,055 4,248 60.21 5,963 84.52 2,735 38.77 6,493 92.03 งาว 10,758 5,497 52.96 9,175 85.29 4,625 42.99 9,517 88.46 แจห้ ม่ 9,088 4,594 50.55 7,194 79.16 4,154 45.71 7,936 87.32 วังเหนือ 9,490 5,068 53.4 7,805 82.24 3,867 40.75 8,888 93.66 เถิน 13,198 6,926 52.48 10,744 81.41 5,460 41.37 11,875 89.98 แม่พรกิ 4,048 2,009 49.63 3,135 77.45 1,312 32.41 3,696 91.3 แมท่ ะ 14,302 8,248 57.67 11,866 82.97 5,368 37.53 11,652 81.47 สบปราบ 6,621 3,413 51.55 5,315 80.27 2,586 39.06 6,264 94.61 ห้างฉัตร 11,026 5,514 50.01 8,555 77.59 4,552 41.28 9,239 83.79 เมอื งปาน 6,965 3,717 53.37 5,611 80.56 2,566 36.84 5,808 83.39 รวม 163,273 83,764 51.3 126,066 77.21 64,766 39.67 137,008 83.91 แหลง่ ข้อมลู : จาก HDC. ขอ้ มลู ณ วนั ท่ี 16 มถิ นุ ายน 2564 จังหวัดลำปางกำหนดโรคท่ีต้องเป็นปัญหาสำคัญในผู้สูงอายุท่ีต้องได้รับการคัดกรอง ได้แก่ โรค ความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน CVD และช่องปาก โรคท่ีคัดกรองได้สูงที่สุดในปีงบประมาณ 2564 ได้แก่ การ คดั กรองในช่องปาก ร้อยละ 83.91 ต่ำสดุ ได้แก่ CVD risk รอ้ ยละ 39.67 หมายเหตุ : ผลงานร้อยละใน HDC.ของการคัดกรอง โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน และ CVD Risk ต่ำ กว่าข้อมูลท่ีทำได้จริงเนื่องจากในฐานข้อมูลไม่ได้ตัดกลุ่มผู้ป่วยออก ซึ่งในแนวทางการคัดกรองกลุ่มโรค NCD. จะไม่คัดกรองในกลมุ่ ผ้ปู ่วย สำนักงานสาธารณสขุ จงั หวัดลำปาง ตรวจราชการและนิเทศงาน รอบที่ 2 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564
144 การตรวจราชการและนเิ ทศงาน กรณีปกติ รอบท่ี 2 เขตสุขภาพที่ 1 จังหวัดลำปาง 3.3. การคัดกรองกล่มุ อาการ Geriatric Syndromes ตาราง 6 ความครอบคลุมการคัดกรองกลุ่มอาการ Geriatric Syndromes จงั หวดั ลำปาง ปีงบประมาณ 2564 (ต.ค. 63 – 16 ม.ิ ย. 64) จำแนกรายอำเภอ อำเภอ ผสู้ ูงอายุ สมองเส่อื ม ซมึ เศรา้ OA ภาวะหกลม้ BMI (คน) คัดกรอง รอ้ ยละ คัดกรอง ร้อยละ คัดกรอง ร้อยละ คดั กรอง รอ้ ยละ คัดกรอง รอ้ ยละ เมืองลำปาง 49,929 38,787 77.68 40,378 80.87 38,993 78.1 39,989 80.09 40,324 80.76 แมเ่ มาะ 6,728 5,865 87.17 5,956 88.53 5,843 86.85 5,817 86.46 6,098 90.64 เกาะคา 14,065 11,605 82.51 11,903 84.63 11,592 82.42 11,626 82.66 13,369 95.05 เสรมิ งาม 7,055 6,708 95.08 6,733 95.44 6,788 96.22 5,965 84.55 6,438 91.25 งาว 10,758 9,950 92.49 10,005 93 9,952 92.51 9,948 92.47 9,484 88.16 แจ้ห่ม 9,088 8,150 89.68 8,315 91.49 7,878 86.69 7,885 86.76 8,232 90.58 วังเหนอื 9,490 8,871 93.48 8,899 93.77 8,829 93.03 8,809 92.82 9,041 95.27 เถิน 13,198 11,851 89.79 10,919 82.73 11,856 89.83 11,880 90.01 7,165 54.29 แม่พริก 4,048 3,726 92.05 3,736 92.29 3,729 92.12 3,733 92.22 3,696 91.3 แมท่ ะ 14,302 12,389 86.62 12,414 86.8 12,420 86.84 12,318 86.13 11,214 78.41 สบปราบ 6,621 6,284 94.91 6,282 94.88 5,888 88.93 6,235 94.17 6,431 97.13 หา้ งฉัตร 11,026 9,667 87.67 9,678 87.77 9,495 86.11 9,540 86.52 10,880 98.68 เมอื งปาน 6,965 5,803 83.32 5,827 83.66 5,802 83.3 5,804 83.33 5,756 82.64 รวม 163,273 139,656 85.54 141,045 86.39 139,065 85.17 139,549 85.47 138,128 84.6 แหลง่ ขอ้ มูล : จาก HDC. ขอ้ มูล ณ วนั ท่ี 16 มิถุนายน 2564 การคัดกรองกลุ่มอาการ Geriatric Syndromes ได้แก่ ภาวะสมองเสื่อม ,ซึมเศร้า, ข้อเข่า ,หกล้ม และ BMI จังหวัดลำปางผลการคัดกรองกลุ่มอาการที่มีความครอบคลุมในการคัดกรองมากที่สุด ได้แก่ BMI ร้อยละ 86.6 รองลงมา ได้แก่ ซึมเศร้า และ ภาวะสมองเส่ือม ร้อยละ 86.39 และ 85.54 ตามลำดับ สำหรับการ คัดกรองด้านอ่ืนๆพบว่าผลงานอยู่ในระดับท่ีใกล้เคียงกัน โดยเมื่อคัดกรองพบความผิดปกติมีการส่งต่อตาม แนวทางท่วี างไว้ สำนักงานสาธารณสขุ จงั หวัดลำปาง ตรวจราชการและนเิ ทศงาน รอบที่ 2 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564
145 การตรวจราชการและนิเทศงาน กรณปี กติ รอบท่ี 2 เขตสขุ ภาพที่ 1 จังหวดั ลำปาง 3.4 ผลการคัดกรองโรคทเ่ี ป็นปัญหาสำคญั และกล่มุ อาการ Geriatric Syndromes ตาราง 7 ผลการคัดกรองโรคที่เป็นปัญหาสำคัญ และกลุ่มอาการ Geriatric Syndromes 10 เรื่อง จังหวดั ลำปาง ปงี บประมาณ 2564 (ต.ค.63 – 16 ม.ิ ย. 64) รายละเอียดดงั นี้ การคดั กรอง ผ้สู งู อายุ ได้รบั การคดั กรอง ปกติ ผดิ ปกติ 1. ความดนั โลหติ สงู (คน) คน ร้อยละ คน ร้อยละ คน ร้อยละ 2. เบาหวาน 3. CVD 163,273 83,764 51.3 66,470 79.35 17,294 20.65 4. สุขภาพช่องปาก 5. สมองเสื่อม (AMT) 163,273 126,066 77.21 111,173 88.19 14,893 11.81 6. ซึมเศร้า (2Q) 7. ขอ้ เขา่ 163,273 64,766 39.67 35,996 55.58 28,770 44.42 8. ภาวะหกลม้ 9. ADL 163,273 137,008 83.91 132,041 96.37 4,897 3.63 10. BMI 163,273 139,656 85.54 136,672 97.86 2,962 2.14 163,273 141,045 86.39 140,744 99.79 301 0.21 163,273 139,065 85.17 126,553 91.00 12,495 9.00 163,273 139,549 85.47 131,551 94.27 7,921 5.73 163,273 143,355 87.8 139,496 97.31 3,859 2.69 163,273 138,128 84.6 107,773 78.02 30,330 21.96 แหลง่ ข้อมลู : จาก HDC. ขอ้ มลู ณ วนั ท่ี 16 มิถนุ ายน 2564 จากข้อมูลการประเมินคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุ 10 เรอื่ ง พบว่า ผลการคัดกรองโรคที่เป็นปัญหา สำคัญท่มี ีความผิดปกตมิ ากทสี่ ุด ได้แก่ โรคท่ีเก่ยี วกับหัวใจและหลอดเลือด (รอ้ ยละ 44.42) รองลงมาโรคความ ดันโลหิตสูง และโรคเบาหวาน (ร้อยละ 20.65, 11.81) ตามลำดับ ส่วนประเด็นปัญหากลุ่มอาการ Geriatric Syndromes พบผู้สูงอายุท่ีมีภาวะเส่ียง /ผิดปกติ มากที่สดุ ได้แก่ ภาวะโภชนาการ พบผูส้ ูงอายุที่มีดัชนีมวลกายไม่ สมส่วน (เรมิ่ อ้วน,อว้ น และอ้วนอันตราย) รอ้ ยละ 21.96 รองลงมา ได้แก่ มภี าวะขอ้ เขา่ เส่ือม รอ้ ยละ 9,เสีย่ งต่อ ภาวะหกล้ม ร้อยละ 5.73 และเสย่ี งตอ่ ภาวะสมองเส่อื ม รอ้ ยละ 2.14 ผลการประเมิน ใกล้เคียงกับปี 2563 มีบางประเด็นที่มีแนวโน้มสูงข้ึน จึงนำมากำหนดเป็น ประเด็นการส่งเสริมให้จัดกิจกรรมลดภาวะเส่ียงจากการประเมินสุขภาพในสถานบริการ ดังนี้ 1) พอกเข่า 2) กายบริหาร 3) ตรวจสุขภาพฟัน 4) ประเมินโภชนาการ (BMI) 5) ประเมิน Fall และสนับสนุนการออกกำลังกายใน ทุกสถานบรกิ าร/ชมรมผสู้ ูงอาย/ุ ศนู ยผ์ ูส้ งู อายุ สำนักงานสาธารณสขุ จังหวดั ลำปาง ตรวจราชการและนิเทศงาน รอบท่ี 2 ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564
146 การตรวจราชการและนเิ ทศงาน กรณีปกติ รอบที่ 2 เขตสุขภาพท่ี 1 จงั หวดั ลำปาง 3.5 ผลการดำเนนิ งานการเฝ้าระวงั และป้องกนั ภาวะกระดกู หักจากการพลัดตกหกลม้ ในปีงบประมาณ 2564 จังหวัดลำปาง ได้กำหนดยุทธศาสตร์จังหวัดลำปางในประเด็นการส่งเสริมให้ จัดกิจกรรมลดภาวะเส่ียงจากการประเมินสุขภาพในสถานบริการ ดังน้ี 1) พอกเข่า 2) กายบริหาร 3) ตรวจ สขุ ภาพฟัน 4) ประเมินโภชนาการ (BMI) 5) ประเมิน Fall และสนับสนนุ การออกกำลงั กายในทุกสถานบรกิ าร/ ชมรมผู้สูงอายุ/ศูนย์ผู้สูงอายุ น้ัน ซึ่งประเด็นพลัดตกหกล้มในผู้สูงอายุ เป็นหน่ึงในการให้บริการน้ัน จึงได้ กำหนดแนวทาง วเิ คราะห์ ประเมินสถานการณ์ และทรัพยากรท่ตี ้องใชใ้ นการขับเคล่ือนงาน และได้ดำเนินการ ดงั นี้ - กำหนดระบบการดูแลสง่ เสริมสุขภาพ การประเมนิ คัดกรอง เฝ้าระวงั ป้องกัน และสง่ ตอ่ ผูส้ ูงอายุ ผสู้ งู อายทุ มี่ ภี าวะพลดั ตกหกล้ม - กำหนดการประเมินติดตามการดำเนินงานตามมาตรฐาน ประเมิน คัดกรอง เฝ้าระวัง ป้องกัน และส่งต่อ ผู้สูงอายทุ ีม่ ภี าวะพลัดตกหกลม้ - พัฒนา CG เน้นย้ำเรอ่ื ง “รคู้ วามเสี่ยง เฝ้าระวัง ช้ชี ่องทาง” ในกลุ่มผสู้ ูงอายุที่มีภาวะเสยี่ งพลัดตก หกล้ม (บูรณาการร่วมกบั การอบรม CG ใหม่ และ ฟื้นฟู CG) - พัฒนาคลนิ ิกผูส้ ูงอายุคณุ ภาพ พัฒนาระบบการดูแล Case ที่ซับซ้อน ต่อเนอ่ื ง ระบบการส่งต่อและแนว ปฏบิ ัติสำหรบั สถานบรกิ ารระดับทตุ ยิ ภมู ิ ปฐมภูมิ - พัฒนาระบบการดูแลกลุ่มผู้สูงอายุทม่ี ีภาวะพลัดตกหกล้มและเกิดภาวะแทรกซอ้ นที่ต้องได้รับการ ดูแล รกั ษาเฉพาะทาง โดยแพทย์เวชศาสตรช์ ุมชน จักษแุ พทย์ แพทย์ออร์โธปิดิกส์ - การปรับสภาพแวดล้อมบา้ นผู้สูงอายุเพ่ือลดความเส่ียงต่อการพลัดตกหกล้ม และจดั สถานบรกิ าร โรงพยาบาล โรงพยาบาลสง่ เสริมสุขภาพตำบล และวดั ใหเ้ อ้ือต่อผูส้ ูงอายุ (Universal Design) สำนกั งานสาธารณสขุ จังหวัดลำปาง ตรวจราชการและนเิ ทศงาน รอบท่ี 2 ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564
การตรวจราชการและนิเทศงาน กรณ การดำเนนิ งานตาม OKR การเฝา้ ระวงั และป้อง O1 O1: ลดจำนวนผู้ป่วย Hip Fractur Kr1 ผ้สู งู อายกุ ลมุ่ กจิ กรรมทดี่ ำเนินการ เสยี่ งพลดั ตกหกล้ม หลงั การคดั กรอง 1. ประสานงานทมี IT ของกล่มุ งานพฒั นายุทธศาสตรส์ าธารณสุขเพื่อดึงข TUGTไดร้ บั การคัด ผสู้ งู อายเุ ป้าหมาย ทั้งกลุ่มท่ภี าวะเสยี่ งจากการคดั กรองระดับปฐมภูมิ จาก กรอง Thai Frat & (SPECIALPP รหสั 1B1200,1B1201,1B1202,1B1209) และขอ้ มูลการห House risk > 90% Fracture ในฐานขอ้ มูล รพ. ย้อนหลงั 3 ปี (ICD 10 : S72.2-72.2, W00- พน้ื ที่ตรวจสอบกลุม่ เปา้ หมาย 2. จัดทำแนวทางการดำเนินงานการประเมิน Fall และการใหค้ ำแนะนำ T risk ตามระดับกลุ่มเสยี่ ง สูง ปานกลาง ตำ่ ถา่ ยทอดไปยังพ้นื ท่ี 3. จัดทำระบบการเกบ็ ข้อมูล Web Application THAI FRAT & House ลำปาง 4. ทุกพ้ืนทป่ี ระเมนิ ความเสีย่ ง Thai FRAT & House risk fall Web App House risk หนา้ เว็ป สสจ.ลำปาง 5. รวบรวมและวเิ คราะห์ข้อมูลกลมุ่ เสย่ี งฯในผูส้ ูงอายุเปา้ หมาย/เตรยี มข้อ หน่วยงานหรอื ผทู้ ่เี กี่ยวข้องในพ้ืนท่ี - รายชื่อกลุม่ เส่ียงที่ไดร้ ับการคัดกรองจำแนกตามระดบั ความเส่ยี ง (ตำ่ /ป แยกรายอำเภอ/ตำบล/หมบู่ ้าน - รายละเอยี ดความเสี่ยงของส่งิ แวดลอ้ มตามรายบุคคล/บ้าน - ข้อมูลภาพรวมรายชือ่ กลุ่มเส่ียงและหนว่ ยงานที่มีสว่ นรว่ มในการดูแลผสู้ เก่ยี วข้อง 6. ดำเนนิ การประสานงานกับผู้รบั ผิดชอบงานระดับอำเภอ คืนขอ้ มูลการป พืน้ ทแี่ ละภาคเี ครือขา่ ย ผ้เู ก่ยี วขอ้ งในการดูแลผู้สงู อายุ เพื่อใชใ้ นการดำเน สำนักงานสาธารณสขุ จงั หวัดลำปาง ตรวจราชก
147 ณปี กติ รอบท่ี 2 เขตสขุ ภาพที่ 1 จงั หวัดลำปาง งกนั ภาวะกระดูกหักจากการพลัดตกหกลม้ จงั หวัดลำปาง re > ร้อยละ 5/100,000 ประชากร ผลการดำเนนิ งาน ข้อมลู กำหนดรายช่ือ จากการคัดกรอง TUGT ปี 63 เสี่ยง Falling จำนวน 6,146 ราย กฐานข้อมูล HDC คัดกรอง Thai FRAT & House risk ได้ 5,778 ราย คดิ เป็นรอ้ ยละ หกล้มแล้วเกดิ Hip 94.01 -10,18-19) คืนขอ้ มลู ให้ - เสีย่ งสงู (15-20) จำนวน 460 ราย (7.96%) - เสี่ยงปานกลาง (5-14) จำนวน 2,658 ราย (46%) THAI FRAT & House - เส่ยี งตำ่ (0-3) จำนวน 2,660 ราย (46.04%) *ส่วนของ THAI FRAT กลมุ่ เสย่ี งทั้งหมดมีความเส่ียงด้านการทรงตวั e risk หนา้ เว็ป สสจ. มากท่สี ดุ จำนวน 2,268 ราย (39.25%) *ส่วนของ House risk กลุ่มเสยี่ งทัง้ หมดมีความเสยี่ งดา้ นราวจับ plication THAI FRAT & หอ้ งน้ำมากท่ีสุด จำนวน 3,971 ราย (68.73%) อมลู สำหรับคืนในพ้ืนท่ี/ ปานกลาง/สูง) และรายข้อ สงู อายุในประเดน็ ที่ ประเมนิ ความเส่ียงให้แก่ นนิ งาน การและนิเทศงาน รอบท่ี 2 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564
การตรวจราชการและนเิ ทศงาน กรณ O1 กจิ กรรมทดี่ ำเนินการ Kr2 ผสู้ ูงอายไุ ดร้ ับ 1. สนบั สนุนคลปิ วดิ ีโอการออกกำลงั กาย สร้างความแขง็ แรงของกล้ามเน้ือ การพฒั นาสมรรถนะ ล้ม เพม่ิ ความแข็งแรงของกล้ามเน้ือ และการทรงตัวในผู้สูงอายทุ ั่วไปและก ทางรา่ งกายตามชดุ ความร้ผู ู้สงู อายุกลุม่ เสี่ยง “สูงวัยลำปาง ก้าวยา่ งอย่างมัน่ ใจ ปลอดภยั ไม่ล โปรแกรมในกลุ่มเสยี่ ง สาธารณสขุ นำไปใช้เผยแพร่ ปานกลางและสูง 2. เปดิ ลานออกกำลงั กายใน รพสต./รพ./ศนู ยผ์ ู้สูงอายุ/ท่ที ำการชมรมผูส้ กจิ กรรมการออกกำลงั กาย 3. ใหค้ วามรู้/ให้คำแนะนำกลมุ่ เสย่ี งปานกลางและสูง จำนวน 3,118 คน แยกตามความเส่ยี ง ดงั นี้ - เสย่ี งการทรงตวั ในผู้สูงอายุ 1,875 คน (60.13%) - เสย่ี งจากการใชย้ า 1,401 คน (44.93%) - เสีย่ งด้านสายตาและการมองเห็น 1,452 คน (46.57%) 4. ใหค้ วามรูค้ วามเสยี่ ง เฝ้าระวงั และการป้องกันพลัดตกหกลม้ แก่ CG/ ร่วมกับการอบรมฟ้นื ฟู CG /CG ใหม)่ Kr3 กลมุ่ เสี่ยงปาน 1. ประชมุ ภาคีเครือข่ายผู้สงู อายุ คนื ขอ้ มลู การประเมนิ คดั กรองสภาพแว กลางและสูงได้รบั การ เส่ยี งของสิ่งแวดลอ้ มตามรายบคุ คล เพื่อกำหนดรายละเอยี ด งบประมา ปรับสภาพแวดล้อม สภาพแวดล้อมบ้าน (สาธารณสุข, อบจ.ลำปาง, ท้องถนิ่ จังหวัด, อปท., บา้ น สวัสดิการสงั คมผู้สงู อายุจงั หวัดลาํ ปาง และสถาบนั พฒั นาองค์กรชุมชน) 2. มกี ารจัดทำแนวทางการจัดสิ่งแวดลอ้ มใหเ้ ออื้ ตอ่ ผู้สงู อายุ ใหส้ ถานบรกิ 3. คืนขอ้ มลู การประเมิน คัดกรองสภาพแวดลอ้ มกลุม่ เสี่ยงทกุ ราย ให้กับพ สำหรบั การดำเนินการจัดการความเสย่ี งที่เก่ยี วขอ้ งและแกไ้ ขตามบรบิ ท ด , พฒั นาสงั คมฯ และชมุ ชน สำนกั งานสาธารณสุขจงั หวัดลำปาง ตรวจราชก
148 ณีปกติ รอบที่ 2 เขตสุขภาพท่ี 1 จังหวัดลำปาง ผลการดำเนินงาน อ ลดความเส่ยี งต่อการหก 1. สนบั สนุนคลปิ วดี ีโอการออกกำลงั กายเพื่อเพ่มิ ความแข็งแรง/สือ่ กลมุ่ เสย่ี ง และสือ่ ให้ แผ่นพบั 13 อำเภอ 154 แห่ง ล้ม” ใหบ้ ุคลากร 2. จดั ทำสอื่ ใหค้ วามรผู้ สู้ ูงอายุกลมุ่ เส่ียง “สงู วัยลำปาง กา้ วยา่ งอยา่ ง ม่ันใจ ปลอดภยั ไม่ล้ม” ใหแ้ ต่ละอำเภอ สูงอายุ เพ่ือสง่ เสรมิ 3. มลี านออกกำลังกายที่ รพสต./รพ./ศนู ย์ผสู้ ูงอายุ/ท่ีทำการชมรม ผสู้ งู อายุ รอ้ ยละ 97.42 คิดเป็นร้อยละ 53.96 4. ให้ความรู้/ให้คำแนะนำกลุ่มเสีย่ งปานกลางและสูง - การออกกำลังกายที่เพิ่มความแข็งแรงกลา้ มเน้ือและการทรงตวั ใน ผู้สงู อายุกลมุ่ เสยี่ ง ร้อยละ 82.45 - การปรับการใช้ยา วัดความดันทา่ น่ังและนอน รอ้ ยละ 85.01 - ตรวจวดั สายตาในผสู้ ูงอายุกลมุ่ เสี่ยง ร้อยละ 84.85 ญาติ/ผดู้ ูแล (บูรณาการ 5. ให้ความรคู้ วามเส่ยี ง เฝ้าระวัง และการป้องกนั พลัดตกหกลม้ แก่ CG/ ญาติ/ผดู้ ูแล (บูรณาการรว่ มกบั การอบรมฟื้นฟู CG/CG ใหม่) วดลอ้ มรายละเอยี ดคว1า.ม 1. ประชมุ ภาคเี ครือข่ายผ้สู ูงอายุ ในการปรบั สภาพแวดล้อม าณ ในการปรบั รายละเอียดความเสยี่ งของสิง่ แวดล้อมตามรายบคุ คล งบประมาณ พมจ.,ศูนย์พัฒนาการจดั ในการปรับสภาพแวดล้อมบา้ น 1 ครงั้ ) 2. 2. มกี ารปรบั สภาพแวดลอ้ มบ้านผู้สูงอายุ การทุกแหง่ 3. – กลมุ่ เสยี่ งปานกลางและกลุ่มเสย่ี งสงู 857 หลัง/ 2,687 หลงั พนื้ ที่ระดบั อำเภอ ตำบล รอ้ ยละ 31.89 ด้วยงบประมาณของ อ4ป. ท. - การจดั ภาพแวดล้อมท่เี อื้อต่อผูส้ ูงอายุ/คนพิการ (Universal design) 5. รพ. 13 แห่ง รอ้ ยละ 100 6. รพ.สต. 127 แหง่ ร้อยละ 89.44 7. วดั (1 วัด/1 รพ.,รพ.สต.) 51 แห่ง ร้อยละ 32.90 การและนเิ ทศงาน รอบท่ี 2 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564
การตรวจราชการและนเิ ทศงาน กรณ O1 กจิ กรรมทด่ี ำเนินการ 4. การจัดส่ิงแวดลอ้ มใหเ้ อ้ือต่อผสู้ งู อายุ - สถานบริการทุกแห่งปรบั ปรุงสถานบริการให้ผ่านเกณฑ์ universal d สภาพแวดลอ้ มท่ีเอ้ือตอ่ ผูส้ งู อายุ/คนพิการ 5 ดา้ น ได้แก่ ที่จอดรถ ทางลา สญั ลกั ษณ์ และ การให้บริการขอ้ มูล) - รพสต.ประเมินและใหข้ ้อมลู เพ่ือปรับปรงุ วัดใหผ้ า่ นเกณฑ์ universal - รพสต.สำรวจและเลอื กหลงั คาเรือนท่ีมีความเสย่ี งเปา้ หมายดำเนนิ กา ประเมนิ Thai FRAT & House risk เสยี่ งสูงและเส่ยี งปานกลาง รวมทงั้ ส ดำเนินการรว่ มเครือข่ายในชมุ ขน เชน่ พชอ.,พชต., อปท, NGO O2 : เพมิ่ ประสิทธภิ าพการรักษา O2 กิจกรรมท่ีดำเนินการ Kr1 ผปู้ ่วย Capture 1. จดั ทำผังการไหลการดแู ลผปู้ ว่ ยกระดูกรอบขอ้ สะโพกหัก the fracture ท่ไี ดร้ ับ 2. เสนอผ้บู ริหารเพื่อขอเปิดผา่ ตัดนอกเวลาราชการสปั ดาหล์ ะ 2 วัน เพ่อื การผา่ ตดั ภายใน 72 3. ปรับปรุง application การลงข้อมูลกลุ่มผู้ป่วยสูงอายุกระดูกหักรอบ ช่วั โมงหลงั จากไดร้ บั โรงพยาบาลลำปาง การรักษาใน 4. ประสานงานภาคเี ครือข่ายในการใช้ application ในการส่งขอ้ มูล Lam โรงพยาบาล (Early surgery) มากกว่า รอ้ ยละ 50 Kr2 ผู้ป่วย Capture the fracture ที่มี ภาวะกระดูกหักซำ้ (Re-fracture) นอ้ ย กว่าร้อยละ 30 สำนักงานสาธารณสุขจังหวดั ลำปาง ตรวจราชก
149 ณีปกติ รอบท่ี 2 เขตสขุ ภาพท่ี 1 จังหวดั ลำปาง ผลการดำเนนิ งาน design (การปรับ าด ห้องน้ำ ปา้ ยและ l design ารบ้านผสู้ งู อายุท่ีผลการ สิน้ 2,687 หลัง ผลการดำเนนิ งาน 8. 1. ส่งแนวทางระบบส่ง-ต่อผู้สงู อายทุ ุกระดบั ผังการไหลการ อลดระยะเวลารอคอย ดูแลผู้ปว่ ยรว่ มกันกับงานอายุรกรรมและวสิ ญั ญี ให้โรงพยาบาล บข้อสะโพกท่ีนอนรักษาใน ชุมชนทุกแห่ง 2. ผปู้ ่วย Capture the fracture ท่ีไดร้ ับการผา่ ตดั ภายใน 72 mpang FLS ชวั่ โมงหลังจากไดร้ ับการรักษาในโรงพยาบาล (Early surgery) ร้อยละ 55.90 (109/195 คน) 3. ผู้ป่วย Capture the fracture ทมี่ ภี าวะกระดกู หักซำ้ (Re- fracture) รอ้ ยละ 1.54 (3/195 คน) การและนิเทศงาน รอบที่ 2 ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564
150 การตรวจราชการและนเิ ทศงาน กรณปี กติ รอบที่ 2 เขตสุขภาพท่ี 1 จังหวดั ลำปาง 3.6 ผลการสง่ เสรมิ สุขภาพด้วยการพอกเข่าสมนุ ไพรสูตรตำรับ Lampang Model ปี 2564 จังหวัดลำปาง มุ่งเน้นการส่งเสริมสุขภาพในกลุ่มประชาชนท่ีมีอายุ 55 ปีขึ้นไป ที่ไม่เป็นโรค OA Knee ให้ได้รับบริการพอกเข่าสมุนไพรสูตรตำรบั Lampang Model เพ่ือส่งเสริมสุขภาพ และป้องกันการ เกิดโรคข้อเข่าเส่ือมภายใต้การให้กลุ่มเป้าหมายรู้จัก เชื่อม่ัน และใช้สมุนไพรในการดูแลสุขภาพ จำนวน 111,297 คน เม่ือเปรยี บเทยี บขอ้ มลู ผ้มู ารบั บรกิ าร รอบ 3 เดอื น กับ รอบ 9 เดอื น ปีงบประมาณ 2564 พบว่าผลงาน การให้บรกิ ารเพิ่มขนึ้ จาก รอ้ ยละ 12.95 เป็น ร้อยละ 23.01 ซง่ึ ยงั ไม่ผ่านตามเป้าหมาย/เกณฑ์ที่ต้ังไว้ ตารางที่ 8 ร้อยละ 50 ผู้สูงวัย (อายุ 55 ปีข้ึนไป) ท่ีได้รับการส่งเสริมสุขภาพด้วยการพอกเข่าสมุนไพรสูตร ตำรับ Lampang Model ท่ีมา : HISOPD/HOSxP/JHCIS ณ วนั ที่ 16 มถิ นุ ายน 2564 ตารางท่ี 9 รอ้ ยละของผ้ปู ว่ ย โรคเขา่ เสอื่ ม(ลมจบั โปงแห้งเขา่ ) ท่ีไดร้ บั บรกิ ารทางแพทยแ์ ผนไทย รอบ 3 เดือน รอบ 9 เดือน อำเภอ จำนวนผูป้ ่วยโรคเขา่ จำนวนผู้ป่วยโรคเขา่ รอ้ ยละ จำนวนผู้ป่วยโรคเขา่ จำนวนผูป้ ่วยโรคเขา่ รอ้ ยละ เสื่อม (OA Knee) เสอื่ ม เสอื่ ม (OA Knee) เสือ่ ม ท้งั หมด(คร้ัง) (ลมจบั โปงแห้งเข่า) ทง้ั หมด(คร้งั ) (ลมจับโปงแหง้ เขา่ ) แผนไทย(ครง้ั ) แผนไทย(ครัง้ ) เมอื ง 7,347 83 1.13 5,852 251 4.29 แมเ่ มาะ 938 151 16.10 1,110 584 52.61 เกาะคา 4,751 1,174 24.71 3,796 2,034 53.58 เสรมิ งาม 2,283 66 2.89 1,658 125 7.54 งาว 1,074 261 24.30 1,106 507 45.84 แจ้หม่ 3,652 361 9.88 3,002 1,043 34.74 วงั เหนือ 3,071 650 21.17 3,300 1,878 56.91 เถนิ 2,269 230 10.14 2,438 501 20.55 แมพ่ รกิ 502 247 49.20 548 301 54.93 แมท่ ะ 331 92 27.79 421 205 48.69 สบปราบ 1,249 621 49.72 1,328 917 69.05 ห้างฉตั ร 1,115 212 19.01 1,240 487 39.27 เมืองปาน 1,928 242 12.55 2,400 1,346 56.08 รวม 30,510 4,390 14.39 28,199 10,179 36.10 ทีม่ า : HDC ณ วันท่ี 16 มิถุนายน 2564 สำนกั งานสาธารณสุขจงั หวัดลำปาง ตรวจราชการและนเิ ทศงาน รอบที่ 2 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564
151 การตรวจราชการและนิเทศงาน กรณปี กติ รอบท่ี 2 เขตสุขภาพที่ 1 จังหวัดลำปาง 1. จังหวัดลำปางได้เร่งรัดการจัดบริการ ให้ได้ตามเป้าหมายท่ีกำหนดตามไตรมาส คือ ไตรมาสท่ี 1 ร้อยละ 20,ไตรมาสที่ 2 ร้อยละ 50, ไตรมาสที่ 3 ร้อยละ 80 และไตรมาที่ 4 ร้อยละ 100 ส่วนผู้ป่วยท่ีได้รับ การวินิจฉัยจากแพทย์แผนไทยว่า ป่วยด้วยโรค OA Knee หรือ โรคลมจับโปงแห้งเข่า จะได้รับการจัดบริการ หัตถกรรมพอกเข่าด้วยสมุนไพรสูตร Lampang Model จำนวน 5 ครั้ง ร่วมกับการนวดและประคบสมุนไพร โดยเปา้ หมาย รอ้ ยละ 50 ของผ้ปู ่วยที่มารับการรกั ษาในโรงพยาบาล 2. การจัดหายาสมุนไพรพอกเข่า สูตร Lampang Model จากผู้ผลิตคือ สหกรณ์การเกษตรสมุนไพร ตำบลแม่มอกจำกัด อำเภอเถิน จำหน่ายราคาชุดละ 30 บาท ซ่ึงมีส่วนประกอบหลัก 7 ชนิด ได้แก่ ผงผักเส้ียนผี ผงเหง้าไพล ผงเหง้าขมิ้นชัน น้ำมันงา ดินขาวสะตุ การบูรและแป้งข้าวเหนียว เป็นอัตลักษณ์เฉพาะ ของจงั หวัดลำปาง 3. สถานบรกิ ารสาธารณสขุ ในจังหวดั ลำปางทกุ แห่ง เปดิ ให้บรกิ าร OPD คขู่ นาน อย่างน้อย 2 วนั ตอ่ สัปดาห์ 3.1) OPD คู่ขนานกับแผนปัจจุบัน จำนวน 8 แห่ง ได้แก่ รพ.ลำปาง รพ.แม่เมาะ รพ.แม่ทะ รพ.แจ้ห่ม รพ.วังเหนือ รพ.สบปราบ รพ.แม่พรกิ และ รพ.หา้ งฉัตร 3.2) OPD คลินิกแพทย์แผนไทย จำนวน 5 แห่ง ได้แก่ รพ.เกาะคา รพ.เสริมงาม รพ.งาว รพ.เถิน และรพ. เมืองปาน โดยจดั ใหม้ รี ะบบคดั กรองผปู้ ว่ ย 3.7 ผลการสำรวจพฤตกิ รรมสุขภาพท่ีพึงประสงค์ในผู้สูงอายุ ตาราง 10 ผลการสำรวจพฤติกรรมสขุ ภาพทพี่ งึ ประสงค์ในผสู้ ูงอายุ จงั หวัดลำปาง ปงี บประมาณ 2564 รายละเอยี ดดงั น้ี อำเภอ จำนวน เป้าหมาย จำนวนผู้สูงอายุ ร้อยละ จำนวนผสู้ งู อายุท่มี ี รอ้ ยละพฤตกิ รรม ตำบล (คน) ท่ไี ด้รบั การ การตอบ พฤตกิ รรมสุขภาพท่ี สุขภาพที่ (ตำบล) ประเมนิ (คน) พงึ ประสงค์ (คน) พงึ ประสงค์ เมืองลำปาง 19 1,349 1,373 101.78 191 13.91 แมเ่ มาะ 5 เกาะคา 9 355 373 105.07 18 4.83 เสรมิ งาม 4 10 639 603 94.37 34 5.64 งาว 7 แจ้ห่ม 8 284 249 87.68 5 2.01 วงั เหนือ 8 เถิน 4 710 630 88.73 68 10.79 แมพ่ ริก 10 แมท่ ะ 4 497 449 90.34 67 14.92 สบปราบ 7 หา้ งฉตั ร 5 568 1696 298.59 76 4.48 เมืองปาน 100 รวม 568 547 96.30 88 16.09 284 263 92.61 82 31.18 710 655 92.25 83 12.67 284 254 89.44 57 22.44 497 539 108.45 39 7.24 355 225 63.38 44 19.56 7,100 7,856 110.65 852 10.85 แหลง่ ข้อมลู : จากโปรแกรม H4U กรมอนามยั ณ วันที่ 19 มิถนุ ายน 2564 สำนกั งานสาธารณสขุ จงั หวัดลำปาง ตรวจราชการและนิเทศงาน รอบที่ 2 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564
152 การตรวจราชการและนิเทศงาน กรณีปกติ รอบที่ 2 เขตสขุ ภาพท่ี 1 จังหวดั ลำปาง จากข้อมูลผลการสำรวจพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ของผู้สูงอายุ โดยใช้กลุ่มเป้าหมายการประเมิน พฤติกรรมสุขภาพท่ีพึงประสงค์ในกลุ่มผู้สูงอายุ อายุ 60 ปีข้ึนไป ที่มี ADL ≥12 คะแนน ร้อยละ 5 ของ ประชากรสูงอายุทั้งหมดของจังหวัดลำปาง (จังหวัดลำปาง เป้าหมาย 7,100 คน แยกรายตำบลๆละ 71 ราย) ตอบแบบประเมินผ่านการบันทึกข้อมูลผ่าน Weblink หรือ Application Health For You (H4U) บนมือถือ จากการตอบแบบประเมินพฤติกรรมสุขภาพผู้สูงอายุจังหวัดลำปาง พบว่า มีจำนวนผู้สูงอายุตอบแบบประเมิน ทงั้ หมด 7,856 คน คิดเป็นร้อยละ 110.65 มีพฤติกรรมสุขภาพท่ีพึงประสงค์ จำนวน 852 คน คิดเป็นร้อยละ 10.85 (เป้าหมาย ≥ ร้อยละ 50) โดยอำเภอเถิน มีผู้สูงอายุท่ีมีพฤติกรรมสุขภาพท่ีพึงประสงค์มากที่สุด ร้อยละ 31.18 รองลงมา คือ อำเภอสบปราบ เมืองปาน และเถิน ร้อยละ 22.44, 19.56,16.09 ตามลำดับ โดยรวมยังไม่ผ่าน เกณฑท์ ่ีกำหนด รอ้ ยละ 50 ตาราง 11 จำนวนและร้อยละของผสู้ งู อายุท่ีมีพฤติกรรมสขุ ภาพที่พึงประสงค์ แยกรายประเด็น จงั หวดั ลำปาง ปงี บประมาณ 2564 รายละเอยี ดดงั น้ี จำนวนผสู้ ูงอายุที่ ร้อยละของผสู้ ูงอายุท่ี พฤติกรรมที่พึงประสงคข์ องผูส้ ูงอายุ มีพฤตกิ รรมทพี่ ึง มีพฤติกรรมทีพ่ ึง ประสงค์ (คน) ประสงค์ 1. มีกจิ กรรมทางกายทร่ี ะดบั ปานกลางอย่างน้อยวนั ละ 30 นาที 2834 36.07 หรอื สะสมได้ 150 นาท/ี สัปดาห์ 2. กนิ ผกั และผลไม้ได้วนั ละ 400 กรัม หรือ 5 กำมือ (6 - 7 วนั 3,182 40.50 ตอ่ สัปดาห์) 4,144 52.75 3. ดื่มนำ้ เปล่าอยา่ งน้อยวันละ 8 แก้ว (6 - 7 วันตอ่ สปั ดาห)์ 4. ไม่สูบบุหรี/่ เคยแต่เลิกแลว้ 5671 72.19 5. ไม่ดืม่ แอลกอฮอล์ หรอื ดื่มเฉพาะเทศกาลหรือวนั พิเศษ 5,646 71.87 6. การตรวจสุขภาพประจำปีหรือพบแพทย์/บุคลากรทาง 6442 82.00 การแพทย์ 4,755 60.53 7. การนอนหลับอยา่ งเพยี งพอ อย่างน้อยวนั ละ 7-8 ชั่วโมง 8. การดูแลสุขภาพช่องปาก 4,849 61.72 แหล่งขอ้ มูล : จากโปรแกรม H4U กรมอนามยั ณ วันที่ 19 มถิ ุนายน 2564 จากข้อมูลเมอื่ แยกพฤตกิ รรมสขุ ภาพทพ่ี งึ ประสงค์รายประเดน็ ของผู้สูงอายุจงั หวัดลำปางรายขอ้ พบว่า ประเด็นท่ีผู้สูงอายุมีพฤติกรรมสุขภาพท่ีพึงประสงค์น้อยท่ีสุด คือ พฤติกรรมการมีกิจกรรมทางกายท่ีระดับปาน กลางอยา่ งนอ้ ยวันละ 30 นาที หรือสะสมได้ 150 นาที/สปั ดาห์ ร้อยละ 36.07 รองลงมา คือ กินผักและผลไม้ได้วันละ 400 กรัม หรือ 5 กำมือ (6 - 7 วันต่อสัปดาห์) ร้อยละ 40.50 ด่ืมน้ำเปล่าอย่างน้อยวันละ 8 แก้ว (6 - 7 วันต่อ สัปดาห์) ร้อยละ 52.75 พฤติกรรมการนอนหลับอย่างเพียงพอ อย่างน้อยวันละ 7-8 ชั่วโมง ร้อยละ 60.53 การดแู ลสุขภาพช่องปาก ร้อยละ 61.72 ไม่ด่ืมแอลกอฮอล์/ หรือดื่มเฉพาะเทศกาลหรือวนั พิเศษ ร้อยละ 71.87 ไม่สูบบหุ ร่ี/เคยแตเ่ ลิกแล้ว รอ้ ยละ 72.19 และการตรวจสขุ ภาพประจำปีหรอื พบแพทย/์ บุคลากรทางการแพทย์ ร้อยละ 82.00 ตามลำดับ ซึ่งต้องมีการจัดกจิ กรรมสร้างความรอบรู้ด้านสุขภาพ และจัดทำแผนส่งเสริมสขุ ภาพ ดแู ลผู้สูงอายรุ ายบคุ คล (Individual wellness plan) ในพฤตกิ รรมท่ีไม่พงึ ประสงค์ผ่านกิจกรรมชมรมผูส้ ูงอายุ และโรงเรียนผู้สงู อายุตอ่ ไป สำนักงานสาธารณสขุ จังหวดั ลำปาง ตรวจราชการและนิเทศงาน รอบท่ี 2 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564
153 การตรวจราชการและนิเทศงาน กรณปี กติ รอบที่ 2 เขตสขุ ภาพท่ี 1 จงั หวัดลำปาง 3.8 แผนส่งเสรมิ สขุ ภาพดูแลผ้สู งู อายรุ ายบุคคลในชมุ ชน (Individual wellness plan) 1. การดำเนินงานตามเป้าหมาย ตามข้อกำหนดของเขตสุขภาพท่ี 1 จังหวัดลำปาง เป้าหมาย 9 ชมรมๆ ละ 25 ฉบับ รวมทั้งส้ิน 225 ฉบับ จึงให้แต่ละอำเภอคัดเลือกอำเภอละ 1 ชมรม รวม 13 ชมรมๆชมรมละ 25 แผน รวม 325 แผน ตาราง 12 รายช่ือชมรมผสู้ ูงอายใุ นการทำแผนส่งเสริมสขุ ภาพดแู ลผู้สูงอายุรายบุคคลในชุมชน (Individual wellness plan) ลำดับ อำเภอ ชอ่ื ชมรม ทต่ี ง้ั ชมรม อบต.บ้านเป้า ต.บา้ นเป้า อ. เมอื ง จ.ลำปาง 1 เมืองลำปาง ชมรมผู้สงู อายตุ ำบลบา้ นเปา้ 2 แมเ่ มาะ ชมรมผ้สู ูงอายบุ า้ นใหมน่ าแขม ม.7 ต.แม่เมาะ อ.แม่เมาะ 3 เกาะคา ชมรมผสู้ ูงอายุบ้านผ้งึ ม.3 ต.ศาลา อ.เกาะคา จ.ลำปาง 4 เสรมิ งาม ชมรมผู้สงู อายุเทศบาลตำบลเสรมิ งาม ม.11 ต. ท่งุ งาม อ.เสริมงาม จ.ลำปาง 5 งาว ชมรมผู้สูงอายตุ ำบลหลวงหนือ ม.4 ต.หลวงหนือ อ.งาว จ.ลำปาง 6 แจ้ห่ม ชมรมผสู้ งู อายุตำบลแจห้ ่มวัดศรีหลวง 436 หมทู่ ่ี 1 แจห้ ่ม อ.แจ้หม่ จ.ลำปาง 7 วังเหนอื ชมรมผสู้ ูงอายตุ ำบลร่องเคาะ อบต.รอ่ งเคาะ ต.รอ่ งเคาะ อ.วังเหนือ จ.ลำปาง 8 เถิน ชมรมผสู้ ูงอายุบ้านเหล่า หมู่ 5 ตำบลลอ้ มแรด อ.เถิน จ.ลำปาง 9 แมพ่ ริก ชมรมผู้สงู อายุตำบลผาปงั หมู่ 2 บ้านผาปังหลวง ต.ผาปัง จ.ลำปาง 10 แมท่ ะ ชมรมผู้สูงอายตุ ำบลปา่ ตนั นาครัว รร.บ้านปง ม.2 ต.ป่าตนั นาครัว อ.แมท่ ะ จ.ลำปาง 11 สบปราบ ชมรมผู้สงู อายุตำบลแมก่ วั ะ ม.5 ต.แมก่ ัวะ อ.สบปราบ จ.ลำปาง 12 ห้างฉัตร ชมรมผู้สูงอายตุ ำบลหา้ งฉัตร บา้ นแพะดอนสัก ม.5 ต.หา้ งฉตั ร อ.หา้ งฉัตร 13 เมอื งปาน ชมรมผู้สงู อายตุ ำบลเมืองปาน จ.ลำปาง 446 หมู่ 4 อำเภอเมืองปาน จังหวดั ลำปาง 2. พัฒนาและติดต้ังความรู้ ความเข้าใจด้านการส่งเสริมสุขภาพตามแนวทาง 6 องค์ประกอบ ให้กับเจ้าหน้าที่ สาธารณสุข และเจ้าหน้าที่ผปู้ ฏิบัติงานดูแลชมรมผู้สงู อายุเป้าหมาย ตามตารางเป้าหมายร่วมกบั เจ้าหน้าท่ีศนู ย์ อนามยั ท่ี 1 แนวทาง 6 องค์ประกอบ ได้แก่ 1. โภชนาการสำหรบั ผูส้ งู อายุ 2. การเคล่อื นไหวของผสู้ ูงอายุ 3. สขุ ภาพช่องปากผ้สู ูงอายุ 4. ผสู้ ูงอายสุ มองดี 5. ความสุขของผู้สงู อายุ 6. ส่ิงแวดล้อมที่ปลอดภัยสำหรับผู้สงู อายุ 3. ติดตามการดำเนินงาน ประเมินผล สนับสนุนวิชาการ และรายงานผลการดำเนินงานทุกวันที่ 25 ของ ทกุ เดือนมายงั ศนู ย์อนามัยที่ 1 (พัฒนา Google Form สำหรับการรายงานผลของสสจ.ทกุ แห่ง) 4. ดำเนินการเตรียมพน้ื ทีช่ มรมผู้สูงอายุต้นแบบในการเยยี่ มสำรวจเสริมพลงั การดำเนนิ งาน IWP ไตรมาสที่ 2 5. เข้ารว่ มการดำเนนิ การในภาพรวมกบั ศนู ยอ์ นามยั ท่ี 1 - ชมรมผู้สูงอายุต้นแบบรอบท่ี 1 จำนวน 3 ชมรม ได้แก่ ชมรมผู้สูงอายุบ้านใหม่นาแขม อ.แม่เมาะ ชมรม ผ้สู ูงอายุตำบลผาปัง อ.แม่พริก และชมรมผู้สูงอายตุ ำบลเมืองปาน อ.เมอื งปาน สำนกั งานสาธารณสขุ จังหวดั ลำปาง ตรวจราชการและนเิ ทศงาน รอบที่ 2 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564
154 การตรวจราชการและนเิ ทศงาน กรณปี กติ รอบที่ 2 เขตสุขภาพที่ 1 จงั หวัดลำปาง 4. การพฒั นาระบบการดแู ลสขุ ภาพผ้สู ูงอายุจังหวดั ลำปาง จังหวัดลำปางได้กำหนดระบบในการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ เพื่อใช้เป็นแนวทางทำงานร่วมกันใน ภาพรวม และมกี ารพฒั นาระบบการดแู ลผูส้ ูงอายุ ดังนี้ 4.1 พัฒนาระบบบริหารจัดการ : การมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายในการทำงานระหว่างกระทรวงต่างๆ การ คนื ขอ้ มลู /ชอ่ งทางการส่อื สารระหว่างส่วนราชการ มีการกำหนดแนวทาง ดังนี้ - คืนข้อมลู ให้สว่ นราชการที่เก่ยี วขอ้ งในเวทีตา่ งๆ เชน่ เวทปี ระชุมประจำเดือน เวทปี ระชมุ หวั หนา้ สว่ น ราชการ เป็นต้น - ประสานความร่วมมอื กับเครือขา่ ยในการทำงานร่วมในพ้ืนที่ ได้แก่ อปท./สาขาสภาผู้สงู อายุจงั หวดั /วดั / สมัชชาสุขภาพ และส่วนราชการที่เก่ียวข้อง ได้แก่ พมจ,กศน.,ทอ้ งถ่นิ จังหวัด ,คณะกรรมการผู้สูงอายุจงั หวดั , อบจ. เป็นตน้ - มีการบูรณาการร่วมกบั คณะกรรมการ พชอ. ในประเด็นการขบั เคล่อื นงานผู้สูงอายุ โดยการคนื ข้อมูลให้ พื้นทีเ่ พือ่ ใชว้ างแผนการดูแลส่งเสริมสุขภาพผู้สงู อายใุ นชมุ ชนร่วมกนั 4.2 การพัฒนาระบบบรกิ าร : คลินิกผสู้ งู อายคุ ณุ ภาพ ตาราง 13 รอ้ ยละโรงพยาบาลระดบั M2 ข้นึ ไปมีการจัดตัง้ คลินกิ ผ้สู งู อายุ โรงพยาบาลระดบั M2 ข้ึนไป เปา้ หมาย ผลงาน มกี ารจดั ตั้งคลนิ กิ ผู้สงู อายุ รอ้ ยละ 30 รอ้ ยละ 33.33 ระดับคุณภาพ รอ้ ยละ 100 (1 แหง่ รพ.ลำปาง) มีการจดั ตง้ั คลินิกผู้สงู อายุ ร้อยละ 100 ระดับพ้ืนฐานขึ้นไป (รพ.ลำปาง, เกาะคา, เถนิ ) สำนักงานสาธารณสขุ จงั หวดั ลำปาง ตรวจราชการและนเิ ทศงาน รอบท่ี 2 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564
155 การตรวจราชการและนเิ ทศงาน กรณปี กติ รอบที่ 2 เขตสขุ ภาพที่ 1 จงั หวดั ลำปาง ในส่วนการดำเนินงานคลินิกผู้สูงอายุ โรงพยาบาลทุกระดับ ของจังหวัดลำปาง มีการให้บริการ ผู้สูงอายุท่ีพบปัญหาเส่ียง หรือโรคท่ีไม่สามารถให้การวินิจฉัย และแก้ไขได้ในระดับปฐมภูมิ จึงต้องมีการส่งต่อ เพอื่ พบแพทย์ เพื่อการวินิจฉัย และการรักษาเฉพาะทาง ที่ผา่ นมาทุกโรงพยาบาลมีการให้บริการในคลินิกต่างๆ ตามรายของโรค หรือปัญหาท่ีพบ บางแห่งแทรกอยู่ในคลินิกโรคเร้ือรัง/OPD หรือคลินิกอื่นๆ ตามที่ ผ้รู ับผิดชอบงานหลักเป็นผู้ดูแลอยู่ ซึ่งสามารถให้บริการผู้สูงอายุได้ในระดับหนึ่ง แต่ทำให้เกิดระยะเวลาการรอ คอยที่ยาวนาน ผู้สูงอายุไม่ได้รับบริการเป็น One Stop Service เพ่ือให้ผู้สูงอายุได้รับการดูแลรักษากลุ่ม อาการสูงอายุ (geriatric syndromes) และปญั หาสุขภาพท่ีสำคัญอย่างเหมาะสม หลังจากที่ได้รบั การคัดกรอง สุขภาพ ได้รับการส่งเสริม หรือ คงสมรรถภาพทางร่างกาย สมอง สุขภาพจิต และสังคมของผู้สูงอายุ ป้องกัน หรือลดการเกิดภาวะพึ่งพิงในผู้สูงอายุ จังหวัดลำปางจึงได้กำหนดแนวทางการพัฒนาตามนโยบายดังกล่าว ท้ังนี้ คลินิกผู้สูงอายุระดับคุณภาพจังหวัดลำปางมีโรงพยาบาลระดับ M2 ข้ึนไป จำนวน 3 แห่ง ได้แก่ โรงพยาบาลศูนย์ลำปาง, โรงพยาบาลเกาะคา และ โรงพยาบาลเถิน ได้มีการถ่ายทอดนโยบาย และแนวทาง การดำเนินงานจากกรมการแพทย์ ด้วยระบบ conference และเอกสารแนวทางการดำเนินงานแล้วน้ัน โรงพยาบาลทุกแห่งประเมินตนเองโดยผ่านเว็บไซต์คลินิกผู้สูงอายุของสถาบันเวชศาสตร์ฯ ผู้สูงอายุเรียบร้อย แล้วน้ัน ผลการประเมินตนเองตามเกณฑ์ประเมินคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ โรงพยาบาลระดับ M2 ข้ึนไป ผ่านเกณฑ์ ระดับคุณภาพ (ดี) 1 แห่ง ได้แก่ โรงพยาบาลลำปาง ส่วนโรงพยาบาลเถิน และเกาะคา ยังไม่ผ่านเกณฑ์ระดับ คุณภาพ แต่ผ่านเกณฑ์ในระดับพื้นฐาน และโรงพยาบาลชุมชนอีก 10 แห่ง ผ่านเกณฑ์ในการจัดต้ังคลินิก ระดบั พื้นฐาน ให้ดำเนินงานวางพฒั นาปรบั ปรุงสว่ นขาดใหไ้ ดต้ ามเกณฑ์ระดับคุณภาพตอ่ ไป สำนักงานสาธารณสขุ จงั หวดั ลำปาง ตรวจราชการและนิเทศงาน รอบท่ี 2 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564
156 การตรวจราชการและนิเทศงาน กรณปี กติ รอบที่ 2 เขตสขุ ภาพที่ 1 จังหวดั ลำปาง 4.3 การพัฒนาระบบการสง่ เสรมิ สุขภาพดูแลผู้สูงอายุระยะยาว (Long Term Care) ในชุมชน สถานการณ์ : จงั หวัดลำปาง มี อปท.ที่เขา้ รว่ มโครงการ LTC.ปี 59 - 64 รวมจำนวน 64 แห่ง จาก 100 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 64.00 ของ กปท.ท้ังหมด , มีหน่วยบริการสาธารณสุข ในพื้นท่ี LTC.ทั้งหมด 106 แห่ง จาก ท้ังหมด 154 แห่ง คิดเป็น ร้อยละ 68.83 อำเภอท่ีดำเนินการ LTC. ครอบคลุมท้ังอำเภอมากท่ีสุด ร้อยละ 100.00 จำนวน ได้แก่ อำเภอแจห้ ม่ และเถิน ตาราง 14 สถานการณใ์ นภาพรวมการเขา้ ร่วมตำบล LTC. จังหวัดลำปาง ลำดับ อำเภอ จำนวน กปท. จำนวน อปท.รว่ ม LTC (แห่ง) รวม คิดเป็นรอ้ ยละ ทั้งหมด (แห่ง) ปี 59 ปี 60 ปี 61 ปี 62 ปี 63 ปี 64 1 เมืองลำปาง 15 2 5 1 0 0 0 8 53.33 2 แมเ่ มาะ 3 1 1 0 0 0 0 2 66.67 3 เกาะคา 10 2 3 0 0 0 0 5 50.00 4 เสรมิ งาม 5 2 1 0 0 1 0 4 80.00 5 งาว 10 1 4 1 0 0 0 6 60.00 6 แจ้ห่ม 8 1 3 3 0 1 0 8 100.00 7 วังเหนือ 9 1 2 0 0 0 0 3 33.33 8 เถิน 8 1 5 1 0 0 1 8 100.00 9 แมพ่ ริก 4 2 1 0 0 0 0 3 75.00 10 แม่ทะ 10 2 2 2 0 0 0 6 60.00 11 สบปราบ 5 1 2 0 0 0 0 3 60.00 12 หา้ งฉัตร 8 2 3 0 0 0 0 5 62.50 13 เมอื งปาน 5 1 2 0 0 0 0 3 60.00 รวม 100 19 34 8 0 2 1 64 64.00 แหลง่ ขอ้ มลู :รายงานสรุป อปท. เขา้ รว่ มโครงการสปสช. วนั ที่ 31 พฤษภาคม 2564 สำนกั งานสาธารณสุขจังหวดั ลำปาง ตรวจราชการและนเิ ทศงาน รอบท่ี 2 ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564
157 การตรวจราชการและนิเทศงาน กรณีปกติ รอบที่ 2 เขตสขุ ภาพที่ 1 จงั หวัดลำปาง ตาราง 15 พื้นทีเ่ ป้าหมายองค์กรปกครองส่วนท้องถน่ิ จังหวดั ลำปาง ทเี่ ขา้ ร่วมโครงการ Long Term Care : LTC ปี 2559-2564 No. อำเภอ พ้ืนทเี่ ป้าหมาย พ้นื ท่เี ป้าหมาย พ้นื ที่เปา้ หมาย พ้ืนทเี่ ปา้ หมาย พ้นื ทเ่ี ปา้ หมาย รวม ปี 2559 ปี 2560 ปี 2561 ปี 2563 ปี 2564 1 เมืองลำปาง 1) ทม.เขลางค์ 1) เทศบาลนครลำปาง 1) อบต.พชิ ยั นคร 2) อบต.บา้ นเปา้ 2) ทม.พิชัย 3) อบต.บา้ นเสด็จ 8 4) อบต.บุญนาค พัฒนา 5) ทต.บ่อแฮ้ว 2 แมเ่ มาะ 1) ทต.แมเ่ มาะ 1) อบต.สบป้าด 2 3 เกาะคา 1) ทต.ศาลา 1) ทต.ท่าผา 2) ทต.เกาะคา 2) อบต.ใหมพ่ ฒั นา 5 3) ทต.วงั พรา้ ว 4 เสรมิ งาม 1) ทต.เสริมงาม 1) ทต.เสรมิ ซ้าย 1) ทต.ท่งุ งาม 4 2) อบต.เสริมขวา 5 งาว 1) อบต.บ้านหวด 1) อบต.แม่ตีบ 1) ทต.หลวงเหนอื 2) ทต.หลวงใต้ 5 3) อบต.ปงเตา 4) อบต.บา้ นรอ้ ง 6 แจ้ห่ม 1) อบต.แมส่ ุก 1) อบต.เมืองมาย 1) ทต.บา้ นสา 1)ทต.ทงุ่ ผง้ึ 2) อบต.แจ้ห่ม 2) อบต.ปงดอน 8 3) ทต.แจห้ ่ม 3) อบต.วเิ ชตนคร 7 วังเหนือ 1)ทต.วงั เหนือ 3 1)อบต.รอ่ งเคาะ 2) อบต.ทุ่งฮัว้ 8 เถิน 1) ทต.แมม่ อก 1) ทต.เถนิ บรุ ี 1) อบต.แม่วะ 2) ทต.เวียงมอก 1)อบต.แมถ่ อด 3) อบต.นาโปง่ 8 4) อบต.แมป่ ะ 5) ทต.ลอ้ มแรด 9 แม่พริก 1) ทต.แมพ่ รกิ 1) อบต.แมพ่ รกิ 3 2) ทต.แมป่ ุ 10 แมท่ ะ 1) ทต.นาครัว 1) อบต.หัวเสอื 1) ทต.แมท่ ะ 6 2) ทต.น้ำโจ้ 2) ทต.ป่าตนั นาครวั 2) อบต.ดอนไฟ 11 สบปราบ 1) ทต.สบปราบ 1) อบต.สบปราบ 3 2) อบต.สมัย 12 ห้างฉัตร 1) ทต.ห้างฉัตร 1) อบต.เวียงตาล 2) ทต.ปงยางคก 2) ทต.เมอื งยาว 3) ทต.หา้ งฉตั รแม่ตาล 5 13 เมอื งปาน 1) ทต.เมืองปาน 1) อบต.หวั เมอื ง 3 2) อบต.ทงุ่ กว๋าว รวม 19 แหง่ 34 แห่ง 8 แหง่ 2 แห่ง 1 แห่ง 64 แหลง่ ข้อมลู : รายงานสรุป อปท. เขา้ รว่ มโครงการสปสช. วนั ที่ 31 พฤษภาคม 2564 สำนักงานสาธารณสขุ จงั หวัดลำปาง ตรวจราชการและนเิ ทศงาน รอบที่ 2 ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564
การตรวจราชการและนเิ ทศงาน กรณ ตาราง 16 ผลการดำเนนิ งานพ้ืนท่ตี ำบล Long Term Care ปี 2564 จงั หวัดลำปาง จ ตวั ช้ีวัด อำเภอ เมอื ง แมเ่ มาะ เกาะคา เสรมิ งาม งาว 1. ตำบล Long Term Care เป้าหมาย 19 5 9 4 10 ผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 95 ผลงาน 18 5 8 4 10 รอ้ ยละ 94.74 100.00 88.89 100.00 100.00 2. ผู้สงู อายไุ ด้รับการประเมนิ และจัดทำแผนการดแู ลราย เป้าหมาย 433 66 74 140 45 บุคคล ร้อยละ 80 425 48 74 140 45 ผลงาน 98.15 72.73 100.00 100.00 100.00 3. จำนวน Care Manager รอ้ ยละ และCare giver ผ่านการอบรม CM 45 8 11 7 13 CG 161 58 101 51 128 สำนกั งานสาธารณสุขจังหวดั ลำปาง ตรวจราชก
158 ณปี กติ รอบท่ี 2 เขตสุขภาพท่ี 1 จงั หวดั ลำปาง จำแนกรายอำเภอ แจห้ ม่ วังเหนือ เถนิ แมพ่ รกิ แม่ทะ สบปราบ ห้างฉัตร เมอื งปาน ภาพรวม 7 8 8 4 10 4 7 5 100 7 8 849 4 6 5 96 100.00 100.00 100.00 100.00 90.00 100.00 85.71 100.00 96.00 92 49 207 149 301 70 148 159 1,933 92 49 196 149 301 70 148 159 1,896 100.00 100.00 94.69 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 98.09 15 11 21 9 14 5 14 9 182 86 41 170 70 130 107 96 40 1,239 แหลง่ ขอ้ มลู :รายงานข้อมลู LTC วนั ท่ี 31 พฤษภาคม 2564 การและนิเทศงาน รอบที่ 2 ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564
การตรวจราชการและนเิ ทศงาน กรณ ตาราง 17 สถานการณก์ ารโอนเงินตามหน่วยจัดบรกิ ารทรี่ ับโอนเงนิ พนื้ ท่ีเปา้ หมายที่เข ลำดับ อำเภอ จำนวนพืน้ ทที่ เ่ี ข้าร่วม (แหง่ ) หน่วย หนว่ ยสธ. (แหง่ ) ปี ปี ปี ปี ปี ปี รวม 59 60 61 62 63 64 1 เมอื งลำปาง 2 5 1 0 0 0 8 2 อปท.(8 หน่วยบริการ) 2 แม่เมาะ 1 1 0 0 0 0 2 0 3 เกาะคา 2 3 0 0 0 0 5 0 4 เสรมิ งาม 2 1 0 0 1 0 4 4 อปท. (6 หน่วยบริการ) 5 งาว 1 4 1 0 0 0 6 1 อปท. (1 หน่วยบรกิ าร) 6 แจ้ห่ม 1 3 3 0 1 0 8 0 7 วงั เหนอื 1 2 0 0 0 0 3 0 8 เถนิ 1 5 1 0 0 1 8 0 9 แม่พรกิ 2 1 0 0 0 0 3 3 อปท. (6 หนว่ ยบรกิ าร) 10 แมท่ ะ 2 2 2 0 0 0 6 1 อปท. (2 หนว่ ยบริการ) 11 สบปราบ 1 2 0 0 0 0 3 2 อปท. (1 หน่วยบรกิ าร) 12 หา้ งฉตั ร 2 3 0 0 0 0 5 2อปท. (3 หนว่ ยบรกิ าร) 13 เมืองปาน 1 2 0 0 0 0 3 2 อปท. (3 หนว่ ยบริการ) รวม 19 34 8 0 2 1 64 17 อปท. (30 หนว่ ยบริการ) สำนกั งานสาธารณสขุ จงั หวัดลำปาง ตรวจราชก
159 ณปี กติ รอบที่ 2 เขตสขุ ภาพที่ 1 จงั หวัดลำปาง ข้าร่วมโครงการ Long Term Care : LTC ปี 2559-2564 ยจัดบรกิ ารท่ีรับโอน พนื้ ท่ีค้างโอน (แห่ง) ศูนยผ์ สู้ งู อายุ รวม (แหง่ ) รอ้ ยละ หมายเหตุ 6 8 100.00 2 2 100.00 5 5 100.00 0 4 100.00 4 5 83.33 1/อบต.บา้ นร้อง รอตดิ ตามยอดจาก ธกส. 7 7 87.50 1/ทต.บา้ นสา รอตดิ ตามยอดจาก ธกส. 3 3 100.00 8 8 100.00 0 3 100.00 5 6 100.00 1 3 100.00 3 5 100.00 1 3 100.00 ) 45 62 96.88 2 ขอ้ มลู จาก :รายงานสรปุ อปท. เข้าร่วมโครงการสปสช. 31 พฤษภาคม 2564 การและนิเทศงาน รอบท่ี 2 ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564
160 การตรวจราชการและนเิ ทศงาน กรณปี กติ รอบท่ี 2 เขตสขุ ภาพท่ี 1 จังหวดั ลำปาง - พ้ืนที่ดำเนินงาน LTC. ปี 2559 ท้ังหมด 19 อปท. ปี 2560 มี 34 อปท. ,ปี 2561 มี 8 อปท. , ปี 2562 ไม่มีอปท.สมัครเข้าร่วม ปี 2563 สมัครเข้าร่วม 2 อปท. และปี 2564 สมัครเข้าร่วม 1 อปท. รวม ทง้ั สน้ิ 64 อปท. - ทุกรายมีการจัดทำ Care plan ร้อยละ 98.09 โดย Care manager จำนวน 182 คน รวมท้ังได้รับการ ดูแลจาก Care giver 1,239 คน ในสัดส่วนการดูแลเพียงพอและค่อนข้างจะสูงกว่าสัดส่วนท่ีกำหนด เนื่องจาก จำนวน CM เป็นไปตามหน่วยบริการ ซ่ึงมีสถานบริการในพ้ืนที่ขาด CM 20 แห่ง เน่ืองจากลาออก/ย้าย สำหรับ Cg ยังไม่ครอบคลุมทุกตำบลแต่ละอำเภอมีแผนการอบรมให้ครอบคลุมตามหมู่บ้าน/ตำบล ตลอดจนมีการ จัดทำประชุม Case Conference ในกรณีท่ีพบปัญหาท่ีจำเป็นต้องให้ความช่วยเหลือเฉพาะด้าน โดย คณะกรรมการบริหารจัดการดูแลผสู้ ูงอายทุ ี่มภี าวะพึ่งพิงในชมุ ชน ในทกุ พื้นท่ตี ำบล * CM : ผู้สูงอายุ =1:17 (กรมอนามัยกำหนด 1 : 40 คน) * Cg: ผส. = 1:3 (กรมอนามยั กำหนด 1 : 5 - 10 คน) * CM: Cg = 1:7 (กรมอนามัยกำหนด 1 : 5 - 10 คน) - สำหรับ Care giver มีการประสานงบประมาณและการทำงานกับ อปท. และกศน. ในการจัดอบรม ให้ครอบคลุมทุกตำบล จังหวัดลำปาง ยังไม่ได้อบรมอีก 5 อำเภอ 20 ตำบล (อ.เมือง (6) เกาะคา (2) งาว (3) แม่ทะ (4) วังเหนือ (5)) มีแผนการดำเนินการอบรมเพิ่มเติมในปีงบประมาณ 2564 ดำเนินการแล้ว 3 อำเภอ อีก 2 อำเภอ อยู่ระหว่างดำเนินการ เนื่องจากติดสถานการณ์โควิด -19 และในการฟ้ืนฟูในแต่ละอำเภอได้รับ งบประมาณจาก UC และ กสต. ในการดำเนินการอบรมฟ้ืนฟู cg ในพื้นที่ โดยเพิ่มเติมประเด็นการดูแลผู้ป่วย ภาวะสมองเสื่อม และภาวะพลัดตกหกลม้ เข้าไปในหลกั สูตรอบรม Care giver และฟื้นฟู Cg 4 วัน มีการจัดทำ แผนการดแู ลผ้สู งู อายเุ ฉพาะรายในทุกตำบล - มีการโอนงบประมาณไปยังหน่วยจัดบริการเพ่ือใช้ในการดูแลผู้สูงอายุ ในโครงการแล้วจำนวน 62 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 96.88 โดยโอนผ่านหน่วยบริการสาธารณสุขจำนวน 17 (30 หน่วยบริการ) และโอนผ่านศูนย์ ผู้สูงอายุ จำนวน 45 แห่ง ยังไม่ได้โอนงบประมาณ จำนวน 2 แห่ง (อบต.บ้านร้อง,ทต.บ้านสา) คิดเป็นร้อยละ 3.12 เนอ่ื งจากอบต.บ้านร้อง และ ทต.บ้านสา รอตดิ ตามยอดจาก ธกส. - การประเมินตำบล LTC. ในชุมชนตามเกณฑ์ 6 องคป์ ระกอบ ผ่านเกณฑ์ 96 ตำบล จากทั้งหมด 100 ตำบล คิดเป็นร้อยละ 96 ที่ไม่ผ่านเกณฑ์อีก 4 ตำบล ส่วนใหญ่พบไม่ผ่านในองค์ประกอบที่ 6 เนื่องจากขาด CM และ CG ทำแผนพัฒนาตอ่ ไป - สำหรับผู้สูงอายุท่ีอยู่นอกพ้ืนท่ีเป้าหมาย LTC. มีการดูแลตามระบบท่ีวางไว้ตามแผนการดูแล ต่อเน่ืองที่บ้าน และติดตามเย่ียมโดยบูรณาการกับการดำเนินงาน PCC ,HHC และ FCT. ภาคีเครือข่าย ทอ้ งถน่ิ หนว่ ยงานอนื่ ๆ และชมุ ชนดแู ลผ้สู ูงอายตุ ามแผนรายบุคคลอย่างมีส่วนรว่ ม - จังหวัดลำปาง ได้บูรณาร่วมกับท้องถิ่นในการจัดอบรมพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครบริบาลท้องถิ่น (อสบ.) มีผู้ผ่านการอบรมรวมท้ังสิ้น 181 คน 91 อปท. โดยมี Care Manager ระดับอำเภอ ตำบล และทีมสหวิชาชีพ ร่วมเป็นวิทยากรในการอบรมและในการฝึกปฏิบัติงานในชุมชน ตลอดจนมีการกำหนดบทบาทหน้าท่ีของ อปท., สถานบริการสาธารณสุข และ อสบ.ตามมาตรฐานการดูแลด้านสาธารณสุขอย่างชัดเจน ซ่ึงได้มีการประชุม ซักซ้อมแนวทางการดำเนินโครงการอาสาบริบาลท้องถ่ินเพื่อดูแลผู้สูงอายทุ ี่มีภาวะพ่ึงพิง ร่วมกับ ผู้อำนวยการ กองสาธารณสุขและผู้รับผิดชอบงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินทุกแห่ง และแจ้งชี้แจงแนวทางการ ดำเนินงานใหท้ กุ โรงพยาบาลและสาธารณสุขอำเภอสนับสนุนการทำงานของอาสาบริบาลทอ้ งถ่ินรว่ มกับองคก์ ร ปกครองส่วนท้องถิ่นโดยให้ Care Manager และเจ้าหน้าท่ีสาธารณสุขในพื้นที่ร่วมในคณะทำงานจัดทำ แผนการดูแลรายบุคคล Care Plan กำกับ ติดตาม ประเมินผล (เขียน Care Plan และประเมินผลผู้มีภาวะ พึ่งพิงหลังจากที่ได้รับการดูแลของอาสาบริบาลตาม Care Plan) อาสาบริบาลท้องของจังหวัดลำปาง จำนวน 181 คน ดแู ลผสู้ ูงอายทุ มี่ ภี าวะพ่ึงพิงตาม Care Plan จำนวน 1,098 คน สำนกั งานสาธารณสขุ จังหวดั ลำปาง ตรวจราชการและนิเทศงาน รอบท่ี 2 ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564
161 การตรวจราชการและนิเทศงาน กรณีปกติ รอบท่ี 2 เขตสุขภาพที่ 1 จงั หวดั ลำปาง 5. ปญั หา อุปสรรค และแนวทางแก้ไข ปัญหา อปุ สรรค แนวทางแกไ้ ข 1. โปรแกรม/แอปพลิเคชั่น ท่ีกระทรวง กรม สถาบัน ผลิต 1. เสนอให้ส่วนกลางพิจารณาใช้โปรแกรมร่วมกันเพื่อ มาเพ่ือใช้ในการเก็บข้อมูลผูสูงอายุ มีความหลากหลาย ไม่มี ฐานข้อมูลผู้สูงอายุเดียวกัน อาจเพิ่มการแสดงผลงาน การบูรณาการ ทำให้เป็นภาระงานแก่ผู้ปฏิบัติ และบาง รายงานหน้า HDC ของส่วนกลาง เพื่อลดความซ้ำซ้อนใน แอปพลิเคชัน่ ยากตอ่ การเขา้ ถึงส่ือในผสู้ ูงอายุ การเก็บรายงานแยก ลดภาระผู้ปฏิบัติ 2. การประเมินพฤติกรรมที่พึงประสงค์ในผู้สูงอายุและการ 2. เสนอให้ส่วนกลางไม่ควรประเมินพฤติกรรมซ้ำๆทุกปี ให้ ประเมินตำบลดูแลระยะยาว ไมควรมีการปรับเปล่ียนเกณฑ์ กำหนดรูปแบบกิจกรรมแก้ไขปัญหาข้อท่ีไม่ผ่านพฤติกรรม ทุกๆปี ท่ีพึงประสงค์น้ันๆ ให้ชัดเจนและมีงบประมาณสนับสนุน การดำเนินงานให้พน้ื ที่ 3. เนื่องด้วยเกิดสถานการณ์ฉุกเฉิน ในสถานการณ์การแพร่ 3. การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ผ่านการติดตามดูแลที่บ้าน ระบาดโควิดระลอกใหมท่ ำให้การดำเนินงานได้ชะลอกิจกรรม โดยอสม./มอค. /FCT/ญาติผู้ดูแล/อสบ. และหากิจกรรม ลงไป และมีข้อจำกัดในการรวมกลุ่มทำกิจกรรมในชมรม ทดแทนที่เหมาะสมทำท่ีบ้าน ผสู้ งู อายุ /โรงเรียนผสู้ งู อายุ 4. ในการปรับสภาพแวดล้อมบ้าน บางรายท่ีได้รับคำแนะนำ 4. จดั เตรียมรายช่ือกลุม่ เสยี่ งผู้สงู อายุบา้ นที่ไม่ผา่ นเกณฑ์ ยังไม่สามารถปรับเองได้ ต้องได้รับการสนับสนุนจากภาครัฐ เรียงลำดับกอ่ น - หลงั เสนอขอรับงบประมาณจากแหลง่ และชุมชน ทุนตา่ งๆ ในปตี ่อไป 6. แผนการดำเนินการต่อไป 6.1 เน่ืองด้วยสถานการณ์การแพร่ระบาดโควิดระลอกใหม่ทำให้การดำเนินงานได้ชะลอกิจกรรมลงไป และมี ข้อจำกัดในการรวมกลุ่มทำกิจกรรมในชมรมผู้สูงอายุ /โรงเรียนผู้สูงอายุ ทำให้การดำเนินการแผนการส่งเสริม สุขภาพดูแลผสู้ ูงอายุรายบุคคลในชมุ ชน (IWP) ไม่เปน็ ไปตามเป้าหมาย ปัจจุบนั สถานการณ์ดังกล่าวดีข้ึนจึงต้อง เร่งรัดตดิ ตามใหท้ ุกแห่งดำเนินการให้เปน็ ไปตามเป้าหมายต่อไป 6.2 ทบทวนและตดิ ตามขอ้ มูลเชงิ ลึกโดยการเยย่ี มบ้านผู้สูงอายุร่วมกบั ทีมสหวชิ าชพี ในรายทไ่ี ดร้ ับการคัดกรอง Thai FRAT & House risk แลว้ เกดิ การหกลม้ กระดูกสะโพกหัก 6.3 เพิ่มความครอบคลุมในการคัดกรอง Thai FRAT & House risk ให้มากข้ึน และสร้างความตระหนักเรื่อง ภาวะการพลดั ตกหกล้มให้กับผ้สู ูงอายุ 6.4 ติดตามความต่อเน่ืองในการทำกิจกรรมตามชุดโปรแกรมพัฒนาสมรรถนะทางร่างกายและส่ิงแวดล้อม และ ประเมิน Thai FRAT & House risk ครงั้ ท่ี 2 (กรกฏาคม 2564) 6.5 พฒั นาคลินกิ ผสู้ ูงอายุระดับพืน้ ฐานสรู่ ะดับคุณภาพในโรงพยาบาลระดับ M2 ทง้ั 2 แห่ง (รพ.เกาะคาและเถนิ ) ผรู้ ายงาน นางสาวปาจรยี ์ แขไข ตำแหน่ง นกั วชิ าการสาธารณสขุ ปฏิบัตกิ าร กลมุ่ งานสง่ เสรมิ สขุ ภาพ สำนกั งานสาธารณสขุ จงั หวัดลำปาง โทร 054 227527-409 ,093-2211731 E-mail: [email protected] สำนกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั ลำปาง ตรวจราชการและนเิ ทศงาน รอบที่ 2 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564
การตรวจราชการและนเิ ทศงาน กรณปี กติ รอบที่ 2 เขตสุขภาพท่ี 1 จงั หวัดลาํ ปาง 162 Area based ประเดน็ การตรวจราชการ ปญหาสาํ คญั ในเขตพืน้ ท่สี ขุ ภาพ : การปองกนั ควบคุมวณั โรค ตวั ช้วี ดั /KPI คา เปาหมาย 1. อัตราความครอบคลมุ การข้นึ ทะเบียนรักษาผูปวยวัณโรครายใหมและกลับเปนซํ้า (TB treatment coverage) รอยละ 85 2. อตั ราผลสําเร็จของการรกั ษาผปู วยวณั โรคปอดรายใหม (Success rate) รอ ยละ 88 1. สถานการณ/ วิเคราะหบรบิ ท/ปญ หา วัณโรคเปนปญหาสาธารณสุขที่สําคัญของจังหวัดลําปาง มีอัตราความสําเร็จของการรักษาตํ่า และ อัตราการเสยี ชีวิตของผปู วยสูงกวาคา เปา หมาย จากสถานการณผปู วยวณั โรคยอนหลัง 5 ป มีแนวโนมพบอัตรา ปว ยเพิ่มสงู ขึ้น เน่อื งจากการเรงรัดคดั กรองโดยถา ยภาพรังสีทรวงอกในกลุมเส่ียงทุกราย และมีการใช Mobile X-Rays เชงิ รุกในชมุ ชนตัง้ แตปงบประมาณ 2562 เปนตนมา โดยในปงบประมาณ 2559–2563 พบอัตราปวย 88.71, 96.38, 106.91, 109.57 และ 123.37 คิดเปน อตั ราความครอบคลุมการขน้ึ ทะเบยี นรักษาผูปวยวัณโรค รายใหมและกลับเปนซ้ํา (Treatment coverage) รอยละ 55.41, 66.11, 72.24, 74.77 และ 81.80 ตามลาํ ดบั (คาคาดประมาณ 150 ตอแสนประชากร) ดังรูป อัตราปวยวัณโรครายใหมแ ละกลบั เปน ซํา้ อตั ราความครอบคลุมขึน้ ทะเบียนรักษาวัณโรค ตอ แสนประชากร รอ ยละ อัตราผลสําเร็จของการรักษาวัณโรคปอดรายใหม (PA) ยอนหลัง 5 ป ตั้งแตป 2559 –2563 รอยละ 75.49,75,79.69,73.47 และ 73.65 อัตราการเสียชีวิต รอยละ 18.63, 20.59, 17.07,19.73 และ 14.20 ตามลําดับ โดยยังคา งผูป วยอยูร ะหวา งการรักษา 7 ราย (รอยละ 4.7) และมีผลสําเร็จของการรักษาวัณโรคราย ใหมและกลับเปนซํ้า (NTP) ยอนหลัง 5 ป ตั้งแตป 2559 -2563 รอยละ 79.8, 76.29, 81.27, 79.48 และ 68.76 อตั ราการเสยี ชวี ิต รอยละ 14.66 , 18.41, 13.92, 15.60 และ 14.03 ตามลาํ ดบั 2. แนวทาง/กจิ กรรมและผลการดําเนนิ งาน การคัดกรอง 1. ใช Mobile X-Rays คัดกรองเชงิ รุกในชุมชนทุกอําเภอ 2. เพิ่มกลุมเปาหมาย CXR จํานวน 4 กลุม ไดแก (1) ผูมีผลฟลมผิดปกติ ในปงบประมาณ 2563 (2) เคยปวยวัณโรค ป 2557-2561 (3) ผูสูงอายุมีโรคความดันโลหิตสูง และ ผูสูงอายุมี BMI18.5-20 ที่ไมเคย CXR ในป 2564 และมาตรวจรักษาในโรงพยาบาล (ดําเนินการตั้งแต 1 เมษายน 2564 เปนตนไป) เนื่องจาก วเิ คราะหข อ มลู ผปู ว ยขึ้นทะเบียนรักษาตงั้ แต 1 ตลุ าคม 2563 ถึง 16 กมุ ภาพันธ 2564 พบกลุมน้ีรอยละ 11.6 ของผูป วยขึน้ ทะเบยี นท้ังหมด และเสียชวี ติ รอ ยละ 8.2 3. ในกลุมฟลมผิดปกติ และผลตรวจเสมหะเปนลบ ใหปรึกษาอายุรแพทย และติดตาม CXR ทุก 6 เดือน และจดั ทาํ ทะเบยี น 4. เนนคุณภาพการเก็บเสมหะ โดยการสอน มอค. และญาติ สาํ นักงานสาธารณสุขจงั หวัดลําปาง ตรวจราชการและนเิ ทศงาน รอบที่ 2 ประจาํ ปง บประมาณ พ.ศ.2564
การตรวจราชการและนเิ ทศงาน กรณปี กติ รอบที่ 2 เขตสขุ ภาพที่ 1 จังหวัดลาํ ปาง 163 การรกั ษา 1. ประเมิน Risk score และดูแลรกั ษาตามแนวปฏิบตั ิกลมุ High Risk และ Intermediate Risk ดังน้ี - ปรึกษาอายุรแพทยต ามโซนทกุ ราย - เจาะ LFT ดังนี้ เดือนแรกทุก 1 สัปดาห ในเดือนที่ 2 เจาะทุก 2 สัปดาห และประเมิน Risk score ทุก visit เพราะคา LFTอาจมีการเปลย่ี นแปลง - Close monitor โดยเจาหนาที่สาธารณสขุ ทกุ รายในระยะเขม ขน ทุกวนั จนกวา อาการจะคงที่ - Admit หรอื Home ward จนกวา อาการจะคงท่ี 2. แตงต้ังทมี TB Case management และแพทยรบั ผดิ ชอบทกุ โรงพยาบาล 3. M&M Conference ผลงานการคดั กรองโดย CXR ขอ มูล ณ วันท่ี 16 มิถุนายน 2564 จํานวน 80,987 ราย (รอยละ 91.5) กลมุ เส่ียงทีค่ ัดกรองไดครบ 100 เปอรเซ็นต มีเพียงกลุมเดียวคือกลุมผูตองขัง กลุมท่ีคัดกรองไดตํ่ากวารอยละ 90 ซง่ึ ตองเรง รัดคดั กรองไดแ ก กลุมติดสรุ า และประชากรขามชาติ จากการคัดกรองพบผลผิดปกตเิ ขาไดกับวัณ โรค 4,832 ราย (รอยละ 6.0) สงเสมหะตรวจ AFB 4,719 ราย ผลบวก 216 ราย ผลลบ 4,503 ราย สง ตรวจ X-pert 4,108 ราย (รอยละ 91.2) พบผล M Detected 222 ราย วินิจฉัยวัณโรคปอด 563 ราย (รอย ละ 0.7) โดยเปน กลมุ เปา หมายการคดั กรอง 402 ราย (รอ ยละ 71.4) นอกกลมุ เปาหมายการคัดกรอง 161 ราย (รอ ยละ 28.6) ไดแ ก อายนุ อยกวา 60 ปแ ละมี BMI ต่ํากวา 18.5 38 ราย ผูสูงอายุ 36 ราย(BMI18.5-20=11 ราย) และผูปวยเบาหวานอายุต่ํากวา 60 ป 24 ราย โรคเรื้อรังอื่นๆ 47 ราย และไมทราบความเส่ียง 16 ราย เมื่อแยกตามประเภทการคนพบผูปว ย พบวาพบผูปว ยจากการ walk in มากกวาการคัดกรองและ โดยพบจาก การ walk in รอ ยละ 59.3 คัดกรอง รอ ยละ 40.7 รายละเอยี ดผูป วยวัณโรคปอดที่ข้นึ ทะเบียนรกั ษา ดงั ตาราง กลมุ เสี่ยงเปา หมาย จาํ นวน ผลงาน CXR วินิจฉยั TB (P) พบจากการคัดกรอง Walk in (คน) จํานวน รอยละ จํานวน รอ ยละ จํานวน รอยละ จาํ นวน รอ ยละ ติดสรุ า 989 845 85.4 33 3.9 2 6.1 31 93.9 เคยปว ยTB ป5 7-61 1,421 1,298 91.3 31 2.4 21 67.7 10 32.3 ผสู งู อายุ HT 5,342 4,996 93.5 32 0.6 18 56.3 14 43.7 ผูสูงอายุ BMI<18.5 14,647 13,376 91.3 117 0.9 54 46.2 63 53.8 5,783 5,256 90.9 27 0.5 11 40.7 16 59.3 ผสู งู อายุ COPD HIV 3,986 3,957 99.3 26 0.7 9 34.6 17 65.4 ผส มั ผัสรายใหม 557 554 99.5 7 1.3 5 71.4 2 28.6 0.3 3 50.00 3 50.00 ผูสัมผัสยอ นหลงั 3ป 2,319 2,100 90.6 6 27,428 24,316 88.7 55 0.2 36 65.5 19 34.5 ผูสงู อายุ DM 4,402 4,402 100.0 28 0.6 26 92.9 2 7.1 ผูตองขัง CXR ผิดปกติป 63 1,649 1,584 96.1 9 0.7 3 33.3 6 66.7 ผูสงู อายุ CKD 12,510 11,524 92.1 23 0.2 16 69.6 7 30.4 5 0.4 3 60.0 2 40.0 แรงงานขามชาติ 2,000 1,410 70.5 3 0.1 2 66.7 1 33.3 เจา หนา ท่สี าธารณสขุ 5,431 5,367 98.8 0.5 209 52.0 193 48.0 88,464 80,987 91.5 402 รวม 11 ผูสูงอายุ BMI18.5-20 กลมุ อน่ื 150 หมายเหตุ ผลงานการเฝาระวังเชิงรุกในโรงพยาบาลในกลุมผูสูงอายุ 60 ปขึ้นไปท่ีมี BMI ระหวาง 18.5-20 ระหวางวนั ที่ 1 เมษายน ถึง 16 มิถนุ ายน 2564 จาํ นวน 282 รายพบปว ยวัณโรค 2 ราย (รอยละ 0.7) สํานกั งานสาธารณสขุ จังหวดั ลาํ ปาง ตรวจราชการและนเิ ทศงาน รอบท่ี 2 ประจาํ ปงบประมาณ พ.ศ.2564
การตรวจราชการและนเิ ทศงาน กรณปี กติ รอบท่ี 2 เขตสุขภาพท่ี 1 จังหวัดลาํ ปาง 164 การสง ตรวจ Gene-XPert กรณีพบผล CXR สงสยั วณั โรค แตผลตรวจ AFB เปน ลบ ดงั ตาราง All สงสัย สงตรวจ AFB สงตรวจ Gene-XPert Forms โรงพยาบาล Tb จํานวน Pos. Neg. จาํ นวน รอ ยละ Detect Not Detect B+ B- EP ลาํ ปาง 1,350 1,283 93 1,190 1,190 100.0 55 1,135 148 43 33 224 แมเ มาะ 100 100 6 79 79 100.0 3 76 16 6 1 23 เกาะคา 427 406 18 390 390 100.0 20 370 38 5 11 54 เสริมงาม 338 338 6 326 326 100.0 15 311 21 10 3 34 งาว 245 245 11 235 235 100.0 13 222 24 7 2 33 แจหม 450 450 10 440 382 86.8 20 362 30 5 4 39 วงั เหนือ 274 270 18 252 158 62.7 6 152 24 1 2 27 เถิน 213 213 12 201 201 100.0 9 192 21 7 4 32 แมพริก 77 77 0 76 64 84.2 3 61 0 3 0 3 แมทะ 552 552 15 540 474 87.8 34 440 49 7 3 59 สบปราบ 160 160 5 155 155 100.0 5 150 10 11 3 24 หางฉตั ร 505 505 16 499 342 68.5 35 307 51 4 6 61 เมืองปาน 81 60 4 56 54 96.4 2 52 6 5 1 12 คา ยฯ 60 60 2 58 58 100.0 2 56 4 7 3 14 รวม 4,832 4,719 216 4,503 4,108 91.2 222 3,886 442 121 76 639 จํานวนผูป วยขึ้นทะเบยี นรกั ษาวัณโรครายใหมและกลับเปน ซํา้ ปงบประมาณ 2564 รายอําเภอ ขอมูล ณ วนั ท่ี 16 มถิ ุนายน 2564 ดงั ตาราง จาํ นวน ขน้ึ ทะเบียน ปว ย ตาย อาํ เภอ เปาหมาย ราย(รอยละ) High Inter Low High Inter Low เมือง 339 233 (68.7) 69 (29.6) 44 (18.9) 120 (51.5) 19 (27.5) 7 (15.9) 2 (1.7) แมเมาะ 60 25 (41.9) 10 (40.0) 4 (16.0) 11 (44.0) 0 0 2 (18.2) เกาะคา 89 55 (61.9) 9 (16.4) 19 (34.5) 27 (49.1) 0 00 เสรมิ งาม 46 34 (73.4) 10 (29.4) 8 (23.5) 16 (47.1) 2 (20.0) 2 (25.0) 1 (6.3) งาว 82 33 (40.3) 19 (57.6) 8 (24.2) 6 (18.2) 1 (5.3) 0 0 แจหม 58 40 (68.7) 10 (25.0) 12 (30.0) 18 (45.0) 3 (30.0) 1 (8.3) 0 วังเหนอื 66 27 (40.9) 8 (29.6) 7 (25.9) 12 (44.4) 3 (37.5) 1 (14.3) 0 เถนิ 88 32 (36.2) 6 (18.8) 7 (21.8) 19 (59.4) 5 (83.3) 1 (14.3) 1 (5.3) แมพริก 24 3 (12.6) 0 2 (66.7) 1 (33.3) 0 1 (50.0) 0 แมทะ 86 60 (69.5) 24 (40.0) 19 (31.7) 17 (28.3) 4 (16.7) 1 (5.9) 0 สบปราบ 40 24 (59.4) 10 (41.7) 3 (12.5) 11 (45.8) 1 (10.0) 0 0 หางฉตั ร 76 61 (80.6) 7 (11.5) 17 (27.9) 37 (60.7) 5 (71.4) 2 (11.8) 1 (2.7) เมืองปาน 50 12 (23.8) 5 (41.7) 1 (8.3) 6 (50.0) 3 (60.0) 0 0 รวม 1,104 639 (57.9) 187 (29.3) 151 (23.6) 301 (47.1) 46 (24.6) 16 (10.6) 7 (2.3) ผูปวยข้ึนทะเบียนรักษาวัณโรคทุกชนิดจํานวน 639 ราย คิดเปนรอยละ 57.9 ของคาคาดประมาณ 150 ตอประชากรแสนคน เปนผูปวยวัณโรคปอด 563 ราย วัณโรคนอกปอด 76 ราย อําเภอท่ีพบผูปวย ขึ้นทะเบียนรักษาสูงสุด 3 ลําดับไดแก อําเภอหางฉัตร เสริมงาม และแมทะ รอยละ 80.6, 73.4 และ 69.5 ตามลําดับ ประเมิน Risk Score ตามเกณฑจังหวัดลําปาง พบวาอยูในกลุม Low Risk จํานวน 301 ราย (รอย ละ 47.1) เสียชีวติ 7 ราย(รอ ยละ 2.3) Intermediate Risk จํานวน 151 ราย (รอยละ 23.6) เสียชีวิต 16 ราย (รอยละ 10.6) และ High Risk จํานวน 187 ราย (รอยละ 29.3) เสียชีวิต 46 ราย (รอยละ 24.6) เม่ือเทียบ เกณฑเขต จัดอยูในกลุม Low Risk 23 ราย (ติดสุรา 9 ราย BMI<18.5=3ราย COPD 2ราย DM=2ราย โรคหวั ใจ=2ราย ผูต องขงั =1ราย ผปู วยจิตเภท=1ราย ผูสงู อายุไมม ีโรครวม=3 ราย) สํานักงานสาธารณสขุ จงั หวัดลําปาง ตรวจราชการและนเิ ทศงาน รอบที่ 2 ประจําปงบประมาณ พ.ศ.2564
การตรวจราชการและนเิ ทศงาน กรณปี กติ รอบท่ี 2 เขตสุขภาพท่ี 1 จังหวดั ลาํ ปาง 165 ผูปวยวัณโรคปอดรายใหมและกลับเปนซํ้า จํานวน 563 ราย จําแนกตาม Risk Score ตามเกณฑ จังหวัดลําปาง พบวาอยูในกลุม High Risk 174 ราย (รอยละ30.9) Intermediate Risk จํานวน 138 ราย (รอยละ 24.5) และ Low Risk 251 ราย (รอยละ 44.6) โดยกลุม High Risk และกลุม Intermediate Risk ไดร ับการดูแลตามมาตรการการรกั ษาของเขตสุขภาพที่ 1 ทกุ ราย การวิเคราะหการเสยี ชวี ติ ของผูปว ยวณั โรคปอด การทบทวนการเสียชีวิตผูปวยวัณโรคปอดรายใหมและกลับเปนซํ้า จํานวน 67 ราย แยกตาม Risk Score ตามเกณฑจ ังหวัดลําปาง พบวา กลุม High Risk เสยี ชวี ิตสงู ท่สี ุด 49ราย คิดเปนรอยละ 28.2 ของผูปวย High Risk รองลงมา Intermediate Risk 12 ราย คิดเปนรอยละ 8.7 ของผูปวย Intermediate Risk และ Low Risk 6 ราย คิดเปนรอยละ 2.4 ของผูปวย Low Risk โดยกลุม Low Risk 6 ราย เปนกลุม BMIต่ํากวา 18.5 และอายนุ อยกวา 60 ป 2 ราย โรคหัวใจ เบาหวาน ติดสรุ า และ จติ เภท อยางละ 1 ราย จาํ แนกตามการคนพบ เปนกลุม Walk In 55 ราย (รอยละ 82.1) โดยพบในอําเภอเมืองมากท่ีสุด 23 ราย (รอยละ 41.8) อําเภอเถิน 7 ราย (รอยละ 12.5) อําเภอแมทะและวังเหนือแหงละ 5 ราย (รอยละ 9.1) อําเภอเสรมิ งามและหา งฉตั รแหง ละ 4 ราย (รอ ยละ 7.3) อาํ เภอแจหม 2 ราย (รอยละ 3.6) และอําเภอแมพริก สบปราบ เมอื งปาน แหง ละ 1 ราย (รอ ยละ 1.8) โดยกลมุ น้ี มปี ระวัติคัดกรองในปกอนเพียง 13 ราย (รอยละ 23.6) เสียชีวิตจากวณั โรค 39 ราย (รอยละ 58.2) เสียชีวิตจากโรครวมหรือสาเหตุอ่ืน 28 ราย (รอยละ 41.8) และเสียชีวิตกอนการรักษา 9 ราย (รอยละ 13.4) ในระยะเขมขน 43 ราย (รอยละ 64.2) ระยะตอเน่ือง 15 ราย (รอยละ 22.4) เมื่อจําแนกตามชวงอายุพบวาอายุต่ํากวา 50 ป 7 ราย (รอยละ 10.5) อายุ 50-59 ป 15 ราย (รอยละ 22.4) อายุ 60-69 ป 18 ราย (รอ ยละ 26.9) อายุ 70-79 ป 11 ราย (รอยละ 16.4) อายุ 80 ปข้ึน ไป 16 ราย (รอ ยละ 23.9) นอกจากน้ีพบวาในกลุมติดสุราที่ขึ้นทะเบียนรักษาไมไดถูกคัดกรองการติดสุรา 5 รายจากผปู วย 11 ราย (รอ ยละ 45.5) จากขอมูลดงั กลา วควร เนน การคดั กรองกลุมเส่ียงใหครอบคลุมมากขึ้น โดยการคนหากลุมผูติดสุราใน ชุมชน เพ่มิ คําถามคัดกรองการด่มื สรุ าในผูป วยทม่ี ารบั บริการโรงพยาบาลทุกราย คัดกรองในกลุมผูปวย NCDs ที่มี BMI ต่ํากวา 20 ดานการรักษาเนนการปรึกษา Chest Med ทุกรายในกรณีผลฟลมเขาไดกับวัณโรคแต ตรวจเสมหะไมพ บเชือ้ แตง ตั้งทมี TB Case management และแพทยร ับผิดชอบทุกโรงพยาบาล รวมถึงM&M Conference เพ่ือเพิ่มศักยภาพแกทีมดูแลผูปวยใหสามารถประเมินอาการผิดปกติระหวางการรักษาไดมี ประสทิ ธภิ าพมากข้นึ ผลงานความกาวหนาการรักษาผูปวยวัณโรคปอดรายใหม ท่ีข้ึนทะเบียนรักษาในไตรมาสท่ี 1 ปงบประมาณ 2564 ดังตาราง รพ. ข้นึ รักษาสาํ เรจ็ ขาดยา ตาย โอนออก กําลงั รกั ษา ทะเบยี น ราย รอยละ ราย รอยละ ราย รอยละ ราย รอ ยละ ราย รอ ยละ ลาํ ปาง 50 20 40.0 12 24.0 1 2.0 17 34.0 แมเมาะ 9 6 66.7 0 0.0 1 11.1 2 22.2 เกาะคา 9 0.0 0 0.0 1 11.1 8 88.9 เสรมิ งาม 16 10 62.5 2 12.5 0 0.0 4 25.0 งาว 8 2 25.0 0 0.0 0 0.0 6 75.0 แจห ม 22 9 40.9 2 9.1 1 4.5 0 0.0 10 45.5 วังเหนือ 11 5 45.5 2 18.2 1 9.1 3 27.3 เถนิ 10 3 30.0 1 10.0 0 0.0 6 60.0 สาํ นกั งานสาธารณสขุ จังหวัดลาํ ปาง ตรวจราชการและนเิ ทศงาน รอบที่ 2 ประจําปง บประมาณ พ.ศ.2564
การตรวจราชการและนเิ ทศงาน กรณปี กติ รอบที่ 2 เขตสุขภาพที่ 1 จงั หวดั ลาํ ปาง 166 รพ. ขนึ้ รกั ษาสําเรจ็ ขาดยา ตาย โอนออก กาํ ลงั รักษา ทะเบียน ราย รอยละ ราย รอยละ ราย รอยละ ราย รอยละ ราย รอยละ แมพ รกิ 0 0.0 0 0.0 0 0.0 0 0.0 แมท ะ 24 9 37.5 1 4.16 1 4.16 13 54.16 4 57.1 สบปราบ 7 2 28.6 1 14.3 0 0.0 4 17.4 1 25.0 หางฉตั ร 23 15 65.2 3 13.0 1 4.3 3 100.0 81 41.32 เมอื งปาน 4 1 25.0 2 50.0 0 0.0 คา ยฯ 3 0 0 0.0 0 0.0 รวม 196 82 41.83 2 1.02 25 12..75 6 3.06 หมายเหตุ ผปู วยขาดยา 2 ราย โรงพยาบาลแจห มเปนผปู ว ยสงู อายุ 89 และ 90 ป รายท่ี 1 เพศหญิงอายุ 89 ป น้ําหนัก 42 กิโลกรัม โรคประจําตัว CKD,DM Risk Score 24 พบจาก การคัดกรอง AFB=Neg. ผล X-Pert detected ตามผูปวยมานอนโรงพยาบาลวันท่ี 25 พฤศจิกายน 2563 เนือ่ งจากทราบผล X-Pert detected เร่ิมสตู รยา 2HRZE/4HR ออกจาก รพ. วนั ที่ 3 ธนั วาคม 2563 มาตรวจ ตามนดั วันที่ 16 ธนั วาคม ตรวจคา LFT (AST,ALT) สูงกวาคาปกติ 5 เทา จึง Re challenge ยาและปรับสูตร ยาเปน 2HRZ/7HR ในวันที่ 10 มกราคม 2564 และติดตามเย่ียมบาน 1 สัปดาห ผูปวยมีอาการออนเพลีย รบั ประทานทานอาหารและยาไดพ อควร หลงั จากน้ันผูปว ยออนเพลยี มากข้ึน รับประทานอาหารไมได ญาติขอ หยุดยา ขาดนัดวันที่ 18 มีนาคม 2564 รวมการรับประทานยา 54 วัน แตยังติดตามอาการตอเนื่อง ปจจุบัน ลกุ เดนิ ไดโดยญาติพยงุ ผูสัมผัสรวมบา นและใกลช ิดไดรับการคัดกรองทุกราย รายท่ี 2 เพศชายอายุ 90 ป นํ้าหนัก 41 กิโลกรัม โรคประจําตัว HT, Gout, CKD, IHD Risk Score 26 พบจากการคัดกรอง ผล AFB=Neg. X-Pert detected ตามผูปวยมานอนโรงพยาบาลวันที่ 24 ธันวาคม 2563 เน่ืองจากทราบผล X-Pert detected เร่ิมสูตรยา 2HRZE/4HR ระหวางนอนโรงพยาบาล มีไข หายใจ เหน่ือยหอบ ในวันที่ 29 ธนั วาคม 2563 วินิจฉัยปอดบวม สงไปรักษาตอที่โรงพยาบาลลําปางนอน 3 วัน และ สงตัวกลบั มานอนตอทโ่ี รงพยาบาลแจหมอีก 6 วัน ออกจากโรงพยาบาลแจหม 5 มกราคม 2564 หลังกลับไป บาน 3 วัน มีอาการเหนื่อย เทาบวม สงตัวไปรักษาตอท่ีโรงพยาบาลลําปาง นอนโรงพยาบาลวันท่ี 8-12 มกราคม 2564 และสงมานอนตอที่โรงพยาบาลแจหมอีก 10 วัน ออกจากโรงพยาบาลแจหม 21 มกราคม 2564 ระหวางน้ีชะลอการใหยารักษาวัณโรคไปกอน และติดตามเย่ียมบานวันที่ 27 มกราคม 2564 ญาติขอ หยุดการรักษา เนื่องจากมีอาการออนเพลีย ลุกไมได และปฏิเสธการใสทอชวยหายใจ แตทีม FCT ยังติดตาม อาการตอเน่ือง รวมวนั รบั ประทานยา 25วนั สวนผูสัมผัสรวมบานและใกลชิดไดคัดกรองทุกราย ติดตามลาสุด ผปู ว ยเสยี ชีวติ ที่บานเม่อื 6 มิถุนายน2564 จํานวนผูปวย MDR-TB จังหวัดลําปาง ต้ังแตปงบประมาณ 2560 -2564 จํานวนทั้งหมด 25 ราย รกั ษาสําเร็จ 11 ราย (รอ ยละ45.0) เสยี ชีวติ 10 ราย (รอยละ 40.0) คงเหลอื กําลงั รักษา 4 ราย ดงั ตาราง ปงบประมาณ ขึ้นทะเบยี น รักษาสาํ เรจ็ เสยี ชวี ติ กําลงั รกั ษา (ราย) ราย (รอ ยละ) ราย (รอ ยละ) ราย (รอยละ) 2560 10 6 (60.0) 4 (40.0) 0 2561 6 4 (66.7) 2 (33.3) 0 2562 4 1 (25.0) 3 (75.0) 0 2563 3 0 (0.0) 1 (30.3) 2 (66.7) 2564 2 0 (0.0) 0 (0.0) 2 (100.0) รวม 25 11 (44.0) 10 (40.0) 4 (16.0) สํานกั งานสาธารณสุขจังหวดั ลาํ ปาง ตรวจราชการและนเิ ทศงาน รอบที่ 2 ประจําปง บประมาณ พ.ศ.2564
การตรวจราชการและนเิ ทศงาน กรณปี กติ รอบท่ี 2 เขตสุขภาพที่ 1 จงั หวดั ลาํ ปาง 167 การรกั ษา 1. โรงพยาบาลทุกแหง ดําเนนิ การตามแนวทางการรักษาของเขตสขุ ภาพที่ 1 โดย จัดกลุมเสี่ยงเสียชีวิต ตาม Risk score ตามแนวทางจงั หวัดลาํ ปางทุกราย โดยดูแลรักษากลุมเส่ียงเสียชีวิต Intermediate Risk และ High Risk ตามแนวทาง ดงั นี้ - ปรึกษาอายุรแพทยตามโซนทุกราย โดย ใชเครือขายการรักษาและใหคําปรึกษาตามโซน: เหนือ ปรึกษาโรงพยาบาลลําปาง โซนกลางปรึกษาโรงพยาบาลเกาะคา และโซนใต ปรึกษาโรงพยาบาลเถิน และกลมุ Line : อายรุ กรรม โดยกาํ หนด Supervisor คอื นายแพทยว รพจน เหลืองจิรโณทยั - เจาะ LFT ดังน้ี เดือนแรกทุก 1 สัปดาห เดือนท่ี 2 ทุก 2 สัปดาห และประเมิน Risk score ทกุ visit เพราะคา LFTอาจมกี ารเปลยี่ นแปลง - Close monitor โดยเจา หนา ทีส่ าธารณสขุ ทุกรายในระยะเขม ขนทกุ วนั จนกวาอาการจะคงที่ - ดแู ลภาวะโภชนาการ : โครงการแจกไข 1 ฟองตอ วันในผูปวยทุกรายตลอดระยะเวลาการรักษา (เกาะคา แจห ม แมเมาะ) - ดแู ลผปู ว ยท่มี ปี ญหาทางเศรษฐกิจและสงั คมรวมกับ พมจ./มูลนิธิอนุเคราะหผูปวยวัณโรค กอง วณั โรค (เมอื ง แจห ม เมอื งปาน เสรมิ งาม) 2. แตงต้ังทีมแพทยรับผิดชอบทุกโรงพยาบาล M&M Conference และทบทวนสาเหตุการตาย ทุกราย และเฝา ระวัง/สอบสวน MDR/XDR-TB 3. ทบทวนการเสียชีวิต โดยวางแผนทํา M&M Conference ระดบั จังหวดั ในวันที่ 9 กรกฎาคม 2564 3. ปญหาอุปสรรคและแนวทางแกไ ข ดานการคดั กรอง 1. พบกลมุ ปวยมากในผูสงู อายุ BMI ตาํ่ วางแผนเพิม่ การคดั กรองในกลุม ผูสูงอายุ BMI 18.5-20 2. การเสียชีวิตในกลมุ อายุตํา่ กวา 60 ป พบมากในกลุมตดิ สรุ าที่ไมอยใู นคลนิ ิก 3. สงตรวจ AFB ลา ชา ในกลมุ ทพ่ี บผลฟลม ผิดปกติ 4. ขาดระบบการติดตามกลุมทม่ี ีผล CXR ผิดปกติ ท่มี เี สมหะเปนลบ และ X-Pert: Not Detected 5. ในชว งการระบาดโรคโควิด-19 ไมส ามารถลงพื้นที่คัดกรองเชิงรุกได ทําไดเพียงการเฝาระวังเชิงรับ ในโรงพยาบาล และกลุม เปา หมายท่เี ปน กลุม โรค NCDs ทค่ี วบคมุ อาการได จะรับยาโดย มอค./อสม.สง ยาให ดา นการรกั ษา 1. การสง พบผูเช่ียวชาญลา ชาในกรณที ่ที ราบผลเสมหะเปน ลบ และ X-Pert: Not Detected 2. การประเมนิ Risk score ของเขต และจงั หวดั ลาํ ปาง ยังมคี วามตางในตัวแปรสําคญั 4 แผนการดําเนนิ การตอไป การคัดกรอง 1. ทบทวนกลมุ เปา หมาย ปจ จัยดา นอายุ และ BMI 2. คน หากลมุ ติดสรุ าในชุมชน เขารบั การคดั กรอง และการซกั ประวัติการดม่ื สรุ าทกุ คนในทุก Visit 3. กาํ หนดระยะเวลาสง ตรวจ AFB ภายใน 1 สปั ดาห 4. ทบทวนระบบการติดตามผูปวยท่ีมีผล Film ผิดปกติท่ีมีผลเสมหะเปนลบ และ X-Pert: Not Detected สาํ นักงานสาธารณสขุ จังหวดั ลาํ ปาง ตรวจราชการและนเิ ทศงาน รอบที่ 2 ประจาํ ปงบประมาณ พ.ศ.2564
การตรวจราชการและนเิ ทศงาน กรณปี กติ รอบที่ 2 เขตสขุ ภาพที่ 1 จังหวัดลาํ ปาง 168 การรกั ษา 1. ทบทวน Risk Score จงั หวดั ลําปาง และเขตสขุ ภาพท่ี 1 2. Early Diagnosis เนน การปรึกษาผเู ชยี่ วชาญใหเรว็ 3. ตดิ ตามประเมิน Risk score ระหวางการรกั ษาทกุ Visit ผูรายงาน นางอุบล ญาณะทวี ตาํ แหนง พยาบาลวิชาชีพชํานาญการ กลมุ งานควบคุมโรคติดตอ สํานักงานสาธารณสขุ จงั หวดั ลาํ ปาง โทร 054 227527-106 E-mail: สาํ นักงานสาธารณสุขจังหวัดลําปาง ตรวจราชการและนเิ ทศงาน รอบท่ี 2 ประจําปง บประมาณ พ.ศ.2564
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288