Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ก.ค.ศ.3

แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ก.ค.ศ.3

Published by กรรณิกา ลิกัลตา, 2022-08-22 04:06:00

Description: แบบรายงานผลการปฏิบัติงานของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ในการขอมีวิทยฐานะและเลื่อนวิทยฐานะครูชำนาญการ
สาขาวิชา คณิตศาสตร์

Search

Read the Text Version

ก.ค.ศ.3 แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ในการขอมีวิทยฐานะและเล่ือนวิทยฐานะครชู านาญการ สาขาวิชา คณิตศาสตร์ ผขู้ อรับการประเมนิ นางสาวกรรณิกา ลิกัลตา ตาแหน่ง ครู โรงเรียนเมอื งพญาแลวิทยา สานักงานเขตพ้นื ที่การศึกษามัธยมศึกษาชัยภูมิ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพนื้ ฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ



แบบรายงานผลการปฏบิ ัติงาน ของขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ในการขอมีวิทยฐานะและเลอื่ นวิทยฐานะครูชานาญการ สาขาวชิ า คณิตศาสตร์ ผขู้ อรบั การประเมนิ นางสาวกรรณิกา ลิกัลตา ตาแหน่ง ครู โรงเรยี นเมอื งพญาแลวิทยา สานักงานเขตพน้ื ที่การศกึ ษามัธยมศึกษาชยั ภมู ิ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พื้นฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ

ก คำนำ เอกสารเลม่ นีจ้ ดั ทาขึ้นเพอ่ื เสนอข้อมลู ผลการปฏิบตั งิ านในหน้าที่ ซ่งึ เป็นการปฏบิ ตั ิงานท่ีไดร้ ับ มอบหมายในการพัฒนาคุณภาพของนักเรียนในรอบ 2 ปี ติดต่อกันผู้นาเสนอได้ทาเสนอท้ังเชิงปริมาณและ คุณภาพ สาหรับใช้ประกอบการพิจารณาของคณะกรรมการผู้เช่ียวชาญ การนาเสนอได้ครอบคลุมข้อมูลตาม แบบรายงานการปฏิบัติงานดังนี้ 1.ขอ้ มลู ของผูร้ บั การประเมนิ 2.ผลการปฏิบัตงิ าน (ด้านท่ี 3) 2.1 ผลการพัฒนาคณุ ภาพผ้เู รยี น 2.2. รายงานการสังเคราะห์ผลการแกป้ ญั หาและพัฒนาผเู้ รียน 2.3 ข้อมลู อน่ื ๆ ไดแ้ ก่ ปรมิ าณงาน คุณภาพานที่ผู้ขอรบั การประเมินปฏบิ ัติ ข้อมูลที่นาเสนอเป็นส่วนหนึ่งของการปฏิบัติหน้าที่งานของ นางสาวกรรณิกา ลิกัลตา และ ขอขอบคุณผูเ้ ชี่ยวชาญทุกท่านที่ให้คาปรกึ ษา ให้ข้อเสนอแนะ ขอขอบคุณผู้อานวยการ คณะครูคณะกรรมการ สถานศึกษา รวมทั้งนักเรียนโรงเรียนเมืองพญาแสวิทยา ที่ให้ความร่วมมือในการให้ข้อมูลสะท้อนผลการ ปฏิบัติงาน และให้คาแนะนา ข้อคิด หลักการ เพ่ือจัดการศึกษาให้สอดคล้องกับความต้องการของนักเรียน ชมุ ชน และประเทศชาติ กรรณิกา ลกิ ัลตา

ข สารบัญ หนา้ คานา ก สารบัญ ข ขอ้ มลู ผขู้ อรบั การประเมนิ 1 ด้านที่ 3 ผลการปฏิบัตงิ าน 1 ผลการพฒั นาคณุ ภาพผู้เรียน 1 รายงานการสังเคราะห์ผลการแก้ปัญหาและพัฒนาผู้เรียน 3 ปริมาณงานและสภาพของงาน (ณ วันทีย่ ื่นประเมนิ ) 7 ภาคผนวก 15 ภาคผนวก ก. ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนกอ่ นเรียน-หลังเรยี น 16 ภาคผนวก ข. ผลสมั ฤทธิท์ างการเรียนปกี ารศกึ ษา 2562 และ ปกี ารศกึ ษา 2563 19 ภาคผนวก ค. คะแนนผลการทดสอบระดบั ชาติขน้ั พน้ื ฐาน (O-NET) ปีการศกึ ษา 2562 และ ปีการศกึ ษา 2563 30 ภาคผนวก ง. ผลการพฒั นาผูเ้ รียนดา้ นอ่ืน ๆ 34 ภาคผนวก จ.รายงานการสังเคราะหผ์ ลการแกป้ ญั หาและพฒั นาผเู้ รยี น 58 ภาคผนวก ช. ภาพถ่ายการปฏบิ ตั ิงาน 67 ภาคผนวก ซ. คาสั่งปฏบิ ตั ิหนา้ ที่ ปกี ารศกึ ษา 2562-2563 78

ก.ค.ศ.3 แบบรายงานผลการปฏบิ ัติงาน ของขา้ ราชการครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษาในการขอมีหรอื เล่ือนวิทยฐานะ ชานาญการ สาขา สายผู้สอน 1.ข้อมูลผู้ขอรับการประเมิน ชอ่ื กรรณิกา นามสกุล ลกิ ัลตา ตาแหนง่ ครู ตาแหน่งเลขท่ี 76577 สถานศึกษา/หนว่ ยงาน โรงเรยี นเมืองพญาแลวทิ ยา อาเภอเมืองชยั ภูมิ จงั หวัดชยั ภูมิ สานักงานเขตพนื้ ที่การศึกษามัธยมศึกษาชัยภมู ิ ส่วนราชการ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน กระทรวงศึกษาธิการ รบั เงินเดือนอนั ดับ คศ.1 ขั้น 22,130 บาท 2. ผลการปฏบิ ัติงาน (ด้านที่ 3) มดี งั นี้ 2.1 ผลการพัฒนาคุณภาพผ้เู รียน (1) ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี น 1.1 ผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นในสาขา/สาขาวชิ า/กลมุ่ สาระการเรียนรทู้ ่ีเสนอขอรบั การ ประเมินของปีปัจจุบนั (ปกี ารศึกษา 2563) ชื่อวชิ าทีส่ อน วชิ า คณติ ศาสตร์พ้นื ฐาน 2 (ค21102) ระดบั ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 1 - คะแนนทีเฉลี่ย* (Average T score) ของผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนก่อนเรยี น = 44.79 - คะแนนทีเฉลยี่ * (Average T score) ของผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนหลงั เรยี น = 55.21 ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นของนักเรียนชน้ั มัธยมศกึ ษาปีที่ 1 โรงเรยี นเทพสถิตวิทยา สานกั งานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศกึ ษาชัยภูมิ มคี ะแนนทเี ฉล่ยี หลงั เรียนเพ่ิมขึน้ จากก่อนเรียน ร้อยละ 10.42 (เอกสารอ้างอิงภาคผนวก ก ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี นก่อนเรยี นและหลงั เรียน หน้า 16-18) 1.2 คา่ ทเี ฉลยี่ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา คณติ ศาสตร์พ้ืนฐาน ในภาคเรียนท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2562 เปรยี บเทยี บกบั ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ในภาคเรยี นที่ 2 ปีการศึกษา 2563 - คะแนนทเี ฉลย่ี * (Average T score) ของผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนปลายภาคเรียน (ปีการศึกษา 2562) = 46.79 - คะแนนทีเฉลีย่ * (Average T score) ของผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี นปลายภาคเรยี น ปีการศกึ ษาปจั จบุ ัน (ปีการศกึ ษา 2563) = 55.30 ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี นของนักเรียนชน้ั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 1 โรงเรียนเทพสถติ วิทยา สานกั งานเขตพน้ื ท่ีการศึกษามธั ยมศึกษาชยั ภมู ิ มคี ะแนนทีเฉลย่ี ปปี จั จุบนั (ปีการศึกษา 2/2563) เพม่ิ ขน้ึ จากปีทแี่ ลว้ (ปีการศึกษา 2/2562) รอ้ ยละ 18.18 (เอกสารอ้างอิงภาคผนวก ข ผลสมั ฤทธิท์ างการเรียนปีการศึกษา 2563 และปกี ารศึกษา 2564 หนา้ 19-29) (2) ผลการประเมินและหรอื การทดสอบของวชิ าทส่ี อนในระดับเขต / ประเทศ - คะแนนผลการทดสอบระดบั ชาตขิ นั้ พื้นฐาน (O-NET) กลุม่ สาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์ ของ นกั เรียนช้ันมัธยมศกึ ษาปที ่ี 3 โรงเรียนเทพสถิตวิทยา ในปีการศกึ ษา 2562 มีนกั เรียนสอบจานวน 137 คน มคี ะแนนเฉล่ียร้อยละ 21.23

2 - คะแนนผลการทดสอบระดับชาติขน้ั พนื้ ฐาน (O-NET) กลมุ่ สาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์ ของ นักเรยี นชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี 3 โรงเรียนเทพสถติ วิทยา ในปีการศกึ ษา 2563 มีนกั เรยี นสอบจานวน 14 คน มี คะแนนเฉลีย่ รอ้ ยละ 21.14 - คะแนนผลการทดสอบระดบั ชาติขัน้ พ้ืนฐาน (O-NET) กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ นกั เรียนช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 3 โรงเรยี นเทพสถติ วิทยา สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศกึ ษาชยั ภมู ิ ได้ คะแนนเฉลี่ยปีปจั จบุ นั (ปีการศกึ ษา 2563) ลดลงจากปีท่ีแลว้ (ปกี ารศกึ ษา 2562) ร้อยละ 0.09 (เอกสารอ้างอิงภาคผนวก ค คะแนนผลการทดสอบระดับชาตขิ น้ั พื้นฐาน (O-NET) ของนักเรยี นช้นั มัธยมศกึ ษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2562 และปีการศึกษา 2563 หน้า 30-33) (3) ผลพัฒนาผ้เู รยี นดา้ นอนื่ ๆ 3.1 ผู้เรียนมีการพฒั นาด้านสขุ ภาพ รา่ งกาย สติปัญญา อารมณ์ และสังคม ตามหลักสูตร และตามทส่ี ถานศึกษากาหนดในระดับดี ในรายวชิ าทสี่ อน 3.1.1 ผู้เรียนในกลุม่ สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ปีการศึกษา 2562 จานวน 165 คน มกี ารพฒั นา ดา้ นสุขภาพ รา่ งกาย สตปิ ญั ญา อารมณ์ และสงั คม ตามหลกั สูตร และตามที่สถานศึกษา กาหนด ในระดับดีขน้ึ ไป จานวน 165 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 100 3.1.2 ผู้เรียนในกลุ่มสาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์ ปีการศึกษา 2563 จานวน 101 คน มีการพฒั นา ดา้ นสขุ ภาพ ร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ และสังคม ตามหลักสูตรและตามท่สี ถานศกึ ษา กาหนด ในระดบั ดีข้นึ ไป จานวน 101 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 100 3.2 ผู้เรียนมคี ุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ตามหลักสูตรและตามสถานศึกษากาหนดใน ระดบั ดี ในรายวิชาทสี่ อน 3.2.1 ผเู้ รยี นในกลมุ่ สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ในรายวชิ าคณิตศาสตร์พน้ื ฐาน ปกี ารศกึ ษา 2562 จานวน 165 คน มีคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ ตามหลักสตู ร และตามทีส่ ถานศึกษา กาหนดในระดับดีขน้ึ ไป จานวน 165 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 100 ตาราง 1 สรุปผลการประเมนิ คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์วชิ าคณิตศาสตร์พ้ืนฐาน2 รหสั วชิ า ค21102 ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 1 ภาคเรยี นท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2562 ห้อง จานวน ผลการเรยี นที่ผา่ นเกณฑ์ ผลการเรยี นที่ไมผ่ ่าน นกั เรียน เกณฑ์ 3 (ดีเย่ียม) 2 (ดี) 1 (ผ่าน) ม.1/1 34 0 (ไมผ่ า่ น) ม.1/2 31 34 0 0 0 ม.1/3 32 0 ม.1/4 34 31 0 0 0 ม.1/5 34 0 รวม 165 31 0 0 0 0 ร้อยละ 34 0 0 0.00 32 0 0 165 0 0 100.00 0.00 0.00 3.2.2 ผู้เรยี นในกลมุ่ สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ในรายวชิ าคณติ ศาสตร์พ้นื ฐาน ปกี ารศกึ ษา 2563 จานวน 101 คน มคี ุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ ตามหลกั สูตร และตามทสี่ ถานศกึ ษา กาหนดในระดบั ดีข้นึ ไป จานวน 88 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 87.13

3 ห้อง จานวน ผลการเรยี นทีผ่ ่านเกณฑ์ ผลการเรียนที่ไม่ผ่าน นักเรยี น เกณฑ์ 3 (ดเี ยีย่ ม) 2 (ดี) 1 (ผ่าน) ม.1/1 35 31 2 2 0 (ไม่ผา่ น) ม.1/3 33 22 6 5 0 ม.1/5 33 27 0 6 0 รวม 101 80 8 13 0 79.21 7.92 12.87 0 ร้อยละ 0.00 (เอกสารอา้ งองิ ภาคผนวก ง ผลการพฒั นาผเู้ รยี นด้านอ่นื ๆ หนา้ 34-57) 2.2 รายงานการสังเคราะห์ผลการแก้ปญั หาและพัฒนาผเู้ รียน 2.2.1 ปญั หาและขอบเขตของปัญหา การศึกษาเป็นกระบวนการหนึ่งทม่ี ีบทบาทโดยตรงต่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ใหม้ ีคุณภาพ เหมาะสมและมีคุณสมบัติสอดคล้องกับความต้องการในการใช้กาลังของประเทศ การศึกษาจงึ หมายถึงการเจริญ งอกงาม เพราะการศกึ ษา เป็นกระบวนการพัฒนาบุคคลใหม้ ีความเจรญิ งอกงามทุกดา้ น คือ สติปัญญา อารมณ์ และสังคม ถ้าประเทศใดประชากรมี การศกึ ษาสงู ประเทศนัน้ ก็จะมีกาลงั คนทม่ี ปี ระสทิ ธิภาพ กระทรวงศึกษาธิการ จงึ ได้กาหนดหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษา ขน้ั พืน้ ฐานพุทธศกั ราช 2551 (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. 2560) ข้ึน โดยมุ่งเน้น ผู้เรยี นเป็นสาคญั บนพ้ืนฐานความเชือ่ ว่าทุกคนสามารถเรยี นร้แู ละพฒั นาตนเองไดเ้ ตม็ ตามศักยภาพ การพัฒนา ผ้เู รยี นให้เกิดความสมดุลต้องคานงึ ถึงหลักพัฒนาการทางสมองและพหุปัญญา หลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้ัน พ้นื ฐาน ซ่ึงคณิตศาสตรเ์ ป็นสาระหนงึ่ ท่กี าหนดใหผ้ เู้ รียนไดเ้ รยี นรู้ เนือ่ งจากคณิตศาสตรม์ ีความสาคญั มากใน การพัฒนาความคดิ ของมนุษย์ ทาให้มนุษย์มคี วามคดิ สรา้ งสรรค์ คิดอย่างมีเหตผุ ล เปน็ ระบบ มแี บบแผน สามารถวิเคราะห์ ปญั หาหรอื สถานการณ์ได้อย่างถ่ีถว้ นรอบคอบ ช่วยใหค้ าดการณ์ วางแผน ตดั สินใจ แกป้ ญั หาและนาไปใช้ในชีวิตประจาวนั ได้อยา่ งถูกตอ้ งเหมาะสม รวมท้ังเป็นเคร่ืองมือในการศึกษาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีตลอดจนศาสตรอ์ ืน่ ๆที่เก่ียวข้อง ทาให้เปน็ ประโยชนต์ ่อการดารงชีวิตและพัฒนาคุณภาพชีวติ สามารถอยู่ร่วมกบั ผ้อู ่ืนได้อยา่ งมีความสขุ (กระทรวงศึกษาธิการ, 2551, น. 50) กระทรวงศกึ ษาธิการจึงได้จัด กล่มุ สาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์เปน็ ทกั ษะพน้ื ฐานการเรยี นรู้ โดยคาดหวังคณุ ลักษณะของผ้เู รียนหลงั จาก เรยี นคณิตศาสตร์ไปแล้ว คือ มคี วามรู้ความเข้าใจคณติ ศาสตร์พน้ื ฐานเก่ยี วกับจานวนและพีชคณติ การวัดและ เรขาคณิต สถิติและความน่าจะเป็นพร้อมทั้งมีทักษะกระบวนการทางคณติ ศาสตร์ ไดแ้ ก่ การแกป้ ญั หาด้วยวธิ ีการท่ี หลากหลาย การใหเ้ หตผุ ล การสอ่ื สาร การสอื่ ความหมายทางคณติ ศาสตร์และการ นาเสนอการเช่ือมโยงความรู้ต่าง ๆ ทางคณิตศาสตร์ และการเชือ่ มโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่นๆ และการมคี วามคิดริเร่มิ สรา้ งสรรค์ พรอ้ มทงั้ ตระหนักถึงคุณค่าและมเี จตคติทีด่ ตี อ่ คณิตศาสตร์ (กระทรวงศกึ ษาธกิ าร, 2551, น. 50–54) การเรียน คณติ ศาสตร์ทผี่ ่านมา แม้วา่ ผู้เรียนจะมคี วามรู้ความเข้าใจเนื้อหาเป็นอย่างดี แตย่ งั มผี ้เู รยี นจานวนมากยงั ด้อย ความสามารถเกี่ยวกบั การแก้ปัญหา การแสดงหรืออา้ งอิงเหตผุ ล การส่ือสารหรอื การนาเสนอแนวคิดทาง คณติ ศาสตร์ การเชือ่ มโยงระหว่างคณิตศาสตร์กบั สถานการณต์ ่างๆ และความคิดรเิ รม่ิ สร้างสรรค์ ปัญหาเหล่านที้ า ใหน้ ักเรียนไม่สามารถนาความรู้ทางคณิตศาสตร์ไปประยุกตใ์ ช้ในชวี ติ ประจาวนั และในการศกึ ษาต่อไดอ้ ย่างมี ประสิทธิภาพ เชน่ เดยี วกนั กบั การ จัดการเรยี นการสอนในรายวชิ าคณติ ศาสตร์ยงั ไม่ประสบผลสาเร็จ ซ่งึ ตง้ั แต่ อดีตจนถงึ ปจั จุบัน การศึกษาของไทยพบกบั ปญั หานกั เรยี นมผี ลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนตา่ มาตลอดและมแี นวโนม้

4 ตกต่าเกือบทกุ รายวชิ าโดยเฉพาะอยา่ งย่งิ วชิ าคณติ ศาสตร์ (รัตนา ตง้ั ศิรชิ ยั พงษ์, 2553, น. 6) การเรียนการสอน คณิตศาสตร์ในระดับมัธยมศึกษาปจั จุบันพบว่า การแก้สมการเชิงเสน้ สองตัวแปรยังไมป่ ระสบผลสาเรจ็ ตาม วัตถปุ ระสงค์ของหลักสตู ร จะเหน็ จากการประเมินคุณภาพทางการเรยี นของผู้เรยี น ผลสัมฤทธิท์ างการเรียน คณิตศาสตร์ ของนักเรียนระดับชน้ั มธั ยมศึกษาอย่ใู นระดับท่ีไม่น่าพงึ พอใจ ผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนวชิ า คณิตศาสตร์ไมป่ ระสบผลสาเร็จเท่าที่ควรน้ัน อาจเนื่องมาจากสาเหตุหลายประการ คือ ปัญหาจากตัวนักเรียน เช่น นักเรียนขาดความรู้พน้ื ฐานท่ีดีจากการเรยี นในระดบั ขัน้ ตน้ นกั เรยี นขาดความรบั ผิดชอบ ขาดความสนใจและ มเี จตคตทิ ี่ไม่ดตี ่อวิชาคณิตศาสตร์ โดยคิดวา่ วชิ าคณิตศาสตร์เปน็ วิชาทีย่ ากท่ีสุด เนอ้ื หาบางเร่ืองนักเรยี น(พีระ พล ศิรวิ งศ์, 2542) โรงเรียนเทพสถิตวทิ ยา ต้งั อยู่เลขท่ี 127 หม่ทู ี่ 2 ตาบลวะตะแบก อาเภอเทพสถิตวทิ ยา จังหวัด ชยั ภมู ิ โรงเรียนเปิดสอนระดับชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 1 ถึงระดับชัน้ มธั ยมศึกษาชัน้ ปที ี่ 6 ในสว่ นของนักเรยี นชนั้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 1 นั้น นกั เรยี นสว่ นใหญ่มปี ัญหาในการดารงชวี ิตทมี่ ผี ลต่อการศกึ ษาเลา่ เรยี นของนักเรียน และ จากการจดั การเรียนการสอนคณิตศาสตร์ในระดบั ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1 ทผี่ า่ นมาพบว่า นักเรียนสว่ นใหญย่ งั มี ปญั หา เรือ่ ง สมการเชิงเสน้ ตวั แปรเดียว เม่ือทาการประเมินผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี น โดยใชแ้ บบทดสอบ ประจาบทเรยี น ผลปรากฏวา่ นักเรียนส่วนใหญ่แก้สมการเชงิ เส้นตวั แปรเดียวไม่ถกู ตอ้ ง จากการวเิ คราะห์หา สาเหตทุ ่ที าใหผ้ ลประเมินตา่ กว่าเป้าหมายท่ีต้ังไว้ พบว่า ส่วนหนึ่งมีสาเหตุมาจากนักเรียนมีความรพู้ ื้นฐาน ไม่ดีพอ ไม่สามารถนาความรู้เดิมมาเช่ือมโยงกับความรู้ใหม่ไดร้ วมทั้งขาด การฝึกฝนอยู่เปน็ ประจา สถาบันส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี(2555, น. 25) ได้ระบุว่า การใช้ส่อื การสอนท่ี เหมาะสม เป็นหนงึ่ องค์ประกอบสาคัญที่จะทาให้นักเรียนสามารถเชื่อมโยงความรูเ้ ดิมสู่องค์ความรู้ใหม่ นอกจากน้ี นกั การศึกษาหลายท่าน ไดเ้ สนอแนะแนวทางในการจดั การเรียนการสอนวิชาคณติ ศาสตรใ์ หไ้ ด้ผลดีและชว่ ย ให้ผู้เรยี นมีผลสัมฤทธิ์สูงน้นั ต้องมีการจัดระบบการวางแผนการเรียนรู้อยา่ งดี รวมทั้งเลอื กใช้กจิ กรรมการเรยี นร้ใู ห้ เหมาะสมเพ่ือให้บรรลุจดุ ประสงค์ที่ตั้งไว้ กิจกรรมท่ไี ด้เลอื กใชแ้ ละเหมาะสมมากทสี่ ุดทที่ าให้นกั เรียนเกิดการเรียนรู้ มากท่สี ดุ คือ กิจกรรมการเรียนรูท้ ่ีใช้แบบฝึกทักษะ (กดิ านันท์ มลิทอง, 2543, น. 356) แบบฝึกทกั ษะเป็นสื่อ การเรยี นร้ปู ระเภทหนึ่งทีไ่ ด้รับการออกแบบให้มลี ักษณะ การตอบสนองตอ่ ความแตกตา่ งระหวา่ งบคุ คลมาก ทีส่ ุด สามารถย่วั ยุให้นกั เรยี นเกิดการเรยี นรู้ กล่าวคือแบบฝึกทกั ษะจะมี ขัน้ ตอนในการฝึกจากง่ายไปหายาก ทาใหน้ ักเรยี นคงไวซ้ ึ่งกจิ กรรมการเรียนรู้ไดน้ าน (ถนอมพร เลาหจรัสแสง, 2541, น. 9) การให้ผ้เู รียนทาแบบ ฝึกทักษะมากๆ จะชว่ ยใหผ้ ูเ้ รียนมีพัฒนาการทางการเรียนรู้ในเน้ือหาได้ดีขึน้ เพราะนักเรียนมโี อกาสนาความรู้ ทีเ่ รยี นแลว้ มาฝึกให้เกดิ ความเข้าใจกวา้ งขวางยิ่งข้นึ (วมิ ลรัตน์ สนุ ทรโรจน์, 2549, น. 113) นอกจากนี้ ยงั มี ผ้สู นใจในการนนาแบบฝกึ ทักษะมาใชใ้ นการพัฒนาการเรียนการสอนคณิตศาสตรใ์ นเนื้อหาต่างๆ ในทุกระดบั ซึ่ง ผลการศึกษา ค้นคว้าสนับสนุนให้เห็นว่า การจัดกิจกรรมการเรยี นรโู้ ดยใช้แบบฝึกทกั ษะเป็นวธิ กี ารหน่ึงทีช่ ่วยให้ นักเรยี นในระดับชนั้ มัธยมศึกษามีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตรส์ งู ขน้ึ (จารุวรรณ สิงหม์ ว่ ง และรถจพร เงินโสม, 2561) นกั เรียนมีทักษะการแกโ้ จทย์ปัญหาคณิตศาสตรส์ ูงขึน้ (ชวี นิ ออ่ นละออ และชยั ทตั เจรญิ เปรมปรดี ์ิ, 2562) จากความจาเปน็ ทีจ่ ะต้องปรับปรุงการจัดการเรยี นรู้ เรอื่ ง สมการเชงิ เสน้ ตัวแปรเดยี ว ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 1 และลกั ษณะเดน่ ของแบบฝึกทักษะดังที่กลา่ วมา ผวู้ จิ ยั จึงสนใจท่ีจะพัฒนาผลสัมฤทธิท์ างการ เรียนคณิตศาสตร์ เรอ่ื ง สมการเชงิ เส้นตัวแปรเดยี ว ของนักเรียนช้ันมธั ยมศึกษาปีที่ 1 โดยใชแ้ บบฝึกทักษะ คณิตศาสตร์ ซงึ่ ผลที่ได้จากงานวิจยั นี้คือแบบฝกึ ทกั ษะคณิตศาสตร์ ทมี่ ปี ระสิทธภิ าพเพ่ือใชป้ ระกอบการ จัดการเรียนรู้ และทาให้ผเู้ รยี นได้รับประโยชนจ์ ากการเรียนรูด้ ว้ ยตนเองโดยใช้แบบฝึกทักษะ นอกจากน้ยี ังเป็น เคร่ืองมือทีช่ ว่ ยใหผ้ ูส้ อนดาเนินการสอนไปตามลาดับขั้นตอน ชว่ ยแก้ปญั หาการขาดแคลนผู้สอนได้ ในบางโอกาส และชว่ ยลดปัญหาความแตกต่างระหว่างบุคคล รวมท้ังได้แนวทางการพัฒนากิจกรรมการเรียนรวู้ ชิ า คณิตศาสตร์ โดยใชแ้ บบฝกึ ทกั ษะในเน้อื หาอื่นและระดบั อ่ืนตอ่ ไป

5 2.2.2 รูปแบบ เทคนิค วิธีการแกป้ ญั หาหรือพฒั นา ทงั้ นจ้ี ากการศึกษาเอกสารและงานวจิ ัยทเ่ี กีย่ วข้องพบวา่ การจดั การเรียนรู้การพัฒนา ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนวชิ าคณติ ศาสตร์ เรื่อง สมการเชิงเส้นตวั แปรเดียว ของนักเรยี นชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี 1 โดยใช้แบบฝึกทักษะ สุวทิ ยม์ ูลคา และสนุ นั ทา สนุ ทรประเสรฐิ (2550, หน้า 53) ได้กลา่ ววา่ แบบฝกึ ทกั ษะมี ความสาคัญต่อผ้เู รยี นไม่นอ้ ย ในการทจ่ี ะช่วยส่งเสริมทกั ษะให้กบั ผู้เรยี นได้เกดิ การเรียนรู้และเขา้ ใจ ไดเ้ ร็วขึ้น ชดั เจนข้ึน กว้างขวางขนึ้ ทาใหก้ ารสอนของครู และการเรยี นของนักเรียนประสบความสาเร็จอยา่ งมี ประสิทธิภาพ ประโยชนข์ องแบบฝึกทักษะ ฐาณิชญาณ์ เพง็ พรหม (2555, หน้า 66) ไดก้ ลา่ วถงึ ประโยชน์ของ แบบฝึกไว้ว้า แบบฝึกทดี่ ี และมีประสิทธิภาพช่วยให้นกั เรียนประสบความสาเรจ็ ในการฝึกทักษะทางภาษา เสริมทกั ษะทาง ภาษาให้คงทน สนองความแตกต่างระหว่างบุคคลได้อย่างชดั เจนแบบฝึกทีด่ เี ปรียบเสมอื น ผ้ชู ว่ ยครู ทาให้ลดภาระการสอนลงได้ทาใหเ้ ห็นจุดเดน่ จุดบกพร่องของนักเรียนอันเปน็ แนวทางในการ ปรบั ปรุงการเรยี นการสอนต่อไป ซงึ่ สอดคล้องกบั งานวิจยั ของ พนารตั น์ รอดภัย(2558, บทคดย่อ) ได้ทาการ วิจัย เรือ่ งรายงานผลการใชแ้ บบฝกึ ทักษะ คณิตศาสตร์ ชัน้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 1 เรอ่ื ง สมการเชงิ เส้นตัวแปรเดียว ผู้วิจัยจงึ ได้นาแนวทางการพฒั นาผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนวชิ าคณติ ศาสตร์ เรื่อง สมการเชงิ เส้นตวั แปรเดียว ของนักเรยี นช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 1 โดยใช้แบบฝกึ ทักษะ เพื่อเป็นแนวทางใน การพัฒนาการเรยี นการสอนกลุ่มสาระการเรียนรคู้ ณิตศาสตร์ ใหม้ ีประสทิ ธภิ าพยง่ิ ขนึ้ ไป 2.2.3 การนารูปแบบเทคนิควิธกี ารแก้ปัญหาหรือพัฒนาไปใช้ในการแกป้ ญั หาหรือพฒั นาท่ี เกิดข้ึน ข้าพเจา้ ไดท้ าการวิจยั เชงิ ทดลอง (Experimental Research) การพฒั นาผลสัมฤทธ์ิ ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ เรอ่ื ง สมการเชงิ เสน้ ตวั แปรเดียว ของนักเรียนชัน้ มธั ยมศึกษาปที ี่ 1 โรงเรยี นเทพสถติ วิทยา โดยใชแ้ บบฝกึ ทักษะ ใชเ้ วลาในการดาเนินการทดลอง 14 คาบๆ ละ 50 นาที ไม่ รวมการทดสอบก่อนและหลังการเรียนรู้ เคร่ืองมอื ทีใ่ ช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) แผนการจัดการเรียนร้วู ิชา คณติ ศาสตร์ 2) แบบฝึกเสริมทักษะคณติ ศาสตร์ เรอื่ ง สมการเชงิ เส้นสองตวั แปร วชิ าคณิตศาสตร์ ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 1 จานวน 9 ชดุ 3) แบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียน เร่ือง สมการเชิงเส้นสองตวั แปร ชัน้ มธั ยมศึกษาปีที่ 1 4) แบบประเมินความพงึ พอใจของนักเรยี นเกยี่ วกบั การเรียนร้โู ดยใช้แบบฝกึ ทกั ษะ สถิติ ทีใ่ ชใ้ นการวิเคราะห์ข้อมลู ได้แก่ ค่าเฉลย่ี ร้อยละ คา่ ความเบีย่ งเบนมาตรฐานและสถติ ิแบบ Dependent Samples t - test ผลการวจิ ัย พบว่า การพัฒนาผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนวชิ าคณิตศาสตร์ เรอื่ ง สมการเชงิ เส้นสองตวั แปร ของนกั เรยี นช้ันมธั ยมศึกษาปที ่ี 1 โรงเรยี นเทพสถติ วิทยา โดยใชแ้ บบฝึกทกั ษะ ประสิทธภิ าพ ของแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์เร่ือง สมการเชิงเส้นสองตัวแปร ของนักเรียนช้นั มธั ยมศึกษาปีท่ี 1 (1) มี ประสิทธิภาพสงู กวา่ เกณฑท์ กี่ าหนด (2) ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนหลงเรยี นวชิ าคณิตศาสตรโ์ ดยใชแ้ บบฝึก ทกั ษะคณิตศาสตร์ เรื่อง สมการเชิงเส้นสองตัวแปร ของนักเรียนชนั้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 1 มคี ะแนนผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนวชิ าคณติ ศาสตร์หลงเรียนสูงกว่ากอ่ นเรียน (3) ความพงึ พอใจของนักเรียนที่มตี อ่ การจัดกิจกรรม การเรยี นรู้โดยใชแ้ บบฝึกทักษะคณิตศาสตร์เร่ือง สมการเชงิ เส้นสองตัวแปร ของนักเรียนชั้นมัธยมศกึ ษาปที ี่ 1 มคี วามพึงพอใจอยใู่ นระดบั มากทีส่ ดุ 2.2.4 ขอ้ เสนอเชิงนโยบายในการแกป้ ัญหาและพฒั นาในอนาคต ด้านผลการจดั กิจกรรมการเรยี นการสอน การสร้างส่ือนวัตกรรม บทเรียนสาเร็จรูป สามารถพัฒนาผู้เรียนเป็นรายบุคคลได้ ตอบสนองความแตกต่างของผเู้ รียน และสามารถเรยี นรูไ้ ด้ทุกท่ี ทุกเวลา อีกท้ังยังเป็นการส่งเสริมนิสัยรักการ อ่านของนักเรียน สามารถยกระดับผลสัมฤทธิ์ได้ โดยในบทเรียนสาเร็จรูปมีแบบฝึกหัดและสามารถตรวจ คาตอบได้ เมื่อนกั เรยี นไมเ่ ขา้ ใจในเนอ้ื หาส่วนใดก็สามารถย้อนกลับไปทบทวนและศกึ ษาเพิ่มเตมิ ในส่วนนนั้ ได้

6 ด้านการปฏบิ ตั งิ านทเี่ ป็นการพฒั นาต่อตนเอง ขา้ พเจา้ ได้เขา้ รับการอบรม ประชุมทางวิชาการอย่างสม่าเสมอ และนาความรูท้ ่ไี ด้จาก การอบรม ประชุมสัมมนา มาปรับใช้ในการปฏิบัติงานให้ดีขึ้น แสวงหาความรู้ใหม่ ๆ เพื่อนามาใช้ในการ พฒั นาวิชาชพี และเข้าร่วมองคก์ รในการพัฒนาวิชาชีพครู ข้าพเจ้าไดจ้ ดั ทาแผนการจดั การเรียนรู้ม่งุ เน้นใหผ้ ูเ้ รยี นไดป้ ฏิบัติกจิ กรรมอย่างหลากหลายทั้ง โดยเน้นใหน้ ักเรียนได้สืบเสาะหาความร้เู พอ่ื สร้างองคค์ วามร้ดู ้วยตวั เอง ข้าพเจ้าได้จัดทาสื่อการเรียนการสอนท่ีมีคุณภาพ สามารถใช้ประกอบการจัดการเรียนการ สอนได้ท่ีเน้นผู้เรียนได้มีส่วนร่วมในการจัดทา และเลือกใช้สื่อที่หลากหลาย ได้แก่ ส่ือประเภทใบงาน ใบ ความรู้ ข้าพเจ้าปฏิบัติตนเป็นผู้มีวินัย มีคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ โดยการ ประพฤติปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างท่ีดี แต่งกายเหมาะสมกับกาลเทศะ มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ที่ได้รับ มอบหมายและตั้งใจทางานให้สาเร็จตามวัตถุประสงค์ เข้าร่วมกิจกรรมเก่ียวกับการพัฒนาวิชาชีพอย่าง สม่าเสมอ รักษาช่ือเสียงและผลประโยชน์ของทางราชการ มีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรม เป็นสมาชิกของ องค์กร / สมาคมเกี่ยวกับการพัฒนาวิชาชีพครู การมาปฏิบัติงานตามเวลา และปฏิบัติตามกฎของโรงเรียน อยา่ งเคร่งครัด ข้าพเจ้าได้ศึกษาปญั หาของนกั เรยี นเพ่ือเปน็ แนวทางในการเขยี นวจิ ยั เพอ่ื แกไ้ ขปญั หา และเพื่อใหน้ กั เรยี นมผี ลการเรยี นทดี่ ขี ึ้น สรา้ งนวัตกรรมให้กับนักเรียนได้ฝึกฝนตนเองเป็นประจาส่งผลให้เกิด การเรียนรู้เพ่มิ ขน้ึ อย่างมีประสทิ ธภิ าพ ดา้ นการปฏิบัติงานที่เปน็ การพฒั นาตอ่ นกั เรียน ข้าพเจา้ ได้สง่ เสริมการเรยี นรู้และพฒั นาผเู้ รียนด้วยวธิ กี ารทห่ี ลากหลาย ได้แก่ จดั สอน ซอ่ มเสรมิ ใหก้ บั นักเรยี นทีเ่ รยี นช้า เรยี นไมท่ ันเพื่อน สอนกจิ กรรมเสริมหลักสูตร และออกเย่ยี มบา้ นนักเรยี น ทกุ คน นานักเรียนไปศึกษา ณ แหลง่ เรียนร้ทู ้งั ในโรงเรียนและในชุมชน เพื่อให้นักเรยี นไดศ้ ึกษาเรยี นรูจ้ าก สภาพจริง จดั ทาวิจยั ในชน้ั เรียนเพอื่ พฒั นาการเรยี นการสอน อบรมคุณธรรมจริยธรรมนกั เรยี นส่งผลให้ นกั เรยี นมีคุณธรรมและจริยธรรมในการปฏบิ ตั ิตนดีข้ึน เช่น การสมั มาคารวะต่อผูใ้ หญ่ มีความซ่อื สตั ย์ สุจรติ มีความกตัญญู มีความรักสามัคคีช่วยเหลอื ซึ่งกันและกนั จดั กจิ กรรมที่เน้นกระบวนการสรา้ งองค์ความรูด้ ้วยตัวเอง จดั กจิ กรรมการเรียนการสอนโดย บรู ณาการกับหลักเศรษฐกิจพอเพียง จัดกจิ กรรมใหน้ ักเรยี นไดร้ ่วมคิดรว่ มทา มีการศกึ ษานกั เรียนเป็นรายบุคคล มีการจาแนกนักเรยี นเป็นกลุม่ ไดแ้ ก่ กล่มุ เกง่ ปานกลาง และกลุ่มอ่อน และทุกสนิ้ ภาคเรียนหลังจากการ วัดผลประเมนิ ผลแล้วก็จะรายงานผลให้ผู้บรหิ ารทราบทกุ สิ้นภาคเรียน จัดกิจกรรมที่หลากหลาย สง่ เสรมิ ให้ นกั เรียนไดแ้ สดงออกตามความถนัดและความสามารถ ได้แก่ การส่งนกั เรียนเขา้ แข่งขันทักษะดา้ นตา่ ง ๆ อย่างสมา่ เสมอ ด้านการปฏบิ ัติงานที่เปน็ การพัฒนาตอ่ โรงเรยี นและชุมชน ขา้ พเจ้าได้ปฏิบัตติ ามคาสงั่ และบนั ทกึ มอบหมายงานเสมอมา ทั้งงานในหน้าท่ีสอนและ งานอ่ืน ๆ ดูได้จาก คาส่งั ภาพประกอบ เชน่ การอย่เู วรประจาวันหยุด ครเู วรประจาวนั การจดั กิจกรรม ตา่ ง ๆ ของโรงเรียน คณะครูในโรงเรยี นมคี วามรกั ความสามัคคตี ่อกัน ร่วมมือรว่ มใจกันในการจัดกจิ กรรม การเรยี นรใู้ ห้เกดิ กบั ผ้เู รยี นอย่างเตม็ ท่ี ทางานกนั เป็นทีมได้อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ ทาให้งานทกุ อย่างท่ี ดาเนินการสาเร็จลุลว่ งไปได้ด้วยดี สง่ เสริมการเรียนร้จู ากแหล่งเรยี นรู้ในชุมชน เข้าร่วมกิจกรรมตา่ ง ๆ กับชมุ ชน เช่น งาน บวช งานแตง่ งานศพ งานบวช งานแขง่ ขนั กีฬา กจิ กรรมวันพ่อแห่งชาติ และงานลอยกระทง

7 2.3 ข้อมูลอ่ืนๆ ไดแ้ ก่ ปรมิ าณงาน คุณภาพงาน และสภาพของงาน ท่ผี ขู้ อรับการประเมิน ปฏบิ ัติ 2.3.1 ปรมิ าณงาน - จานวนชว่ั โมงที่สอนต่อสปั ดาห์/ช่วั โมง ภาคเรยี นที่ 1 ปีการศกึ ษา 2562 ท่ี รหัสวชิ า วิชา/สาขา/กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ ช้นั /ระดบั จานวนชวั่ โมงสอน (คาบ/สปั ดาห์) 1 ค21201 คณติ ศาสตร์เพมิ่ เติม ม.1/1 – 1/5 10 2 ค32101 คณติ ศาสตร์พนื้ ฐาน1 ม.5/1-5/3 6 3 ส31205 หน้าที่พลเมือง1 1 4 กิจกรรมพบนักเรยี นประจาช้ัน ม. 4/1 1 5 กิจกรรม แนะแนว ม. 4/1 1 6 กจิ กรรมชมุ นมุ ส่งิ ประดิษฐ์คิดสร้างสรรค์ ม. 4/1 1 7 กิจกรรมลกู เสือสามญั รุ่นใหญ่ ม.4-6 1 8 กิจกรรมลดเวลาเรยี น - เพิ่มเวลารู้ ม.2 5 9 กิจกรรมสวดมนต์ไหว้พระประจาสปั ดาห์ ม.1-3 1 10 ชุมชนแหง่ การเรยี นรู้ (PLC) ม.1-6 2 29 รวมชั่วโมงภาคเรยี นที่ 1 - ภาคเรยี นท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2562 ท่ี รหัสวชิ า วิชา/สาขา/กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ ชั้น/ระดับ จานวนชวั่ โมงสอน (คาบ/สัปดาห์) 1 ค21102 คณิตศาสตร์พ้นื ฐาน 2 ม.1/1 – 1/5 15 2 ส31206 หนา้ ทพี่ ลเมือง 2 ม. 4/1 1 3 กจิ กรรมพบนกั เรียนประจาชั้น ม. 4/1 1 4 กจิ กรรม แนะแนว ม. 4/1 1 5 กิจกรรมชุมนุมสิ่งประดิษฐ์คิดสรา้ งสรรค์ ม.4-6 1 6 กิจกรรมลูกเสือสามญั ร่นุ ใหญ่ ม.2 1 7 กิจกรรมลดเวลาเรียน - เพม่ิ เวลารู้ ม. 1-3 5 8 กิจกรรมสวดมนต์ไหวพ้ ระประจาสัปดาห์ ม.1-6 1 9 ชมุ ชนแห่งการเรียนรู้ (PLC) 2 รวมชั่วโมงภาคเรียนที่ 2 28

8 ภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2563 ท่ี รหัสวชิ า วิชา/สาขา/กลุม่ สาระการเรยี นรู้ ช้ัน/ระดับ จานวนชั่วโมงสอน (คาบ/สัปดาห์) 1 ค21101 คณติ ศาสตร์พนื้ ฐาน1 ม.1/1 – 1/5 15 2 ส32205 หน้าที่พลเมือง ม.5/1 1 3 พบนักเรียนประจาช้ัน ม.5/1 1 4 กจิ กรรมชมุ นุม ม.ตน้ /ปลาย 1 5 กิจกรรมสวดมนต์ไหว้พระประจาสปั ดาห์ ม.๑-๖ 1 6 กิจกรรมลกู เสือ-เนตรนารี ม.2 1 7 กจิ กรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ม.๑-3 1 8 ชมุ ชนแหง่ การเรยี นรู้ (PLC) -2 รวมช่ัวโมงภาคเรยี นท่ี 1 23 ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2563 ที่ รหสั วชิ า วชิ า/สาขา/กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ ชนั้ /ระดบั จานวนช่วั โมงสอน (คาบ/สัปดาห์) 1 ค21102 คณติ ศาสตร์พ้ืนฐาน2 ม.1/1,3,5 9 6 2 ค31202 คณิตศาสตรเ์ พ่ิมเตมิ 2 ม.4/1-3 1 1 3 ส32206 หน้าที่พลเมือง ม.5/1 1 1 4 ชมุ นุมเวทคณติ 1 2 5 กจิ กรรมสวดมนต์ไหว้พระประจาสัปดาห์ 22 6 กิจกรรมลกู เสือ-เนตรนารี จานวน(คน) 169 7 STEM 113 41 8 ชุมชนแห่งการเรยี นรู้ (PLC) 323 รวมช่ัวโมงภาคเรียนท่ี 2 จานวนผเู้ รยี นทส่ี อน ภาคเรยี นท่ี 1/2562 ลาดบั รายวิชา ระดับชน้ั ชัน้ 1 คณิตศาสตร์เพิม่ เติม ม.1/1 – 1/5 2 คณิตศาสตร์พน้ื ฐาน ม.5/1-5/3 3 หน้าทพ่ี ลเมือง รวม ม.4/1

ภาคเรยี นท่ี 2/2562 9 ลาดบั รายวชิ า ช้นั จานวน(คน) 1 คณติ ศาสตร์พ้นื ฐาน 2 ม.1/1 – 1/5 165 3 หนา้ ทพี่ ลเมือง 38 ม. 4/1 203 รวม จานวน(คน) ภาคเรียนท่ี 1/2563 169 37 ลาดับ รายวิชา ระดบั ชน้ั 206 1 คณิตศาสตร์พนื้ ฐาน1 ม.1/1-5 จานวน (คน) 101 2 หน้าท่ีพลเมือง ม. 5/1 93 37 รวม 231 ภาคเรยี นที่ 2/2563 ลาดบั รายวชิ า ระดับชน้ั 1 คณิตศาสตร์พ้ืนฐาน 2 ม. 1/1, 3, 5 2 คณติ ศาสตร์เพิ่มเตมิ 2 ม. 4 /1-4/3 3 หนา้ ที่พลเมือง ม. 5/1 รวม ปฏิบตั ิงานอื่น (ถา้ มี) โปรดระบุ งานพิเศษในโรงเรยี น ภาคเรียน/ งานท่รี บั ผดิ ชอบ ปีการศกึ ษา หนา้ ท่กี ลุ่มบรหิ ารงานวิชาการ 1/2562 - ครูผ้สู อนกลุ่มสาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์ - งานทะเบียนผลการเรียนเฉลย่ี (GPA) - โรงเรยี นมาตรฐานสากล - ดแู ลและรบั ผดิ ชอบงานกิจกรรมพฒั นาผู้เรียน กจิ กรรมลูกเสือ-เนตรนารี - กจิ กรรมสง่ เสรมิ พัฒนาคุณธรรม จรยิ ธรรมและพัฒนาสงั คม สาธารณประโยชน์ หนา้ ท่กี ลุ่มบรหิ ารงานบุคคล - ครเู วรประจาวันหยุด

ภาคเรยี น/ 10 ปกี ารศกึ ษา 1/2562 (ตอ่ ) งานทร่ี บั ผิดชอบ 2/2562 หนา้ ท่กี ลมุ่ บรหิ ารทว่ั ไป - ครเู วรประจาวนั อังคาร 1/2563 - ครทู ป่ี รกึ ษาช้นั มัธยมศึกษา ปีท่ี 4/1 - ระบบดแู ลชว่ ยเหลือนักเรียนชั้นมัธยมศกึ ษาปีที่ 4/1 - ดูแลนกั เรียนในเรอ่ื งพฤติกรรมต่าง ๆ ของโรงเรียน - ดูแลนักเรยี นตามทไ่ี ด้รบั มอบหมาย หนา้ ทกี่ ลุ่มบรหิ ารงานวิชาการ - ครผู สู้ อนกลมุ่ สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ - งานทะเบียนผลการเรียนเฉลยี่ (GPA) - ดแู ลและรับผิดชอบงานกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน กจิ กรรมลูกเสือ-เนตรนารี - กิจกรรมส่งเสรมิ พัฒนาคุณธรรม จริยธรรมและพฒั นาสงั คม สาธารณประโยชน์ หน้าทก่ี ลุ่มบริหารงานบคุ คล - ครูเวรประจาวันหยดุ หน้าทีก่ ล่มุ บริหารทว่ั ไป - ครูเวรประจาวนั องั คาร - ครูท่ีปรึกษาชนั้ มธั ยมศึกษา ปที ี่ 4/1 - ระบบดูแลชว่ ยเหลอื นักเรียนชนั้ มธั ยมศึกษาปีที่ 4/1 - โครงการเด็กพิเศษเรยี นร่วม - ดแู ลนกั เรยี นในเรือ่ งพฤติกรรมตา่ ง ๆ ของโรงเรยี น - ดแู ลนักเรยี นตามท่ีไดร้ ับมอบหมาย หนา้ ท่กี ลุ่มบริหารงานวชิ าการ - ครผู สู้ อนกล่มุ สาระการเรียนรูค้ ณิตศาสตร์ - งานทะเบยี นผลการเรยี นเฉลยี่ (GPA) - งานระบบจดั เกบ็ ข้อมูลนักเรียนรายบุคคล ( Data Management Center ) - ดูแลและรับผดิ ชอบงานกิจกรรมพัฒนาผเู้ รียน กิจกรรมลูกเสอื -เนตรนารี - กจิ กรรมสง่ เสริม พฒั นาคุณธรรม จริยธรรมและพัฒนาสังคม สาธารณประโยชน์ หน้าท่กี ลุ่มบรหิ ารงานบคุ คล - ครูเวรประจาวันหยดุ หนา้ ทกี่ ลุม่ บรหิ ารทั่วไป - ครูเวรประจาวันองั คาร - ครูที่ปรึกษาชั้นมธั ยมศึกษา ปที ี่ 5/1 - ระบบดแู ลช่วยเหลือนกั เรียนชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 5/1 - โครงการเด็กพเิ ศษเรยี นร่วม - ดูแลนักเรยี นในเรื่องพฤติกรรมต่าง ๆ ของโรงเรยี น - ดูแลนกั เรียนตามท่ไี ด้รบั มอบหมาย

ภาคเรยี น/ 11 ปกี ารศกึ ษา งานทรี่ ับผดิ ชอบ 2/2563 หนา้ ท่ีกลุ่มบรหิ ารงานวิชาการ - ครูผู้สอนกลมุ่ สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ - งานทะเบียนผลการเรียนเฉลย่ี (GPA) - งานระบบจดั เกบ็ ข้อมลู นักเรียนรายบคุ คล ( Data Management Center ) - งานเทียบการโอน - ดแู ลและรับผิดชอบงานกิจกรรมพัฒนาผูเ้ รียน กิจกรรมลูกเสือ-เนตรนารี - กิจกรรมสง่ เสริม พฒั นาคุณธรรม จรยิ ธรรมและพัฒนาสงั คม สาธารณประโยชน์ หนา้ ทีก่ ลุ่มบรหิ ารงานบคุ คล - ครูเวรประจาวนั หยุด หนา้ ทกี่ ลมุ่ บริหารทว่ั ไป - ครเู วรประจาวันอังคาร - ครูที่ปรึกษาชัน้ มัธยมศึกษา ปีที่ 5/1 - ระบบดแู ลช่วยเหลือนกั เรียนชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 5/1 - ดแู ลนกั เรยี นในเรอื่ งพฤติกรรมต่าง ๆ ของโรงเรยี น - ดูแลนักเรียนตามที่ได้รบั มอบหมาย ข้อมูลอื่น ๆได้แก่ ปริมาณงาน คณุ ภาพงาน และสภาพของงานที่ผู้ขอรับการประเมนิ ปฏิบตั ิ 1) งานกลมุ่ บริหารวิชาการ 1. หัวหน้างานทะเบียนนักเรียน และเทียบโอนผลการเรียน 2. คณะกรรมการกลมุ่ บรหิ ารงานวชิ าการ 4. ครผู ู้สอนกลมุ่ คณิตศาสตร์ 5. สอนเสริมพื้นฐานความรู้และติวเพื่อยกระดับผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนในรายวิชา คณิตศาสตร์ ในการสอบ O – NET เพอ่ื เตรียมตวั สอบเข้าสถาบนั อุดมศึกษาต่าง ๆ สรปุ ไดว้ ่า ระดับคุณภาพการปฏบิ ตั งิ าน เมอ่ื ประเมนิ ด้วยตนเองแล้วอยใู่ นระดับ  ดมี าก  ดี  พอใช้  ควรพัฒนาขนึ้ 2) งานกล่มุ บริหารท่วั ไป 1. ครผู ูค้ วบคุมนักเรียนในการดูแลความสะอาดเขตพน้ื ที่ 2. ปฏบิ ัติหนา้ ทอ่ี ืน่ ทไ่ี ดร้ ับมอบหมาย สรปุ ไดว้ า่ ระดับคุณภาพการปฏิบัติงาน เม่อื ประเมนิ ด้วยตนเองแล้วอยู่ในระดับ  ดีมาก  ดี  พอใช้  ควรพัฒนาขน้ึ

12 งานกิจการนกั เรยี น 1. งานหนา้ ทคี่ รปู ระจาชน้ั /ครูทปี่ รกึ ษา(ระบบดแู ลช่วยเหลอื นกั เรียน) 1. เช็คชื่อการเข้ารว่ มกจิ กรรมหน้าเสาธงในเวลาเช้า/หลังเลกิ เรยี น 2. คัดกรองนกั เรียนออกเป็นกลุ่มปกติ กลุ่มเส่ยี ง กลมุ่ มปี ัญหา 3. อบรมนกั เรียนในกิจกรรมโฮมรมู /กจิ กรรมแนะแนว/กจิ กรรมพัฒนาคุณธรรม 4. ออกเย่ียมบ้านนกั เรยี น 5. ใหค้ าปรกึ ษาแกน่ ักเรยี นท่มี พี ฤตกิ รรมเส่ยี งและมีปัญหา สรุปไดว้ ่า ระดบั คณุ ภาพการปฏบิ ัตงิ าน เม่อื ประเมินดว้ ยตนเองแล้วอยูใ่ นระดบั  ดีมาก  ดี  พอใช้  ควรพฒั นาขน้ึ 2. งานปกครอง 1. ดแู ลพฤติกรรมนกั เรียนในระดับชั้นมธั ยมศึกษาปที ี่ 5/1 2. ดแู ลพฤติกรรมนกั เรยี นท้ังโรงเรียน 3. ปฏิบตั หิ นา้ ทีค่ รูเวรประจาวนั พฤหัสบดี ปฏบิ ตั หิ นา้ ท่ีอบรมหน้าเสาธง 4. ปฏิบตั หิ น้าที่เปน็ ครูที่ปรึกษาระดบั ช้ัน ม.5/1 5. ปฏิบัตหิ นา้ ท่ีครูเวรประจาวนั หยุดทกุ ครง้ั 6. ปฏิบัติหน้าทอี่ ืน่ ทไี่ ด้รบั มอบหมาย สรปุ ไดว้ า่ ระดับคุณภาพการปฏบิ ตั งิ าน เม่ือประเมินดว้ ยตนเองแลว้ อย่ใู นระดับ  ดีมาก  ดี  พอใช้  ควรพฒั นาข้ึน 3) กล่มุ บริหารงานบคุ คล 1. มาปฏบิ ตั หิ นา้ ท่ตี รงตามเวลาราชการทก่ี าหนด มีการลงเวลาปฏบิ ตั ริ าชการทกุ คร้งั 2. ปฏบิ ตั ิตามกฎระเบียบการลาของทางราชการ 3. จดั ทาคาสงั่ ตา่ ง ๆ ของทางโรงเรียนหรอื งานทีร่ บั ผิดชอบ สรปุ ได้วา่ ระดับคุณภาพการปฏบิ ตั ิงาน เม่ือประเมนิ ด้วยตนเองแล้วอยู่ในระดบั  ดีมาก  ดี  พอใช้  ควรพัฒนาข้ึน 4) งานกิจกรรมชุมนุมเวทคณิต มสี มาชิก 20 คน 1. ฝกึ ทกั ษะการการคดิ เลขเร็ว โดยใช้เทคนคิ เวทคณติ 2. นานักเรียนในชมุ นุมเข้าร่วมแข่งขันทักษะวชิ าการงานศิลปหตั กรรมนกั เรยี น สรุปได้ว่า ระดับคณุ ภาพการปฏบิ ัตงิ าน เมื่อประเมินด้วยตนเองแลว้ อยู่ในระดับ  ดมี าก  ดี  พอใช้  ควรพฒั นาข้นึ 2.3.2 คณุ ภาพงาน กิจกรรม/ผลงาน/ชิ้นงานเด่นที่มีความภาคภูมิใจและประทับใจท่ีได้ดาเนินการ ข้าพเจ้ามีความ ภาคภมู ใิ จในผลงานดงั นี้ ขา้ พเจา้ ได้พัฒนาตนเองและปฏิบัตกิ ารสอนนกั เรียนและมผี ลงานกับตนเองและนักเรยี น ดงั ตอ่ ไปนี้

13 1) ได้จัดทาวจิ ัยในชัน้ เรยี น 2) ออกแบบแผนการจดั การเรียนรทู้ เ่ี น้นผู้เรยี นเปน็ สาคัญ 3) จัดทาวเิ คราะห์หลักสตู รรายวชิ า 4) ครผู ู้สอนนักเรียน ไดร้ บั รางวัลระดบั เหรยี ญทอง รองชนะเลิศอนั ดับท่ี 2 กิจกรรมการ แข่งขันเวทคณติ ระดบั ชน้ั ม.1 – ม.3 งานศิลปหตั ถกรรมนักเรยี น ระดับเขตพ้นื ทกี่ ารศกึ ษา ครั้งท่ี 69 ปีการศึกษา 2562 ณ โรงเรียนสตรชี ัยภูมิ อาเภอเมอื ง จังหวัดชยั ภูมิ วันท่ี 8-10 ตลุ าคม 2562 5) ครผู สู้ อนนกั เรยี น ไดร้ บั รางวลั ระดบั เหรียญทอง รองชนะเลิศอนั ดบั ท่ี 1 กิจกรรม การ แขง่ ขนั เวทคณิต ระดับช้ัน ม.1 – ม.3 งานศลิ ปหตั ถกรรม นกั เรยี น ระดับเขตพ้นื ที่การศึกษา ประจาปีการศกึ ษา 2563 ณ โรงเรียนสตรีชัยภูมิ อาเภอเมือง จงั หวัดชยั ภูมิ วนั ท่ี 3-4 ธนั วาคม 2563 6) ครผู ูส้ อนนกั เรยี น ไดร้ บั รางวัลระดบั เหรียญทอง ชนะเลิศ กจิ กรรม การแข่งขนั คดิ เลขเร็ว ระดับชั้น ม.1 – ม.3 งานศิลปหัตถกรรม นกั เรียน ระดับเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษา ประจาปีการศึกษา 2563 ณ โรงเรยี นสตรชี ยั ภมู ิ อาเภอเมอื ง จังหวดั ชยั ภูมิ วันที่ 3-4 ธันวาคม 2563 7) ครผู ู้สอนนักเรียน ได้รับรางวลั ระดับเหรียญเงนิ ชนะเลิศ กิจกรรม การประกวดโครงงาน คณิตศาสตร์ ประเภทบรู ณาการความรู้ในคณติ ศาสตร์ไปประยกุ ตใ์ ช้ ระดับช้ัน ม.1 – ม.3 งาน ศิลปหตั ถกรรม นักเรียน ระดับเขตพ้ืนท่กี ารศกึ ษา ประจาปีการศึกษา 2563 ณ โรงเรยี นสตรีชัยภูมิ อาเภอเมือง จังหวดั ชยั ภมู ิ วนั ที่ 3-4 ธนั วาคม 2563 8) ไดร้ ับรางวลั ครดู ีไมม่ ีอบายมุข ประจาปีการศึกษา 2563 เนื่องในวันครูแห่งชาติ พุทธศักราช 2564 วันที่ 16 มกราคม 2564 จากสานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน โดยสานัก พัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา ร่วมกบั สานักงานเครอื ข่ายองค์การงดเหลา้ (สคล.) สานักงานกองทนุ สรา้ ง เสริมสขุ ภาพ (สสส.) มหาวทิ ยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั และคุรสุ ภา 9) ไดร้ บั รางวลั “ครูดศี รเี ทพวิทย์” ครูผสู้ อน กลุ่มสาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนเทพ สถิตวิทยา อาเภอเทพสถิต จังหวดั ชัยภูมิ 3.2 สภาพของงาน รบั ผดิ ชอบนักเรียนท่ีมีความต้องการจาเปน็ พิเศษ รับผิดชอบนกั เรียนที่มีความต้องการพเิ ศษหลายประเภทความพิการและมีลักษณะอาการรนุ แรง รบั ผิดชอบนักเรียนที่มีความหลากหลายทางเศรษฐกิจ/วัฒนธรรม สถานศึกษาต้ังอยู่บนพน้ื ทีป่ กติ สถานศึกษาทตี่ งั้ อยใู่ นพื้นทีภ่ เู ขา หรือเกาะหรอื ติดกับรอยตะเข็บชายแดน สถานศึกษาทตี่ งั้ อยใู่ นพ้ืนท่ที ี่มลี ักษณะพิเศษ เชน่ กนั ดาร เส่ียงภัยตามประกาศของทางราชการ เป็น ตน้ ขอรับรองวา่ ข้อมูลท้ังหมดถูกตอ้ ง และเป็นความจริง (ลงชื่อ)……………………………………ผขู้ อรบั การประเมิน (นางสาวกรรณกิ า ลิกัลตา) ตาแหนง่ ครู วนั ท่ี …….. เดือน ……….. พ.ศ. ……….

14 การตรวจสอบและรับรองของผบู้ ังคับบัญชา ไดต้ รวจสอบแลว้ รบั รองวา่ ข้อมูลถกู ต้อง และเป็นความจรงิ (ลงช่ือ)......................................................ผบู้ งั คบั บัญชาชัน้ ตน้ (นายกฬี าชยั รตั นยี ศ์ รบี ัณฑิต) ผ้อู านวยการโรงเรียนเมืองพญาแลวิทยา วนั ที่ ........... เดือน ...................... พ.ศ. .........

15 ภาคผนวก

16 ภาคผนวก ก ผลสมั ฤทธิท์ างการเรียน ก่อนเรยี นและหลงั เรยี น

17 การคานวณหาค่ามาตรฐานซี (Z- score) และ หาคะแนนที (T-score) คะแนน กอ่ นเรยี น – หลังเรยี น วชิ าคณิตศาสตร์พน้ื ฐาน 2 ปีการศึกษา 2563 ลาดับ ชือ่ -สกลุ คะแนนกอ่ นเรียน Z- score T-score คะแนนหลังเรยี น Z- score Z- score ท่ี (20) (20) 1 เด็กชาย กฤตภาส สีพทุ 14 0.5011 55.0113 16 1.1890 61.8897 2 เดก็ ชาย กฤตยชญ์ สมขนุ ทด 8 -1.5624 34.3764 9 -1.2184 37.8156 3 เดก็ ชาย จารุวตั ร ถนอมสงวน 11 -0.5306 44.6939 8 -1.5624 34.3764 4 เดก็ ชาย ชนะชัย จนั ทรเ์ พง็ 8 -1.5624 34.3764 13 0.1572 51.5722 5 เดก็ ชาย ชัยวัตน์ นายะพนั ธ์ 7 -1.9063 30.9372 15 0.8450 58.4505 6 เด็กชาย ทักษด์ นยั แบนอภัย 11 -0.5306 44.6939 9 -1.2184 37.8156 7 เดก็ ชาย ไทยเทพ ปะตาทายัง 8 -1.5624 34.3764 11 -0.5306 44.6939 8 เด็กชาย ธนกฤต โพทาวรรณ์ 7 -1.9063 30.9372 14 0.5011 55.0113 9 เดก็ ชาย ธรี ะวฒั น์ บวรธีระกจิ ชยั 13 0.1572 51.5722 16 1.1890 61.8897 10 เด็กชาย นนทนนั ท์ เปา้ ประจาเมือง 14 0.5011 55.0113 16 1.1890 61.8897 11 เด็กชาย ร่งุ โรจน์ บารุงนอก 15 0.8450 58.4505 17 1.5329 65.3288 12 เดก็ ชาย ยศกร ศิริแวว 15 0.8450 58.4505 18 1.8768 68.7680 13 เดก็ ชาย สรยทุ ธ สมบัติ 12 -0.1867 48.1330 14 0.5011 55.0113 14 เดก็ ชาย สิทธิโชค มงุ่ พงิ กลาง 10 -0.8745 41.2547 15 0.8450 58.4505 15 เดก็ ชาย อรรทรพล บุญกล้า 8 -1.5624 34.3764 13 0.1572 51.5722 16 เดก็ หญงิ จิราภา ชะอุ่มกลาง 11 -0.5306 44.6939 14 0.5011 55.0113 17 เด็กหญิง ฉตั รพร อุ่นสวัสด์ิ 12 -0.1867 48.1330 15 0.8450 58.4505 18 เด็กหญิง ชนดั ดา เเจม่ ศลิ า 9 -1.2184 37.8156 12 -0.1867 48.1330 19 เด็กหญิง ณัฏฐช์ ยา จันทร์สอน 8 -1.5624 34.3764 10 -0.8745 41.2547 20 เด็กหญิง ณัฐสุดา สนิ ตะละ 12 -0.1867 48.1330 14 0.5011 55.0113 21 เด็กหญงิ พิจิตรา ศิลปป์ ระกอบ 12 -0.1867 48.1330 18 1.8768 68.7680 22 เด็กหญิง พิชญาภา ลายทองทา 12 -0.1867 48.1330 18 1.8768 68.7680 23 เด็กหญงิ พิชาภรณ์ ยุ้งจัตุรัส 12 -0.1867 48.1330 15 0.8450 58.4505 24 เด็กหญิง พมิ ลรตั น์ กะทง 13 0.1572 51.5722 15 0.8450 58.4505 25 เดก็ หญิง เพชราภรณ์ สีแก้วกา 12 -0.1867 48.1330 13 0.1572 51.5722 26 เดก็ หญิง ภคั จริ า ไชขุนทด 11 -0.5306 44.6939 15 0.8450 58.4505 27 เดก็ หญิง มัชฌิมา ใจสบาย 10 -0.8745 41.2547 14 0.5011 55.0113

18 ลาดบั ชื่อ-สกลุ คะแนนกอ่ นเรยี น Z- score T-score คะแนนหลงั เรียน Z- score Z- score ที่ (20) (20) -0.1867 48.1330 0.5011 55.0113 28 เด็กหญงิ วริศรา กงิ พทุ รา 12 -0.5306 44.6939 14 -0.1867 48.1330 29 เดก็ หญิง ศิรญิ ญา ภมู โิ คกรักษ์ 11 -1.2184 37.8156 12 0.5011 55.0113 30 เด็กหญงิ สดุ ารตั น์ ลามา 9 -1.5624 34.3764 14 -0.5306 44.6939 0.1572 51.5722 1.1890 61.8897 31 เด็กหญิง สวุ ชิ าดา ปังกระโทก 8 -1.2184 37.8156 11 0.5011 55.0113 13 0.8450 58.4505 16 1.5329 65.3288 31 เดก็ หญิง อนสิ า จาปาทอง 9 0.5011 55.0113 14 1.5329 65.3288 33 เดก็ หญงิ อรวรนิ ทร์ บรรลอื ทรพั ย์ -0.86 41.41 0.86 58.59 15 0.54 5.36 17 0.48 4.76 34 เดก็ หญงิ องั คณา กิงนอก 14 1.01 60.08 17 1.67 66.66 -1.84 31.59 -0.09 49.12 35 เดก็ หญิง องิ พร องิ คสฤษฎ์ 6.48 14.32 Mean 2.44 2.17 SD 15.00 18.00 MAX 2.00 10.00 MIN คะแนนทีเฉลี่ย (Average T Score) ของผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี นก่อนเรียน = 44.79 คะแนนทเี ฉลีย่ (Average T Score) ของผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนหลังเรยี น = 55.21 รอ้ ยละของคะแนนทเี ฉล่ียที่เพิม่ ขนึ้ = 10.42

19 ภาคผนวก ข ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี น ปีการศึกษา 2563 และปกี ารศกึ ษา 2564

การคานวณหาคะแนนทีเฉ ของผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นปลาย กลุ่มสาระการเรียนร/ู้ รายวิชาคณิตศาสต ลาดับท่ี ชื่อ – สกุล นักเรียน คะแนน Z- score T- score ปลายภาค 1 เด็กชาย ชยธร ทวลี าภ /2562 1.203 62.031 2 เด็กชาย ณัฐวตั ร มอื ขุนทด 1.440 64.398 3 เด็กชาย ทวิ านนท์ เดียขนุ ทด 80 -0.572 44.281 4 เด็กชาย ธัญวิชญ์ อินอ่อน 84 0.079 50.790 5 เดก็ ชาย นฤพนธ์ อนุ่ ธง 50 -0.454 45.465 6 เด็กชาย ราชภูมิ ทวลี าภ 61 -0.394 46.056 7 เดก็ ชาย วรี ภัทธ ภูผ่านแกว้ 52 0.611 56.115 8 เดก็ ชาย ศลิ า พลพิมาย 53 0.611 56.115 9 เดก็ ชาย สรุ ยุทธ มาลัยสร้อย 70 -0.454 45.465 10 เดก็ หญงิ กชกร กา้ นจกั ร 70 0.611 56.115 11 เดก็ หญิง จนิ ตนา พนั ธมุ า 52 0.671 56.706 12 เดก็ หญงิ ชนญั ชดิ า มองฤทธ์ิ 70 1.617 66.173 13 เด็กหญงิ ญาณิศา สังวาล 71 1.321 63.214 14 เด็กหญงิ ณัฐณิชา ทองแดง 87 0.907 59.073 15 เด็กหญงิ ณฐั ราวรรณ เนรมิตรครบรุ ี 82 0.079 50.790 16 เดก็ หญงิ ณิชารยี ์ หาญชัย 75 1.440 64.398 17 เดก็ หญิง นภสั สร ตะกรุดแจม่ 61 0.316 53.156 84 65

20 ฉลย่ี (Average T Score) ยภาคเรยี น/ปลายปี 2562-2563 ตร์พน้ื ฐาน 2 ระดบั ช้ันมัธยมศกึ ษาปีท่ี 1 คะแนน ลาดบั ท่ี ชือ่ – สกลุ นกั เรยี น ปลายภาค Z- score T- score 1 /2563 -0.749 42.506 2 0.434 54.340 3 เด็กชาย กฤตภาส สพี ุท 47 -0.986 40.140 4 1.854 68.539 5 เดก็ ชาย กฤตยชญ์ สมขุนทด 67 6 -0.099 49.015 7 เด็กชาย จารุวตั ร ถนอมสงวน 43 0.907 59.073 8 0.671 56.706 9 เด็กชาย ชนะชยั จันทร์เพง็ 91 1.321 63.214 10 0.138 51.381 11 เด็กชาย ชัยวตั น์ นายะพนั ธ์ 0 -0.690 43.098 12 -0.276 47.240 13 เด็กชาย ทกั ษ์ดนัย แบนอภยั 58 0.020 50.198 14 0.966 59.664 15 เด็กชาย ไทยเทพ ปะตาทายัง 75 16 1.381 63.806 17 เดก็ ชาย ธนกฤต โพทาวรรณ์ 71 1.558 65.581 เดก็ ชาย ธรี ะวัฒน์ บวรธรี ะกิจชัย 82 เดก็ ชาย นนทนันท์ เปา้ ประจาเมอื ง 62 เด็กชาย รุ่งโรจน์ บารงุ นอก 48 เดก็ ชาย ยศกร ศิริแวว 55 เด็กชาย สรยุทธ สมบตั ิ 60 เด็กชาย สทิ ธิโชค ม่งุ พิงกลาง 76 เด็กชาย อรรทรพล บุญกล้า 0 เด็กหญงิ จริ าภา ชะอุ่มกลาง 83 เดก็ หญงิ ฉตั รพร อุน่ สวัสด์ิ 86

การคานวณหาคะแนนทีเฉ ของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนปลาย กลมุ่ สาระการเรียนร/ู้ รายวิชาคณติ ศาสต ลาดับท่ี ชอื่ – สกลุ นักเรียน คะแนน Z- score T- score ปลายภาค 18 เดก็ หญิง นนั ท์นภัส แสนโคตร /2562 0.730 57.298 19 เดก็ หญงิ นาทิพย์ นากระโทก 0.020 50.198 20 เด็กหญงิ บษุ ราคมั ชินขนุ ทด 72 0.789 57.890 21 เด็กหญิง บหุ งา ทะวงษา 60 0.730 57.298 22 เด็กหญงิ ปนานนท์ สแี สง 73 0.789 57.890 23 เด็กหญงิ ปลายฝน เชือมีแรง 72 0.730 57.298 24 เดก็ หญงิ ปิยะฉตั ร สอนฤทธ์ิ 73 0.493 54.931 25 เดก็ หญิง ปิยากร งามสดุ 72 0.138 51.381 26 เด็กหญงิ ลลติ า ยางปอ้ ม 68 0.789 57.890 27 เด็กหญงิ ลักษมี โพกขุนทด 62 0.079 50.790 28 เด็กหญิง วาสนา สขุ สวน 73 1.321 63.214 29 เดก็ หญิง ศาธนิ ี หกู ขนุ ทด 61 0.434 54.340 30 เดก็ หญงิ สกุ ฤตา สุขดี 82 0.611 56.115 31 เดก็ หญิง สุธดิ า สิงห์ขุนทด 67 0.611 56.115 32 เด็กหญิง สุนศิ า สขุ เกษม 70 -0.276 47.240 33 เด็กหญงิ สุภาวณิ ี หาดขุนทด 70 0.611 56.115 34 เด็กหญิง อลินลกั ษณ์ บุญกวา้ ง 55 0.375 53.748 70 66

21 ฉลยี่ (Average T Score) ยภาคเรียน/ปลายปี 2562-2563 ตร์พ้ืนฐาน 2 ระดับช้ันมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1 ลาดบั ท่ี ชือ่ – สกลุ นกั เรียน คะแนน Z- score T- score ปลายภาค 18 เด็กหญงิ ชนดั ดา เเจ่มศลิ า /2563 0.907 59.073 19 เดก็ หญงิ ณัฏฐ์ชยา จนั ทรส์ อน 1.203 62.031 20 เดก็ หญิง ณฐั สดุ า สินตะละ 75 0.966 59.664 21 เดก็ หญงิ พิจติ รา ศลิ ปป์ ระกอบ 80 1.026 60.256 22 เดก็ หญิง พิชญาภา ลายทองทา 76 0.966 59.664 23 เดก็ หญงิ พชิ าภรณ์ ยงุ้ จัตรุ ัส 77 1.499 64.989 24 เด็กหญิง พิมลรตั น์ กะทง 76 -0.572 44.281 25 เด็กหญงิ เพชราภรณ์ สีแกว้ กา 85 1.026 60.256 26 เดก็ หญิง ภคั จริ า ไชขนุ ทด 50 1.854 68.539 27 เดก็ หญิง มัชฌมิ า ใจสบาย 77 1.026 60.256 28 เดก็ หญงิ วรศิ รา กงิ พทุ รา 91 1.381 63.806 29 เด็กหญงิ ศริ ิญญา ภมู ิโคกรักษ์ 77 0.020 50.198 30 เดก็ หญงิ สดุ ารตั น์ ลามา 83 0.907 59.073 31 เด็กหญิง สวุ ชิ าดา ปงั กระโทก 60 1.026 60.256 32 เดก็ หญงิ อนิสา จาปาทอง 75 0.671 56.706 33 เดก็ หญงิ อรวรินทร์ บรรลอื ทรัพย์ 77 1.203 62.031 34 เดก็ หญงิ องั คณา กงิ นอก 71 1.499 64.989 80 85

การคานวณหาคะแนนทีเฉ ของผลสัมฤทธทิ์ างการเรียนปลาย กลุ่มสาระการเรียนร้/ู รายวชิ าคณิตศาสต ลาดับที่ ชือ่ – สกุล นกั เรยี น คะแนน Z- score T- score ปลายภาค 35 เดก็ ชาย จักรกฤช ธนงั เศรษฐ /2562 -1.223 37.773 36 เด็กชาย จาตรุ งค์ ทีเวียง -1.814 31.857 37 เด็กชาย จิรพัฒน์ ศรีพนม 39 -1.223 37.773 38 เดก็ ชาย ปฏิภาณ บุรีนอก 29 -1.164 38.365 39 เดก็ ชาย ปรวงศ์ พนู ขุนทด 39 -0.809 41.915 40 เด็กชาย ประกาศติ รินลา 40 -1.992 30.082 41 เด็กชาย พรี ะเดช ศรีสมบัติ 46 -2.228 27.715 42 เด็กชาย ภษู พนั ธ์ พนั ธุ 26 -0.394 46.056 43 เด็กชาย วริทธินนั ท์ จงล่างกลาง 22 0.079 50.790 44 เดก็ ชาย วิทวสั กองรัมย์ 53 -0.394 46.056 45 เดก็ ชาย ศกั ดด์ิ ี กงิ พุทรา 61 -0.572 44.281 46 เด็กชาย ศุภชัย แกว้ มศี รี 53 -0.572 44.281 47 เดก็ ชาย สธุ พี ัฒน์ จนั ทะคาภู 50 -1.223 37.773 48 เดก็ ชาย อดศิ ร อนุ่ มว่ ง 50 -0.158 48.423 49 เด็กหญงิ กัญณิกา สวุ รรณ์ 39 0.375 53.748 50 เดก็ หญิง กลั ยาณี บดขุนทด 57 -0.217 47.831 51 เดก็ หญงิ จนั ทจิรา งอกนาวัง 66 -0.454 45.465 56 52

22 ฉลย่ี (Average T Score) ยภาคเรยี น/ปลายปี 2562-2563 ตรพ์ นื้ ฐาน 2 ระดบั ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1 ลาดบั ท่ี ชือ่ – สกุล นักเรียน คะแนน Z- score T- score ปลายภาค 35 เด็กหญิง องิ พร องิ คสฤษฎ์ /2563 1.795 67.948 36 เด็กชาย จริ กิตติ์ คาผา 1.203 62.031 37 เด็กชาย ชยากร สิงหส์ ุพรรณ์ 90 0.789 57.890 38 เด็กชาย ชยั ภมู ิ ศรีหว้ ยไพร 80 39 เดก็ ชาย ทีรพล จันทาสี 73 -0.868 41.323 40 เด็กชาย ธนภทั ร โคตะนนท์ 0 0.079 50.790 41 เด็กชาย ธีรศักด์ิ เทพลา 45 -0.690 43.098 42 เด็กชาย ธีระพร คชสงู เนนิ 61 -0.513 44.873 43 เด็กชาย พรพต ประเสรฐิ ชยั 48 0.434 54.340 44 เด็กชาย พลาธปิ ทนนา 51 0.434 54.340 45 เดก็ ชาย ภาคิน โพโต 67 0.138 51.381 46 เดก็ ชาย ยสนิ ธร พหุโล 67 -0.690 43.098 47 เด็กชาย วทิ ยา พลบุญมา 62 -0.868 41.323 48 เดก็ ชาย ศกั ดา กลอนกลาง 48 -1.223 37.773 49 เดก็ ชาย อดเิ ทพ คุ้มคง 45 -0.454 45.465 50 เดก็ ชาย อนุชา เพยี รชานาญ 39 0.611 56.115 51 เด็กชาย อภสิ ทิ ธิ์ หาระชอน 52 -0.809 41.915 70 46

การคานวณหาคะแนนทีเฉ ของผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นปลาย กลมุ่ สาระการเรยี นรู้/รายวิชาคณิตศาสต ลาดบั ที่ ชอ่ื – สกุล นักเรยี น คะแนน Z- score T- score ปลายภาค 52 เด็กหญิง จิรชั ญา โพธกิ ะ /2562 0.434 54.340 53 เด็กหญงิ นัทธมน ขันตรมี ิตร 0.020 50.198 54 เดก็ หญงิ ปณดิ า เสนา 67 -0.572 44.281 55 เด็กหญิง ปลายฝัน ทองรกั ษ์ 60 0.020 50.198 56 เด็กหญิง ป่นิ แกว้ บญุ กวา้ ง 50 0.434 54.340 57 เด็กหญิง พทั ธวรรณ พัดมงคล 60 0.434 54.340 58 เด็กหญงิ แพรวา จารไุ พโรจน์ 67 0.020 50.198 59 เดก็ หญิง รวิสรา ธานี 67 0.611 56.115 60 เด็กหญิง วิภาพรรณ โกฎกลางดอน 60 0.316 53.156 61 เดก็ หญงิ ศศนิ ภิ า สนิ ปรุ 70 0.434 54.340 62 เด็กหญงิ ศิริลกั ษณ์ พลสงิ ห์ 65 0.375 53.748 63 เดก็ หญงิ สโรชา กาฬษร 67 0.671 56.706 64 เดก็ หญงิ ศศวิ ิมล พรีพรม 66 1.203 62.031 65 เดก็ ชาย รจนกร ปนั่ อนิ 71 0.079 50.790 66 เด็กชาย กฤติน พูนเกษม 80 -1.164 38.365 67 เด็กชาย กฤษณะ กระแสรโ์ ท 61 -1.874 31.265 68 เดก็ ชาย ชนะชยั คาพิทูล 40 -1.814 31.857 28 29

23 ฉลยี่ (Average T Score) ยภาคเรยี น/ปลายปี 2562-2563 ตร์พ้ืนฐาน 2 ระดับชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี 1 ลาดับที่ ชอ่ื – สกุล นักเรยี น คะแนน Z- score T- score ปลายภาค 52 เด็กชาย เอกลกั ษณ์ วงศว์ ลิ าศ /2563 -1.045 39.548 53 เดก็ หญิง จิรวรรณ ชูดจี ันทร์ -0.749 42.506 54 เดก็ หญิง เจษฎาภรณ์ พุ่มจันทร์ 42 1.026 60.256 55 เดก็ หญิง ณัฎฐช์ ยา เสียบแหลม 47 1.026 60.256 56 เด็กหญิง ณัฐธิดา วเิ ศษอักษร 77 1.440 64.398 57 เด็กหญงิ ธฤษญา ใกลส้ ุข 77 0.611 56.115 58 เด็กหญงิ นนั ท์นภสั สนิ ปรุ 84 1.795 67.948 59 เดก็ หญิง เบญจรัตน์ เชษฐ์ขนุ ทด 70 0.907 59.073 60 เด็กหญิง ปพชิ ญา พนั ธมุ ณี 90 1.203 62.031 61 เดก็ หญิง เปรมจิรา คุม่ บญุ 75 1.203 62.031 62 เด็กหญงิ มจั ฉา ศุภชยั ศริ ิเรอื ง 80 0.730 57.298 63 เด็กหญงิ มานิตา เหล่าพิเดช 80 0.730 57.298 64 เดก็ ชาย รฐั พล รัตนนคิ ม 72 1.795 67.948 65 เด็กหญิง ศศิกานต์ ภูมโิ คกรกั ษ์ 72 0.789 57.890 66 เดก็ หญงิ สุพรรษา หบี ขุนทด 90 -0.572 44.281 67 เดก็ หญิง สพุ ฒั ตรา เสรมิ สิน 73 0.966 59.664 68 เด็กหญงิ อารติ า ไพลกลาง 50 1.321 63.214 76 82

การคานวณหาคะแนนทเี ฉ ของผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นปลาย กล่มุ สาระการเรียนรู้/รายวิชาคณติ ศาสต ลาดบั ที่ ชือ่ – สกลุ นักเรยี น คะแนน Z- score T- score ปลายภาค 69 เดก็ ชาย ณฐั วุฒิ ต่อโชติ /2562 -0.572 44.281 70 เดก็ ชาย ทรงพล สีพุฒ -0.927 40.731 71 เดก็ ชาย ธีรภัทร์ งามเจรญิ 50 -0.454 45.465 72 เด็กชาย ภานุวิชญ์ จันทรเ์ นย 44 -1.814 31.857 73 เดก็ ชาย รกั ษกร ฝั่งสระ 52 -2.879 21.207 74 เดก็ ชาย ศิรวิ วิ ัฒน์ จลุ สคุ นธ์ 29 -1.104 38.957 75 เด็กชาย สญั ยา พุกเจริญ 11 -1.045 39.548 76 เดก็ หญงิ กมลชนก หลกั คา 41 -1.519 34.815 77 เดก็ หญิง กมลวรรณ ณนี ะพันธ์ 42 -0.217 47.831 78 เด็กหญงิ ขวญั ฤทยั กลินศรีสุข 34 -0.099 49.015 79 เดก็ หญงิ ชวาพร จนั ทีเทศ 56 0.316 53.156 80 เดก็ หญิง ณชั ชานันท์ วาทโยธา 58 0.907 59.073 81 เด็กหญิง ดารารัศมี แจ่มขนุ 65 -0.276 47.240 82 เดก็ หญิง ธนาภา สระโวหาร 75 -1.459 35.407 83 เดก็ หญงิ ธญั พิชชา บญุ หาญ 55 0.079 50.790 84 เดก็ หญิง เนตรดาวรรณ ลือชา 35 85 เด็กหญงิ บัวชมพู มุขมาลี 61 -1.282 37.182 0 38

24 ฉลยี่ (Average T Score) ยภาคเรียน/ปลายปี 2562-2563 ตร์พนื้ ฐาน 2 ระดบั ชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ 1 ลาดับท่ี ชอื่ – สกุล นักเรยี น คะแนน Z- score T- score ปลายภาค 69 เด็กชาย กฤษดา โซสงู เนนิ /2563 0.434 54.340 70 เดก็ ชาย จีรศักด์ิ เดชจังหรีด -0.868 41.323 71 เด็กชาย ชนาธินาถ บญุ นาค 67 -1.104 38.957 72 เดก็ ชาย ชยั นนั ท์ ชดผักแว่น 45 0.020 50.198 73 เด็กชาย ฐติ วิ ัฒน์ คชรินทร์ 41 0.079 50.790 74 เดก็ ชาย ณัฐนันท์ บญุ มาศ 60 -1.045 39.548 75 เดก็ ชาย ณัฐภทั ร สมบูรณ์ 61 0.907 59.073 76 เด็กชาย นราธิป นามแสง 42 1.321 63.214 77 เดก็ ชาย พงศธร เป้าประจาเมอื ง 75 0.907 59.073 78 เด็กชาย พิสิษฐ์ ถาวรพันธ์มุ ณี 82 0.197 51.973 79 เดก็ ชาย ภานุวฒั น์ รอดวินจิ 75 0.316 53.156 80 เด็กชาย เมตตวา จักรเครือ 63 1.262 62.623 81 เดก็ ชาย ไววิทย์ พูนทอง 65 1.203 62.031 82 เด็กชาย ศภุ กฤต เกตเุ เก้ว 81 0.197 51.973 83 เด็กชาย ศุภชีพ หนนู ้อย 80 0.907 59.073 84 เด็กชาย อตนิ ันท์ โพธกิ ะ 63 -0.927 40.731 85 เด็กชาย อภิกรณ์ เกง่ นอก 75 0.020 50.198 44 60

การคานวณหาคะแนนทีเฉ ของผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนปลาย กลมุ่ สาระการเรยี นร/ู้ รายวชิ าคณิตศาสต ลาดับที่ ชื่อ – สกุล นักเรยี น คะแนน Z- score T- score ปลายภาค 86 เด็กหญงิ บุญนสิ า สายบุตร /2562 0.020 50.198 87 เดก็ หญิง ปัณฑิตา ลอ้ มประเสริฐ -0.513 44.873 88 เดก็ หญงิ ผกามาศ กงิ จาปา 60 0.434 54.340 89 เดก็ หญงิ พิมพว์ พิ า พูนขนุ ทด 51 1.026 60.256 90 เด็กหญิง แพรวา แทนกลาง 67 -0.868 41.323 91 เดก็ หญงิ ฟา้ ใส ชนิ ขุนทด 77 0.316 53.156 92 เดก็ หญงิ ลกั ษมิกร ควนิ รมั ย์ 45 -1.341 36.590 93 เดก็ หญงิ ศิรินทร์ทิพย์ กลงึ กลางดอน 65 -1.282 37.182 94 เด็กหญิง สาธิตา ฝาสนั เทียะ 37 -1.282 37.182 95 เดก็ หญิง สชุ าดา สวัสดิช์ ัย 38 0.611 56.115 96 เด็กหญิง อลินลกั ษณ์ ชาญศิริ 38 -1.282 37.182 97 เดก็ หญงิ อษุ ามณี สีทน 70 0.316 53.156 98 เด็กชาย ณฐั พงษ์ แผ่นทอง 38 -1.519 34.815 99 เด็กชาย ถิรวฒั น์ หงษ์สาพงศ์ 65 -1.341 36.590 100 เด็กชาย ธนพล พรพี รม 34 -0.927 40.731 101 เดก็ ชาย ธนวัฒน์ พิพธิ กลุ 37 -1.341 36.590 102 เดก็ ชาย ธันวา พงึ สนั เทยี ะ 44 -0.513 44.873 37 51

25 ฉลย่ี (Average T Score) ยภาคเรยี น/ปลายปี 2562-2563 ตรพ์ ้ืนฐาน 2 ระดบั ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 1 ลาดับท่ี ช่ือ – สกลุ นกั เรียน คะแนน Z- score T- score ปลายภาค 86 เด็กชาย อาทิตย์ มาบขุนทด /2563 -1.045 39.548 87 เดก็ หญงิ ขวัญจิรา เจรญิ สขุ 1.381 63.806 88 เด็กหญิง จริ นนั ท์ มณีนอ้ ย 42 1.026 60.256 89 เดก็ หญงิ จิราพร ครัวกลาง 83 0.966 59.664 90 เด็กหญงิ ชลดา เทียบแสง 77 1.203 62.031 91 เด็กหญิง ณภทั ร ภาระราช 76 1.795 67.948 92 เด็กหญงิ ดวงเดอื น บาโทโร่ 80 1.854 68.539 93 เดก็ หญิง ทบั ทมิ เดส่ ันเทยี ะ 90 1.499 64.989 94 เดก็ หญิง ธนาวัลย์ ผดั พนั ธ์ 91 0.671 56.706 95 เดก็ หญิง ปนิดา ศิลาสลงุ 85 0.789 57.890 96 เด็กหญงิ เพชรลดั ดา แสงภกั ดี 71 0.789 57.890 97 เดก็ หญิง ภคั จริ า สาดกระโทก 73 0.671 56.706 98 เด็กหญงิ สริ ภทั ร โอง่ กลาง 73 0.730 57.298 99 เด็กหญงิ สุธกิ า ญาตพิ มิ ล 71 0.493 54.931 100 เดก็ หญิง สพุ รรษา ทิวะโค 72 0.671 56.706 101 เด็กชาย เบครนิ ทร์ 68 -0.986 40.140 102 71 43 0

การคานวณหาคะแนนทเี ฉ ของผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นปลาย กลมุ่ สาระการเรียนรู้/รายวิชาคณติ ศาสต ลาดับที่ ชอ่ื – สกุล นักเรยี น คะแนน Z- score T- score ปลายภาค 103 เด็กชาย ปกรณ์ หอขนุ ทด /2562 -0.927 40.731 104 เด็กชาย ประชา เสาศริ ิ -1.341 36.590 105 เด็กชาย พรภวิษย์ บุรนี อก 44 -1.400 35.998 106 เดก็ ชาย พรี วสั สักศิริ 37 -2.051 29.490 107 เดก็ ชาย ยทุ ธนา กัลยาสาย 36 -0.276 47.240 108 เดก็ ชาย วรี ะพรรณ์ จนั โท 25 -0.217 47.831 109 เดก็ ชาย ศิวกร ศรปี ระเสรฐิ 55 -2.051 29.490 110 เดก็ ชาย สุรศักด์ิ แก้วทอง 56 -1.045 39.548 111 เด็กชาย อดิศร โพธ์ิแตง 25 -0.276 47.240 112 เดก็ ชาย อภิรกั ษ์ ชุมผาง 42 1.203 62.031 113 เดก็ หญิง กรกนก วรพทุ ธพร 55 -1.341 36.590 114 เด็กหญงิ กลั ยาณี เกิดเดช 80 -0.454 45.465 115 เด็กหญงิ จรยิ า ไทยกลาง 37 -0.276 47.240 116 เดก็ หญิง จิราพชั ร ยนิ ดีรัมย์ 52 0.079 50.790 117 เด็กหญิง ชลธิชา อินทาสุข 55 -1.104 38.957 118 เดก็ หญงิ ณีรนุช ทองแท้ 61 -0.394 46.056 119 เดก็ หญิง ดวงตา จงู กลาง 41 -0.394 46.056 53 53

26 ฉลยี่ (Average T Score) ยภาคเรียน/ปลายปี 2562-2563 ตร์พื้นฐาน 2 ระดบั ชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 1 ลาดบั ท่ี ช่ือ – สกลุ นกั เรยี น คะแนน T- score ปลายภาค Z- score 103 /2563 104 105 106 107 108 109 110 111 112 113 114 115 116 117 118 119

การคานวณหาคะแนนทเี ฉ ของผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นปลาย กล่มุ สาระการเรียนรู/้ รายวิชาคณติ ศาสต ลาดับที่ ชอ่ื – สกุล นกั เรียน คะแนน Z- score T- score ปลายภาค 120 เด็กหญิง ธนภรณ์ ฉมิ แสง /2562 -0.572 44.281 121 เด็กหญิง ธนัชญา ดานขนุ ทด 0.434 54.340 122 เดก็ หญงิ นนั ทน์ ภสั คุม้ วงศ์ 50 -0.158 48.423 123 เด็กหญิง เนตรอปั สร วลิ าส 67 -1.045 39.548 124 เด็กหญิง ปรียานุช เพยี โคตรแกว้ 57 0.907 59.073 125 เดก็ หญงิ ร้งุ รดา พละสขุ 42 0.316 53.156 126 เด็กหญิง สริ ินทรา อ่อนเหล็ก 75 0.611 56.115 127 เดก็ หญงิ สุชานนั ท์ โถชัยคา 65 -0.394 46.056 128 เด็กหญิง อนันตญา บุญอนนั ท์ 70 -0.158 48.423 129 เด็กหญิง อุม้ รกั คาสงู เนนิ 53 0.907 59.073 130 เด็กชาย ทรงวุฒิ สทุ ธิสาย 57 -0.986 40.140 131 เดก็ หญิง อรณิชา พันธม์ ณี 75 0.079 50.790 132 เด็กชาย กติ ติพนั ธุ์ กลุ วงษ์ 43 0.020 50.198 133 เดก็ ชาย จกั รนิ ทร์ พรมทนั ใจ 61 -1.400 35.998 134 เด็กชาย ชัยสทิ ธิ์ สังคา 60 -0.809 41.915 135 เด็กชาย ฐติ กิ ร หมันมาก 36 -1.104 38.957 136 เดก็ ชาย ณัฐนนท์ รุง่ เจริญโชค 46 -1.282 37.182 41 38

27 ฉลยี่ (Average T Score) ยภาคเรียน/ปลายปี 2562-2563 ตรพ์ นื้ ฐาน 2 ระดับชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ 1 ลาดับท่ี ชอื่ – สกลุ นกั เรยี น คะแนน Z- score T- score ปลายภาค 120 /2563 121 122 0 123 0 124 0 125 0 126 0 127 0 128 0 129 0 130 0 131 0 132 0 133 0 134 0 135 0 136 0 0 0

การคานวณหาคะแนนทเี ฉ ของผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนปลาย กลมุ่ สาระการเรยี นร้/ู รายวชิ าคณติ ศาสต ลาดบั ท่ี ชอ่ื – สกลุ นกั เรียน คะแนน Z- score T- score ปลายภาค 137 เดก็ ชาย ณฐั วฒุ ิ หาญรบ /2562 -1.696 33.040 138 เด็กชาย ทะเล เศษบบุ ผา -2.643 23.573 139 เดก็ ชาย ธนัช หวังคลองกลาง 31 0.375 53.748 140 เดก็ ชาย ธรี ภัทร์ สนขนุ ทด 15 141 เดก็ ชาย นภดล นารีรกั ษ์ 66 -0.276 47.240 142 เด็กชาย นภสั เนตรทองหลาง 0 -1.933 30.673 143 เด็กชาย พงศกร ไดเ้ ปรียบ 55 -0.276 47.240 144 เด็กชาย พรรณกร พบั ขุนทด 27 -2.169 28.307 145 เด็กชาย เมธาธานณ์ จันทนาม 55 0.197 51.973 146 เดก็ ชาย รภภี ทั ร คาทา 23 -2.347 26.532 147 เด็กชาย ศรายทุ ธ หวังโดนสงู 63 -0.217 47.831 148 เดก็ ชาย ศริ วัฒน์ ถาวร 20 -0.572 44.281 149 เดก็ ชาย อภิสทิ ธิ์ อมิ วเิ ศษ 56 150 เดก็ ชาย อัษฏาวุธ หวังโอบกลาง 50 -0.572 44.281 151 เดก็ หญงิ กนกพร เพชรเลยี บ 0 -2.524 24.757 152 เด็กหญงิ จนั ทร์จิฬา โตสนนั 50 0.316 53.156 153 เด็กหญิง จริ าภร จนั ทร์ดี 17 1.262 62.623 65 81

28 ฉลยี่ (Average T Score) ยภาคเรียน/ปลายปี 2562-2563 ตรพ์ นื้ ฐาน 2 ระดับชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ 1 ลาดับท่ี ชอื่ – สกลุ นกั เรยี น คะแนน Z- score T- score ปลายภาค 137 /2563 138 139 0 140 0 141 0 142 0 143 0 144 0 145 0 146 0 147 0 148 0 149 0 150 0 151 0 152 0 153 0 0 0

การคานวณหาคะแนนทีเฉ ของผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี นปลาย กล่มุ สาระการเรยี นร้/ู รายวิชาคณติ ศาสต คะแนน ลาดับที่ ชอื่ – สกุล นกั เรยี น ปลายภาค Z- score T- score /2562 154 เดก็ หญงิ ชัชฎาภรณ์ หนูขนุ ทด 76 0.966 59.664 155 เดก็ หญิง ธัญวรรณ สนขุนทด 66 0.375 53.748 156 เด็กหญิง พรรณราย สูตรขุนทด 56 -0.217 47.831 157 เด็กหญงิ มนรดา สมพงษ์ 38 -1.282 37.182 158 เดก็ หญิง ศศิวิมล ระดาฤทธ์ิ 50 -0.572 44.281 159 เด็กหญงิ ศริ ิลกั ษณ์ งอนสันเทยี ะ 42 -1.045 39.548 160 เดก็ หญิง สจุ ิตรา พลชาลี 62 0.138 51.381 161 เดก็ หญงิ สชุ าวดี มูลละคร 63 0.197 51.973 162 เดก็ หญงิ สตุ าภัทร ศรชี มภู 60 0.020 50.198 163 เด็กหญิง สวุ ิชาดา กอกนั 50 -0.572 44.281 164 เด็กหญิง แองเจลิ คาเขยี ว 39 -1.223 37.773 165 เดก็ หญงิ สิรินทรา แกว้ ระวงั 50 -0.572 44.281 ผลรวม T-score_pre-test 7580.649 ���̅��� T ภาคเรยี น/ปที ี่แลว้ 46.794 คะแนนทีเฉลีย่ (Average T Scor คะแนนทเี ฉลีย่ (Average T Scor

29 ฉลยี่ (Average T Score) ยภาคเรยี น/ปลายปี 2562-2563 ตรพ์ ้ืนฐาน 2 ระดับชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1 ลาดบั ท่ี ชอื่ – สกุล นกั เรยี น คะแนน ปลายภาค Z- score T- score 154 /2563 155 156 0 157 0 158 0 159 0 160 0 161 0 162 0 163 0 164 0 165 0 0 0 ผลรวม T-score_post-test 5419.351 ���̅��� T ภาคเรียน/ปีปัจบัน 55.300 re) ของผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี นปลายภาคเรยี น/ปลายปกี ารศกึ ษาทแ่ี ลว้ = 46.794 re) ของผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นปลายภาคเรียน/ปลายปีการศึกษาปจั จบุ ัน = 55.30 รอ้ ยละของคะแนนทีเฉลี่ยทเ่ี พม่ิ ขึน้ = 18.18

30 ภาคผนวก ค คะแนนผลการทดสอบระดบั ชาติข้นั พ้นื ฐาน (O-NET) ของนกั เรียนช้นั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 3 ปกี ารศึกษา 2562 และปกี ารศกึ ษา 2563

31 การเปรยี บเทยี บผลการประเมนิ จากการทดสอบระดบั ชาติขนั้ พ้ืนฐาน (O-NET) การเปรียบเทียบผลการประเมนิ จากการทดสอบระดบั ชาติขนั พนื ฐาน (O-NET) กลุ่มสาระ คณิตศาสตร์ ในปีการศึกษา 2562 และปกี ารศึกษา 2563 ของนักเรียนชนั มธั ยมศึกษาปีที 3 โรงเรียนเทพสถติ วิทยา สานักงานเขตพนื ทกี ารศึกษามธั ยมศึกษาชยั ภูมิ สรุปได้ดงั ตาราง การทดสอบ จานวน คะแนน ความแตกต่าง เพมิ ขึน นกั เรียน เฉลยี รอ้ ยละ ของคะแนน รอ้ ยละ ปีการศึกษาทีแล้ว ทีเข้าสอบ เฉลยี รอ้ ยละ (ปกี ารศึกษา 2562) 21.23 -0.09 ปีการศกึ ษาปัจจบุ นั 137 2.16 (ปกี ารศึกษา 2563) 21.14 14 จากตาราง สรปุ ได้ว่า ผลการทดสอบระดบั ชาติขนั พนื ฐาน (O-NET) กลุม่ สาระการเรียนรู้ คณติ ศาสตร์ ของนักเรยี นชนั มัธยมศกึ ษาปที ี 3 โรงเรียนเทพสถิตวทิ ยา สานักงานเขตพืนทีการศึกษา มธั ยมศกึ ษาชยั ภูมิ ได้คะแนนเฉลยี ปีปัจจุบนั (ปกี ารศึกษา 2563) ลดลงจากปีทีผา่ นมา (ปกี ารศกึ ษา 2552) รอ้ ยละ 0.09

32

33

34 ภาคผนวก ง ผลการพฒั นาผเู้ รยี นด้านอ่นื ๆ

35 แบบสรุปผลการประเมนิ สุขภาพ รา่ งกาย สติปญั ญา อารมณ์และสังคม ของนกั เรียนช้ันมธั ยมศึกษาปีที่ 1 รายวชิ า ค21102 คณติ ศาสตร์พืน้ ฐาน2 ภาคเรียนที่ 2 ปกี ารศึกษา 2562 โรงเรยี นเทพสถิตวิทยา สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาชัยภูมิ เลข ชอื่ -สกลุ รายการ สรุปรวม ท่ี สุขภาพ สติ อารมณ์ สังคม สรปุ ระดบั รา่ งกาย ปัญญา คณุ ภาพ 1 เดก็ ชาย ชยธร ทวีลาภ 3 2 3 3 3 ดเี ยียม 2 เด็กชาย ณฐั วัตร มอื ขนุ ทด 3 3 3 3 3 ดเี ยียม 3 เดก็ ชาย ทิวานนท์ เดยี ขนุ ทด 3 3 3 3 3 ดเี ยียม 4 เด็กชาย ธญั วชิ ญ์ อนิ อ่อน 2 2 3 3 3 ดีเยยี ม 5 เดก็ ชาย นฤพนธ์ อุ่นธง 3 2 3 3 3 ดเี ยยี ม 6 เดก็ ชาย ราชภมู ิ ทวลี าภ 3 3 3 3 3 ดเี ยียม 7 เด็กชาย วรี ภทั ธ ภูผ่านแก้ว 3 3 3 3 3 ดเี ยียม 8 เดก็ ชาย ศิลา พลพิมาย 3 3 3 3 3 ดเี ยยี ม 9 เด็กชาย สรุ ยทุ ธ มาลยั สรอ้ ย 3 3 3 3 3 ดเี ยยี ม 10 เดก็ หญงิ กชกร กา้ นจักร 3 3 3 3 3 ดีเยยี ม 11 เด็กหญิง จินตนา พันธมุ า 3 3 3 3 3 ดีเยียม 12 เดก็ หญิง ชนัญชดิ า มองฤทธิ์ 3 3 3 3 3 ดีเยียม 13 เด็กหญิง ญาณิศา สังวาล 3 3 3 3 3 ดเี ยยี ม 14 เดก็ หญิง ณฐั ณชิ า ทองแดง 3 3 3 3 3 ดเี ยียม 15 เด็กหญงิ ณฐั ราวรรณ เนรมติ รครบุรี 3 3 3 3 3 ดเี ยียม 16 เดก็ หญงิ ณชิ ารยี ์ หาญชยั 3 3 3 3 3 ดีเยียม 17 เด็กหญงิ นภสั สร ตะกรดุ แจม่ 3 3 3 3 3 ดีเยียม 18 เด็กหญงิ นนั ท์นภัส แสนโคตร 3 3 3 3 3 ดีเยยี ม 19 เด็กหญิง นาทิพย์ นากระโทก 3 3 3 3 3 ดีเยยี ม 20 เด็กหญิง บุษราคัม ชนิ ขุนทด 3 3 3 3 3 ดเี ยยี ม 21 เดก็ หญิง บุหงา ทะวงษา 3 3 3 3 3 ดเี ยยี ม 22 เด็กหญงิ ปนานนท์ สีแสง 3 3 3 3 3 ดีเยียม 23 เด็กหญงิ ปลายฝน เชอื มแี รง 3 3 3 3 3 ดเี ยยี ม 24 เดก็ หญิง ปยิ ะฉตั ร สอนฤทธ์ิ 3 3 3 3 3 ดเี ยียม 25 เด็กหญงิ ปิยากร งามสุด 3 3 3 3 3 ดีเยยี ม 26 เดก็ หญงิ ลลิตา ยางป้อม 3 3 3 3 3 ดเี ยยี ม


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook