Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore งานนิเทศ

งานนิเทศ

Published by nookfilmsuksorn, 2020-05-08 00:14:10

Description: งานนิเทศ

Search

Read the Text Version

รายงานผลการนิเทศ จดั ทาํ โดย นางจนั ทรญา กันทา ครูอาสาสมคั รการศกึ ษานอกโรงเรียน ศูนยการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาํ เภอเกาะคา สํานกั งานสง เสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั จังหวดั ลําปาง

คคําาํ นนาํ าํ กก รายงานผลการนิเทศ เลม นี้ จัดทาํ ข้นึ เพ่ือนเิ ทศ ตรวจติดตามการปฏบิ ัติงานของ กศน.ตาํ บล ตามนโยบาย และจุดเนนการดําเนนิ งานของสํานักงาน กศน. ประจาํ ปงบประมาณ 2554 ตามบทบญั ญตั ิแหงกฎหมายวา ดว ยการ สงเสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย และเปน ทิศทาง เคร่อื งมอื ในการดําเนินงาน ศูนยการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อําเภอเกาะคา ไดมอบหมายใหครูอาสาสมัคร การศึกษานอกโรงเรียน นิเทศการจัดกิจกรรม กศน.ตําบล ประจําปงบประมาณ 2554 เพ่ือใชปรับปรุงและ พฒั นาการปฏบิ ัติงานใหดีข้ึน และเพือ่ ประเมินและตรวจสอบการดําเนนิ งานของ กศน.ตําบล ประจําปงบประมาณ 2554 รายงานผลการนิเทศ มงุ หวงั จะนาํ ผลการประเมนิ ในคร้งั นี้ เปน แนวทางในการพฒั นาปรับปรุงการปฏบิ ัตงิ าน และเพ่ือเปนแนวทางในการพัฒนางานใหมีคุณภาพ ตอไป จันทรญา (นางจันทรญา กนั ทา) กนั ยายน 2554

สารบญั ข คาํ นํา หนา สารบญั บทนํา ก เอกสารทเ่ี ก่ยี วของ ข 1 การดําเนินงาน การนิเทศ ภาคผนวก - ภาพประกอบ - คําส่งั กศน.อําเภอเกาะคา

บทนาํ 1 ตามท่ี ศูนยก ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอําเภอเกาะคา ไดม อบหมายใหครอู าสาสมัคร ปฏิบตั หิ นาที่ พี่เล้ยี งและนิเทศการจดั กิจกรรม กศน.ตาํ บล ประจาํ ปงบประมาณ 2554 นิเทศภายใน ตดิ ตามและ ประเมนิ ผล และนเิ ทศ กศน.ตําบล ตามระบบประกนั คณุ ภาพภายในสถานศกึ ษา ประจาํ ปงบประมาณ 2554 ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอเกาะคา โดยอาศัยอํานาจตามคําส่ังของ สาํ นักปลัดกระทรวงศกึ ษาธิการท่ี 489/2551 ลงวันท่ี 21 เมษายน 2551 เรือ่ งการมอบอาํ นาจใหผอู ํานวยการ สถานศึกษา ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อาํ เภอและผอู ํานวยการสถานศึกษาศูนยก ารศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ปฏบิ ตั ิราชการแทน จึงแตงตั้งพี่เล้ียงและนิเทศการจดั กิจกรรม กศน.ตําบล ประจําปงบประมาณ 2554 ตามคําสั่งศนู ยการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอําเภอเกาะคา ที่ 103/2553 เรอื่ ง แตงตงั้ พี่เลี้ยงและนเิ ทศการจัดกิจกรรม กศน.ตําบล ป 2554 ลงวันท่ี 1 ตลุ าคม 2553 เพอื่ นิเทศ กาํ กับ ติดตามและประเมินผลการจัดกิจกรรม กศน.ตาํ บลประจําปงบประมาณ 2554 คําสั่ง ศนู ยการศึกษานอก ระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อาํ เภอเกาะคา ท่ี 104/2553 เรือ่ ง การมอบหมายงานใหขา ราชการและเจาหนา ท่ี (งานนเิ ทศภายใน ติดตามและประเมินผล) ลงวนั ท่ี 1 ตุลาคม 2554 เพอ่ื นเิ ทศและตดิ ตามผลการจัดกิจกรรม กศน.ตาํ บลตามแผนปฏิบัติการ และคาํ สัง่ ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อําเภอเกาะคา ที่ 123/2553 เร่ือง ตงต้ังคณะกรรมการนิเทศ กศน.ตําบล ตามระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา ประจําป งบประมาณ 2554 ลงวันที่ 30 ธนั วาคม 2553 เพื่อนิเทศและตดิ ตามผลการดําเนนิ งาน กศน.ตําบลตามระบบ ประกนั คุณภาพภายในสถานศึกษา นิยามคาํ ศพั ท ความหมายของการนิเทศ ความหมายของการนิเทศ พิจารณาไดท ั้งตามความหมายของรูปศพั ท และตามความหมาย ตามแนวทาง ของการบริหาร กลาวคอื ความหมายตามรูปศพั ท พจนานุกรมฉบบั ราชบณั ฑติ ยสถาน พทุ ธศักราช 2525 ไดใหความหมายของ “การนเิ ทศ” วา หมายถงึ การชแี้ จง การแสดง การจาํ แนก การนเิ ทศ ตรงกบั คําภาษาอังกฤษวา Supervision ซงึ่ ประกอบดวย Super และ vision คําวา Super หมายถงึ ดีมาก วิเศษ vision หมายถงึ การเหน็ การมอง การดู พลงั ในการจินตนาการ ฉะนัน้ Supervision จึงหมายถึง การมองเห็นที่ดีมาก เหน็ โดยรอบ การดจู ากท่ีสูงกวา การมองจาก เบ้ืองบน การมีโลกทรรศนะกวา งขวางกวา บุคคลทท่ี ําหนาทน่ี ิเทศ เรียกวา Supervision ภารกิจหรอื หนาที่ของผนู ิเทศ คือ ใหการนิเทศ หรือ Supervise ไดแก การชว ยเหลอื แนะนาํ ชี้แจง ปรับปรงุ เพอ่ื ชวยใหบุคลากรภายใตความรับผดิ ชอบแกปญหาท่ี เกิดข้ึนแลว หรอื กาํ ลงั เผชญิ อยูใหลลุ วงไปดวยดี รวมท้ังพฒั นางานที่บุคลากรกําลังปฏิบัติอยู ใหม ีวิธีท่ีเหมาะสม มี ประสิทธิผลยิง่ ขึ้น

เอกสารทเ่ี ก่ยี วขอ ง 2 บทบาทและภารกจิ ของ กศน. ตาํ บล กศน.ตาํ บล เปนหนว ยงานในสังกัด กศน. อาํ เภอ มีฐานะเปน หนว ยจดั กจิ กรรมการศึกษานอกระบบและ การศกึ ษาตามอัธยาศยั เพือ่ สงเสริมการเรยี นรตู ลอดชีวติ ของประชาชนและสรา งสงั คมแหง การเรยี นรูในชุมชน กศน. ตาํ บล มีภารกิจท่สี ําคัญ ดงั น้ี 1 จัดกจิ กรรมการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั ใหก ับประชาชนกลมุ เปาหมาย ใน ชมุ ชน อยางนอยปล ะ 560 คน โดยจําแนกเปน รายกิจกรรม ดังน้ี 1.1 การศกึ ษานอกระบบ 260 คน ประกอบดวย 1.1.1 การศึกษาข้ันพน้ื ฐาน จาํ นวน 60 คน 1.1.2 การศึกษาเพอ่ื พฒั นาอาชพี จํานวน 200 คน 1.2.3 การศกึ ษาเพอ่ื พฒั นาทักษะชวี ติ จาํ นวน 20 คน 1.2.4 การศึกษาเพอ่ื พฒั นาสงั คมและชมุ ชน จํานวน 60 คน 1.2 การศกึ ษาตามอัธยาศยั จํานวน 300 คน 2 สราง และขยายภาคีเครอื ขา ย เพ่อื การมสี ว นรว มในการจัดกิจกรรมการศกึ ษานอกระบบและ การศกึ ษาตามอัธยาศัยในชุมชน 3. สงเสริมและสนับสนุน การจดั กิจกรรมการศกึ ษานอกระบบ และการศึกษาตามอธั ยาศยั ในชมุ ชน ของภาคีเครือขาย ท้ังในแงของความเขม แขง็ และความตอเนอ่ื งในการมีสว นรว ม และศกั ยภาพในการจดั 4. จัดทําระบบขอมูล สถติ ิ และสารสนเทศ เกยี่ วกับประชากรกลมุ เปา หมายและผลการจัดกิจกรรม การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย เพอื่ ใชใ นการวางแผนพฒั นาและแผนการจดั การศกึ ษานอก ระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั ทั้งในระดบั ชุมชนหรือระดบั จลุ ภาค ระดบั อาํ เภอ ระดบั จังหวัด และภาพรวม ระดบั ประเทศของสํานกั งาน กศน. 5. จัดทาํ แผนงานโครงการ การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย ประจาํ ปงบประมาณ เพ่อื จดั กจิ รรมการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยใหก บั ประชาชนกลมุ เปา หมาย และชมุ ชน และพฒั นา การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั ตามกรอบจดุ เนน การดาํ เนินงานของ สํานักงาน กศน. สาํ นักงาน กศน. จงั หวัด และ กศน. อาํ เภอ ทีส่ งั กัด เพอ่ื การสนบั สนนุ งบประมาณ จาก กศน. อําเภอ ทสี่ ังกัด โดยในกรณี ของการจดั กิจกรรมการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน ใหยึดคา ใชจา ยรายหวั ตามทีม่ ติคณะรัฐมนตรีกาํ หนด คูณดว ยจาํ นวน นกั ศึกษา 60 คน สาํ หรบั กจิ กรรมอ่นื ๆ น้ัน จัดทําแผนงานโครงการเพ่อื เสนอของบประมาณ ใหด ําเนนิ การตามที่ ไดรับมอบหมายจาก กศน. อาํ เภอ 6. ประสานและเชอื่ มโยงการดาํ เนนิ งาน การจดั กิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตาม อธั ยาศัยของศูนยการเรียนชมุ ชน และภาคีเครือขา ยในตําบล โดยมีการประสานแผนการดาํ เนนิ งานภายในตําบล ทีร่ บั ผดิ ชอบและกับ กศน. อําเภอ ทีส่ ังกัด ตามกรอบจุดเนนการดาํ เนินงาน บนพน้ื ฐานของความเปนเอกภาพ ดานนโยบายและความหลากหลายในการปฏบิ ตั ิ 7. พฒั นาคณุ ภาพและมาตรฐาน การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย ในความรบั ผดิ ชอบ ตามระบบการประกนั คุณภาพภายในสถานศึกษา เพอ่ื รับรองการประกนั คุณภาพภายนอกของ กศน. อําเภอที่ สงั กัด 8. รายงานผลการดําเนินงาน การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั ตอ กศน.อาํ เภอ ที่ สงั กัด ตามแผนหรือขอตกลงทก่ี าํ หนดไว 9. ปฏิบัตภิ ารกจิ อนื่ ๆ ท่ีไดร ับมอบหมาย จาก กศน. อําเภอ สํานกั งาน กศน. จังหวัด หรอื สาํ นักงาน กศน. และตามที่กฎหมาย กําหนด

3 กิจกรรมหลักของ กศน. ตําบล 1) ศนู ยข อมลู ขา วสารของชมุ ชน (Information center) 1.1) พัฒนาระบบฐานขอ มูลและสารสนเทศระดบั ชุมชน ใหครบถวน ถูกตอง ทันสมัยโดยใชแบบเก็บ ขอ มลู ของสาํ นักงาน กศน. จัดเกบ็ ขอมลู ใหครบถว น เปนปจจุบัน ประมวลผลเปน รายตําบล จัดทาํ ระบบ ฐานขอมูลสารสนเทศ และนํามาใชในการบริหารจดั กจิ กรรม 1.2) จัดทาํ แผนพฒั นาคณุ ภาพ กศน. ตําบล และแผนปฏบิ ตั กิ ารประจาํ ป นําเสนอแผน ตอคณะกรรมการ กศน. ตาํ บล และภาคีเครือขา ย และเสนอแผนให กศน. อาํ เภอ /เขตพิจารณา อนมุ ัติ 1.3) เสนอความรูข อ มลู ขาวสารสารสนเทศของชมุ ชนใหถ กู ตองและทันสมัยโดยเสนอขอมูลสารสนเทศที่ มคี วามจําเปน ตอ การดํารงชีวิตประจําวัน เชน ขอมูลเก่ยี วกับ แหลงเรียนรูในชุมชนการตลาดชมุ ชน สนิ คาชมุ ชน ฯลฯ จัดทาํ ขอมูลสารสนเทศเผยแพรในรปู แบบตา งๆ เชน เอกสาร แผนภูมิ แผน ปา ยประชาสมั พนั ธ สือ่ อิเลก็ ทรอนกิ ส เวบ็ ไซต เปน ตน 2) ศนู ยสรา งโอกาสการเรียนรู (Opportunity Center) 2.1) ประสานความรว มมือกับภาคเี ครือขา ย โดยประสานงาน/วางแผนรว มกับภาคเี ครือขาย ในชมุ ชน เชนคณะกรรมการชมุ ชน อบต. พฒั นาท่ีดิน สถานอี นามัย พฒั นากรตาํ บล สหกรณ ปศสุ ตั วประมง ตาํ รวจกาํ นัน ผใู หญบาน อสม. อาสาสมัครสงเสรมิ การอาน วัด มัสยดิ โรงเรียน ฯลฯ เพอื่ จดั กิจกรรมบริการชมุ ชน รวบรวม และเผยแพรองคค วามรูของภาคเี ครือขา ย ในการจัดการเรยี นรู 2.2) เชอื่ มโยงรูปแบบการใหบรกิ ารของหนว ยงานภาคเี ครอื ขาย กับ กศน. ตาํ บลโดย สงเสรมิ และหรือ จดั กจิ กรรมรว มกับภาคเี ครือขาย เชน ศูนยซอมสรา งเพอื่ ชุมชน (Fix it center)(สอศ.) ชมรมคุม ครองผูบริโภค (สคบ.) ศนู ยการเรียนรู ICT ชมุ ชน (กระทรวงไอซที )ี มุมวทิ ยาศาสตรเพอื่ ชวี ติ (สสวท.) บริการหนวยแพทย เคลื่อนที่ ธนาคารเคล่อื นท่ี การปองกันบรรเทาสาธารณภยั อาํ เภอเคลือ่ นที่ ฯลฯ พัฒนารปู แบบกิจกรรมให หลากหลายและสอดคลองกบั ความตองการของกลุมเปา หมายในชมุ ชนเพือ่ สรา งโอกาส การเรยี นรูใหกับ ประชาชน 2.3) พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสือ่ สารโดยจัดทาํ เว็บไซด กศน.ตาํ บลใชไ ปรษณีย อเิ ลก็ ทรอนกิ ส เพอื่ การตดิ ตอกบั ผูเ รยี น/ผรู ับบริการ สืบคน รวบรวมและการเผยแพรข อ มูลทางอนิ เตอรเน็ต และแหลง ขอ มลู อ่ืนๆ 3) ศนู ยการเรียนชุมชน (Learning Center) 3.1) ออกแบบกิจกรรม/โปรแกรมการศกึ ษา ท่เี หมาะสมกับกลุมเปาหมายโดย กศน. ตําบล และกศน. อําเภอ รวมกับกลมุ เปา หมายในการออกแบบกิจกรรม/โปรแกรมหรอื โครงการ ใหส อดคลองกับสภาพปญหาและ ความตองการ ของกลุมเปา หมายและชุมชน. กจิ กรรม/โปรแกรมหรอื โครงการควรมีลักษณะทีบ่ รู ณาการ ระหวางวิถีชวี ิต การทาํ งานและการเรียนรู 3.2) จดั กิจกรรมการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั ใหแกประชาชนกลุมเปา หมายในชมุ ชน 3.2.1) สง เสรมิ การรหู นงั สอื โดยจดั ทาํ แผนการแกป ญ หาผไู มร หู นงั สือสําหรับกลมุ เปา หมาย ในตําบล อยา งชัดเจน จัดกิจกรรมสงเสริมการรหู นังสือ ในกลมุ เปาหมายอายุ ๑๕ – ๕๙ ป เปน ลาํ ดบั แรก 3.2.2) การศกึ ษานอกระบบ ระดบั การศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐาน จัดทําแผนยกระดับการจดั การศึกษานอก ระบบ ระดับการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน โดยจําแนกกลุม เปาหมายใหช ดั เจน เชน ผเู รียนท่อี อกกลางคัน เด็กเรรอ น ผูส งู อายุ ผูดอยโอกาส ผพู กิ าร กลุมผูยายถ่ิน ผนู าํ ทองถนิ่ กลมุ อาชีพประชากรวัยแรงงาน เปนตน วางแผนการ จัดการศกึ ษานอกระบบ ระดบั การศกึ ษาขน้ั พื้นฐานรวมกบั ภาคีเครือขา ย จัดกจิ กรรมการศกึ ษานอกระบบระดบั การศึกษาข้ันพื้นฐาน และรายงานผลการดาํ เนินงาน

4 3.2.3) การศึกษาตอเนอ่ื ง การศกึ ษาเพ่ือพฒั นาอาชีพ จะตองใหความสําคญั และดาํ เนนิ การ จดั การศกึ ษาตอเน่ืองประเภท การศกึ ษาเพ่อื พฒั นาอาชีพเปนลาํ ดบั แรกโดย จดั ทาํ แผนจัดการศกึ ษาเพื่อพฒั นาอาชีพ/หลกั สตู รอาชีพระยะส้นั ที่สอดคลองกบั ความตอ งการของผูเรยี นและชุมชนโดยเนนการเพม่ิ ทักษะทางดา นเทคโนโลยสี มยั ใหมแ ละอาชพี ใหมท ่สี อดคลองกบั สภาวการณปจจบุ ัน การศึกษาเพือ่ พฒั นาทกั ษะชีวิต จดั ทําแผนการเรียนรใู หสอดคลอ งกับปญหา ความตองการ ความ จาํ เปนของผเู รียนและชุมชน เชน การปองกันสาธารณภัย สขุ ภาพอนามัย ความปลอดภยั ในชีวิตและทรพั ยสิน คุณธรรมจริยธรรม การอนรุ กั ษท รัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดลอม เปนตน การศึกษาเพือ่ พัฒนาสงั คมและชมุ ชน จัดทําแผนการเรียนรูเ พือ่ พัฒนาสงั คมและชมุ ชนใชร ูปแบบ ที่ เหมาะสมกับกลุมเปา หมาย โดยการฝก อบรม การประชุมสมั มนา การจดั เวทแี ลกเปล่ียนเรียนรู และรปู แบบอน่ื ๆ ทีเ่ หมาะสม เชน จัดกจิ กรรมสงเสริมประชาธิปไตย จดั กระบวนการเรยี นรใู นการเปนพลเมืองดีของชมุ ชน สงั คม ของประเทศ เพื่อนําไปสคู วามปรองดองสมานฉนั ท เศรษฐกจิ ชมุ ชน และการอนุรักษธรรมชาติและส่ิงแวดลอม และ จดั การศกึ ษาตอเน่อื งโดยใชห ลกั สูตรบรู ณาการ เพือ่ การพัฒนาทีย่ ่ังยืนตามแนวทางหลักปรชั ญาของ เศรษฐกิจพอเพียง 3.2.4) การศึกษาตามอัธยาศัย การสงเสรมิ การอานโดย จดั ทําแผนการจดั กจิ กรรมสง เสรมิ การอา น ในรูปแบบตา งๆ เชน ครอบครัว รกั การอา น มมุ สง เสรมิ การอา นในชมุ ชน กศน.ตําบลเคลอื่ นที่ อาสาสมัครสง เสรมิ การอาน กระเปา ความรูสู ชมุ ชน หบี หนังสือสูห มบู า น จุดบรกิ ารการอานชมุ ชน มุมอานหนงั สอื ท่ที า รถ รานเสริมสวย รานตัดผม สถานี อนามัย เปน ตน จดั บรกิ ารสือ่ โดยจัดบรกิ ารส่อื ประเภทตาง ๆ ท่เี หมาะสมและหลากหลาย เชน ส่อื สงิ่ พมิ พ (นสพ.) ส่อื อิเลก็ ทรอนกิ ส สือ่ สาธิต สื่อทดลอง วทิ ยุชุมชน หอกระจายขา ว เปน ตน บรกิ าร Student Channel เพ่อื เสรมิ ศักยภาพใหกบั โรงเรียนดีประจาํ ตาํ บล บรกิ ารการศึกษาทางไกล (ETV) ใหก บั นักศึกษา กศน. และ ประชาชนท่วั ไป 4) ศูนยชมุ ชน (Community Center) จัดและสงเสรมิ ให กศน. ตาํ บล เปน ศูนยกลางการจดั กิจกรรมของชมุ ชนเชน เวทชี าวบา น สภากาแฟ สถานท่พี บปะเสวนา แลกเปลยี่ นความคิดเห็น ตลาดนดั อาชีพ กิจกรรมศาสนา วัฒนธรรม เวทปี ระชาธิปไตย กฬี า ฯลฯโดยครู กศน.ตําบลเปนผูด าํ เนนิ การรว มกบั ภาคีเครอื ขายตางๆ ท้งั อบต. อบจ. เทศบาล ตลอดจน ภาครฐั ภาคเอกชน รวมท้ังอาสาสมคั ร ในชุมชน เชน อาสาสมคั รสาธารณสขุ (อสม.) อาสาสมัคร กศน. อาสาสมัครสงเสริมการอาน ภมู ิปญ ญาทองถ่นิ ขา ราชการบํานาญ เยาวชน ผนู าํ ทองถิน่ ในการจัดกจิ กรรม เกิดกระบวนการเรียนรอู ยา งตอเนือ่ งไปสสู งั คมแหงการเรยี นรู 3. การมสี ว นรวมของชุมชน การมีสว นรว มของชุมชน มีแนวทางในการดําเนนิ การ ดังน้ี 1) ประชาสมั พันธเพือ่ สรา งกระแสใหประชาชนและทกุ ภาคสว นของชมุ ชนเหน็ ความสําคญั และเขารวมในการดําเนนิ กจิ กรรม กศน. ตาํ บล และจดั ใหมกี ารยกยอ งเชิดชเู กยี รติ เปนตน 2) สงเสริมใหท ุกภาคสวนของสงั คมเขามามสี วนรว มในการจดั การศกึ ษาและพัฒนางาน กศน.ตาํ บล อยางตอเน่อื ง และมีสวนรว มในการนิเทศ ตดิ ตามประเมนิ ผลและรายงานผลการดําเนนิ งาน กศน. ตําบล 3) เสริมสรางและพฒั นาระบบเครือขา ยการเรียนรู ภายในตาํ บล และระหวางตําบล เชน แหลง เรยี นรู ภมู ปิ ญ ญา ทอ งถนิ่ โรงเรียนดปี ระจําตาํ บลศูนย ICT ตาํ บล เปน ตน 4. การนเิ ทศ ตดิ ตามและรายงานผล 1) การนิเทศ ตดิ ตามผลการจัดกจิ กรรมตามแผนปฏบิ ัตกิ ารประจาํ ป โดยจดั ทาํ แผนการนเิ ทศ ติดตามผล

5 การจัดกจิ กรรมในพ้นื ที่ ประสานภาคีเครือขา ยรว มนเิ ทศ ติดตามผล จัดใหม ปี ระชานิเทศกจิ กรรมในพืน้ ที่ 2) การรายงานผลการจัดกิจกรรมตามแผนปฏบิ ัติการประจําป โดยจัดทําปฏทิ ินการรายงานผลการจดั กิจกรรมจัดเกบ็ ขอมลู และรวบรวมผลการจัดกิจกรรม จัดทํารายงานผลการปฏิบตั งิ าน รายงานขอมลู ทเ่ี กี่ยวขอ งตามแบบและ ระยะเวลาที่กาํ หนด และรายงานผลการปฏิบัตงิ านประจาํ ปของ กศน. ตาํ บล การจัดกิจกรรมการเรียนรู 1. ใชป ญ หาหรือความตอ งการของกลมุ เปาหมายเปนฐาน (Problem or Need-based) ในการกาํ หนด กิจกรรมการเรยี นรู 2. การออกแบบกจิ กรรมการเรยี นรู ใหผ เู รียนหรือผรู วมกจิ กรรมการเรยี นรูเ กดิ ทักษะกระบวนการตัดสนิ ใจ ตามหลัก \"คดิ วเิ คราะหเ ปน\" โดยถอื เปน จุดมุง หมายากรเรยี นรทู ี่จาํ เปน ประการหนงึ่ ดวย 3. การจดั ระบบหรือกระบวนการเรียนรเู นนระบบหรือกระบวนการเรยี นรูท่ีเอ้ืออํานวยใหผูเ รียนหรือ ผรู ว ม กิจกรรมการเรยี นรู สามารถเรยี นรดู ว ยตนเองไดอยางมีประสิทธภิ าพ มคี วามใฝร ู รักในการเรียนรูและแสวงหาความรู จนเปนสวนหนง่ึ ของวิถชี วี ิต 4. จัดสภาพแวดลอม หรือบรรยากาศใน กศน. ตําบล หรอื ศรช. ในชน้ั เรยี นและชุมชน โดยใชแผนชมุ ชน เปน กลไก สําคัญ ในการประสานการมีสว นรว ม สงงเสริม สนบั สนนุ การดาํ เนินงาน ทัง้ ในฐานะผรู บั ผดิ ชอบหรอื เจาภาพหลัก และผูมีสวนรวมกับองคกรหรือหนวยงานอ่ืนในชมุ ชน 5. ใชกระบวนการวจิ ัยเชิงปฏิบัติการ การวจิ บั เชงิ ปฏบิ ตั กิ ารแบบมสี ว นรวม หรือการวิจยั เชงิ ปฏิบตั ใิ นช้นั เรยี น และ การจดั ความรูเ ปน กระบวนการสําคญั ในการแกปญ หา หรือพฒั นาการจัดกระบวนการเรียนรู และคณุ ภาพการเรียนรูของผเู รยี น 6. ใชทนุ ทางเศรษฐกจิ สงั คม วฒั นธรรม ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ ม และภาคสวนตางๆ ทางสังคมในชมุ ชน ใหเ กดิ ประโยชนสูงสดุ ตอ การจัดกจิ กรรมการเรียนรู บทบาทหนาท่ีของ ครู กศน.ตาํ บล 1) รวมกบั อาสาสมคั ร กศน.สํารวจขอ มลู เกี่ยวกบั 1.1) จัดรวมกลุมเปา หมาย 50 หลงั คาเรือน 1.2) ศึกษาสภาพปญ หาและความตองการของกลมุ เปาหมาย/ชุมชน 1.3) วเิ คราะหข อ มูล และจัดลําดับความสาํ คญั ของปญหา 2) รว มกบั อาสาสมัคร กศน. จัดทาํ แผนงาน/โครงการ ใหสอดคลองกับสภาพปญหา และความตองการของ กลมุ เปาหมาย/ชมุ ชน(แผนชมุ ชน) แผนงาน/โครงการแบง เปน 2 ประเภท คอื แผนงาน/โครงการสําหรบั กลมุ เปา หมายทวั่ ไป และแผนงาน/โครงการสาํ หรบั กลุมเปา หมายเฉพาะ 3) รวมกับอาสาสมคั ร กศน. ปฏบิ ัตงิ านจดั การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั ใหส อดคลอ งกบั ความตองการของกลุมเปาหมาย การปฏิบตั ิงานมี 3 ข้นั ตอน ดังน้ี ข้นั ตอนท่ี 1 เตรยี มกลมุ เปาหมายใหม ีความเขาใจเกย่ี วกบั วัตถุประสงคของโครงการและกิจกรรม ข้ันตอนที่ 2 ดําเนนิ การจัดกจิ กรรมใหเปนไปตามวัตถปุ ระสงคแ ละเปา หมายที่กําหนดไว ขัน้ ตอนท่ี 3 สงเสรมิ การพัฒนาคุณภาพการจัดกิจกรรม กศน. ใหดีย่ิงข้นึ 4) รวมกบั อาสาสมัคร กศน. นิเทศ เย่ียมเยียน กลมุ เปาหมาย 5) รวมกับ อาสาสมคั ร กศน. ในการประเมนิ โครงการ/กิจกรรม

6 การดาํ เนนิ การนิเทศ กศน.ตําบลวังพรา วและกศน.ตาํ บลเกาะคา 1. การนเิ ทศการจดั กิจกรรม กศน.ตาํ บล 1.1 การวางแผน ในการนิเทศ งาน กศน.ตาํ บลวังพราวและ กศน.ตําบลเกาะคา ไดมีการจัดทําแผนการนเิ ทศ กศน.ตาํ บล. ตามแผนปฏบิ ัติการประจาํ ป 2554 มาตรฐานการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย และตามมาตรฐาน กศน.ตําบล ป 2554 และไดจัดทําแผนการนิเทศประจําเดือน มกราคม,กมุ ภาพนั ธ,มนี าคม,พฤษภาคม,มิถนุ ายน ,สงิ หาคม 2554 และขออนุมตั ิแผนการนเิ ทศของ 2 ตําบลท่ีรบั ผดิ ชอบ 1.2 การปฏบิ ตั ิ หลงั จากแผนการนเิ ทศไดร ับการอนุมัติจากผูอาํ นวยการศูนยก ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อธั ยาศยั อําเภอเกาะคาแลว ผนู เิ ทศไดด าํ เนนิ การนเิ ทศตามแผนการนิเทศ ดังนี้ เดือนมกราคม 2554 ว/ด/ป กิจกรรม/รายละเอยี ดการนเิ ทศ สถานท่ี 17 มกราคม 2554 นเิ ทศการจัดกจิ กรามพัฒนาคุณภาพผูเรยี น หองสมุดประชาชนอําเภอเกาะคา (ICT)ตาํ บลเกาะคา 19 มกราคม 2554 นิเทศงานการศึกษาตอ เนื่อง(การซอมเคร่ืองมือ บา นหนองหลาย หมูที่ 4 ตําบล อุปกรณใ นบาน) เกาะคา นิเทศการจัดกจิ กรามพฒั นาคณุ ภาพผูเรียน หองสมุดประชาชนอาํ เภอเกาะคา (ICT)ตาํ บลเกาะคา 20 มกราคม 2554 นิเทศงานการศกึ ษาตอเนื่อง(การทาํ ดอกไมป ระดิษฐ) บา นศลิ า หมูท ่ี 6 ตําบลเกาะคา 22 มกราคม 2554 นิเทศงานการศึกษาตอ เน่ือง (การผลิตของชาํ รวยจาก ศนู ยเรยี นรบู า นวังพรา ว หมูท่ี 2 ดนิ ไทย) ตาํ บลวงั พรา ว 25 มกราคม 2554 นิเทศการจัดกิจกรามพฒั นาคณุ ภาพผูเรียน โรงเรียนบา นสาด-ผ้งึ นาเกลือ ตําบล (ICT)ตาํ บลวังพราว วงั พราว 26 มกราคม 2554 นเิ ทศงานการศกึ ษาตอเนื่อง(การผลติ ของชํารวยจาก ศูนยเ รียนรบู า นวังพรา ว หมูที่ 2 ดนิ ไทย) ตําบลวงั พรา ว 30 มกราคม 2554 นิเทศการจดั กจิ กรามพัฒนาคุณภาพผูเ รียน โรงเรยี นบานสาด-ผึ้งนาเกลอื ตําบล (ICT)ตาํ บลวังพราว วังพราว 31 มกราคม 2554 นเิ ทศงานการศกึ ษาตอเนื่อง(การผลิตของชํารวยจาก ศนู ยเ รยี นรบู านวงั พรา ว หมูที่ 2 ดนิ ไทย) ตําบลวังพรา ว เดอื นกมุ ภาพันธ 2554 สถานท่ี ว/ด/ป กิจกรรม/รายละเอียดการนิเทศ โรงเรียนบา นสาด-ผงึ้ นาเกลอื ตาํ บล วังพราว 2 กมุ ภาพันธ 2554 นิเทศการจดั กจิ กรรมพฒั นาคุณภาพผูเรียน บานทงุ เจริญ หมทู ่ี 8 ตาํ บลเกาะคา (ICT)ตาํ บลวังพรา ว กศน.ตําบลเกาะคา 14 กมุ ภาพันธ นเิ ทศการศึกษาตอเนอื่ ง (การทําเทยี นหอม) 2554 นิเทศการจดั กิจกรรมกลมุ เปาหมายพเิ ศษ

ว/ด/ป กิจกรรม/รายละเอียดการนเิ ทศ 7 15 กุมภาพันธ นเิ ทศงานการศกึ ษาตอ เนอ่ื ง ศิลปประดษิ ฐ(ดอกไม 2554 ประดษิ ฐจ ากกระดาษสา) สถานที่ นิเทศงานการศึกษาตอ เนื่อง(การนวดคลายเสน) 27 กมุ ภาพันธ ศูนยเ รยี นรบู า นวงั พราว หมูที่ 2 2554 นิเทศงานการศึกษาตอ เน่อื ง(การเพาะเหด็ ฟาง) ตาํ บลวงั พรา ว โรงพยาบาลสง เสรมิ สขุ ภาพตาํ บล บา นวังพรา ว บา นวงั พราวพฒั นา หมูท ่ี 7 ตาํ บล วังพรา ว เดือนมนี าคม 2554 สถานที่ ว/ด/ป กจิ กรรม/รายละเอยี ดการนเิ ทศ โรงพยาบาลสงเสรมิ สขุ ภาพตาํ บล 7 มีนาคม 2554 นเิ ทศงานการศึกษาตอเน่อื ง(การนวดคลายเสน ) บานวังพรา ว ตาํ บลเกาะคา 8 มีนาคม 2554 นเิ ทศงานการศกึ ษาตอเน่อื ง(การนวดกดจุด) -บานหนองหลาย หมูที่ 4 -การแปรรูปผลติ ภณั ฑการเกษตร -บา นศิลา หมทู ่ี 6 -การทําบรรจุภัณฑ ผลติ ภัณฑขา งกลอง -บานนํ้าลอ ม หมทู ี่ 1 -การนวดแผนไทย -บานน้ําลอม หมทู ่ี 1 -การทํากระเปาผา พน้ื เมอื ง โรงพยาบาลสง เสริมสขุ ภาพตาํ บล บานวังพราว นิเทศงานการศกึ ษาตอเนื่อง(การนวดกดจุด) บา นวังพราวพฒั นา หมูที่ 7 ตําบล วังพรา ว 10 มนี าคม 2554 นิเทศงานการศึกษาตอ เนอ่ื ง(การทาํ อาหาร-ขนม) บานแมห ลง หมทู ่ี 1 ตําบลวงั พราว 11 มีนาคม 2554 นิเทศงานการศกึ ษาตอเนอ่ื งจักสาน(ผลติ ภัณฑจ าก บา นวังพราวพัฒนา หมูที่ 7 ตําบล หวายเทียม) วงั พรา ว บา นแมหลง หมทู ี่ 1 ตาํ บลวังพราว 20 มนี าคม 2554 นิเทศงานการศกึ ษาตอ เนื่อง(การทาํ อาหาร-ขนม) โรงพยาบาลสงเสรมิ สขุ ภาพตาํ บล นิเทศงานการศกึ ษาตอ เน่อื ง จกั สาน(ผลติ ภณั ฑจาก บานวังพรา ว หวายเทียม) สถานที่ 23 มนี าคม 2554 นเิ ทศงานการศกึ ษาตอ เนื่อง(การนวดกดจุด) บานมอ นหินแกว หมทู ่ี 4 ตาํ บล วงั พราว เดอื นมิถุนายน 2554 บา นวงั พราพฒั นา หมูท่ี 7 ตาํ บล ว/ด/ป กจิ กรรม/รายละเอยี ดการนเิ ทศ วังพราว 15 มิถุนายน 2554 นเิ ทศการศกึ ษาตอ เนือ่ ง กิจกรรมจกั สาน(ผลิตภัณฑ บานวงั พรา พฒั นา หมทู ี่ 7 ตําบล วงั พรา ว จากหวายเทียม) นเิ ทศการศกึ ษาตอ เนอื่ ง กิจกรรมการทําน้าํ พรกิ 19 มถิ ุนายน 2554 นิเทศงานการศกึ ษาตอเนอื่ ง กิจกรรมการทาํ นํา้ พริก

ว/ด/ป กจิ กรรม/รายละเอยี ดการนิเทศ 8 24 มิถนุ ายน 2554 นเิ ทศการศึกษาตอเนอ่ื ง กิจกรรมจกั สาน(ผลิตภัณฑ สถานท่ี จากหวายเทยี ม) 25 มิถุนายน 2554 นเิ ทศการศึกษาตอ เนอื่ ง กจิ กรรมการทํานํ้าพริก บา นมอ นหนิ แกว หมทู ่ี 4 ตาํ บล วงั พรา ว 29 มิถุนายน 2554 นเิ ทศการศกึ ษาตอ เนอ่ื ง กจิ กรรมการทํานํา้ พริก บานมอ นหนิ แกว หมทู ่ี 4 ตําบล วังพราว บานมอ นหนิ แกว หมทู ี่ 4 ตาํ บล วงั พรา ว เดอื นสิงหาคม 2554 สถานท่ี ว/ด/ป กิจกรรม/รายละเอียดการนิเทศ กศน.ตําบลวงั พราว 6 สงิ หาคม 2554 นเิ ทศการจัดกิจกรรมพฒั นาคุณภาพผูเรยี น(อบรม กศน.ตําบลวังพราว เสริมทกั ษะภาษาอังกฤษ) กศน.ตาํ บลเกาะคา 14 สงิ หาคม 2554 นิเทศการจัดกจิ กรรมพฒั นาคุณภาพผเู รียน(อบรม กศน.ตําบลเกาะคา เสรมิ ทักษะภาษาองั กฤษ) นิเทศงานการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน 28 สิงหาคม 2554 นเิ ทศงานการศกึ ษาข้ันพนื้ ฐาน 1.3การตรวจสอบ ในการดําเนนิ งานนเิ ทศ การจัดกจิ กรรมของ กศน.ตาํ บลวงั พราวและตาํ บลเกาะคา ไดม กี ารตรวจสอบ ดังน้ี 1.การศกึ ษานอกระบบ ระดับการศกึ ษาข้ันพนื้ ฐาน ในการนิเทศงานการศกึ ษานอกระบบ ระดบั การศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน ของ กศน.ตาํ บลวงั พราวและตําบลเกาะคา ไดม กี ารตรวจสอบใหดําเนินการจัดกจิ กรรมตรงตามแผนทวี่ างไว โดยนิเทศในเรอื่ งแผนการจดั การเรยี นรู การ มอบหมายงาน และการบนั ทึกหลังสอน -กจิ กรรมพัฒนาคณุ ภาพผเู รียน ในการตรวจสอบ การดําเนินการจัดกจิ กรรมพฒั นาคณุ ภาพผเู รียน ดานเทคโนโลยแี ละสารสนเทศ (ICT) ของ นักศึกษา กศน.ตําบลวังพราวและตําบลเกาะคา พบวาผูเรยี นมาเรยี นไมส มํ่าเสมอ จงึ ไดใหคําแนะนาํ กับผเู รียนใหมา เรียนอยา งสมาํ่ เสมอและตรงเวลา การอบรมเสรมิ ทกั ษะภาษาองั กฤษ กศน.ตาํ บลวงั พรา ว พบวา ผเู รยี นมาเรยี น อยางตอเนื่องและสมาํ่ เสมอ ตรงเวลา 2.งานการศึกษาตอเน่อื ง 2.1 การศกึ ษาเพ่ือพัฒนาอาชีพ การตดิ ตามนิเทศ กิจกรรมการผลติ ของชํารว ยจากดินปน วนั ท่ี 22 มกราคม 2554 นางจนั ทรญา กนั ทา ครูอาสาฯ ไดตรวจเย่ียมและนิเทศการจัดกจิ กรรม การผลิต ของชํารวยจากดินปน มีผเู รียนจาํ นวน 20 คน ซง่ึ ในวันนี้ ผเู รียน ไดเรียนรู ในเรื่องเก่ยี วกับความปลอดภัยในการ ทํางาน หลกั ความปลอดภยั ในการทาํ งาน การใชเคร่ืองมือ อุปกรณ ใหถูกตองกบั ลักษณะ ของงาน และ นําวัสดุการ ปนดินไทย คณุ สมบตั ขิ องวสั ดุ ประโยชนใ นการใช และเกบ็ บาํ รงุ รกั ษา ความรูเกยี่ วกบั การปนดินไทย เทคนิคในการ ปน ผลติ ภัณฑรูปแบบตา งๆ

9 วันที่ 24 มกราคม 2554 นางจนั ทรญา กนั ทา ครูอาสาฯ ไดนิเทศ และตรวจเยี่ยม การจัดกิจกรรม การ ผลิตของชํารว ยจากดนิ ปน มผี เู รียนจํานวน 20 คน ซึ่งในวันน้ี ผูเ รียน ไดเ รียนรูแ ละฝก ปฎิบัติการปนผกั แตล ะชนิด ผกั กาดขาว พริก มะเขือเทศ แตงกวา ฟก ทอง วันที่ 27 มกราคม 2554 นางจนั ทรญา กันทา ครอู าสาฯ พรอมดว ยนายสังคม อานนท ผูใหญบา นหมทู ี่ 2 / กรรมการ กศน.ตาํ บลวงั พราว ไดรวมนเิ ทศและตรวจเยี่ยมการจัดกิจกรรม การผลติ ของชํารว ยจากดนิ ปน มีผูเรยี น จาํ นวน 20 คน ซ่งึ ในวันน้ี ผเู รียน ไดเรยี นรูและฝกปฎิบตั ิ การปน กลว ยไมจ ๋ิว แคทลยี าจิ๋ว บวั จิว๋ วันที่ 31 มกราคม 2554 นางจนั ทรญา กนั ทา ครอู าสาฯ พรอ มดวยนายสงั คม อานนท ผูใหญบา นหมทู ่ี 2 / กรรมการ กศน.ตําบลวงั พราว ไดร วมนเิ ทศและตรวจเย่ียมการจัดกิจกรรม การผลิตของชํารวยจากดนิ ปน มผี ูเรียน จํานวน 20 คน ซึ่งในวันน้ี การประกอบพวงกญุ แจของชํารวย ปฏบิ ัติการประกอบพวงกุญแจของชาํ รวย และได สอบถามผูเรยี นถึงความพึงพอใจในการเขา รวมกิจกรรม พบวา ผเู รยี นมีความพึงพอใจ สังเกตไดจากการแสดงความ คดิ เหน็ วา เรยี นรูในคร้ังน้ีสามารถนําไปใชไ ดจ ริงเปนการฝก ฝมือ สรางรายไดใหก บั ผูเรียน และผูเรียนมีความสนใจท่ี จะเรียนศิลปะประดษิ ฐต อ เนอื่ งจากการเรยี นรูก ารผลิตของชํารวยจากดนิ ปน การติดตามนเิ ทศ กิจกรรม ศลิ ปะประดิษฐ( ดอกไมป ระดษิ ฐจากกระดาษสา) วนั ที่ 15 กมุ ภาพันธ 2554 นางจันทรญ า กันทา ครูอาสาฯ ไดตรวจเยี่ยมและนิเทศการจดั กิจกรรมศลิ ป ประดิษฐ( ดอกไมป ระดิษฐจ ากกระดาษสา) มผี เู รียนจาํ นวน 20 คน ซง่ึ ในวันนี้ ผเู รยี น ไดเรียนรู ในเร่ืองเกี่ยวกับความ ปลอดภัยในการทํางาน การใชเคร่อื งมือและอุปกรณ วสั ดงุ านศิลปประดษิ ฐ(ดอกไมป ระดิษฐจากกระดาษสา) ความรูเ บื้องตนงานศลิ ปประดิษฐ( ดอกไมป ระดษิ ฐจากกระดาษสา) ขน้ั ตอนการประดษิ ฐดอกไมร ูปแบบตา งๆ วันที่ 20 กมุ ภาพันธ 2554 นางจนั ทรญ า กนั ทา ครอู าสาฯ ไดนิเทศ และตรวจเย่ียม การจัดกิจกรรม การ ผลติ ของชํารวยจากดนิ ปน มีผเู รียนจาํ นวน 20 คน ซงึ่ ในวันนี้ ไดเ รยี นรแู ละปฏิบัตงิ านศิลปประดิษฐ(ดอกไมประดิษฐ จากกระดาษสา) ดอกนาซีซั่น วันท่ี 24 กุมภาพันธ 2554 นางจันทรญา กันทา ครูอาสาฯ พรอ มดวยนายสงั คม อานนท ผูใหญบา นหมู ท่ี 2 / กรรมการ กศน.ตาํ บลวังพรา ว ไดร ว มนเิ ทศและตรวจเยีย่ มการจัดกจิ กรรม ศิลปประดษิ ฐ(ดอกไมประดิษฐจ าก กระดาษสา) มีผเู รียนจํานวน 20 คน ซ่งึ ในวันน้ี วทิ ยากรและผเู รียนรวมกันแลกเปลีย่ นเรยี นรู ผลงาน/ชิ้นงาน โดย ไดร วมแลกเปลย่ี นเรยี นรู กบั ผูเรยี น ซึ่งผูเ รยี นมีความพงึ พอใจในการจัดกิจกรรมเนือ่ งจาก ผลงานของผเู รยี นสามารถ จําหนายไดถ งึ จังหวดั เชียงใหมแ ละในพน้ื ท่ตี าํ บลวังพรา ว การตดิ ตามนิเทศ กิจกรรมนวดคลายเสน วนั ที่ 15 กุมภาพันธ 2554 นางจันทรญ า กนั ทา ครอู าสาฯ รวมกบั นางพรณิพรรณ บตุ ตกลุ กรรมการ ตรวจเยยี่ มและนเิ ทศ ของ กศน.ตาํ บลวังพราว ไดตรวจเยยี่ มและนิเทศการจัดกจิ กรรมนวดคลายเสน โดยมีผเู รียน จาํ นวน 10 คน ซึง่ ในวนั น้ี ผเู รยี น ไดเ รียนรู ในเร่ืองหลักพ้ืนฐานการนวดคลายเสน ความรูพ้ืนฐานเก่ยี วกับรางกาย มนษุ ย ความรใู นการคน หาสมุฏฐาน(ที่ตัง้ ทเี่ กดิ )ของโรค คุณธรรมพ้นื ฐานของหมอนวดไทย การปฏบิ ตั ิตนของหมอ/ผนู วด มารยาทในการนวด หลกั การพื้นฐานและปฏบิ ัติของการนวด หลักการพืน้ ฐานการ คนหาจุดนวด/ตําแหนงตา งๆ วันที่ 7 มนี าคม 2554 นางจนั ทรญา กนั ทา ครูอาสาฯ ไดนเิ ทศ และตรวจเยี่ยม การจดั กิจกรรม นวด คลายเสน มผี ูเรยี นจาํ นวน 10 คน ซึ่งในวนั น้ี ไดเ รียนรูและฝก ปฏบิ ตั ิ แนวนวดและจดุ นวดพนื้ ฐาน สวนคอ ศีรษะ และรว มแลกเปลีย่ นเรยี นรกู บั วทิ ยากรและผเู รียนในการเรียนรูและฝก ปฏิบตั นิ วดคลายเสน ซ่งึ ผูเรียนมีความพึง พอใจในการจดั กิจกรรมนวดคลายเสน และในครัง้ น้ไี ดประชุมเพ่ือจะดาํ เนนิ การจัดกจิ กรรมการเรยี นรูและฝก ปฏบิ ตั ิ นวดกดจุด

10 การติดตามนิเทศ กิจกรรมการทําอาหาร-ขนม วันที่ 10 มีนาคม 2554 นางจันทรญา กันทา ครูอาสาฯ รวมกับนายอนุชิต พินิจผล ประธาน คณะกรรมการ กศน.ตําบลวงั พราว ไดตรวจเยี่ยมและนเิ ทศการจัดกิจกรรมอาหาร-ขนม มผี ูเรยี นจํานวน 21 คน ซ่งึ ในวันน้ี ผเู รยี น ไดเ รยี นรู ในเรอื่ งความปลอดภัยในการทํางาน การใชเ ครือ่ งมอื และอุปกรณ วสั ดุ-อปุ กรณที่ใชใน การทําอาหาร-ขนม ความรเู บือ้ งตน งาน คหกรรม เทคนิคการทาํ อาหารขนม วทิ ยากรและผูเรียนรว มกัน แลกเปล่ียนเรยี นรกู ารทําอาหาร-ขนม วทิ ยากรบรรยายใหความรูและสาธติ การทําขนมลอดชอ ง ผเู รียน เรยี นรแู ละฝก ปฏิบัตกิ ารทําขนมลอดชอง วนั ท่ี 20 มนี าคม 2554 นางจนั ทรญา กนั ทา ครูอาสาฯ ไดนิเทศ และตรวจเยี่ยม การจัดกจิ กรรม อาหาร- ขนม มผี เู รียนจํานวน 21 คน ซ่ึงในวนั น้ี ไดเ รียนรแู ละฝกปฏบิ ตั ิ การทําขนมถว่ั แปบเสวย การติดตามนเิ ทศ กจิ กรรมจกั สาน(ผลติ ภัณฑจากหวายเทียม) วนั ที่ 11 มีนาคม 2554 นางจันทรญา กันทา ครูอาสาฯ รวมกับนายนิธิ คําแดง ผใู หญบานบานแมห ลง ไดต รวจ เยยี่ มและนเิ ทศการจดั กิจกรรมจักสาน(ผลติ ภัณฑจากหวายเทียม) มผี เู รียนจาํ นวน 30 คน ซง่ึ ในวันน้ี ผเู รยี น ได เรยี นรู ในเร่ืองเกย่ี วกับความปลอดภัยในการทํางาน การใชเ คร่ืองมอื และอุปกรณ วสั ดุงานจกั สาน(ผลติ ภณั ฑจาก หวายเทียม) ความรเู บอื้ งตนงานจกั สาน(ผลติ ภณั ฑจ ากหวายเทยี ม) เทคนิคการจักสานหวายเทียม วันที่ 17 มีนาคม 2554 นางจันทรญา กันทา ครูอาสาฯ ไดนิเทศ และตรวจเย่ียม การจัดกิจกรรม จักสาน (ผลติ ภณั ฑจากหวายเทียม) มีผเู รยี นจาํ นวน 25 คน ซึง่ ในวนั น้ี ไดเรียนรูและฝกปฏิบัติ งานจกั สาน(ผลติ ภัณฑจาก หวายเทยี ม) การสานตะกรา ทรงสงู วันที่ 20 มนี าคม 2554 นางจนั ทรญา กนั ทา ครอู าสาฯ ไดน เิ ทศและตรวจเยย่ี มการจัดกิจกรรม จักสาน(ผลติ ภัณฑ จากหวายเทียม) มผี เู รยี นจาํ นวน 30 คน ซง่ึ ในวนั น้ี ผเู รียนไดเรียนรูและฝกปฏบิ ตั ิ งานจกั สาน(ผลติ ภัณฑจากหวาย เทียม)การสานช้ันวางของ พรอมน้ี วิทยากรและผเู รยี นรว มกนั แลกเปล่ยี นเรียนรู ผลงาน/ชิ้นงาน โดยไดรวม แลกเปล่ียนเรียนรู กับผูเรียน ซึ่งผูเรียนมีความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมเนื่องจาก สมาชิกกลุมรวมมือกัน ประชาสัมพนั ธหาตลาด การตดิ ตามนเิ ทศ กจิ กรรมนวดกดจดุ วันที่ 8 มนี าคม 2554 นางจนั ทรญา กันทา ครูอาสาฯ รวมกบั นายสังคม อานนท กรรมการตรวจเยย่ี ม และนิเทศ ของ กศน.ตําบลวังพราว ไดต รวจเย่ยี มและนิเทศการจัดกิจกรรมนวดกดจดุ โดยมีผูเรียนจํานวน 10 คน ซ่งึ ในวันนี้ ผเู รยี น ไดเรยี นรู ในเร่ืองความรูพ้ืนฐานเกย่ี วกบั รางกายมนุษย ความรใู นการคน หาสมุฏฐาน(ที่ตงั้ ท่ีเกดิ ) ของโรค คุณธรรมพื้นฐานของหมอนวดไทย การปฏิบัติตนของหมอ/ผูนวด มารยาทในการนวด หลักการพนื้ ฐาน และปฏบิ ัตขิ องการนวด หลกั การพื้นฐานการคน หาจดุ นวด/ตาํ แหนงตางๆ วันท่ี 24 มนี าคม 2554 ดร.ณราวัลย นันตะภูมิ ผอู ํานวยการศูนยการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตาม อัธยาศยั อําเภอเกาะคา ไดนเิ ทศ และตรวจเยยี่ ม การจดั กจิ กรรม นวดกดจุด มีผูเรยี นจํานวน 9 คน ซงึ่ ในวนั น้ี ได เรียนรแู ละฝกปฏิบัติ การนวดกดจุด เรือ่ งไมค รูดออ มเนนิ นิ้วเทา ไมค รูดฝา เทา 3 แนว และไมครูดฝาเทา สลับฟน ปลา ในการตรวจเยี่ยมและนิเทศในคร้งั นี้ ดร.ณราวลั ย นันตะ ภูมิ วิทยากร และผูเรียนรวมกนั แลกเปลี่ยนเรียนรู การจัดกิจกรรมในคร้งั นี้และไดสอบถามถึงความคาดหวงั และปญหา อุปสรรคท่ีพบในการจัดการเรียนการสอนใน วันนี้ การตดิ ตามนเิ ทศ กจิ กรรมการเพาะเห็ดฟาง วันที่ 27 กุมภาพนั ธ 2554 นางจันทรญา กันทา ครูอาสาฯ ไดตรวจเยี่ยมและนิเทศการเรียนรูและฝก ปฏบิ ัติการเพาะเห็ดฟาง มีผูเรยี นจาํ นวน 20 คน ซ่งึ ในวนั น้ี ผเู รยี น ไดเรยี นรู ในเรอื่ ง ฝกปฏบิ ตั ิกระบวนการ การ เพาะเห็ดฟาง แลกเปลีย่ นเรยี นรจู ากการลงมือปฏิบัติการเพาะเห็ดฟาง นาํ เสนอปญหาและอปุ สรรคและแนว ทางแกไข

11 การติดตามนเิ ทศ กิจกรรมจกั สาน(ผลติ ภณั ฑจากหวายเทียม) วันท่ี 15 มิถนุ ายน 2554 นางจนั ทรญ า กันทา ครูอาสาฯ รว มกบั วาท่ีรอยตรีหญิงสายฝน ราชลํา คณะผู นิเทศงาน กศน.ตาํ บลวังพราว ไดตรวจเย่ียมและนิเทศการจัดกิจกรรมจักสาน(ผลิตภณั ฑจากหวายเทียม) มผี เู รียน จํานวน 30 คน ซึ่งในวันน้ี ผเู รยี น ไดเ รียนรู ในเรอ่ื งเกีย่ วกบั ความปลอดภยั ในการทาํ งาน การใชเครอื่ งมือและ อปุ กรณ วสั ดงุ านจักสาน(ผลิตภณั ฑจากหวายเทียม) ความรเู บอ้ื งตนงานจักสาน(ผลติ ภัณฑจากหวายเทียม) เทคนคิ การจกั สานหวายเทยี ม วนั ที่ 20 มิถุนายน 2554 นางจนั ทรญ า กนั ทา ครูอาสาฯ ไดนเิ ทศ และตรวจเยีย่ ม การจดั กิจกรรม จกั สาน (ผลิตภณั ฑจ ากหวายเทยี ม) มีผูเรยี นจํานวน 28 คน ซงึ่ ในวนั น้ี ไดเรียนรแู ละฝกปฏิบตั ิ งานจกั สาน(ผลิตภณั ฑจาก หวายเทียม) การสานตะกรา ทรงเต้ีย วนั ที่ 24 มถิ ุนายน 2554 นางจนั ทรญ า กันทา ครูอาสาฯ พรอ มดว ยนางไพรวัลย แกวฉาย ครูศนู ยการ เรียน ชุมชน และนายเจริญ สายอินตะ ผูใ หญบานบานมอนหนิ แกว ไดรวมนิเทศและตรวจเย่ียมการจัดกิจกรรม จกั สาน(ผลติ ภณั ฑจากหวายเทียม) มผี ูเ รียนจาํ นวน 30 คน ซึ่งในวันนี้ ผูเรียนไดเรียนรูและฝกปฏบิ ัติ งานจักสาน (ผลิตภัณฑจากหวายเทยี ม)การสานชั้นวางของ พรอ มนี้ วิทยากรและผูเรียนรว มกนั แลกเปลีย่ นเรียนรู ผลงาน/ ชนิ้ งาน โดยไดรวมแลกเปล่ียนเรียนรู กับผูเรยี น ซง่ึ ผูเรยี นมีความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมเนื่องจาก องคการ บริหารสว นตาํ บลวงั พราว ไดม กี ารจดั หาตลาดใหกับผูเรียน การตดิ ตามนิเทศ กจิ กรรมการทาํ นาํ้ พริก วันที่ 15 มิถุนายน 2554 นางจันทรญา กันทา ครูอาสาฯ รวมกับนายอนุชิต พินิจผล ประธาน คณะกรรมการ กศน.ตําบลวังพราว ไดต รวจเยีย่ มและนิเทศการจัดกิจกรรมการทาํ น้ําพรกิ มีผเู รียนจาํ นวน 22 คน ซ่ึงในวันน้ี ผเู รียน ไดเ รียนรู ในเรือ่ งความปลอดภัยในการทาํ งาน การใชเ ครอ่ื งมือและอปุ กรณ วสั ดุ-อุปกรณที่ ใชใ นการทาํ อาหาร-ขนม ความรเู บือ้ งตน งาน คหกรรม เทคนิคการทําอาหารขนม(การทํานํา้ พริก)วทิ ยากรและผูเรียน รวมกนั แลกเปลี่ยนเรียนรกู ารทาํ อาหาร-ขนม(การทาํ นํ้าพริก) วทิ ยากรบรรยายใหค วามรูและสาธิตการทาํ นํ้าพริกเผา ผูเรยี น เรยี นรแู ละฝก ปฏบิ ัตกิ ารทํานาํ้ พริกเผา วนั ที่ 19 มถิ นุ ายน 2554 นางจันทรญา กันทา ครอู าสาฯ ไดนิเทศ และตรวจเยีย่ ม การจดั กจิ กรรม การทํานํ้าพริก มีผเู รยี นจํานวน 22 คน ซ่งึ ในวันน้ี ไดเ รยี นรแู ละฝกปฏิบัติ การทํานํา้ พรกิ นรกกงุ แหง การติดตามนเิ ทศ กิจกรรมการทาํ นํ้าพริก วนั ท่ี 25 มิถุนายน 2554 นางจันทรญา กันทา ครูอาสาฯ รวมกับวาทรี่ อยตรีหญิงสายฝน ราชลํา คณะผู นิเทศ กศน.ตําบลวงั พราว ไดตรวจเย่ยี มและนเิ ทศการจดั กิจกรรมการทาํ นา้ํ พริก มผี เู รยี นจํานวน 25 คน ซ่งึ ใน วันนี้ ผูเรียน ไดเรยี นรู ในเรอ่ื งความปลอดภัยในการทาํ งาน การใชเครอื่ งมอื และอุปกรณ วัสดุ-อุปกรณท ่ีใชในการ ทําอาหาร-ขนม ความรเู บอ้ื งตนงาน คหกรรม เทคนิคการทาํ อาหารขนม(การทาํ น้ําพรกิ )วิทยากรและผเู รียนรวมกัน แลกเปลี่ยนเรียนรกู ารทําอาหาร-ขนม(การทําน้ําพริก) วิทยากรบรรยายใหความรูและสาธิตการทํานํา้ พริกเผา ผูเ รียน เรยี นรแู ละฝกปฏิบตั ิการทาํ นํ้าพริกเผา วันท่ี 29 มถิ นุ ายน 2554 นางจนั ทรญ า กนั ทา ครูอาสาฯ ไดนเิ ทศ และตรวจเย่ยี ม การจดั กจิ กรรม การทาํ นาํ้ พริก มีผเู รยี นจาํ นวน 25 คน ซึง่ ในวันน้ี ไดเรียนรแู ละฝกปฏิบตั ิ การทํานํา้ พริกนรกกุงแหง 2.2 การศึกษาเพือ่ พฒั นาทักษะชวี ิต ในการตรวจสอบการดําเนนิ การจัดกิจกรรมการศกึ ษาเพอื่ พัฒนาทกั ษะชวี ติ ปน จกั รยานเพอ่ื สุขภาพ ไหว พระ9 วัด ศกึ ษาศลิ ปวฒั นธรรม พบวาผเู ขารวมกจิ กรรมสวนใหญเปน ผสู ูงอายุ ทาํ ใหก ารดําเนินการจดั กจิ กรรมไม ตรงกับแผนทีว่ างไว

12 2.3 การศกึ ษาเพอื่ พัฒนาสังคมและชุมชน จากการตรวจสอบการดําเนนิ การจัดกิจกรรมการศกึ ษาเพอ่ื พัฒนาสังคมและชมุ ชน เดนิ รณรงคสงเสริม ประชาธปิ ไตยใหประชาชนไปใชสทิ ธิเ์ ลือกตงั้ กศน.ตาํ บลวังพราวและกศน.ตาํ บลเกาะคา พบวา ชว งระยะเวลาใน การจัดกิจกรรม เปนชว งกลางวัน ไมค อ ยพบกลมุ เปา หมาย ตามท่ไี ดกําหนดไว 2.4 การศึกษาตามอธั ยาศัย การตรวจสอบการจัดกิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัย พบวา กลุม เปา หมายสวนใหญม คี วามพึงพอใจในการ จัดกิจกรรม 1.4การแกไ ข/พัฒนาปรบั ปรงุ 1. งานการศึกษานอกระบบ ระดับการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน แนะนาํ ใหครูบนั ทกึ หลงสอนใหเปนปจ จุบนั และดําเนนิ การจัดกิจกรรมการเรยี นรใู หต รงตามแผนท่ีวางไว 2. งานการศึกษาตอเน่ือง 2.1 การศึกษาเพื่อพัฒนาอาชพี การนําผลการจัดกจิ กรรมการศกึ ษาตอเนื่อง หลักสตู รระยะส้นั (การศกึ ษาเพ่ือพฒั นาอาชพี ) มาใชเ ปนแนวทาง ในการพัฒนาการจัดกิจกรรม เมื่อประชาชนตําบลวงั พราว ไดเขารวมกิจกรรมที่ดําเนินการคือ กจิ กรรมการผลิตของชํารวยจากดินปน กจิ กรรมศิลปะประดิษฐ(ดอกไมประดิษฐจากกระดาษสา) กิจกรรมนวดคลายเสน กิจกรรมการเพาะเหด็ ฟาง กิจกรรมจักสาน(ผลิตภัณฑจากหวายเทียม) กจิ กรรมการทาํ อาหาร-ขนม กิจกรรมการนวดกดจุด กิจกรรมการทาํ นาํ้ พรกิ พบวาในทกุ กิจกรรม เกดิ ปญหาท่ีแตกตา งกนั ออกไป ดงั น้ี กิจกรรมการผลติ ของชํารวยจากดินปน ในการจัดกิจกรรม การผลิตของชํารวยจากดนิ ปน ผูเรียนสว นใหญ เปนผูสูงอายุ การเรียนรูค อนขางชา ใน การจดั กจิ กรรมดังกลาว จึงไดใ หผูเรียนเรียนรไู ปอยางชา ๆและผเู รยี นสว นใหญมกั จะบอกวา อยากใหจัดกิจกรรมทใ่ี ช เวลาเรียนนานๆ เพราะผเู รียนจะไดเ รยี นรคู รบถวน ตามกระบวนการ ดังนั้น ผนู ิเทศ คือนางจันทรญ า กนั ทา นาย สังคม อานนท และวิทยากรนางจันทรจิรา ทองเผอื ก จงึ ไดประชมุ วางแผนรวมกนั วา ถาจะดาํ เนินการจดั กจิ กรรม ศลิ ปประดษิ ฐใ นครง้ั ตอไป เราจะตองจัดทําหลักสูตรใหเหมาะสมกบั กลมุ ผเู รียน กิจกรรม ศิลปะประดิษฐ( ดอกไมประดษิ ฐจ ากกระดาษสา) ในการจัดกิจกรรม การผลิตของชํารวยจากดินปน ผูเรียนสว นใหญ เปน ผูสูงอายุ การเรียนรคู อนขางชา ใน การจดั กิจกรรมดังกลา ว จึงไดใ หผ เู รียนเรยี นรูไปอยา งชาๆและผเู รียนสว นใหญมักจะบอกวา อยากใหจดั กิจกรรมท่ใี ช เวลาเรียนนานๆ เพราะผูเรียนจะไดเรยี นรคู รบถวน ตามกระบวนการ ดังน้ัน ผูน ิเทศ คือนางจันทรญา กันทา นาย สังคม อานนท และวิทยากรนางจันทนา เทพทอง จึงไดประชุมวางแผนรวมกันวา ถาจะดําเนินการจัดกิจกรรม ใหกบั กลุมในครั้งตอ ไป เราจะตอ งจดั ทําหลกั สูตรใหเหมาะสมกับกลมุ ผูเรยี น เพราะผเู รียนสว นใหญเปนผูส ูงอายุ จากผลการดาํ เนินกาจัดกิจกรรมในครง้ั นี้ พบวาผูเรียนมีความพึงพอใจ และผลงาน/ช้นิ งานที่ผลิตออกมา เปนทีต่ อ งการของตลาด ไมว า จะเปน ตลาดในชุมชน หรอื ตลาดตางจังหวัด ทั้งนีท้ างกลุมไดมีการประชาสมั พนั ธสนิ คา ของกลมุ การจดั กิจกรรมศิลปะประดษิ ฐ (ดอกไมประดิษฐจ ากกระดาษสา) ผเู รียนมีความรู ความเขา ใจและมใี นการ ทาํ ดอกไมประดิษฐจากกระดาษสา และสามารถนําความรูทไี่ ดร บั ไปใชในงานอาชีพ การจัดกิจกรรมในคร้ังนบ้ี รรลุ ตามวัตถุประสงคท่ีวางไว กิจกรรมนวดคลายเสน ในการจดั กจิ กรรม นวดคลายเสน ผเู รียนท้ัง 10 คน เปนผูเ รยี นที่เพ่งิ เรียนรแู ละฝก ปฏิบตั ิการนวดคลายเสน ทําใหค อ นขา งใชเ วลาในการอธิบาย เรยี นรูแ ละฝก ปฏิบัตกิ ารนวดคลายเสน ดังนนั้ ผนู ิเทศ คือนางจนั ทรญ า กนั ทา

13 นางเสาวคนธ จนั ทะระ วิทยากร และนางพรณพิ รรณ บุตตกลุ ผูนเิ ทศ กศน.ตําบลวงั พรา ว จึงไดประชุมวางแผน รว มกันวา ในการจัดกจิ กรรมนวดกดจุด จะตอ งจัดทาํ หลักสตู รใหเ หมาะสมกบั ผูเ รยี น จากผลการดาํ เนนิ การจดั กจิ กรรมในคร้งั น้ี พบวาผเู รียนมีความพงึ พอใจ การเขา รวมกจิ กรรม สังเกตไดจาก การแลกเปลย่ี นเรยี นรูกับผเู รียน พบวา ผเู รยี นกระตือรอื รน สอบถามวทิ ยากรถึงทาทางในการนวดคลายเสน ที่ถกู ตอง และถกู วธิ ี กิจกรรมการทาํ อาหาร-ขนม ในการจดั กจิ กรรม อาหาร-ขนม ผเู รยี นบางสวนไมมีพืน้ ฐานในการทําขนม ทําใหใชเ วลาในการทาํ ขนมบาง ชนดิ ดังนนั้ ผนู ิเทศ คือนางจนั ทรญา กันทา นายอนุชิต พนิ ิจผล ประธานคณะกรรมการ กศน.ตาํ บลวังพรา ว และ นางปราณี วิชยั สืบ วิทยากร จึงไดป ระชุมวางแผนรว มกนั วา ถา จะดาํ เนนิ การจดั กิจกรรม การทาํ อาหาร-ขนม ใน คร้ังตอ ไป วิทยากรจะตองบรรยายใหความรู พรอ มทัง้ แลกเปล่ียนเรยี นรูกับผูเ รียนกอ นลงมอื ปฏิบตั ิ ซ่ึงจะทําให ผูเรียนมคี วามรู ความเขาใจเพม่ิ มากขน้ึ จากผลการดําเนินกาจัดกิจกรรมในครั้งนี้ พบวาผเู รียนมคี วามพงึ พอใจ และผลงาน/ชน้ิ งาน สงั เกตไดจาก การซักถามวิทยากรอยูตลอดเวลาถึงขั้นตอนการทําอาหาร-ขนม และหลงั จากเรียนรแู ละฝกปฏิบัติ ผเู รียนไดท ดลอง ฝก ทําขนมขาย จากการขายพบวา ผูซื้อใหการตอบรบั เปน อยางดี เนอ่ื งจากขนมทผ่ี ลิตออกขาย ขายหมดทุกคร้ัง การจดั กิจกรรมในครัง้ นีบ้ รรลุตามวตั ถปุ ระสงคท ่ีวางไว กจิ กรรมจักสาน(ผลิตภัณฑจ ากหวายเทยี ม) ในการจัดกจิ กรรม จักสาน(ผลิตภัณฑจ ากหวายเทียม) ผูเรียนสวนใหญ เปนสมาชิกกลุมจักสาน สมาชิกเปน วยั กลางคนและผูสงู อายุ ผเู รยี นมอี ายตุ งั้ แต 48 ปข น้ึ ไป ทําใหการดําเนนิ กิจกรรมคอ นขา งชา และผเู รยี นสว นใหญมกั จะบอกวา อยากใหจดั กจิ กรรมทใ่ี ชเวลาเรียนนานๆ เพราะผูเรียนจะไดเ รยี นรูครบถว น ตาม กระบวนการ ดังนน้ั ผูนิเทศ คือนางจันทรญา กันทา และนางสุคํา ดวงเนตร วิทยากร จึงไดประชมุ วางแผน รวมกันวา ถาจะดําเนนิ การจดั กิจกรรม ใหกับกลมุ ในครัง้ ตอไป เราจะตอ งจัดทาํ หลักสตู รใหเ หมาะสมกับกลุมผูเรียน จากผลการดาํ เนนิ การจัดกิจกรรมในคร้ังน้ี พบวาผเู รียนมคี วามพึงพอใจ การเขารวมกิจกรรม สงั เกตไดจาก การแลกเปลยี่ นเรยี นรกู บั ผูเรยี น พบวาผูเรยี นกระตือรอื รน รวมกันจดั หาตลาด ประชาสัมพนั ธผลงานของกลุม และ ทางสมาชิกกลุมไดรวมกันจดั ทําโครงการเพ่ือขอรบั งบประมาณสนับสนุนจากองคการบริหารสวนตําบลวังพรา ว เพ่ือ ใชเปน ทุนในการจดั กิจกรรมตอไป กิจกรรมนวดกดจดุ ในการจัดกจิ กรรม นวดกดจุด ผูเ รียนทัง้ 10 คน เปนผูเรยี นที่สนใจและอยากเรียนรใู นเรื่องการนวดแต เน่ืองจากผูเรียนเพิง่ เรียนการนวดคร้งั ที่ 2 และยังไมมคี วามรูในเร่ืองวัสดุ อปุ กรณท ่ีใชประกอบการนวด เชนลูก ประคบ น้าํ มันนวดกลิ่นตา งๆ ฯลฯ ดังนัน้ ผนู ิเทศ คือนางจนั ทรญ า กนั ทา นางเสาวคนธ จนั ทะระ วทิ ยากร และ นายสังคม อานนท ผูนเิ ทศ กศน.ตําบลวังพรา ว จึงไดป ระชมุ วางแผนรวมกนั วา ในการจัดกิจกรรมทางดานการนวด ในคร้ังตอไป ผูเรียนมีความจําเปนที่จะตอ งเรียนรูในเร่ืองวัสดุ อปุ กรณที่ใชประกอบการนวดแบบตางๆ เพ่ือใหก าร เรยี นรใู นเรื่องการนวดเปน ไปอยางครบถว นและถูกตอ ง จากผลการดาํ เนินการจดั กิจกรรมในครั้งน้ี พบวาผเู รียนมีความพึงพอใจ การเขา รวมกจิ กรรม สังเกตไดจาก การแลกเปลี่ยนเรียนรกู ับผูเรียน พบวาผเู รยี นกระตอื รอื รน สอบถามวิทยากรถึงทาทางในการนวดกดจุดที่ถูกตอ ง และถกู วธิ ี

14 กิจกรรมการเพาะเห็ดฟาง ในการจัดกิจกรรม การเรียนรูและฝกปฏบิ ัตกิ ารเพาะเหด็ ฟาง ผูเรยี นสวนใหญ ยังไมม ีความรใู นการเพาะเหด็ ฟางที่ถูก วิธี ทําใหเกิดกระบวนการแลกเปลี่ยนเรยี นรูไปพรอมกัน ในการจดั กิจกรรมจึงเปนไปอยางชาๆ และผเู รยี นสว นใหญ มักจะบอกวา อยากใหจัดกจิ กรรมทใี่ ชเวลาเรียนนานๆ เพราะผเู รยี นจะไดเ รียนรคู รบถวน ตามกระบวนการ ดังนน้ั ผู นิเทศ คอื นางจนั ทรญา กันทา และวิทยากรนางอรพิน ยากองโค จงึ ไดประชุมวางแผนรว มกันวา ถา จะดาํ เนนิ การ จัดกิจกรรม ใหก ับกลุมในคร้ังตอไป เราจะตองจดั ทําหลักสูตรใหเหมาะสมกับกลุมผูเรยี น เพราะผเู รยี นสว นใหญเปน ผสู งู อายุ จากผลการดําเนินกาจัดกิจกรรมในครงั้ น้ี พบวาผูเรียนมีความพึงพอใจ และผลงาน/ชิน้ งานท่ีผลิตออกมา เปนทีต่ องการของตลาด ท้ังนี้ทางกลุมไดมกี ารประชาสัมพนั ธสนิ คาของกลุม การจัดกิจกรรมการเรียนรูและฝก ปฏบิ ัติการเพาะเห็ดฟาง ผูเรยี นมคี วามรู ความเขาใจในการเพาะเห็ดฟาง และสามารถนําความรูท่ีไดร บั ไปใชในงาน อาชพี การจัดกิจกรรมในคร้งั นี้บรรลตุ ามวตั ถุประสงคท ีว่ างไว กจิ กรรมจักสาน(ผลติ ภัณฑจากหวายเทียม) ในการจดั กจิ กรรม จกั สาน(ผลติ ภัณฑจากหวายเทียม) ผเู รียนสวนใหญ เปนผูส ูงอายุ การเรียนรคู อนขางชา ในการจดั กิจกรรมดังกลาว จงึ ไดใหผ เู รยี นเรยี นรไู ปอยา งชา ๆและผเู รยี นสว นใหญมกั จะบอกวา อยากใหจดั กิจกรรมท่ี ใชเวลาเรยี นนานๆ เพราะผูเรียนจะไดเรียนรคู รบถวน ตามกระบวนการ ดังน้นั ผนู ิเทศ คือนางจันทรญ า กันทา นาย เจรญิ สายอินตะ และนางสงั วาลย อนิ ทะปด วทิ ยากร จงึ ไดป ระชุมวางแผนรวมกนั วา ถาจะดาํ เนินการจัดกจิ กรรม ใหก ับกลมุ ในครั้งตอไป เราจะตองจัดทําหลกั สูตรใหเ หมาะสมกับกลมุ ผเู รียน เพราะผเู รยี นสวนใหญเ ปน ผูสูงอายุ จากผลการดาํ เนินการจัดกจิ กรรมในครัง้ น้ี พบวาผูเรียนมีความพึงพอใจ และผลงาน/ช้ินงานที่ผลิตออกมา สามารถจาํ หนา ยไดโดยทันที ทง้ั น้ี องคก ารบริหารสวนตาํ บลวงั พราว ไดจัดหาตลาดใหกบั ผเู รียน ท้ังน้ที างกลุมไดมี การประชาสมั พันธสินคาของกลุม จักสาน(ผลิตภัณฑจ ากหวายเทยี ม) พรอ มท้งั วาท่รี อยตรหี ญิงสายฝน ราชลํา (เจาหนาท่ีวิชาการศึกษาขององคการบริหารสวนตําบลวังพราว)คณะผูนิเทศของ กศน.ตําบลวังพราว รวม ประชาสัมพันธใหก บั เจาหนาทีอ่ งคการบริหารสวนตําบลวงั พราวรวมอดุ หนนุ สินคา ของกลมุ อีกดว ย ผูเ รียนมีความรู ความเขา ใจและมใี นงานจกั สาน(ผลติ ภณั ฑจากหวายเทียม) และสามารถนาํ ความรทู ไ่ี ดรับไปใชใ นงานอาชีพ การจดั กิจกรรมในครงั้ นี้บรรลตุ ามวตั ถุประสงคที่วางไว กิจกรรมการทาํ นา้ํ พริก ในการจัดกิจกรรม การทํานํ้าพริก ผูเรียนบางคนไมมีพน้ื ฐานในการทํานํา้ พรกิ สูตรตางๆ ทําใหใชเวลาใน การทําน้าํ พริก และบางครั้งผสมสูตรในการทํานาํ้ พริกไมถ ูกตอง ทําใหน ํ้าพรกิ ท่ีออกมาไมนารบั ประทาน ดังนน้ั ผู นเิ ทศ คือนางจนั ทรญ า กนั ทา นายอนชุ ติ พนิ ิจผล ประธานคณะกรรมการ กศน.ตาํ บลวังพรา ว และนางเครอื วลั ย เหมยฟอง วิทยากร จงึ ไดป ระชุมวางแผนรว มกันวา ถาจะดาํ เนนิ การจดั กจิ กรรม การทํานํา้ พริก ในคร้ังตอ ไป วิทยากร จะตอ ง สรา งความเขา ใจถงึ ขนั้ ตอนการทํานํ้าพรกิ วัสด-ุ อุปกรณทีใ่ ชในการทาํ น้ําพรกิ กอ นทจ่ี ะลงมือปฏิบตั ิ จากผลการดําเนินกาจัดกิจกรรมในครั้งนี้ พบวา ผเู รยี นมีความพึงพอใจ การจัดกิจกรรมการเรยี นรูและฝก ปฏบิ ัตกิ ารทาํ น้ําพรกิ สงั เกตไดจากการซักถามวิทยากรอยูตลอดเวลาถึงขน้ั ตอนการน้ําพริก การลองผิด ลองถกู ใน การผสมสูตรนํ้าพริก จนไดรสชาตทิ ่ีถูกตอง กิจกรรมการเรียนรูการทํานํ้าพรกิ บรรลุวัตถปุ ระสงคท่ีวางไวเน่อื งจาก ผูเรียนใหค วามสนใจ มาเรยี นอยางตอ เนื่องและสมาํ่ เสมอ กจิ กรรมการทําน้ําพริก ในการจดั กิจกรรม การทํานํ้าพริก ผเู รียนไมมีพ้นื ฐานในการทํานา้ํ พริกสูตรตางๆ ทําใหใชเวลาในการทาํ นํ้าพรกิ และบางครง้ั ผสมสูตรในการทําน้ําพริกไมถกู ตอง ทําใหนํา้ พริกท่ีออกมาไมนา รับประทาน ดังนั้น ผูนิเทศ คือ นางจนั ทรญา กนั ทา วา ทีร่ อยตรีหญงิ สายฝน ราชลาํ ผนู ิเทศงาน กศน.ตาํ บลวังพรา ว และนางเครอื วัลย เหมยฟอง

15 วทิ ยากร จงึ ไดประชุมวางแผนรว มกนั วา ถาจะดาํ เนินการจัดกจิ กรรม การทํานาํ้ พริก ในคร้ังตอไป วทิ ยากร จะตอ ง สรางความเขา ใจถงึ ขน้ั ตอนการทาํ นํา้ พรกิ วัสด-ุ อปุ กรณทใี่ ชในการทาํ น้ําพริก กอนท่จี ะลงมอื ปฏบิ ัติ จากผลการดาํ เนนิ การจดั กจิ กรรมในครง้ั นี้ พบวาผเู รียนมีความพึงพอใจ ในผลงาน สังเกตไดจากการซักถาม วิทยากรอยูตลอดเวลาถงึ ข้ันตอนการน้ําพริก การลองผิด ลองถูกในการผสมสูตรน้ําพริก จนไดรสชาติท่ีถูกตอง กจิ กรรมการเรียนรูการทําน้าํ พริกบรรลวุ ัตถปุ ระสงคที่วางไว 2.2 การศึกษาเพ่อื พฒั นาทักษะชวี ิต แนะนําใหจัดทาํ แบบสอบถามกลุมเปาหมาย เพอื่ จะไดดาํ เนินการจัดกิจกรรม/ออกแบบกิจกรรมใหตรงกับ กลุม เปาหมายและจดั ทําหลักสูตรและวางแผนการจดั กิจกรรมใหเ หมาะสมกบั กลุมเปา หมาย 2. การนเิ ทศ กศน.ตําบล ตามระบบการประกนั คณุ ภาพภายในสถานศึกษา ประจาํ ป 2554 2.1 การวางแผน ตามคาํ สั่งท่ี 123/2553 เร่อื งแตง ตงั้ คณะกรรมการนิเทศ กศน.ตําบล ตามระบบการประกันคณุ ภาพภายใน สถานศึกษา ประจาํ ป 2554 ลงวนั ท่ี 30 ธันวาคม 2554 คณะผนู เิ ทศประกอบดว ย นางสาวนาตยา วุฒิธนทู อง นางจันทรญา กันทา นายพงษกฤษณ อุปนันท และนางอําไพ บางกีรตกิ ร ไดรวมกันวางแผนในการนเิ ทศ กศน. ตําบล ตามระบบการประกนั คุณภาพภายในสถานศึกษา ประจําป 2554 ดงั นี้ แผนการตรวจตดิ ตามระบบประกันคณุ ภาพภายในสถานศึกษา มาตรฐานท่ี 2 ว/ด/ป กจิ กรรม สถานที่ ผรู ับผิดชอบ หมายเหตุ วนั จนั ทรท ่ี 1 สิงหาคม 2554 ตรวจติดตามระบบประกันคุณภาพ กศน.ตาํ บลไหลห ิน นางสาวนาตยา วฒุ ิธนูทอง 09.00-12.00 น. วนั พุธที่ 3 ภายในสถานศึกษา มาตรฐานท่ี 2 นางจนั ทรญา กันทา สงิ หาคม 2554 นางอาํ ไพ บางกีรตกิ ร วันจนั ทรท ่ี 8 สิงหาคม 2554 นายพงษก ฤษณ อุปนนั ท ตรวจติดตามระบบประกนั คุณภาพ กศน.ตําบลใหม นางสาวนาตยา วฒุ ิธนูทอง 13.00-16.00 น. ภายในสถานศึกษา มาตรฐานที่ 2 พัฒนา นางจนั ทรญา กนั ทา นางอาํ ไพ บางกีรตกิ ร นายพงษกฤษณ อุปนันท ตรวจติดตามระบบประกันคณุ ภาพ กศน.ตาํ บลทา ผา นางสาวนาตยา วุฒธิ นทู อง 09.00-12.00 น. ภายในสถานศกึ ษา มาตรฐานที่ 2 นางจันทรญ า กันทา นางอําไพ บางกรี ติกร นายพงษกฤษณ อปุ นันท ตรวจติดตามระบบประกันคณุ ภาพ กศน.ตําบลศาลา นางสาวนาตยา วุฒธิ นูทอง 13.00-16.00 น. ภายในสถานศึกษา มาตรฐานท่ี 2 นางจันทรญ า กนั ทา นางอาํ ไพ บางกรี ตกิ ร นายพงษกฤษณ อุปนันท ตรวจตดิ ตามระบบประกันคณุ ภาพ กศน. ตาํ บลนาแกว นางสาวนาตยา วุฒธิ นทู อง 09.00-12.00 น. ภายในสถานศึกษา มาตรฐานท่ี 2 นางจนั ทรญ า กันทา นางอาํ ไพ บางกีรตกิ ร นายพงษกฤษณ อปุ นันท

ว/ด/ป กจิ กรรม สถานท่ี ผรู บั ผิดชอบ 16 หมายเหตุ วันอังคารที่ 9 ตรวจติดตามระบบประกนั คุณภาพ กศน. ตาํ บลนาแสง นางสาวนาตยา วุฒธิ นทู อง 13.00-16.00 น. สงิ หาคม 2554 ภายในสถานศึกษา มาตรฐานที่ 2 นางจนั ทรญ า กนั ทา 09.00-12.00 น. วันพธุ ท่ี 10 สงิ หาคม 2554 นางอาํ ไพ บางกรี ตกิ ร 13.00-16.00 น. นายพงษก ฤษณ อปุ นันท 09.00-12.00 น. ตรวจติดตามระบบประกนั คณุ ภาพ กศน.ตาํ บลลําปาง นางสาวนาตยา วุฒิธนทู อง ภายในสถานศกึ ษา มาตรฐานที่ 2 หลวง นางจนั ทรญา กันทา นางอําไพ บางกีรตกิ ร นายพงษก ฤษณ อปุ นันท ตรวจตดิ ตามระบบประกันคณุ ภาพ กศน.ตําบลเกาะคา นางสาวนาตยา วฒุ ธิ นทู อง ภายในสถานศกึ ษา มาตรฐานท่ี 2 นางจันทรญา กันทา นางอําไพ บางกีรติกร นายพงษกฤษณ อุปนันท ตรวจตดิ ตามระบบประกนั คณุ ภาพ กศน.ตาํ บลวังพราว นางสาวนาตยา วฒุ ิธนูทอง ภายในสถานศกึ ษา มาตรฐานท่ี 2 นางจนั ทรญา กันทา นางอําไพ บางกรี ติกร นายพงษก ฤษณ อุปนันท 2.2 การปฏบิ ัติ ในการตรวจตดิ ตามระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา มาตรฐานท่ี 2 คณะกรรมการไดนิเทศตาม ดงั นี้ วนั ท่ี 1 สงิ หาคม 2554 ไดตรวจติดตามระบบประกนั คณุ ภาพภายในสถานศึกษา มาตรฐานท่ี 2 กศน. ตาํ บลใหมพฒั นา ผูร ับการนิเทศคือนายพรพงษ เกตุชัยโกศล ครู กศน.ตําบลใหมพ ัฒนา วนั ท่ี 1 สงิ หาคม 2554 ไดต รวจตดิ ตามระบบประกนั คณุ ภาพภายในสถานศึกษา มาตรฐานที่ 2 กศน. ตําบลไหลห ิน ผรู บั การนเิ ทศคอื นายมงคล พรมตวา ครู กศน.ตําบลไหลหนิ วันที่ 6 สงิ หาคม 2554 ไดตรวจติดตามระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา มาตรฐานที่ 2 กศน. ตาํ บลทา ผา ผูร ับการนเิ ทศคอื นางสาวสุพรรษา ทองเรอื ง ครู กศน.ตาํ บลเทาผา วันที่ 9 สงิ หาคม 2554 ไดตรวจติดตามระบบประกันคณุ ภาพภายในสถานศกึ ษา มาตรฐานท่ี 2 กศน. ตาํ บลเกาะคา ผูร ับการนเิ ทศคือนายฉัตรชยั กษดิ ินทร ฉัตรสมุ าลยา ครู กศน.ตาํ บลเกาะคา วันท่ี 10 สงิ หาคม 2554 ไดตรวจตดิ ตามระบบประกนั คุณภาพภายในสถานศึกษา มาตรฐานที่ 2 กศน. ตําบลวังพราว ผูรับการนเิ ทศคือนางจันทรญา กนั ทา ครอู าสาฯและนางสาวสรุ ัตนา แปงสาย ครูศูนยการเรียน ชมุ ชนตําบลวงั พรา ว วันท่ี 10 สิงหาคม 2554 ไดตรวจติดตามระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา มาตรฐานที่ 2 กศน. ตําบลลาํ ปางหลวง ผรู ับการนิเทศคอื นางอําไพ บางกีรติกร ครู กศน.ตาํ บลลําปางหลวง วนั ที่ 20 สิงหาคม 2554 ไดตรวจตดิ ตามระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา มาตรฐานท่ี 2 กศน. ตําบลนาแสง ผรู บั การนิเทศคือนายคมกรชิ แสงลูน ครู กศน.ตาํ บลนาแสง

17 วันท่ี 20 สงิ หาคม 2554 ไดตรวจตดิ ตามระบบประกนั คุณภาพภายในสถานศกึ ษา มาตรฐานที่ 2 กศน. ตาํ บลนาแกว ผรู บั การนเิ ทศคือนางสุมาไร แปนนอ ย ครู กศน.ตําบลนาแกว วันที่ 20 สิงหาคม 2554 ไดต รวจติดตามระบบประกนั คุณภาพภายในสถานศึกษา มาตรฐานท่ี 2 กศน. ตาํ บลศาลา ผูรับการนเิ ทศคือนางปวีณา ทองคําฟู ครูอาสาฯ และนายเอกชัย ไชยมงคล ครูศูนยก ารเรยี นชมุ ชน ตําบลศาลา 2.3 การตรวจสอบ จากการตรวจสอบพบวา การบนั ทึกหลงั สอนของครไู มเปน ปจ จุบัน ไมม กี ารจดั ทาํ แบบตดิ ตามผเู รียนเมื่อ สาํ เรจ็ การศกึ ษา การจัดกิจกรรมสงเสริมการรหู นงั สือไมต อ เนอ่ื ง ไมม ีการวเิ คราะหศ กั ยภาพของผเู รยี น และเขาใจ ผูเ รยี นเปนรายบุคคล จากการนิเทศ ตรวจตดิ ตาม ไมเปน ไปตามแผนคือ ตําบลทา ผา ตาํ บลศาลา ตําบลนาแสงและตาํ บลลําปาง หลวง สาเหตเุ น่อื งเกิดอทุ กภยั (นาํ้ ทวม)ไมส ามารถตรวจตดิ ตามผลการดาํ เนนิ งานตามแผนท่วี างไว 2.4 การแกไ ข/พัฒนา จากผลการประเมิน ตรวจตดิ ตาม ระบบประกันคุณภาพภายในสถานศกึ ษา มาตรฐานที่ 2 การศกึ ษานอก ระบบ ระดบั การศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน พบวา การบนั ทกึ หลังการพบกลุมของครูไมเ ปนปจจุบนั คณะผนู เิ ทศ จึงไดแนะนํา จดั ทําบันทึกหลงั สอนใหต รงกับแผน และเปนปจจุบนั แนะนาํ ใหครจู ดั กจิ กรรมสงเสรมิ ความสามารถในการคดิ เปน มี ทักษะในการแสวงหาความรมู ีทกั ษะในการทํางานและทาํ งานรว มกับผูอ ่นื ได และแนะนําใหจดั ทําแบบติดตามผูเรยี น เมื่อสําเร็จการศกึ ษา แนะนาํ ใหค รูจัดทาํ ขออนมุ ัติจดั ตง้ั กลมุ ,หลักสตู ร,ส่ือ และแบบประเมนิ ผูไ มร หู นงั สอื แนะนําให จัดทํารายงานวเิ คราะหศ ักยภาพของผูเรียน เปน รายบคุ คล การแกไขตาํ บลที่ไมส ามารถติดตามผลการดําเนินงานตามมาตรฐานที่ 2 ได คณะผูนิเทศ จงึ ไดเปลีย่ นแปลง วนั นเิ ทศ เพือ่ ใหสามารถนเิ ทศไดครบทงั้ 9 ตําบลได

ภาคผนวก

การนเิ ทศงานการศกึ ษานอกระบบ ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน กศน.ตําบลวังพรา วและกศน.ตาํ บลเกาะคา

การนเิ ทศงานการศกึ ษาตอ เน่อื ง กศน.ตาํ บลวังพราวและกศน.ตําบลเกาะคา

การนเิ ทศ ตรวจติดตามระบบประกนั คุณภาพภายในสถานศึกษา มาตรฐานท่ี 2

ทป่ี รึกษา ผจู ัดทํา ดร.ณราวัลย นันตะภมู ิ ผูอาํ นวยการ กศน.อาํ เภอเกาะคา ผูรวบรวม/เรียบเรียง ครูอาสาฯ นางจนั ทรญ า กนั ทา ครูอาสาฯ ผอู อกแบบปก นางจนั ทรญา กนั ทา ผลิตโดย ศูนยการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อาํ เภอเกาะคา สํานกั งานสง เสริมการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั จงั หวัดลําปาง


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook