Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วิชาเบญจศีล-เบญจธรรมธ.ศ.ตรี

วิชาเบญจศีล-เบญจธรรมธ.ศ.ตรี

Published by suttasilo, 2021-07-06 11:28:56

Description: วิชาเบญจศีล-เบญจธรรมธรรมศึกษาตรี

Keywords: ธรรมศึกษาตรี,วิชาเญจศีลเบญจธรรมธรรม

Search

Read the Text Version

˹§Ñ ÊÍ× àÃÂÕ ¹ ÇªÔ ÒàºÞ¨ÈÅÕ -àºÞ¨¸ÃÃÁ ¸ÃÃÁÈ¡Ö ÉÒµÃÕ

หน้า ๘๔ เบญจศลี เบญจธรรม ธรรมศึกษาชัน้ ตรี วิชาเบญจศีล-เบญจธรรม บทนำ หนงั สือเบญจศลี -เบญจธรรมนี้ สมเด็จพระมหาสมณเจา้ กรมพระยาวชิรญาณวโรรส ไดร้ วบรวมรจนา จากคมั ภีรท์ างพระพทุ ธศาสนา จดุ ประสงคข์ องการแต่งหนงั สือเล่นนี้ เพื่อม่งุ สาํ หรบั ใชเ้ ป็นหนงั สอื การเรียนการสอนในโรงเรยี น ม่งุ จะให้ นกั เรียนมีความรูด้ แี ละควบคไู่ ปกบั มีความประพฤตดิ ี ศีลในทางพระพทุ ธศาสนา ๑. ศีล ๕ ขอ้ สาํ หรบั สาธชุ นท่วั ไป เรียกว่า นิจศีล, ปกติศลี ๒. ศีล ๘ ขอ้ สาํ หรบั อบุ สก อบุ าสิกา เรยี กวา่ คหฏั ฐศีล, อโุ บสถศีล ๓. ศลี ๑๐ ขอ้ สาํ หรบั สามเณร สามเณรี เรยี กว่า อนปุ สมั ปันนศีล ๔. ศลี ๒๒๗ ขอ้ สาํ หรบั พระภิกษุ เรยี กว่า ภกิ ขศุ ลี ๕. ศีล ๓๑๑ ขอ้ สาํ หรบั พระภกิ ษุณี เรยี กว่า ภิกขณุ ีศลี อานิสงสข์ องผูร้ กั ษาศลี ๑. ไมต่ อ้ งประสบความเดอื ดรอ้ นในภายหนา้ ๒. ยอ่ มประสบความสาํ เรจ็ ในการทาํ มาหากิน ๓. ช่อื เสยี งเกียรตยิ ศของผมู้ ีศีล ยอ่ มแพรห่ ลายไปในหมชู่ นคนดี ๔. เป็นผอู้ งอาจ ไมเ่ กอ้ เขนิ เม่ือเขา้ ไปในหมขู่ องมศี ีล ๕. เป็นผไู้ มห่ ลงทาํ กาลกริ ิยา คอื กอ่ นตายกม็ สี ติ ตายไปอย่างสงบ ไมท่ รุ นทรุ าย ๖. เมอื่ ตายไป แลว้ เขา้ ถงึ สคุ ตโิ ลกสวรรค์ ไม่ตอ้ งตกนรก ๗. ผทู้ ่ีบาํ เพ็ญศลี ใหบ้ ริบูรณ์ มสี ตบิ ริบูรณ์ ยอ่ มทาํ ตนใหส้ นิ้ อาสวะได้ คือ สนิ้ กเิ ลสได้ ความมุ่งหมายของการักษาศลี ๕ ขอ้ ๑. ศีลขอ้ ที่๑ เพอ่ื ป้องกนั ทางทต่ี นจะเสียหาย เพราะโหดรา้ ย ๒. ศีลขอ้ ที่ ๒ เพ่อื ป้องกนั ทางทีต่ นจะเสียหาย เพราะความมือไว ๓. ศลี ขอ้ ท่ี ๓ เพือ่ ปอ้ งกนั ทางท่ีตนจะเสยี หาย เพราะความใจเรว็ ๔. ศลี ขอ้ ท่ี ๔ เพ่อื ปอ้ งกนั ทางท่ีตนจะเสยี หาย เพราะความขปี้ ด ๕. ศีลขอ้ ท่ี ๕ เพ่ือป้องกนั ทางที่ตนจะเสยี หาย เพราะความขาดสติ องคแ์ ห่งศีล องคแ์ ห่งศีลอย่างหนึ่ง ๆ เรียกว่า “สิกขาบท” ศีลมอี งค์ ๕ จึงเป็นสิกขาบท ๕ ประการ รวมเรยี กว่า เบญจศีล การรกั ษาศีล คอื การตงั้ ใจเจตนางดเวน้ จากการะทาํ ความผดิ ดงั ท่านบญั ญัติไวเ้ ป็นเรอ่ื งทต่ี งั้ ใจงด ตงั้ ใจเวน้ ตงั้ ใจไมท่ าํ อีก ตอ้ งมี “ความตงั้ ใจ” กาํ กบั ไวเ้ สมอ ไม่ใชเ่ พราะมีเหตอุ ื่นบงั คบั ตน จงึ ไมท่ าํ ความผดิ แต่

เบญจศลี เปญจธรรม ธรรมศึกษาชนั้ ตรี หนา้ ๘๕ ไมท่ าํ เพราะตนเองไดต้ งั้ ใจไวว้ ่าจะงดเวน้ ความตงั้ ใจดงั ว่ามานี้ ทางศาสนา เรียกว่า “วริ ตั ”ิ คอื เจตนาท่งี ดเวน้ จากความช่วั วริ ตั ิ ๓ ประการ ๑. สัมปัตตวิ ิรัติ เวน้ จากวตั ถทุ จี่ ะพงึ ลว่ งไดอ้ นั มาถงึ เฉพาะหนา้ ไดแ้ ก่ วิรตั ิของคนท่วั ไป ๒.สมาทานวริ ตั ิ เวน้ ดว้ ยอาํ นาจการถือเป็นกิจวตั ร ไดแ้ ก่ พระภกิ ษุ สามเณร อบุ าสก อบุ าสกิ า ๓.สมจุ เฉทวริ ตั ิ เวน้ ดว้ ยตดั ขาด มอี นั ไม่ทาํ อยา่ งนน้ั เป็นปกติ ไดแ้ ก่ พระอรยิ เจา้ (พระอรหนั ต)์ คาํ ว่า “อาราธนาศลี ” หมายความวา่ การนมิ นต์ หรอื เชิญพระภิกษุ หรือ ผใู้ ดผหู้ นึง่ เป็นผใู้ หศ้ ีล คาํ ว่า “สมาทานศลี ” หมายความวา่ การว่าตามผทู้ เ่ี ราอาราธนามาเพอ่ื ใหศ้ ลี เบญจศลี สกิ ขาบทท่ี ๑ ปาณาตปิ าตา เวรมณี เวน้ จากฆา่ สตั วม์ ชี วี ติ สตั วท์ กุ ชนิด ย่อมมสี ิทธิ์โดยชอบในการมชี วี ิตของตนไปจนตาย ผใู้ ดทาํ ใหเ้ ขาเสยี ชีวติ ดว้ ยเจตนาศลี ของ ผนู้ น้ั กข็ าด เม่อื เพ่งเจตนาจิตเป็นใหญ่ ในสกิ ขาบทขอ้ นมี้ ขี อ้ หา้ ม ๓ อยา่ ง คือ ๑. การฆา่ ๒. การทาํ รา้ ยรา่ งกาย ๓. การทรกรรม การฆา่ ไดแ้ ก่ การทาํ ใหต้ าย - มวี ตั ถุ คอื ส่ิงที่ฆ่า ๒ ประเภท คือ ๑. ฆา่ มนษุ ย์ ๒. ฆ่าสตั วเ์ ดียรจั ฉาน - วตั ถใุ ชฆ้ า่ ๒ อยา่ ง คอื ๑. ศาสตรา วตั ถมุ คี ม เช่น ดาบ หอก เป็นตน้ ๒. อาวธุ วตั ถไุ มม่ คี ม เช่น ปืน ไมพ้ ลอง กอ้ นหนิ เป็นตน้ ฆ่ามนษุ ย์ มีโทษหนกั ฝ่ายพทุ ธจกั รปรบั โทษภกิ ษุกระทาํ เป็นปาราชกิ ฝ่ายอาณาจกั รปรบั โทษแกผ่ กู้ ระทาํ อยา่ งสงู สดุ ถึงขนั้ ประหารชีวติ หรอื จาํ คกุ ตลอดชีวิต การฆา่ ต่างกนั โดยเจตนา มี ๒ ประเภท คือ - ฆ่าโดยจงใจ เรยี ก สจิตตกะ มกี ารวางแผนเตรียมการไวล้ ่างหนา้ - ฆ่าโดยไม่จงใจ เรียก อจติ ตกะ ไม่ไดค้ ิดไวก้ อ่ น ประสงคป์ ้องกนั ตวั เป็นตน้ การฆา่ จะสาํ เร็จดว้ ยประโยค ๒ อยา่ ง คือ ๑. ฆ่าเอง เรียกว่า สาหตั ถกิ ประโยค เป็นการลงมือฆ่าเอง

หนา้ ๘๖ เบญจศลี เบญจธรรม ธรรมศกึ ษาช้ันตรี ๒. ใชใ้ หค้ นอนื่ ฆา่ เรียกวา่ อาณัตตกิ ประโยค ศีลขอ้ นขี้ าดทงั้ ฆ่าเอง และยงั ใหค้ นอนื่ ฆ่า กล่าวโดยสรุปการกระทาํ การฆา่ สตั วจ์ ะมีโทษดว้ ยเหตุ ๓ ประการ คอื ๑. วตั ถุ คอื ส่งิ ท่ฆี า่ ๒. เจตนา ความตงั้ ใจ ๓. ประโยค อาการทีป่ ระกอบกรรม ฉายาปาณาติบาต คือ การทาํ รา้ ยรา่ งกาย และทรกรรม การทาํ รา้ ยรา่ งกายมงุ่ การกระทาํ ตอ่ มนษุ ย์ แยกเป็น ๓ ประเภท คอื ๑) ทาํ ใหพ้ ิการ ๒) ทาํ ใหเ้ สียโฉม ๓) ทาํ ใหเ้ จบ็ ลาํ บาก การทรกรรม คอื การประพฤตเิ หยี้ มโหดตอ่ สัตว์ ไม่มีความปราณีสตั ว์ แยกเป็น ๕ ประเภท คอื ๑) ใชก้ าร คือการใชง้ านเกินกาํ ลงั ๒) กกั ขงั ๓) นาํ ไป โดยวธิ ีทรมาน เชน่ ลากไป ผกู มดั เป็นตน้ ๔) เลน่ สนกุ ๕) ผจญสตั ว์ เช่น เอาปลากดั กนั ชนไก่ เป็นตน้ องคป์ าณาติบาตมอี งค์ ๕ คอื ๑. ปาโณ สตั วม์ ีชีวติ ๒. ปาณสญั ญิตา ตนรูว้ า่ สตั วม์ ชี วี ิต ๓. วธกจิตตงั จิตคิดจะฆ่าใหต้ าย ๔. อปุ ักกโม ทาํ ความพยายามฆา่ ๕. เตน มรณงั สตั วต์ ายดว้ ยความพยายามนน้ั ศลี ขอ้ นีจ้ ะขาด ต่อเมอื่ ทาํ ครบองคท์ งั้ ๕ ขอ้ นี.้ สกิ ขาบทท่ี ๒ อทนิ นาทานา เวรมณี เจตนางดเวน้ จากการลกั ทรพั ย์ ศลี ขอ้ นีบ้ ญั ญตั ขิ ึน้ เพื่อปอ้ งกนั การทาํ ลายกรรมสิทธิ์ในทรพั ยส์ มบตั ขิ องกนั และกนั โดยหวงั จะใหเ้ ลยี้ งชพี ในทางที่ชอบ เวน้ จากการเบยี ดเบียนกนั และกนั การประพฤติผิดเชน่ นี้ ไดช้ ื่อว่าประพฤติผดิ ธรรม เป็นบาป ทรพั ย์ ท่คี นอ่ืนไมไ่ ดใ้ ห้ ถอื เอาโดยอาการเป็นโจรกรรม มกี าํ หนดดงั นี้ ๑. ทรพั ยส์ มบตั ิหรือส่งิ ของ ทมี่ เี จา้ ของ ทงั้ ท่ีมีวิญญาณ และไมม่ ีวญิ ญาณ ๒. ทรพั ยส์ มบตั หิ รอื สิง่ ของทีไ่ ม่ใช่ของใคร แต่มีผรู้ กั ษาหวงแหน เป็นสมบตั ิกลาง ๓. ทรพั ยส์ มบตั ิหรอื สิง่ ของท่ีเป็นของในหม่อู นั ไม่พึงแบ่ง ไดแ้ ก่ ของสงฆ์ ของสว่ นรว่ ม

เบญจศีลเปญจธรรม ธรรมศกึ ษาชัน้ ตรี หนา้ ๘๗ ในสกิ ขาบทนีศ้ ีลขาดไปดว้ ยเจตนา ถา้ ไมม่ ีเจตนาศีลดา่ งพรอ้ ย โดยอาการถือเอาทรพั ยส์ มบตั ิหรอื สิง่ ของอื่นทา่ นหา้ มไว้ ๓ ประการ คือ ๑. โจรกรรม ประพฤติเป็นโจร ๒. ความเลยี้ งชีพอนโุ ลมโจรกรรม ๓. กิรยิ าเป็นฉายาโจรกรรม โจรกรรม ทางศีลธรรมท่านแบง่ ออกเป็น ๑๔ วธิ ีดว้ ยกนั คือ ๑. ลกั ขโมย ยอ่ งเบา ตดั ช่อง คอื งดั แงะ ๒. ฉก รว่ มถึงการว่ิงราว ตีชงิ ๓. กรรโชก แสดงอาํ นาจ ๔. ปลน้ ๕. ตู่ คอื กล่าวต่วู ่าเป็นของตวั เอง ๖. ฉอ้ โกง ๗. หลอก ไดแ้ ก่ กริ ยิ าที่พดู ปด ๘. ลวง ไดแ้ ก่ กริ ิยาท่กี ระทาํ ลวง ๙. ปลอม ๑๐.ตระบดั ยมื มาแลว้ ไมส่ ง่ คนื ๑๑. เบยี ดบงั ๑๒. ลกั ลอบ ไดแ้ กล่ กั ลอบของหนภี าษี ๑๓. สบั เปลี่ยน ๑๔.ยกั ยอก ความเลยี้ งชีวติ อนุโลมโจรกรรม ไดแ้ กก่ ารแสวงหาทรพั ยพ์ สั ดใุ นทางไม่บรสิ ทุ ธิ์ แต่ไม่นบั เขา้ ในอาการเป็นโจร มีดงั นี้ ๑) สมโจร การกระทาํ การอดุ หนนุ โจรกรรม ๒) ปลอกลอก การคบคนดว้ ยอาการไม่ซ่อื สตั ย์ ดว้ ยหวงั ทรพั ยข์ องคนอืน่ ฝ่ายเดยี ว ๓) รบั สนิ บน กริ ยิ าเป็ นฉายาโจรกรรม ๑) ผลาญ เชน่ เผาบา้ น ฟันโค เป็นตน้ ๒. หยบิ ฉวย การถือเอาทรพั ยพ์ สั ดขุ องผอู้ ื่นดว้ ยความมกั ง่าย ความเป็นกรรมในสิกขาบทในขอ้ นี้ มีโทษหนกั เบาตามชน้ั กนั โดยวตั ถุ เจตนา และประโยค ดงั นี้ - โดยวตั ถุ ถา้ ถือเอาท่ีทาํ การโจรกรรมมีค่ามาก มีโทษมาก - โดยเจตนา ถา้ ถอื เอาโดยโลภ มเี จตนากลา้ กม็ โี ทษมาก - โดยประโยค ถา้ ถอื เอาโดยการฆ่า หรอื ทาํ ลายทรพั ยข์ า้ วของ ก็มโี ทษมาก องคแ์ หง่ อทินนาทาน ๕ ประการ คอื ๑. ปรปริคคหิตงั ของนนั้ มเี จา้ ของหวงแหน ๒. ปรปริคคหิตสญั ญิตา ตนก็รูว้ า่ ของนน้ั มเี จา้ ของหวงแหน ๓. เถยยจติ ตงั จิตคดิ จะลกั ๔. อปุ ักกโม พยายามเพือ่ จะลกั ๕. เตน หรณัง นาํ ของนนั้ มาดว้ ยความพยายามนน้ั

หนา้ ๘๘ เบญจศีลเบญจธรรม ธรรมศึกษาชนั้ ตรี ศลี ขอ้ นีจ้ ะขาด ตอ่ เม่ือการกระทาํ ครบองคท์ งั้ ๕ ขา้ งตน้ นี.้ สกิ ขาบทท่ี ๓ กาเมสุ มจิ ฉาจารา เวรมณี เวน้ จากการประพฤตผิ ดิ ในกามทงั้ หลาย ศลี ขอ้ นี้ ท่านบญั ญัติ ดว้ ยหวงั ปลกู ความสามคั คี สรา้ งความเป็นปึกแผน่ ป้องกนั ความแตกรา้ วในหมู่ มนษุ ย์ และทาํ ใหไ้ วว้ างใจซง่ึ กนั และกนั คาํ วา่ “กาม” ในที่นีห้ มายถงึ กิรยิ าทีร่ กั ใครก่ ันในทางประเวณี หมายถึง “เมถุน” คอื การสอ้ งเสพกาม ระหวา่ งชายหญิง การผิดในกาม หมายถงึ การเสพเมถนุ กบั คนทต่ี อ้ งหา้ ม ดงั จะไดอ้ ธิบายดงั ตอ่ ไปนี้ หญิงท่ตี ้องห้ามสาํ หรับชาย มี ๓ ประเภท คอื ๑.หญิงมีสามี ท่เี รยี กวา่ ภรรยาทา่ นไดแ้ ก่ หญิง ๔ จาํ พวก คอื ๑.๑ หญิงทแี่ ตง่ งานกบั ชายแลว้ ๑.๒ หญิงทไ่ี ม่ไดแ้ ต่งงาน แตอ่ ยกู่ ินกบั ชายอยา่ งเปิดเผย ๑.๓ หญิงท่รี บั ส่ิงของ มที รพั ย์ เป็นตน้ ของชายแลว้ อย่กู บั เขา ๑.๔ หญิงทช่ี ายเลีย้ งเป็นภรรยา ๒. หญิงท่ีญาติรกั ษา คือ มผี ปู้ กครอง ไมเ่ ป็นอิสระแกต่ น เรียกวา่ หญิงอยใู่ นพิทกั ษ์รกั ษาของท่าน คอื หญิงทยี่ งั ไมบ่ รรลนุ ติ ิภาวะ หรอื หญิงมมี ารดาบดิ ารกั หรอื ญาตริ กั ษา ๓. หญิงทีจ่ ารตี ประเพณีรกั ษา ไดแ้ ก่หญิงท่เี ป็นเทอื กเถาเหล่ากอกนั หญิงท่ีทางศาสนารกั ษา เช่น นาง ภิกษุณี หรอื แม่ช,ี หญิงทีก่ ฎหมายบา้ นเมืองรกั ษาคมุ้ ครอง ชายต้องหา้ มสาํ หรบั หญงิ มี ๒ ประเภท คือ ๑. ชายอ่นื นอกจากสามี เป็นวตั ถตุ อ้ งหา้ มสาํ หรบั หญิงทีม่ ีสามีแลว้ ๒. ชายทีจ่ ารตี หา้ ม เช่น นกั พรต นกั บวช เป็นตน้ กลา่ วโดยความเป็นกรรมจดั ว่ามีโทษหนกั เบาเป็นชน้ั ต่างกนั โดยวตั ถุ เจตนา ประโยค ดงั นี้ ๑. โดยวตั ถุ ถา้ เป็นการทาํ ชู้ หรือ ล่วงละเมิดในวตั ถทุ ่มี ีคณุ มีโทษมาก ๒. โดยเจตนา ถา้ เป็นไปดว้ ยกาํ ลงั ราคะกลา้ มีโทษมาก ๓. โดยประโยค ถา้ เป็นไปโดยพลการ มโี ทษมาก องคแ์ ห่งกาเมสมุ ิจฉาจาร มอี งค์ ๔ คอื ๑. อคมนียวตั ถุ วตั ถอุ นั ไม่ควรถงึ (มรรคทงั้ ๓) ๒. ตสั มิง เสวนจิตตงั จติ คดิ จะเสพในวตั ถอุ นั ไม่ควรถงึ นนั้ ๓. เสวนปั ปโยโค ทาํ ความพยายามในอนั ท่ีจะเสพ ๔.มคั เคน มคั คปั ปฏิปัตติ มรรคต่อมรรคถึงกนั

เบญจศลี เปญจธรรม ธรรมศกึ ษาชั้นตรี หน้า ๘๙ ในกามเมสมุ ิจฉาจารนี้ ผทู้ ่เี สพเองเท่านนั้ ที่ผิดศีลขอ้ นี้ ส่วนการใชค้ นอ่นื ใหท้ าํ แกค่ นอื่นนน้ั ไมเ่ ป็นการผิด กาเมสมุ ิจฉาจาร แตก่ ารใชใ้ หค้ นอ่นื ทาํ กาเมสมุ ิจฉาจารแก่ตนนน้ั เป็นการผดิ โดยแท.้ สกิ ขาบทที่ ๔ มสุ าวาทา เวรมณี เวน้ จากการพดู เทจ็ ศีลขอ้ นีบ้ ญั ญัติขึน้ เพอ่ื เป็นการปอ้ งกนั การทาํ ลายประโยชนข์ องกนั และกนั ดว้ ยการพดู คือ ตดั ประ โยชนท์ างวาจา และรกั ษาวาจาของตนใหเ้ ป็นทเ่ี ชื่อถือของคนอื่น ในสิกขาบทนี้ ทา่ นหา้ มเป็นขอ้ ใหญ่ ๓ ประการ คือ ๑. มสุ า ๒. อนโุ ลมมสุ า ๓. ปฏสิ สวะ การกระทาํ ตามขอ้ ๑ ศีลขาด กระทาํ ตามขอ้ ๒ และขอ้ ๓ ศลี ด่างพรอ้ ย มสุ าวาท การพดู เทจ็ คอื การโกหก หมายถึง การแสดงออกดว้ ยเจตนาบิดเบือนความจรงิ ใหค้ นหลงเชอ่ื แสดงออกได้ ๒ ทาง คือ ๑. ทางวาจา ดว้ ยการพดู ๒.ทางกาย ดว้ ยการแสดงอาการ ขีดเขียนเป็นตน้ กริ ยิ าท่เี ป็นมสุ าวาททา่ นแสดงไว้ ๗ อย่าง คือ ๑. ปด ๒.ทนสาบาน ๓. ทาํ เลห่ ก์ ระเท่ห์ ๔. มารยา ๕. ทาํ เลส ๖. เสรมิ ความ ๗. อาํ ความ อนุโลมมสุ า คือ เรือ่ งทพ่ี ดู นนั้ ไมจ่ ริง แตผ่ พู้ ดู มิไดม้ ่งุ จะใหผ้ ฟู้ ังหลงเชือ่ แยกประเภท ๒ อยา่ ง คอื ๑. เสยี ดแทง กริ ยิ าทวี่ า่ ใหผ้ อู้ ่ืนใหเ้ จ็บใจ ๒. สบั ปลบั ไดแ้ ก่ พดู ปดดว้ ยคะนองวาจา ปฏิสวะ ไดแ้ ก่ เดิมรบั คาํ ของคนอน่ื ดว้ ยเจตนาบริสทุ ธิ์ แตภ่ ายหลงั กลบั ใจ ไม่ทาํ ตามทรี่ บั นนั้ แมไ้ ม่เป็นการพดู เท็จโดยตรง แตก่ ็เป็นการทาํ ลายประโยชนข์ องคนอ่นื ได้ มปี ระเภทเป็น ๓ อยา่ ง คอื ๑. ผดิ สญั ญา ๒. เสยี สตั ย์ ๓. คืนคาํ ถอ้ ยคาํ ทไ่ี มเ่ ป็นมสุ า ๔ อย่าง คือ ๑. โวหาร ๒. นิยาย ๓. สาํ คญั ผิด ๔. พลงั้ องคแ์ ห่งมสุ าวาท ๔ อย่าง ๑. อภตู วตั ถุ เร่อื งที่พดู เป็นเรอื่ งไมจ่ ริง ๒. ววิ าทนจิตตงั จงใจจะพดู ใหผ้ ิด ๓. ตชั โชวายาโม พยายามพดู คาํ นน้ั ออกไป ๔. ปะรสั สะ ตะทตั ถวชิ านะนงั คนอนื่ เขา้ ใจเนอื้ ความนน้ั .

หนา้ ๙๐ เบญจศลี เบญจธรรม ธรรมศกึ ษาชั้นตรี สกิ ขาบทท่ี ๕ สรุ าเมรยมชั ชปมาทฏั ฐานา เวรมณี เวน้ จากการดมื่ นำ้ เมา ศีลขอ้ นีบ้ ญั ญตั ขิ ึน้ เพือ่ ใหค้ นรูจ้ กั รกั ษาสตขิ องตนใหบ้ ริบรู ณ์ ศลี ขอ้ ๕ นี้ นบั วา่ มีความสาํ คญั ที่สดุ ใน เบญจศลี นา้ํ เมา มี ๒ ชนดิ คอื ๑. สรุ า นาํ้ เมาท่ีกล่นั แลว้ ภาษาไทยเรยี กว่า เหลา้ ๒. เมรยั นาํ้ เมาทไี่ มไ่ ดก้ ล่นั เป็นของหมกั ดอง เชน่ เหลา้ ดิบ นา้ํ ตาลเมา ของมึนเมาเสพติดตา่ งๆ เช่น ฝ่ิน กญั ชา ก็รวมเขา้ ในศีลขอ้ นดี้ ว้ ย ในปัจจบุ นั นมี้ สี ่ิงเสพติดใหโ้ ทษ ก็สงเคราะหเ์ ขา้ ในศีลขอ้ นดี้ ว้ ย คือ ๑. สรุ า นาํ้ เมาที่กล่นั แลว้ ๕. มอรฟ์ ีน เป็นผลิตภณั ฑท์ าํ จากฝ่ิน ๒. เมรยั นา้ํ เมาท่ียงั ไมไ่ ดก้ ล่นั ๖. เฮโรอีน เป็นผลติ ภณั ฑท์ าํ จากมอรฟ์ ีน ๓. กญั ชา เป็นตน้ ไมช้ นดิ หนึง่ ๗. โคเคน เป็นผลติ ภณั ฑจ์ ากมอรฟ์ ี น ๔. ฝ่ิน เป็นยางไมช้ นดิ หน่ึง ๘. แลคเกอร์ ทนิ เนอร์ (กาว) ทาํ มาจากสารเคมี สรุ า เมรยั เสพทางการดม่ื ฝ่ิน กญั ชา เป็นตน้ เสพโดยวธิ ีสบู บา้ ง ฉีดเขา้ ไปในรา่ งกายบา้ ง โทษแหง่ การด่มื น้าํ เมามี ๖ อยา่ งคือ ๑. เป็นเหตใุ หเ้ สียทรพั ย์ ๔. เป็นเหตใุ หเ้ สียช่อื เสียง ๒. เป็นเหตใุ หก้ อ่ วิวาท ๕. เป็นเหตปุ ระพฤติมารยาทท่นี า่ อดสู ๓. เป็นใหเ้ กิดโรค ๖. ทอนกาํ ลงั ปัญญา โทษของการเสพฝิ่ น ๔ สถาน ๑. เป็นเหตใุ หเ้ สยี ความสาํ ราญของรา่ งกาย ๓. เป็นเหตใุ หเ้ สียความดี ๒. เป็นเหตกุ ่อววิ าท ใหเ้ สยี ทรพั ย์ ๔. เป็นเหตใุ หเ้ สียช่ือเสียง โทษเหลา่ นี้ ยง่ิ หยอ่ นตามฟื้นเพของผูเ้ สพ โทษของการเสพกญั ชา กญั ชาเป็นส่งิ เสพติดใหโ้ ทษ ทาํ มตั ถลงุ ค์ (มนั ในสมอง) และเสน้ ประสาทใหเ้ สียไป ตาลาย เห็นอะไรผิด ไปจากความเป็นจรงิ องคแ์ ห่งสุราปานะ มีองค์ ๔ คือ ๑. มทนยี งั นาํ้ เมา ๒. ปาตกุ มั มยตาจิตตงั จติ คิดจะดื่มนา้ํ เมา ๓. ตชั โชวายาโม พยายามด่มื นาํ้ เมา ๔. ปีตปั ปเวสนงั นาํ้ เมาลว่ งลาํ คอลงไป

เบญจศีลเปญจธรรม ธรรมศกึ ษาชั้นตรี หนา้ ๙๑ ศีลขาด ศลี ขาด คือ ศีลของผมู้ ีสมาทานศีลแลว้ แต่ไม่รกั ษาศลี นน้ั ใหด้ ี ล่วงละเมดิ เป็นประจาํ ทาํ ใหข้ าดตน้ ขาด ปลาย หาทบ่ี ริสทุ ธิจ์ ริงไดย้ าก เหมอื นผา้ ท่ีขาดชายรอบทงั้ ผนื หรอื ขาดกลางผืนเลย ศลี ทะลุ ศีลทะลุ คือ ศลี ของผทู้ ่ชี อบล่วงละเมิดสกิ ขาบทกลาง ๆ แต่สิกขาบทตน้ และปลายยงั ดีอยู่ เหมือนผา้ ที่ ทะลเุ ป็นชอ่ งตรงกลางผนื ศีลด่าง ศีลดา่ ง คอื ศีลของผทู้ ่ชี อบลว่ งละเมิดสกิ ขาบททีเดียว ๒ หรอื ๓ ขอ้ เหมอื น แม่โคดา่ งทีก่ ระดาํ กระ ดา่ งเลยไปทงั้ ตวั ดาํ บา้ ง ขาวบา้ ง ศีลพร้อย ศลี พรอ้ ย คอื ศีลของผชู้ อบล่วงละเมดิ ศลี คราวละสิกขาบท หรือล่วงศีลคราวละองคส์ ององค์ คือ มีศลี บริสทุ ธิบ์ า้ ง ไมบ่ ริสทุ ธิบ์ า้ งสลบั กนั ไป ศีลหา้ ประการนี้ เป็นวินยั ในพระพทุ ธศาสนา ดว้ ยประการฉะนี.้ อโุ บสถศลี คาํ ว่า อโุ บสถ แปลว่า ดถิ ีวเิ ศษทเ่ี ขา้ อยู่ ดิถวี เิ ศษเป็นทเ่ี วน้ มี ๓ อยา่ ง คือ ๑. นคิ คัณฐอุโบสถ เป็นอโุ บสถของนกั บวชนอกพระพทุ ธศาสนา คือ ตงั้ เจตนางดเวน้ เป็นบางอยา่ ง เชน่ เวน้ การฆา่ สตั วใ์ นทิศเหนอื แตฆ่ ่าสัตวใ์ นทิศอ่ืน เป็นการรกั ษาตามใจชอบของตน ๒. โคปาลอโุ บสถ เป็นอโุ บสถในพระพทุ ธศาสนา เป็นอโุ บสถทีอ่ บุ าสก อบุ าสกิ า สมาทานรกั ษาไว้ เหมือนคนรบั จา้ งเลยี้ งโค คือ เวลาสมาทานแลว้ กลบั ไปพดู ดริ จั ฉานกถาต่าง ๆ เชน่ พดู เร่ืองการทาํ มาหากนิ เรือ่ งทะเลาะกนั ภายในครอบครวั เป็นตน้ ๓. อรยิ อุโบสถ เป็นอโุ บสถในพระพทุ ธศาสนา เป็นอโุ บสถทเี่ หมาะสม และประเสริฐสาํ หรบั อบุ าสก อบุ าสิกา เม่ือสมาทานแลว้ กต็ งั้ ใจรกั ษาศลี ของตนใหม้ ่นั คง ใจไมข่ อ้ งแวะกบั ฆราวาสวสิ ยั สนทนาแต่ในเร่ืองของ พระธรรมวินยั ในเรอ่ื งการบาํ เพ็ญบญุ อยา่ งเดยี ว อริยอโุ บสถ นี้ จงึ เป็นอโุ บสถทีน่ บั ว่าประเสรฐิ ท่สี ดุ . เบญจกลั ยาณธรรม กลั ยาณธรรม แปลวา่ ธรรมอนั งาม เมอ่ื กลา่ วโดยความกค็ อื ขอ้ ปฏิบตั พิ ิเศษท่ยี ่ิงขนึ้ ไปกวา่ ศีลและเป็นคู่ กบั ศีล ดงั พระบาลที ่ีแสดงคณุ ของกลั ยาณชนวา่ เป็นผมู้ ศี ีล มีกลั ยาณธรรม ศีลกบั ธรรมตอ้ งค่กู นั ขอ้ นตี้ อ้ งสนั นษิ ฐานวา่ ผเู้ วน้ จากขอ้ หา้ ม ๕ ขอ้ ไดช้ อ่ื ว่าผมู้ ีศลี แตผ่ มู้ ศี ลี จะชอื่ วา่ มี กลั ยาณธรรมทกุ คนหามไิ ด้ เชน่ คนหนง่ึ เป็นคนมีศีลไปทางเรือ พบเรอื ล่มคนกาํ ลงั วา่ ยนา้ํ อยู่ เขาสามารถทีจ่ ะ ชว่ ยไดแ้ ตไ่ มช่ ว่ ย จนคนนน้ั จมนาํ้ ตาย ศลี ของเขาไม่ขาด แตป่ ราศจากความกรุณา ยงั เป็นที่น่าตเิ ตยี นเพราะส่วน

หนา้ ๙๒ เบญจศลี เบญจธรรม ธรรมศึกษาช้ันตรี นน้ั จะจดั ว่าเขามกี ลั ยาณธรรมไมไ่ ด้ ถา้ เขาเหน็ แลว้ มีความกรุณาเตือนใจ หยดุ ชว่ ยคนนน้ั ใหพ้ น้ อนั ตรายได้ จงึ ชือ่ วา่ มที งั้ ศีล มที งั้ กลั ยาณธรรม กลั ยาณธรรมนมี้ ี ๕ อยา่ ง จึงเรยี กวา่ เบญจกลั ยาณธรรม ท่านจดั ตามสกิ ขาบทในเบญจศีลน่นั เอง ดงั นี้ ๑. เมตตากบั กรุณา จดั ไดใ้ นสิกขาบทที่ ๑ ๒. สมั มาอาชีวะ จดั ไดใ้ นสิกขาบทที่ ๒ ๓. ความสาํ รวมในกาม จดั ไดใ้ นสกิ ขาบทที่ ๓ ๔. ความมีสตั ย์ จดั ไดใ้ นสิกขาบทท่ี ๔ ๕. ความมสี ตริ อบครอบ จดั ไดใ้ นสกิ ขาบทท่ี ๕ กัลยาณธรรม(เบญจธรรม) ในสกิ ขาบทที่ ๑ เมตตา ไดแ้ ก่ ความปรารถนาจะใหเ้ ขาเป็นสขุ ตนไดร้ บั ความสาํ ราญแลว้ กอ็ ยากใหค้ นอ่ืนไดบ้ า้ ง คณุ ขอ้ นีเ้ ป็นเหตใุ หส้ ตั วค์ ิดเกอื้ กูลกนั และกนั คนไมม่ ีความเมตตา ท่านเรยี กวา่ คนใจจดื การแสดงเมตตานี้ มลี ักษณะ ๒ อย่าง คอื ๑. โอทิสสผรณา หมายถงึ การแผเ่ มตตาไปในผอู้ น่ื โดยเจาะจง เช่น ในสตั วต์ วั น้นั ตวั นี้ ในบุคคล หรอื ในหม่คู ณะนน้ั เป็นตน้ ๒. อโนทสิ สผรณา หมายถงึ การแผ่เมตตา มี สตั ว์ บุคคล ไม่มปี ระมาณ โดยไมเ่ จาะจง (ท่วั ไป) อโนทิสสผรณานี้ จึงมีอานสิ งสม์ ากกว่า โอทสิ สผรณา เพราะว่าเป็นการแสดงว่าเราแผ่เมตตาไปไมเ่ ลอื กวา่ จะเป็น มิตรหรือศตั รู อานิสงสข์ องการแผเ่ มตตา ๑๑ ประการ คอื ๑. นอนหลบั กเ็ ป็นสขุ ๗. ไฟ ยาพิษ ศาสตรา ยอ่ มไมก่ ลา้ํ กราย ๒. ตื่นกเ็ ป็นสขุ ๘. จิตตงั้ ม่นั เป็นสมาธิเร็ว ๓. ไมฝ่ ันลามก ไม่ฝันรา้ ย ๙. สหี นา้ ย่อมเบกิ บานแจม่ ใส ๔. เป็นที่รกั ของมนษุ ยท์ งั้ หลาย ๑๐. ย่อมไมห่ ลงตาย คือ กอ่ นตายมีสติ ๕. เป็นทรี่ กั ของอมนษุ ยท์ งั้ หลาย ๑๑. เมอื่ ยงั ไม่ตรสั รู้ ยอ่ มเขา้ ถึงพรหมโลก ๖. เทวดาย่อมรกั ษา กรุณา ไดแ้ ก่ ความคดิ ปรารถนาจะใหเ้ ขาปราศจากทกุ ข์ เม่อื เหน็ ทกุ ขเ์ กิดขึน้ แกผ่ อู้ ื่น ก็พลอยหว่นั ใจไป ดว้ ย คณุ ขอ้ นี้ เป็นเหตใุ หส้ ตั วท์ งั้ หมายคดิ ชว่ ยเปลอื้ งทกุ ขภ์ ยั ของกนั และกนั คนท่ีไม่มคี วามกรุณา ท่านเรียกว่า คนใจดาํ

เบญจศีลเปญจธรรม ธรรมศกึ ษาชน้ั ตรี หน้า ๙๓ การแสดงความเมตตากรุณานี้ เมือ่ ใชถ้ กู ที่แลว้ ย่อมอาํ นวยผลอนั ดใี หแ้ ก่ผปู้ ระกอบ และผรู้ บั ทาํ ความ ปฏบิ ตั ิของผมู้ ีศีลใหง้ ามขนึ้ เหมอื นหวั แหวนประดบั เรอื นแหวน ใหง้ ามฉะนนั้ จงึ ชอื่ วา่ กลั ยาณธรรม ในสกิ ขาบทท่ี ๒ ในสกิ ขาบทที่ ๒ แห่งเบญจศลี นน้ั มีกลั ยาณธรรม คือ สมั มาอาชีวะเป็นคกู่ นั ไดแ้ ก่ การประกอบการ เลยี้ งชีพในทางท่ชี อบ เวน้ จากมจิ ฉาชพี ต่าง ๆ ทางท่ีชอบ แมเ้ วน้ จากมจิ ฉาชพี แลว้ ก็ยงั ตอ้ งประกอบดว้ ยกิรยิ าทีประพฤติเป็นธรรมในการหาเลีย้ งชีพอกี ซง่ึ จดั ไวเ้ ป็น ๓ อยา่ ง คือ ๑. ประพฤติเป็นธรรมในกิจการ ๒. ประพฤติเป็นธรรมในบคุ คล ๓. ประพฤตเิ ป็นธรรมในวตั ถุ คณุ ธรรมขอ้ นอี้ ดุ หนนุ ผมู้ ีศีลใหส้ ามารถรกั ษาศีลใหม้ ่นั คงยงั ยืน. ในสกิ ขาบทที่ ๓ ในสิกขาบทท่ี ๓ แห่งเบญจศีลน้นั มีกลั ยาณธรรม คือ ความสาํ รวมในกามเป็นค่กู นั ไดแ้ ก่กิรยิ าท่ี ระมดั ระวงั ไม่ประพฤตมิ กั มากในกาม ส่งความบรสิ ทุ ธิ์ผอ่ งใสของชายหญิงใหก้ ระจา่ งแจ่มใส ชายหญงิ เวน้ จาก คณุ ธรรมขอ้ นี้ กาเมสมุ จิ ฉาจารแลว้ แต่ยงั ประพฤตมิ กั มากอยใู่ นกามคณุ ยอ่ มไม่มีสง่าราศี ตกอย่ใู นมลทนิ ไม่พน้ จากการติฉิน นินทาไปได้ ธรรมขอ้ นี้ แจกตามเพศของบคุ คล เป็น ๒ คือ ๑. สทารสนั โดษ ความสนั โดษดว้ ยภรรยาของตน เป็นคณุ สาํ หรบั ประดบั ของชาย ๒. ปติวัตร ความประพฤตเิ ป็นไปตามสามขี องตน เป็นคณุ สาํ หรบั ประดบั ของหญิง. ในสกิ ขาบทท่ี ๔ ในสกิ ขาบทที่ ๔ แหง่ เบญจศีลน้นั มกี ลั ยาณธรรม คือ ความมสี ตั ยเ์ ป็นอยกู่ นั ไดแ้ ก่ กริ ยิ าท่ีประพฤติตน เป็นคนตรง มีอาการทีพ่ งึ เห็นเป็น ๔ อย่าง คอื ๑. ความเทีย่ งธรรม ๓. ความสวามภิ กั ดี ๒. ความซ่ือตรง ๔. ความกตญั �ู ความมสี ตั ย์ ทาํ ใหค้ นมศี ีลบริบูรณย์ งิ่ ขึน้ จงึ ชอื่ วา่ กลั ยาณธรรม ในสิกขาบทที่ ๔ ความมสี ตั ย์ ทา่ นจดั ว่ามีความสาํ คญั ท่ีสดุ ในเบญจศลี ๕ ขอ้ เพราะถา้ ขาดความมีสตั ยแ์ ลว้ เบญจธรรม ขอ้ อืน่ ก็จะสมบูรณไ์ ดย้ าก.

หน้า ๙๔ เบญจศีลเบญจธรรม ธรรมศึกษาช้นั ตรี ในสกิ ขาบทท่ี ๕ ในสิกขาบทท่ี ๕ แหง่ เบญจศีลนัน้ มกี ลั ยาณธรรม คือ ความมสี ติรอบคอบเป็นคกู่ นั ไดแ้ กค่ วามมีสติ ตรวจตราไมเ่ ลินเล่อ มีอาการท่ที า่ นแยกเป็น ๔ สถาน คอื ๑. ความรูจ้ กั ประมาณอาหารทจ่ี ะพึงบรโิ ภค ๒. ความไม่เลินเลอ่ ในการงาน ๓. ความมีสตสิ มั ปชญั ญะในการประพฤติตวั ๔. ความไม่ประมาทในธรรมชน คือ คนทีป่ ระพฤตดิ งี าม เป็นที่นยิ มนบั ถอื ของคนท่วั ไป ฯ __________________________________


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook