Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วิชาอนุพุทธประวัติธ.ศ.โท

วิชาอนุพุทธประวัติธ.ศ.โท

Published by suttasilo, 2021-07-07 21:54:25

Description: วิชาอนุพุทธประวัติธรรมศึกษาโท

Keywords: หนังสือเรียน,วิชาอนุพุทธประวัติ,ธรรมศึกษาโท

Search

Read the Text Version

๖ อนพุ ุทธประวัติ ธรรมศึกษาชั้นโท ˹§Ñ ÊÍ× àÃÂÕ ¹ ÇªÔ Ò͹¾Ø ·Ø ¸»ÃÐÇµÑ Ô ¸ÃÃÁÈÖ¡ÉÒâ·

อนุพทุ ธประวัติ ธรรมศึกษาชั้นโท ๗ วิชา อนพุ ทุ ธประวตั ิ อนพุ ทุ ธประวตั ิ หมายถงึ เรอ่ื งทก่ี ลา่ วถงึ ความเป็นไปในชีวประวตั ิ และปฏิปทาของหม่ชู นผไู้ ดส้ ดบั ฟัง คาํ ส่งั สอนของพระบรมศาสดา แลว้ นาํ ไปประพฤตปิ ฏิบตั ติ ามคาํ ส่งั สอนน้ัน แลว้ รูต้ ามจนสามารถดบั กิเลสไดโ้ ดย สิน้ เชงิ ประโยชนข์ องการศึกษาอนพุ ทุ ธประวตั ิ อนพุ ทุ ธบุคคลเป็นพระสงฆส์ าวกซงึ่ จดั เป็นรตั นะประการหนงึ่ ใน รตั นะทงั้ สามประการ พระพทุ ธเจา้ แมไ้ ดท้ รงตรสั รูแ้ ละทรงแสดงพระธรรม แตเ่ ม่อื ขาดผฟู้ ังธรรมและผปู้ ระพฤติ ปฏิบตั ิตาม ความตรสั รูข้ องพระองคก์ ็จกั ไมส่ าํ เรจ็ ประโยชน์ อนพุ ทุ ธบุคคลเป็นพยานในการตรสั รูข้ องพระองค์ ทงั้ ไดเ้ ป็นกาํ ลงั ของพระบรมศาสดาในการประกาศพระศาสนา เมื่อเราทราบความเป็นไปและปฏปิ ทาของท่าน เหลา่ นน้ั แลว้ จกั ไดถ้ อื เอาเป็นแบบอยา่ งในการบาํ เพ็ญประโยชนเ์ พอ่ื ตนและเพ่อื ผอู้ ื่นโดยเหมาะแกภ่ าวะของตน อนั จะเป็นเหตใุ หพ้ ระศาสนารุง่ เรอื งประการหน่งึ จาํ นวนพระมหาสาวก ตามนยั แหง่ อรรถกถากาํ หนดจาํ นวนไว้ ๘๐ องค์ ไดร้ บั ยกยอ่ งเป็นเอตทคั คะ จาํ นวน ๔๑ องค์ ประวตั อิ นพุ ทุ ธะ ๘๐ องค์ (โดยยอ่ ) ๑. พระอญั ญาโกณทญั ญเถระ ชาตภิ มู -ิ การอปุ สมบท ทา่ นเป็นบตุ รพราหมณม์ หาศาลในบา้ นโทณวตั ถุ ไม่หา่ งจากกรุงกบลิ พสั ดนุ์ กั เดมิ ชื่อ โกณทญั ญะ ภายหลงั ท่านทราบวา่ พระมหาบุรุษทรงออกผนวชและกาํ ลงั บาํ เพญ็ ทกุ กรกริ ยิ า อยทู่ ีต่ าํ บลอรุ ุเวลเสนานิคม ตาม คาํ ทาํ นายของตนวา่ “จะเสดจ็ ออกบรรพชาและไดต้ รสั รูเ้ ป็นศาสดาเอกในโลก” จงึ ชวนพราหมณอ์ ีก ๔ คน คอื วปั ปะ ภัททิยะ มหานามะ และอัสสชิ ออกบวชตดิ ตามไปเฝา้ ปฏบิ ตั ิอยู่ ๖ ปี ดว้ ยหวงั วา่ เมอ่ื พระองคต์ รสั รู้ แลว้ จกั สอนตนใหร้ ูบ้ า้ ง ครน้ั พระมหาบุรุษทรงเลิกทกุ กรกิริยา ปรารภจะทาํ ความเพียรทางใจจงึ เบื่อหนา่ ยในพระ มหาบุรุษ หลกี ไปอยปู่ ่าอิสปิ ตนมฤคทายวนั ครน้ั พระมหาบุรุษไดต้ รสั รูแ้ ลว้ ไดเ้ สด็จมาแสดง พระธมั มจัก กัปปวตั นสตู ร อนั เป็นปฐมเทศนา ท่านไดด้ วงตาเห็นธรรมคอื บรรลพุ ระโสดาปัตติผล พระบรมศาสดาจึงทรง เปล่งพระอทุ านว่า “อ�ฺญาสิ วต โภ โกณทฺ �ฺโญ” เพราะคาํ วา่ อญั ญาสิ ทา่ นจงึ ไดช้ อื่ วา่ อญั ญาโกณทัญญะ ตงั้ แต่นน้ั เป็นตน้ มาภายหลงั พระบรมศาสดาตรสั พระธรรมเทศนาชอื่ ว่า อนัตตลักขณสตู ร ทา่ นจึงไดบ้ รรลพุ ระ อรหตั ตผลพรอ้ มกบั พราหมณอ์ กี ๔ คน เอตทัคคะ ทา่ นไดร้ บั ยกยอ่ งจากพระบรมศาสดาวา่ เป็ นผเู้ ลิศกว่าภกิ ษุทั้งหลายทางรตั ตัญ�ู คือท่านผรู้ ูร้ าตรี นาน เพราะทา่ นรูธ้ รรมและบวชกอ่ นสาวกทงั้ ปวง

๘ อนพุ ทุ ธประวัติ ธรรมศึกษาชั้นโท ๒. พระวปั ปเถระ ทา่ นเป็นบตุ รพราหมณช์ าวเมอื งกบิลพสั ดผุ์ ทู้ ่ีถกู เลือกเขา้ ทาํ นายพระลกั ษณะของพระมหาบรุ ุษ ท่านไดร้ บั คาํ แนะนาํ จากบิดาใหอ้ อกบวชตามพระมหาบุรุษจงึ ออกบวชพรอ้ มกบั พราหมณอ์ ีก ๔ คน มีโกณทญั ญะเป็น หวั หนา้ คอยอปุ ัฏฐากรบั ใชพ้ ระมหาบรุ ุษ เมื่อเหน็ พระมหาบุรุษทรงละทกุ กรกริ ิยา จึงหนีไปอย่ปู ่าอสิ ิปตน มฤคทายวนั เมือ่ พระมหาบุรุษไดต้ รสั รูแ้ ลว้ ไดเ้ สดจ็ ไปโปรดแสดง พระธัมมจักกปั ปวัตนสูตร แต่ท่านไมไ่ ดส้ าํ เรจ็ มรรคผลอะไรเลย วนั รุง่ ขึน้ ไดฟ้ ัง ปกิณณกเทศนา ทา่ นจึงไดด้ วงตาเหน็ ธรรม จากนน้ั ไดท้ ลู ขออปุ สมบท พระ บรมศาสดาทรงประทานอปุ สมบทใหด้ ว้ ยเอหภิ กิ ขอุ ปุ สมั ปทาเมื่อท่านมอี นิ ทรยี แ์ กก่ ลา้ ไดฟ้ ังเทศนาช่อื วา่ อนัตต ลักขณสูตร จงึ ไดส้ าํ เร็จเป็นพระอรหนั ต์ ท่านไดเ้ ป็นกาํ ลงั ในการประกาศพระศาสนาในช่วงปฐมโพธิกาล ๓. พระภทั ทยิ เถระ (มปี ระวตั ิคลา้ ยพระวปั ปเถระ ฯ) ๔. พระมหานามเถระ (มีประวตั ิคลา้ ยพระวปั ปเถระ แต่ทา่ นไดฟ้ ังปกิณณกเทศนา ๒ ครงั้ จึงไดด้ วงตาเหน็ ธรรม ฯ) ๕. พระอสั สชเิ ถระ มีประวตั คิ ลา้ ยกบั ทา่ น ๓ องคด์ งั ทไ่ี ดก้ ลา่ วมาแลว้ แตท่ า่ นไดฟ้ ังปกณิ ณกเทศนา ๒ ครงั้ จึงไดด้ วงตาเห็น ธรรม และท่านยงั ไดเ้ ป็นอาจารยข์ อง พระสารบี ตุ รเถระ เมือ่ ครงั้ ยงั เป็นปรพิ พาชก นบั วา่ ท่านไดม้ ีศษิ ยส์ าํ คญั องคห์ นึ่ง ๖. พระยสเถระ ชาตภิ มู ิ ทา่ นเป็นบุตรเศรษฐีเมืองพาราณสี ซงึ่ มีเรือน ๓ หลงั เป็นที่อยู่ ๓ ฤดู เหตุทอ่ี อกบวช เน่อื งดว้ ยความสลดใจ ในหมนู่ างบาํ เรอท่ีแสดงอาการวปิ ลาสตา่ งๆ ในคนื วนั หน่ึงจงึ เกดิ ความ เบื่อหนา่ ยเดินบน่ วา่ “ทีน่ ว่ี นุ่ วายหนอ ทีน่ ข่ี ดั ขอ้ งหนอ” ไปส่ปู ่าอสิ ปิ ตนมฤคทายวนั พบพระบรมศาสดาไดฟ้ ังอนุ ปพุ พิกถาและอรยิ สจั ๔ ก็ตงั้ อย่ใู นโสดาปัตติผล รุง่ ขนึ้ เชา้ ตรูเ่ ศรษฐีผบู้ ดิ าทราบจงึ ไดต้ ิดตามไปพบ ไดฟ้ ังอนปุ พุ พกี ถาและอริยสจั ๔ ก็ไดต้ งั้ อยใู่ นโสดาปัตติผล สว่ นยสกลุ บตุ รไดฟ้ ังซา้ํ อกี หนก็ไดส้ าํ เรจ็ พระอรหตั ตผล ครนั้ เศรษฐีผบู้ ดิ าไปแลว้ จงึ ไดท้ ลู ขออปุ สมบท ก็ทรงอนญุ าตใหด้ ว้ ยพระดาํ รสั ว่า “ธรรมอนั เรากล่าวดีแลว้ ทา่ นจง ประพฤตพิ รหมจรรย”์ ซ่ึงแปลว่า สาวกอ่นื ท่ีไมไ่ ดส้ าํ เร็จอรหนั ตก์ อ่ นบรรพชาว่า “เพือ่ ทาํ ท่ีสดุ แห่งทกุ ข”์ การบาํ เพ็ญประโยชน์ การอปุ สมบทของท่านในครงั้ นถี้ ือวา่ สาํ คญั มาก เพราะเป็นเหตใุ หเ้ พ่อื นของทา่ นอีก ๕๔ คนไดเ้ ขา้ มาบวชในพระพทุ ธศาสนา และเป็นกาํ ลงั ของพระบรมศาสดาในการประกาศพระศาสนาในชว่ งปฐมโพธิ กาล      

อนพุ ุทธประวตั ิ ธรรมศึกษาช้ันโท ๙ ๗. พระวมิ ลเถระ ทา่ นเป็นบตุ รเศรษฐีคนหนงึ่ ในเมอื งพาราณสี เป็นเพอ่ื นผมู้ ีความสนิทสนมกบั พระยสะมากในชว่ งท่ีเป็น ฆราวาส เม่อื ทา่ นไดท้ ราบขา่ ววา่ ยสะสหายผเู้ ป็นทีร่ กั ออกบวชแลว้ จึงคดิ วา่ “ศาสนาท่ยี สะออกบวชนจี้ กั ไม่เลว ทรามเป็นแนแ่ ท้ คงจะเป็นสง่ิ อาํ นวยประโยชนส์ ขุ แก่ผสู้ นใจเป็นแน่แท”้ คดิ ไดอ้ ยา่ งนนั้ จงึ ไปชกั ชวนสหายอกี ๓ คน คอื สพุ าหุ ปณุ ณชิ และควัปติ พากนั เขา้ ไปหาพระยสะบอกความประสงคใ์ นการมา พระยสะจึงไดพ้ าเขา้ ไปเฝา้ พระบรมศาสดา ทลู ขอใหพ้ ระองคท์ รงส่งั สอน พระบรมศาสดาทรงส่งั สอนใหบ้ รรลธุ รรมวิเศษและประทาน อปุ สมบทให้ ตอ่ มาภายหลงั กไ็ ดบ้ รรลเุ ป็นพระอรหนั ตขีณาสพ ๘. พระสพุ าหเุ ถระ (มปี ระวตั คิ ลา้ ยพระวิมลเถระ ฯ) ๙. พระปณุ ณชเิ ถระ (มีประวตั คิ ลา้ ยพระวิมลเถระ ฯ) ๑๐. พระควมั ปตเิ ถระ (มีประวตั ิคลา้ ยพระวิมลเถระ ฯ) ๑๑. พระอรุ เุ วลกสั สปเถระ ชาตภิ มู ิ ท่านเป็นบุตรพราหมณก์ สั สปะโคตร มนี อ้ งชาย ๒ คน ภายหลงั บวชเป็นชฏิล ท่านมบี ริวาร ๕๐๐ คน ตงั้ อาศรมอยตู่ าํ บลอรุ ุเวลเสนานิคมในมคธรฐั จงึ มฉี ายาว่า “อรุ ุเวลกสั สปะ”นอ้ งชายคนกลางมบี รวิ าร ๓๐๐ ตงั้ อาศรมที่คงุ้ เแม่นา้ํ คงคา จึงมีฉายาว่า “นทกี สั สปะ” นอ้ งชายคนเลก็ มบี รวิ าร ๒๐๐ คน ตงั้ อาศรม ณ บริเวณคยาสีสะ จงึ มีฉายาวา่ “คยากสั สปะ” การอปุ สมบท เม่อื พระบรมศาสดามาสมู่ คธชนบทดว้ ยปรารถนาดาํ รงพระศาสนา ใหต้ งั้ ม่นั ในแควน้ นจี้ งึ ไดเ้ สด็จไปเพอ่ื นาํ ท่าน ซงึ่ เป็นที่นบั ถอื ของประชาชนเพื่อเป็นกาํ ลงั เพือ่ สะดวกแกก่ ารประกาศพระศาสนา ไดท้ รงทรมานทา่ น ดว้ ยอบุ ายต่างๆ จนทา่ นหมดทิฏฐิลอยชฏลิ บรขิ าร ทลู ขออปุ สมบท ทรงอนญุ าตดา้ ยเอหิภกิ ขุ และนอ้ งชายทงั้ ๒ กม็ าบวชตามพีช่ ายหมด การบรรลธุ รรม ภายหลงั อปุ สมบท พระบรมศาสดาทรงตรสั เทศนาช่ือว่า อาทติ ตปริยายสตู ร โปรด ท่านจงึ บรรลพุ ระ อรหตั ตผลพรอ้ มกบั บริวารและนอ้ งชาย การบำเพญ็ ประโยชน์ ทา่ นไดไ้ ปกบั พระบรมศาสดาถงึ สวนตาลหน่มุ ช่ือว่า “ลัฏฐิวนั ” ไดป้ ระกาศใหพ้ ระเจา้ พิมพิสารพรอ้ มทงั้ ขา้ ราชบริพารรูว้ า่ ลทั ธิเดมิ ของทา่ นไมม่ แี ก่นสาร ทาํ ใหช้ นเหลา่ นน้ั เลอ่ื มใสในพระพุทธศาสนา ครงั้ นีจ้ ดั ไดว้ า่ ท่าน ไดช้ ่วยเป็นกาํ ลงั ในการประดิษฐานพระพทุ ธศาสนาในแควน้ มคธ

๑๐ อนุพทุ ธประวตั ิ ธรรมศึกษาชั้นโท เอตทคั คะ ทา่ นไดร้ บั ยกยอ่ งจากพระบรมศาสดาว่า เป็ นผเู้ ลิศกวา่ ภิกษทุ ้งั หลายทางมบี รวิ ารมาก เพราะทา่ นมี บริวารมากและรูจ้ กั การบริหารการเอาใจบรวิ าร ๑๒. พระนทกี สั สปเถระ (มปี ระวตั ดิ งั ท่ีไดอ้ ธิบายไวใ้ นประวตั พิ ระอรุ ุเวลกสั สปเถระ ฯ) ๑๓. พระคยากสั สปเถระ (มปี ระวตั ิดงั ไดอ้ ธิบายไวใ้ นประวตั พิ ระอรุ ุเวลกสั สปะเถระ ฯ) ๑๔. พระสารบี ตุ รเถระ ชาตภิ มู ิ ทา่ นเป็นบตุ รวงั คนั ตพราหมณ์ และนางสารี ผเู้ ป็นนายบา้ นนาลนั ทะกรุงราชคฤห์ เดิมชอื่ “อปุ ตสิ สะ” เพราะเป็นบตุ รนางสารีจงึ เรียก สารีบตุ ร มีนอ้ งสาว ๓ คน คอื จาลา อปุ จาลา สสี ปุ จาลา นอ้ งชาย ๓ คน คอื จนุ ทะ อปุ เสนะ เรวตะ (บวชหมด) การออกบวช ท่านมีสหายคนหนงึ่ ช่อื โกลติ ะ(โมคคัลลานะ) ไปดมู หรสพในกรุงดว้ ยกนั เสมอ ตอ่ มาวนั หนึง่ เกดิ สลดใจ จงึ ชวนกนั ออกบวชเป็นปรพิ พาชกในสาํ นกั สญชยั ปรพิ พาชก ศึกษาอบรมจนจบลทั ธิเห็นว่าไมเ่ ป็นแกน่ สารจงึ ชวน กนั ออกหาอาจารยใ์ หม่ ตอ่ มาไดฟ้ ังเทศนาของพระอสั สชเิ ถระไดส้ าํ เร็จโสดาปัตติผล จึงชวนโกลติ ะไปเฝา้ พระบรมศาสดา ณ วดั เวฬวุ นั ทลู ขออปุ สมบท การบรรลธุ รรม ภายหลงั อปุ สมบทได้ ๑๕ วนั ไดฟั ัง เวทนาปรคิ คหสตู ร ทีพ่ ระบรมศาสดาประทานแก่ ฑีฆนขปรพิ พา ชก อคั คเิ วสนโคตร ณ ถา้ํ สกุ รขาตา เขาคชิ กูฏ กไ็ ดส้ าํ เร็จเป็นพระอรหนั ต์ เอตทคั คะ ท่านมปี ัญญาเฉลียวฉลาด ไดเ้ ป็นกาํ ลงั ของพระบรมศาสดาในการประกาศพระศาสนา พระองคจ์ ึงทรง ยกยอ่ งท่านว่า เป็ นผเู้ ลิศกว่าภิกษทุ ง้ั หลายทางมปี ัญญามาก คณุ ธรรมพเิ ศษ ทา่ นมคี ณุ ความดอี ีกหลายอยา่ งที่พระบรมศาสดาทรงยกย่องในที่นจี้ ะนาํ มากลา่ วเฉพาะท่สี าํ คญั ดงั นี้ :- ๑. ทรงยกยอ่ งใหเ้ ป็นพระอคั รสาวกเบือ้ งขวาค่กู บั พระมหาโมคคลั ลานเถระ ๒. ทรงยกย่องเป็นพระธรรมเสนาบดี ค่กู บั พระศาสดาที่เป็นพระธรรมราชา ๓. เป็นผมู้ คี วามกตญั �กู ตเวที การนพิ พาน ท่านดาํ รงชีพมาถึงพรรษาท่ี ๔๘ ไดท้ ลู ลาพระบรมศาสดาไปนิพพานท่ีบา้ นเกิดของทา่ น เมื่อจวนนิพพาน

อนุพทุ ธประวตั ิ ธรรมศึกษาชั้นโท ๑๑ ไดแ้ สดงธรรมโปรดมารดาซง่ึ เป็นมิจฉาทิฏฐิ ใหด้ าํ รงอย่ใู นโสดาปัตตผิ ลจนสาํ เร็จ จากนน้ั กน็ ิพพาน ๑๕. พระมหาโมคคัลลานเถระ ชาตภิ มู -ิ การอปุ สมบท ท่านเป็นบุตรพราหมณน์ ายบา้ นโกลติ ะกบั นางโมคคลั ลี เดิมช่อื ว่าโกลติ ะ ไดอ้ อกบวชเป็นปรพิ พานชกบั พระสารีบตุ ร ภายหลงั ไดฟ้ ังธรรมของพระอสั สชทิ ีพ่ ระสารีบตุ รนาํ มาบอก กไ็ ดบ้ รรลโุ สดาปัตตผิ ล ไดอ้ ปุ สมบท ณ วดั เวฬวุ นั พรอ้ มกบั พระสารบี ตุ ร การบรรลธุ รรม หลงั จากบวชได้ ๗ วนั ไดไ้ ปทาํ ความเพียรท่ีบา้ นกลั ลวาลมตุ ตคาม แขวงมคธรฐั เกดิ ความออ่ นใจน่งั โงก งว่ งอยู่ พระบรมศาสดาเสดจ็ ไปแสดงอบุ ายแกง้ ว่ ง ๘ ขอ้ แลว้ ทรงแสดงธรรมของผปู้ รารถนานอ้ ยและธรรมเครื่อง สิน้ ตณั หาโดยลาํ ดบั ท่านปฏบิ ตั ิตามพทุ ธโอวาท ก็สาํ เร็จพระอรหตั ตผล เอตทคั คะ ท่านไดร้ บั ยกยอ่ งจากพระบรมศาสดาวา่ เป็ นผูเ้ ลิศกว่าภกิ ษทุ ง้ั หลายทางมีฤทธ์มิ าก ทา่ นไดร้ บั ยก ยอ่ งเป็นพระอคั รสาวกเบือ้ งซา้ ยค่กู บั พระสารีบุตรดว้ ย นพิ พาน ทา่ นนพิ พานภายหลงั พระสารีบตุ ร ๑๕ วนั ณ กาลสลิ ามคธรฐั ถกู พวกโจรทเี่ คียรถียจ์ า้ งใหม้ าฆ่า เพราะเหตทุ ี่ท่านทาํ ใหพ้ วกคนเสือ่ มจากลาภ พวกโจรทบุ ทา่ นจนกระดกู แหลกสาํ คญั วา่ มรณะ จึงนาํ ไปซอ่ นไวใ้ น พมุ่ ไมแ้ หง่ หน่ึงแลว้ หนไี ป ทา่ นเยียวยาสรีระ ดว้ ยกาํ ลงั ฌานแลว้ มาทลู ลาพระบรมศาสดากลบั ไปนิพพานทเ่ี ดิม พระบรมศาสดาเสด็จไปทาํ ฌาปนกิจ ส่งั ใหเ้ กบ็ อฐั ิไปบรรจไุ ว้ ณ ซุม้ ประตวู ดั เวฬวุ นั ๑๖. พระมหากสั สปเถระ ชาตภิ มู -ิ การอปุ สมบท ทา่ นเป็นบตุ รกบลิ พราหมณก์ สั สปโคตร ในบา้ นมหาตฏิ ฐะ แควน้ มคธ เดิมช่อื ปิ ปผลิพออายุ ๒๐ ปีได้ แต่งงานกบั นางภทั ทกาปิ ลานี บตุ รตรขี องพราหมณโี กสิยโคตร ต่อมาจติ เบ่ือหนา่ ยในการอย่คู รองเรอื นจงึ พา กนั ออกบวชอทุ ิศพระบรมศาสดา วนั หนง่ึ ไดพ้ บกบั พระบรมศาสดาทพี่ หปุ ตุ ตนโิ ครธจงึ ยอ่ กายเขา้ ไปถวายบงั คม ทลู ขออปุ สมบท พระองคท์ รงอปุ สมบทใหด้ ว้ ยการประทานโอวาท ๓ ขอ้ คอื ๑. พึงเขา้ ไปตงั้ ความละอาย ความเกรง ไวใ้ นภกิ ษุทกุ ชนั้ อยา่ งแรงกลา้ ๒. พงึ ตงั้ ใจฟังธรรมทเ่ี ป็นกศุ ล และพิจารณาเนือ้ ความ ๓. ไมพ่ ึงละสตทิ พี่ ิจารณาไปในกายเป็นอารมณ์ ทา่ นบาํ เพ็ญเพยี รไปตามพทุ ธโอวาทนนั้ ในวนั ท่ี ๘ กไ็ ดบ้ รรลพุ ระอรหนั ตตผล เอตทคั คะ ท่านปฏิบตั มิ กั นอ้ ยสนั โดษอยใู่ นธดุ งค์ ๓ คอื ทรงผา้ บงั สกุลเป็นวตั ร เท่ยี วบณิ ฑบาตรเป็นวตั ร อยปู่ ่า เป็นวตั ร ดงั นนั้ พระบรมศาสดาจงึ ทรงยกย่องท่านว่า เป็ นผู้เลศิ กว่าภกิ ษุทง้ั หลายทางทรงธุดงค์

๑๒ อนพุ ุทธประวัติ ธรรมศึกษาชั้นโท หนา้ ทส่ี ำคญั หลงั พุทธปรนิ พิ พาน เมอ่ื พระบรมศาสดาทรงปรนพิ พานและถวายพระเพลงิ สรีระแลว้ ประมาณ ๗ วนั ท่านไดร้ วบรวมสงฆท์ าํ การสงั คายนาพระธรรมวนิ ยั หลงั จากพทุ ธปรนิ พิ พาน ๓ เดอื น ทาํ อยู่ ๘ เดือนจงึ สาํ เร็จ นบั วา่ เป็นประโยชนอ์ ย่าง ยง่ิ เพราะไดร้ วบรวมเอาพระธรรมวนิ ยั ไวเ้ ป็นหลกั สืบ ๑๗. พระมหากจั จายนเถระ ชาตภิ มู -ิ การออกบาช ท่านเป็นบตุ รพราหมณ์ ช่อื วา่ กญั จนา กจั จายนโคตร เป็นปโุ รหิตของพระเจา้ จณั ฑปัชโชต แห่งกรุงอชุ เชนี พระเจา้ จณั ฑปัชโชตรบั ส่งั ใหท้ า่ นไปเฝา้ พระศาสดาพรอ้ มกบั บรวิ าร ๗ คน ณ เวฬวุ นาราม เพอื่ กราบทลู เชฐิ เสด็จไปนครอชุ เชนี ครน้ั ไปถึงไดฟ้ ังพระธรรมเทศนาไดบ้ รรลเุ ป็นพระอรหนั ตท์ งั้ หมด จากนัน้ พระบรมศาสดา ทรงประทานอปุ สมบทให้ พระบรมศาสดาโปรดใหท้ า่ นกลบั ไปแสดงธรรมแกพ่ ระเจา้ จณั ฑปัชโชต ใหท้ า้ วเธอมี ความเลื่อมใส แลว้ กลบั มายงั สาํ นกั พระบรมศาสดา เอตทคั คะ ทา่ นไดร้ บั ยกยอ่ งจากพระบรมศาสดาว่า เป็ นผู้เลิศกวา่ ภิกษุทง้ั หลายทางอธบิ ายภาษติ ย่อให้พสิ ดาร ๑๘. พระอชติ เถระ ทา่ นเป็นบุตรพราหมณใ์ นกรุงสาวตั ถไี ดศ้ ึกษาศิลปวทิ ยาอยใู่ นสาํ นกั ของพราหมณพ์ าวรจี นมวี ชิ าแกก่ ลา้ พราหมณพ์ าวรีไดม้ อบหมายใหท้ ่านเป็นหวั หนา้ ในมาณพ ๑๖ คน ใหไ้ ปเฝา้ พระบรมศาสดาที่ปาสาณเจดยี ์ เพอื่ ทลู ถามปัญหา ครน้ั ไดฟ้ ังคาํ พยากรณป์ ัญหาแลว้ ก็ไดบ้ รรลเุ ป็นพระอรหตั ตผล เม่ือมาณพ ๑๖ คน ทลู ถาม ปัญหาครบแลว้ อกี ทงั้ พระบรมศาสดาก็ไดพ้ ยากรณป์ ัญหาเสร็จหมดแลว้ ทงั้ หมดกไ็ ดท้ ลู ถามทลู ขออปุ สมบทใน พระพทุ ธศาสนา พระบรมศาสดาทรงประทานใหเ้ ป็นภิกษุดว้ ยเอหภิ กิ ขสุ มั ปทา ทา่ นดาํ รงอายสุ งั ขารอยู่ พอสมควรแก่อตั ภาพแลว้ ก็นพิ พาน ๑๙. พระตสิ สเมตเตยยเถระ (มปี ระวตั ิคลา้ ยกบั พระอชติ เถระ ฯ) ๒๐. พระปณุ ณกเถระ (มีประวตั คิ ลา้ ยกบั พระอชติ เถระ ฯ) ๒๑. พระเมตตคูเถระ (มปี ระวตั คิ ลา้ ยกบั พระอชติ เถระ ฯ) ๒๒. พระโธตกเถระ (มปี ระวตั ิคลา้ ยกบั พระอชติ เถระ ฯ) ๒๓. พระอปุ สวี เถระ (มีประวตั คิ ลา้ ยกบั พระอชติ เถระ ฯ) ๒๔. พระนนั ทกเถระ (มีประวตั ิคลา้ ยกบั พระอชิตเถระ ฯ) ๒๕. พระเทมกเถระ (มีประวตั ิคลา้ ยกบั พระอชติ เถระ ฯ) ๒๖. พระโตทเทยยเถระ (มีประวตั คิ ลา้ ยกบั พระอชติ เถระ ฯ) ๒๗. พระกปั ปเถระ (มีประวตั ิคลา้ ยกบั พระอชิตเถระ ฯ) ๒๘. พระชตณั ณเี ถระ (มปี ระวตั คิ ลา้ ยกบั พระอชติ เถระ ฯ)

อนพุ ทุ ธประวตั ิ ธรรมศึกษาชั้นโท ๑๓ ๒๙. พระภทั ทราวธุ เถระ (มปี ระวตั ิคลา้ ยกบั พระอชิตเถระ ฯ) ๓๐. พระอทุ ยั เถระ (มปี ระวตั ิคลา้ ยกบั พระอชิตเถระ ฯ) ๓๑. พระโปสาลเถระ (มีประวตั คิ ลา้ ยกบั พระอชิตเถระ ฯ) ๓๒. พระโมฆราชเถระ (มีประวตั ิคลา้ ยกบั พระอชติ เถระ ฯ) เอตทคั คะ ทา่ นยนิ ดใี นการครองจวี รเศรา้ หมอง จึงไดร้ บั การยกยอ่ งจากพระบรมศาสดาวา่ เป็ นผเู้ ลศิ กวา่ ภกิ ษุ ท้งั หลายผ้ทู รงจีวรเศร้าหมอง ๓๓. พระปงิ คยิ เถระ ท่านเป็นบุตรพราหมณช์ าวนครสาวตั ถี เป็นหลานพราหมณพ์ ราหมณพ์ าวรี ขณะฟังปัญหาพทุ ธ พยากรณ์ ใจระลึกถงึ พราหมณพ์ าวรีผเู้ ป็นอาจารยว์ า่ เสียดายทไ่ี ม่ไดม้ าฟังพทุ ธดาํ รสั ดว้ ย เหตดุ งั นจี้ ึงทาํ ใหท้ า่ น สาํ เรจ็ เพยี งโสดาปัตตผิ ล ครนั้ บวชพรอ้ มกบั มาณพอกี ๑๕ คนแลว้ จงึ ทลู ลาพระบรมศาสดาไปเล่าความทงั้ ปวงแก่ พราหมณพ์ าวรีแลว้ กลบั มาเฝา้ พระบรมศาสดาภายหลงั ไดส้ ดบั โอวาททพ่ี ระบรมศาสดาตรสั ส่งั สอน จงึ สาํ เร็จ เป็นพระอรหนั ต์ สว่ นพราหมณพ์ าวรผี เู้ ป็นอาจารย์ ไดบ้ รรลอุ นาคามิผล ๓๔. พระราธเถระ ท่านเป็นบตุ รพราหมณใ์ นกรุงราชคฤห์ ประสงคจ์ ะบวชแตพ่ วกภกิ ษุเห็นทา่ นแกไ่ ม่ยอมบวชใหเ้ มอ่ื ทา่ น ไม่ไดบ้ วชก็เสียใจจนรา่ งการซบู ผอม พระบรมศาสดาทรงทอดพระเนตรเห็นอปุ นิสยั ของท่าน จึงรบั ส่งั ถามภิกษุ ทงั้ หลายว่า “มีใครระลกึ ถงึ คณุ ของพราหมณน์ ีไ้ ดบ้ า้ ง” พระสารีบตุ รทลู ว่าระลึกไดเ้ พราะเคยไดร้ บั ขา้ วทพั พีหนีงจากพราหมณ์ เมอ่ื ไปบณิ ฑบาตร พระบรมศาสดาทรงตรสั สรรเสรญิ ว่า “สารีบตุ รเป็นผมู้ คี วามกตญั �กู ตเวทมี ากแมข้ า้ วทพั พี หน่งึ ยงั ระลึกได”้ จงึ ทรงรบั ส่งั ใหพ้ ระสารีบตุ รเป็นอปุ ัชฌายบ์ วชราธพราหมณด์ ว้ ยญัตตจิ ตตุ ถกรรมวาจา ณ วดั เวฬวุ นั นบั วา่ เป็นภกิ ษุองคแ์ รกท่ีบวชดว้ ยญตั ติจตตุ ถกรรมวาจา เมื่อทา่ นบวชแลว้ ไดฟ้ ังทา่ นไดเ้ ทียวไปกบั พระ สารบี ตุ รเถระ เจริญสมณธรรมดว้ ยความไม่ประมาท ไมน่ านก็สาํ เรจ็ พระอรหตั ตผล เอตทัคคะ ทา่ นเป็นผวู้ ่างา่ ย และฉลาดปฏบิ ตั ใิ นคาํ ส่งั สอน พระบรมศาสนาจงึ ทรงยกยอ่ งทา่ นว่า เป็ นผูเ้ ลศิ กวา่ ภิกษุทั้งหลายผูม้ ีปฏภิ าณในคาํ ส่ังสอน ๓๕. พระปณุ ณมนั ตานบี ตุ รเถระ ท่านเป็นบตุ รของนางตาน(ี นอ้ งสาวพระอญั ญาโกณทญั ญะ)ทา่ นไดอ้ ปุ สมบทในพระพทุ ธศาสนาโดยมี พระอญั ญาโกณทญั ญะชกั นาํ เมื่ออปุ สมบทแลว้ ไดไ้ ปเจรญิ กมั มฏั ฐานทบ่ี า้ นเกดิ ของทา่ นไดส้ าํ เร็จพระอรหตั ตผล เอตทัคคะ ท่านประกอบดว้ ยคณุ ๑๐ ประการ คือ มกั นอ้ ย สนั โดษ ชอบสงดั ไม่ชอบเก่ียวขอ้ งดว้ ยหมู่ ปรารภ ความเพียรบริบรู ณด์ ว้ ย ศลี สมาธิ ปัญญา วมิ ตุ ติ ความรูค้ วามเห็ฯในวมิ ตุ ติ เมอื่ ทา่ นตงั้ อยใู่ นคณุ นีแ้ ลว้ ท่านกไ็ ด้

๑๔ อนุพทุ ธประวัติ ธรรมศึกษาชั้นโท ส่งั สอนผอู้ ่ืนใหต้ งั้ อย่ใู นคณุ ธรรมนีด้ ว้ ย อาศยั เหตนุ พี้ ระบรมศาสดาจงึ ทรงยกย่องทา่ นว่า เป็ นผเู้ ลศิ กว่าภกิ ษุ ทง้ั หลายผ้เู ป็ นพระธรรมกถกึ ๓๖. พระกาฬทุ ายเี ถระ ท่านเป็นบุตรมหาอาํ มาตยใ์ นกรุงกบลิ พสั ดุ์ เมื่อเจรญิ วยั แลว้ ไดร้ บั ตาํ แหนง่ ดจุ เดยี วกบั บิดา ทา่ นเป็น สหชาติ คือ เกิดวนั เดยี วกบั พระมหาบุรุษดว้ ยไดอ้ ปุ สมบททีว่ ดั เวฬวุ นั มหาวหิ าร ในคราวทีพ่ ระเจา้ สทุ โธทนะโปรด ใหไ้ ปทลู เชญิ เสดจ็ พระบรมศาสดามายงั กรุงกบิลพสั ดุ์ ไดฟ้ ังพระธรรมเทศนาของพระพทุ ธองค์ จนสาํ เร็จพระ อรหตั ตผลและบวชพรอ้ มกบั บริวารพนั หน่ึงแลว้ ทา่ นจึงทลู เชิญเสดจ็ ตามพระราชดาํ รสั เอตทัคคะ ท่านลว่ งหนา้ ไปก่อน แลว้ จดั การชกั ชวนประชาชนมีพวกกษัตริยเ์ ป็นประมขุ ใหม้ จี ติ เลอ่ื มใสใน พระพทุ ธศาสนาเป็นอนั ดี อาศยั ความรอบคอบของท่านนี้ พระบรมศาสดาจงึ ยกยอ่ งท่านว่าเป็ นผ้เู ลศิ กวา่ ภิกษุ ท้งั หลายทางเป็ นผยู้ ังสกลุ ท่ไี มเ่ ลือ่ มใสใหเ้ ลอื่ มใสในพระพทุ ธศาสนา ๓๗. พระนนั ทเถระ ท่านเป็นพระราชโอรสของพระเจา้ สทุ โธทนะกบั พระนางมหาปชาบดโี คตมี เป็นพระอนชุ าต่างมารดาของ พระมหาบุรุษ ในวนั ที่ ๒ แตว่ นั เสด็จไปกรุงกบลิ พสั ดุ์ พระศาสดาเสด็จไปทาํ ภารกิจในวนั อาวาหมงคลของนนั ท กุมารกบั นางชนบทกลั ยาณเี สรจ็ แลว้ ส่งบาตรใหน้ นั ทกุมารแลว้ เสดจ็ กลบั นนั ทกมุ ารถือบาตรตามมาจนถึงวหิ าร เอาบาตรถวาย พระบรมศาสดาตรสั ถามว่าอยากบาชหรอื เปลา่ เธอไมป่ รารถนาแตด่ ว้ ยความเคารพจึงทลู รบั เมื่อ อปุ สมบทแลว้ เบ่ือหนา่ ยในเพศพรหมจรรย์ พระบรมศาสดาพาเสดจ็ เทีย่ วเมืองสวรรค์ แลว้ รบั ปากจะใหเ้ ทพธิดา สวยๆ ใหแ้ กท่ า่ น แต่ใหท้ ่านตงั้ ใจประพฤตพิ รหมจรรย์ พระนนั ทตงั้ ใจประพฤติพรหมจรรยเ์ พ่อื จะไดเ้ ทพธิดาสวยๆ จนเรอื่ งกระจายไปท่วั พวกภกิ ษุตา่ งพากนั ลอ้ เลียนทา่ นวา่ “พระนนั ทเป็นลกู จา้ ง” ท่านเกิดความละอาย จึงหลกี ไป บาํ เพญ็ เพยี รแตผ่ เู้ ดียวจนบรรลพุ ระอรหตั ตผล เอตทัคคะ เมือ่ ท่านจะแลไปทางไหนๆ ยอ่ มมีสตสิ าํ รวมเสมอ พระบรมศาสดาจึงทรงยกย่องท่านว่า เป็ นผเู้ ลศิ กวา่ ภิกษทุ ้งั หลายทางสาํ รวมระวงั อินทรีย์ ๓๘. พระราหลุ เถระ ทา่ นเป็นพระโอรสของพระมหาบรุ ุษกบั พระนางพิมพา เมือ่ พระบรมศาสดาแรกเสด็จไปโปรดพระชนกและ พระประยรู ญาติ ในวนั ที่ ๗ แตเ่ สด็จไปราหลุ กุมารไดม้ าเฝา้ ทลู ขอสมบตั ิ ตามพระมารดารบั ส่งั มา พระบรม ศาสดาจึงทรงประทานโลกุตตรสมบตั ิโดยรบั ส่งั ใหพ้ ระสารีบุตรเถระบรรพชาเป็นสามเณรเสีย (รูปแรกใน พระพทุ ธศาสนา) เพราะพระชนมายยุ งั ไมถ่ งึ บวชพระ ทา่ นเป็นตน้ บญั ญัติแหง่ การหามไใใหบ้ วชคนที่พ่อแม่ไม่ อนญุ าติ เมื่ออปุ สมบทแลว้ มอี ินทรยี แ์ กก่ ลา้ ไดฟ้ ังพระธรรมเทศนาจึงไดบ้ รรลพุ ระอรหตั ตผล เอตทัคคะ

อนุพทุ ธประวัติ ธรรมศึกษาชั้นโท ๑๕ อาศยั ความทที่ า่ นเป็นผใู้ ครต่ ่อการศึกษาธรรมวนิ ยั ตงั้ แตบ่ วชเป็นสามเณรมา พระบรมศาสดาจงึ ทรงยก ยอ่ งท่านวา่ เป็ นผเู้ ลิศกวา่ ภกิ ษุทง้ั หลายผู้ใคร่ต่อการศึกษา ๓๙. พระอปุ าลเี ถระ ทา่ นเป็นบุตรนายชา่ งกลั ลบก เมอ่ื เจริญวยั แลว้ ไดเ้ ป็นนายภษู ามาลาในราชสาํ นกั ออกบวชพรอ้ ม กบั ภทั ทยิ ศากยราชเป็นตน้ ท่อี นปุ ิยอมั พวนั แควน้ มลั ละ เรียนกมั มฏั ฐานจากพระบรมศาสดาไมช่ า้ กไ็ ดบ้ รรลพุ ระ อรหตั ตผล เอตทคั คะ ตอ่ มาพระบรมศาสดาทรงส่งั สอนพระวนิ ยั ปิฏกแกท่ า่ นดว้ ยพระองคเ์ องจนชาํ นาญ ทา่ นฉลาดในการ ตดั สินอธิกรณต์ ่างๆ ภายหลงั พระบรมศาสดาจึงทรงยกย่องท่านว่าเป็ นผ้เู ลิศกวา่ ภิกษุทงั้ หลายทางทรงจาํ พระ วนิ ัย หน้าทีส่ าํ คัญหลังพุทธปรนิ ิพพาน เมื่อพระบรมศาสดาปรินพิ พานแลว้ พระมหากสั สปเถระทาํ การสงั คายนาพระธรรมวินยั สงฆไ์ ดเ้ ลือกท่าน ใหเ้ ป็ นผู้วิสัชนาในสว่ นพระวนิ ัยปิ ฏก เพราะทา่ นเป็นผชู้ าํ นาญในทางนี้ ๔๐. พระภัททยิ ศากยเถระ ท่านเป็นพระโอรสของพระนางศากยิ กญั ญา พระนามวา่ อาฬโี คธาราชเทวี ไดส้ บื ราชสนั ติวงศเ์ ป็นพระ เจา้ แผ่นดินของศากยวงศ์ ต่อมาภายหลงั อนรุ ุทธกุมารผสู้ หายชกั ชวนออกผนวช กไ็ ดเ้ สด็จออกผนวชพรอ้ มกบั พระราชกุมาร ๕ พระองค์ คือ อนุรุทธ อานนั ทะ ภคั คุ กมิ พลิ ะ เทวทตั และนายอุปาลีภูษามาลาคราวท่ี พระบรมศาสดาทรงประทบั อยทู่ ี่อนปุ ิยอมั พวนั ครน้ั ผนวชแลว้ บาํ เพ็ญเพียรกไ็ ดส้ าํ เร็จเป็นพระอรหนั ตใ์ นพรรษา นน้ั เอตทัคคะ ท่านไดเ้ ป็นกษัตริยเ์ สวยราชสมบตั แิ ลว้ ถงึ อย่างนน้ั ก็ทรงสละราชสมบตั ิออกบวช ดว้ ยเหตนุ น้ั พระบรม ศาสดาจงึ ทรงยกย่องท่านวา่ เป็ นผู้เลศิ กว่าภกิ ษทุ ้งั หลายทางเกดิ ในสกลุ สูง ๔๑. พระอนรุ ทุ เถระ ท่านเป็นพระราชโอรสของพระเจา้ อมิโตทนะศากยราช มีพ่ชี ายช่ือมหานามะ มีนอ้ งสาวช่ือ โรหณิ ี ออกผนวชพรอ้ มกบั ศากยกมุ ารทงั้ ๕ พระองคก์ บั นายอปุ าลี เมือ่ ผนวชแลว้ เรียนกมั มฏั ฐาน ในสาํ นกั พระสารีบตุ ร ไปทาํ ความเพียรที่สวนปาจีนวงั สะมฤคทายวนั เมอื่ เจริญสมณธรรมอย่ไู ดต้ รกึ ถงึ มหาปุรสิ วิตก ๗ ประการ พระบรมศาสดามาประทานอนโุ มทนาแลว้ ใหต้ รกึ ถึงขอ้ ท่ี ๘ ทา่ น ตรกึ ไปตามกระแสพทุ ธดาํ รสั ไมน่ านก็สาํ เร็จเป็นพระอรหนั ตเ์ อตทคั คะ

๑๖ อนพุ ุทธประวัติ ธรรมศึกษาช้ันโท ท่านมีปกตพิ จิ ารณาหม่สู ตั วอ์ นั ปรากฏในโลกทไี่ กลโดยฉบั พลนั ดว้ ยทิพพจกั ษุ ดว้ ยเหตนุ ้ันพระบรม ศาสดาจึงทรงยกยอ่ งทา่ นวา่ เป็ นผเู้ ลิศกวา่ ภิกษุทง้ั หลายทางมที ิพยจักษุญาณ ๔๒. พระอานนทเถระ ท่านเป็นพระราชโอรสของพระเจา้ สกุ โกทนะกบั พระนางกีสาโคตมี ในกรุงกบิลพสั ดุ์ เสด็จออกผนวช พรอ้ มกบั ศากยะกมุ ารและนายอปุ าลภี ษู ามาลาทีอ่ นปุ ิยอมั พวนั แควน้ มลั ละ ครน้ั ผนวชแลว้ ไดฟ้ ังพระธรรมเทศนา ของพระปณุ ณมนั ตานีบุตร ก็ไดส้ าํ เร็จโสดาปัตติผล เอตทคั คะ เพราะเหตทุ ่ที ่านเป็นพหสู ูต จงึ ไดฟ้ ังพระธรรมเทศนาที่พระบรมศาสดาประทานแกต่ นเองและที่ประทาน แกผ่ อู้ ่ืน ทา่ นมสี ตทิ รงจาํ ไวม้ ากและเอาธุระในการศกึ ษาเล่าเรียน จึงเป็นผฉู้ ลาดในการแสดงธรรมมาก และเป็น พทุ ธอปุ ัฏฐากท่ดี ี ดงั นน้ั พระบรมศาสดาจงึ ทรงยกย่องทา่ นวา่ เป็ นผเู้ ลศิ กว่าภิกษทุ ั้งหลาย ๕ สถาน คอื เป็ นพหสู ตู ๑ มีสติ ๑ มคี ติคอื ความ ๑ มธี ิตคิ อื ความทรงจาํ ๑ เป็ นพุทธอปุ ัฏฐาก ๑ หน้าทส่ี าํ คญั หลงั พทุ ธปรนิ พิ พาน เพราะเหตทุ ่ที ่านเป็นพหสู ูต เมือ่ พระบรมศาสดาปรนิ พิ พานแลว้ พระมหากสั สปเถระทาํ การสงั คายนา พระธรรมวนิ ยั สงฆไ์ ดเ้ ลอื กท่านให้ เป็ นผ้วู สิ ัชชนาในสว่ นของพระสุตตนั ตปิ ฎกและพระอภิธรรมปิ ฎก ทา่ น สาํ เร็จพระอรหตั ตผลก่อนท่จี ะทาํ การสงั คายนา ๑ วนั คือ เมอ่ื ทา่ นไดร้ บั คาํ เตอื นจากพระมหากสั สปเถระ ครนั้ ถึง เวลาเย็นก็อตุ ส่าหบ์ าํ เพญ็ สมณธรรม จนสาํ เร็จเป็นพระอรหนั ตใ์ นท่าที่จะลม้ ตวั ลงนอน การนพิ พาน เม่อื ทา่ นดาํ รงชีพอย่พู อสมควรแลว้ ก็นพิ พาน ณ ท่ามกลางอากาศเหนือแมน่ า้ํ โรหิณี อนั เป็นพรมแดน ระหว่างนครกบิลพสั ดแุ์ ละโกศิยนครตอ่ กนั ๔๓. พระภคั คเุ ถระ ทา่ นเป็นโอรสของเจา้ ศากยะองคห์ นง่ึ ในนครกบลิ พสั ดุ์ ออกบวชพรอ้ มกบั ศากยะกมุ ารและนายอปุ าลี ภษู ามาลา ทีอ่ นปุ ิยอมั พวนั แควน้ มลั ละ เมอื่ บวชแลว้ เจรญิ สมณธรรมไม่นานก็บรรลพุ ระอรหตั ตผล ๔๔. พระกมิ พลิ เถระ ทา่ นเกดิ ในศากยราชตระกลู เมื่อเจรญิ วยั แลว้ อนรุ ุทธกุมารชวนออกบวช จงึ ออกบวชพรอ้ มกบั ศากย กุมาร ทอี่ นปุ ิยอมั พวนั เมอ่ื อปุ สมบทแลว้ บาํ เพ็ญสมณธรรมจนสาํ เรจ็ พระอรหตั ตผล ๔๕. พระโสณโกฬวิ สิ เถระ ท่านเป็นบุตรอสภุ เศรษฐี สกุลพอ่ คา้ ในจมั ปานคร อปุ สมบทในสาํ นกั พระบรมศาสดา ท่วี ดั เวฬวุ นั เมอื่ อปุ สมบทแลว้ ทาํ ความเพียรเดนิ จงกลมจนเทา้ แตก ก็ไม่ไดส้ าํ เร็จพระอรหนั ต์ ภายหลงั พระบรมศาสดาเสด็จมา ตรสั สอนใหบ้ าํ เพ็ญเพียรพอเป็นมชั ฌิมาปฏิปทา ยกพิณ ๓ สายขนึ้ เป็นอทุ าหรณ์ เพราะวา่ ท่านชาํ นาญในการ ดีดพิณ จากนน้ั ทา่ นบาํ เพญ็ พอเป็นมชั ฌิมา กไ็ ดส้ าํ เรจ็ พระอรหตั ตผล

อนุพุทธประวตั ิ ธรรมศึกษาช้ันโท ๑๗ เอตทคั คะ เพราะทา่ นไดป้ รารภความเพยี รอย่างแรงกลา้ แต่ครงั้ ยงั ไมไ่ ดส้ าํ เร็จพระอรหนั ต์ พระบรมศาสดาจึงทรง ยกยอ่ งทา่ นวา่ เป็ นผเู้ ลศิ กวา่ ภกิ ษทุ ง้ั หลายผปู้ รารภความเพยี ร ๔๖. พระรฏั ฐบาลเถระ ทา่ นเป็นบุตรรฏั ฐบาลเศรษฐีในหมบู่ า้ นถลุ ลโกฏฐิตนิคม แวน่ แควน้ กุรุ ไดฟ้ ังพระธรรมเทศนาของพระ บรมศาสดา เกดิ ศรทั ธาเลอื่ มใสอยากจะบวช แตต่ อ้ งไปลามารดา บดิ ากอ่ น เมอ่ื มารดา บดิ าไม่อนญุ าตก็เสยี ใจ ไม่นอน ไมก่ นิ อาหาร ยอมตายในเมอ่ื ไม่ไดบ้ วชสมหวงั ในทสี่ ุดไดร้ บั อนญุ าตก็มคี วามยนิ ดี บาํ รุงรา่ งกายพอมี กาํ ลงั แลว้ ไปเฝา้ พระบรมศาสดาทลู ขออปุ สมบท กโ็ ปรดใหอ้ ปุ สมบทดว้ ยญัตติจตตุ ถกกรมวาจา เม่อื บวชแลว้ ครง่ึ เดอื นตามเสด็จไปสาวตั ถี เจริญวปิ ัสสนาดว้ ยความไมป่ ระมาท ไม่นานก็สาํ เรจ็ เป็นพระอรหตั ตผล เอตทัคคะ อาศยั คณุ ทท่ี ่านบวชดว้ ยศรทั ธามาแต่เดิม พระบรมศาสดาจงึ ทรงยกย่องทา่ นว่า เป็ นผูเ้ ลิศกว่าภิกษุ ทง้ั หลายผบู้ วชด้วยศรทั ธา ๔๗. พระปณิ โฑลภารทวาชเถระ ท่านเกิดในสกุลพราหมณภ์ ารทวาชโคตรในกรุงราชคฤห์ เมอื่ เจริญวยั ไดศ้ ึกษาจนจบไตรเพทตามลทั ธิ พราหมณ์ ต่อมาไดเ้ ป็นคณาจารยใ์ หญ่ เม่อื พระบรมศาสดาประกาศพระศาสนามาถึงพระนครราชคฤห์ ท่านได้ ทราบขา่ วจึงเขา้ ไปเฝา้ ไดฟ้ ังพระธรรมเทศนาเกิดศรทั ธาเล่อื มใสทลู ขออปุ สมบทในพระพทุ ธศาสนา เมื่อ อปุ สมบทแลว้ บาํ เพญ็ เพียรไมน่ านก็ไดบ้ รรลรุ พระอรหตั ตผล เอตทคั คะ ตามปกติไมว่ า่ ท่านจะไปท่ไี หน ๆ แมใ้ นท่ีเฉพาะพระพกั ตรข์ องพระบรมศาสดา ทา่ นชอบบนั ลือสีหนาท ดว้ ยวาจาอนั องอาจวา่ “ผใู้ ดมคี วามสงสยั ในมรรคและผล จงถามเราเถดิ ” อาศยั เหตนุ ีพ้ ระบรมศาสดาจึงทรงยก ยอ่ งท่านวา่ เป็ นผู้เลศิ กว่าภกิ ษทุ ง้ั หลายผบู้ นั ลอื สหี นาท ๔๘. พระมหาปนั ถกเถระ ทา่ นเป็นบตุ รธิดาเศรษฐีในกรุงราชคฤห์ เศรษฐีพาทา่ นไปฟังเทศนเ์ สมอ ๆ ทา่ นมีความเลอื่ มใสจึงขอตาม ไปบวชเป็นสามเณร ต่อมาไดอ้ ปุ สมบทเป็นพระภิกษุ แลว้ เจรญิ กมั มฏั ฐานจนสาํ เร็จพระอรหนั ต์ เอตทคั คะ ท่านไดเ้ ป็นภตั ตเุ ทสกข์ องสงฆ์ และพระบรมศาสดาทรงยกย่องทา่ นว่า เป็ นผูเ้ ลศิ กวา่ ภกิ ษุทงั้ หลายผู้ เจริญวิปัสสนา ๔๙. พระจฬู ปนั ถกเถระ ทา่ นเป็นนอ้ งชายของพระมหาปันถกเถระ พ่ีชายไดช้ วนมาบวชในพระพทุ ธศาสนา ครนั้ บวชแลว้ พระ พี่ชายใหท้ อ่ งคาถาสรรเสรญิ พระพทุ ธคณุ ตงั้ ๔ เดอื น กจ็ าํ ไม่ได้ พช่ี ายจงึ ไลอ่ อกจากวหิ าร และถอนช่ือออกจาก ภิกษุท่คี วรถกู นิมนต์ ทา่ นเสยี ใจคดิ จะสึก พระบรมศาสดาทรงทราบจึงเสด็จไปปลอบโยนและทรงประทานผา้ ขาว

๑๘ อนุพุทธประวัติ ธรรมศึกษาช้ันโท ใหท้ า่ นลบู คลาํ แลว้ พิจารณาเขา้ มาในกาย พออรุณขนึ้ ทา่ นเห็นผา้ เกา่ ไปแลว้ พจิ ารณาโนม้ เขา้ มาในกาย กบ็ รรลุ พระอรหนั ตพ์ รอ้ มดว้ ยปฏสิ มั ภิทาในขณะนนั้ เอตทัคคะ ท่านไดร้ บั ยกย่องจากพระบรมศาสดาวา่ เป็ นผเู้ ลศิ กวา่ ภิกษุทง้ั หลายผชู้ าํ นาญมโนมยทิ ธิ ๕๐. พระโสณกฏุ กิ ณั ณเถระ ท่านเป็นบุตรนางกาฬผี โู้ สดาบนั อปุ ัฏฐากพระมหากจั จายนเถระ ท่านไดค้ นุ้ เคยกบั พระมหากจั จายนะ เม่อื โตขึน้ ปรารถนาจะบวชแตไ่ มม่ ีสงฆพ์ อคณะ จึงตอ้ งบวชเณรอย่ถู ึง ๓ ปี พอไดภ้ ิกษุครบองค์ จึงไดบ้ วชเป็น พระภกิ ษุ ครน้ั บวชแลว้ เจริญวิปัสสนากมั มฏั ฐานจนสาํ เรจ็ พระอรหตั ตผล เอตทคั คะ ตอ่ มาท่านไดล้ าอปุ ัชฌายม์ าเฝา้ พระบรมศาสดา และไดถ้ วายธรรมเทศนาดว้ ยถอ้ ยคาํ อนั ไพเราะ อาศยั คณุ สมบตั ิเช่นนที้ ่านจึงไดร้ บั ยกย่องจากพระบรมศาสดาว่า เป็ นผูเ้ ลิศกว่าภิกษทุ งั้ หลายผแู้ สดงธรรมดว้ ย ถอ้ ยคาํ อันไพเราะ ๕๑. พระสภุ ตู เิ ถระ ท่านเป็นบตุ รสมุ นเศรษฐีในนครสาวตั ถี เพราะมีผิวขาวงามจงึ มชี ือ่ ว่า “สภุ ตู ”ิ ไดฟ้ ังพระธรรมเทศนาเกิด ศรทั ธาเล่ือมใส อปุ สมบท ณ พระเชตวนั มหาวหิ าร แลว้ เจรญิ วิปัสสนากมั มฏั ฐานจนไดส้ าํ เร็จพระอรหตั ตผล เอตทัคคะ ท่านไดร้ บั การยกย่องจากพระบรมศาสดาวา่ เป็ นผ้เู ลศิ กว่าภิกษทุ ้งั หลายในทางอรุณวหิ าร (คอื เจรญิ ฌาณประกอบดว้ ยเมตตา) และเป็ นทกั ขเิ ณยยบุคคล (คือผคู้ วรรบั ทกั ขณิ าทาน) ๕๒. พระลกณุ ฏกภทั ทยิ เถระ ทา่ นเกิดในตระกลู ที่ม่งั ค่ังในพระนครสาวตั ถี มีรา่ งกายเล็กตา่ํ เตีย้ ไดฟ้ ังพระธรรมเทศนาของพระบรม ศาสดา มีความเล่ือมใสจึงออกบวช ครน้ั ไดบ้ วชสมประสงคแ์ ลว้ เจรญิ กมั มฏั ฐานจนสาํ เรจ็ โสดาปัตตผิ ล ต่อมาได้ สนทนากบั พระสารีบุตรเถระ เมอ่ื สนทนาอยจู่ ติ ท่านก็หลดุ พน้ จากอาสวะเป็นพระอรหนั ตใ์ นพระพทุ ธศาสนา เอตทคั คะ ท่านเป็นผมู้ เี สยี งไพเราะเสนาะโสตแก่ผฟู้ ัง เหตดุ งั นนี้ พระบรมศาสดาจงึ ทรงยกยอ่ งท่านว่า เป็ นผเู้ ลศิ กวา่ ภิกษทุ ง้ั หลายผมู้ เี สยี งไพเราะ ๕๓. พระกงั ขาเรวตเถระ ทา่ นเป็นบตุ รชาวเมอื งสาวตั ถี มคี วามเลอ่ื มใสในพระพทุ ธศาสนา จงึ อปุ สมบท ณ เชตวนั มหาวหิ าร เม่อื อปุ สมบทแลว้ เจริญสมณธรรมไม่นานก็ไดส้ าํ เรจ็ พระอรหตั ตผล เอตทคั คะ ท่านเป็นผชู้ าํ นาญในฌานสมาบตั เิ ขา้ ออกทงั้ กลางวนั กลางคนื ดว้ ยเหตนุ พี้ ระบรมศาสดาจึงทรงยกยอ่ ง ท่านวา่ เป็ นผู้เลศิ กวา่ ภิกษทุ ้งั หลายผ้เู จริญฌานสมาบตั ิ

อนพุ ุทธประวัติ ธรรมศึกษาชั้นโท ๑๙ ๕๔. พระวกั กลเิ ถระ ทา่ นเป็นบตุ รพราหมณ์ ในเมืองสาวตั ถี เมอ่ื เจริญวยั แลว้ ไดศ้ กึ ษาจบไตรเพทตามลทั ธิพราหมณเ์ ลอ่ื มใส ในพระรูปโฉมของพระบรมศาสดา ออกบวชในพระพทุ ธศาสนา ณ วดั เชตวนั มหาวิหาร ครน้ั บวชแลว้ มวั ดแู ต่พระ รูปโฉมของพระบรมศาสดาอย่างเดยี ว พระบรมศาสดาจงึ ทรงประณามไล่ทา่ นเสยี ท่านเสียใจจะไปกระโดดเหว ตาย พระบรมศาสดาทรงทราบจงึ ทรงแผร่ ศั มีเป็นรูปพระองคไ์ ปปลอบ ท่านเกดิ ปีติจนการลอย เมอ่ื ขม่ สติไดแ้ ลว้ พิจารณาตามภมู ธิ รรมก็ไดส้ าํ เร็จพระอรหตั ตผล เอตทัคคะ ท่านไดร้ บั การยกย่องจากพระบรมศาสดาวา่ เป็ นผเู้ ลศิ กวา่ ภกิ ษุท้งั หลายฝ่ ายขา้ งศรัทธาวิมตุ ติ คอื พน้ จากกเิ ลสดว้ ยศรทั ธา ๕๕. พระโกณฑธานะ ทา่ นเกิดในสกลุ พราหมณใ์ นเมอื งสาวตั ถี เดิมชื่อ “ธานะ” ไดเ้ รียนจบไตรเพท ภายหลงั ไดฟ้ ังพระธรรม เทศนา เลื่อมใสไดอ้ ปุ สมบทในพระพทุ ธศาสนา หลงั จากบวชแลว้ ท่านจะไปหรืออยไู่ หนยอ่ มมีรูปหญิงสวย ติดตามหลงั ทา่ นเสมอ ดว้ ยกรรมช่วั ท่ที ่านทาํ ไวใ้ นกาลกอ่ น คฤหัสถแ์ ละบรรพชติ ไดเ้ ห็นกต็ าํ หนิและเยาะเยย้ ตา่ งๆ มีกลา่ ววา่ “ธาโน โกณฺโฑ ซาโต” ดงั นคี้ าํ วา่ “กณุ ฑ” จงึ เป็นชอ่ื นาํ หนา้ ท่าน เมอ่ื พระเจา้ โกศลทรงทราบเสด็จมา ไตส่ วน ปรากฏว่าไมใ่ ช่หญิงจริง ก็ทรงเล่อื มใสตอ่ มาท่านไดเ้ จรญิ กมั มฏั ฐานจนสาํ เร็จพระอรหตั ตผล ๕๖. พระวงั คสี เถระ ท่านเป็นบุตรพราหมณใ์ นพระนครสาวตั ถี มีมนตอ์ ย่างหนงึ่ ชือ่ วา่ “ฉวสีสะ” ชาํ นาญในการพิสจู น์ กระโหลกคนว่าจะไปเกิดในทีไ่ หน เมอื่ ชาตกิ ่อนเป็นอะไร โดยใชเ้ ลบ็ เคาะกระโหลกศรี ษะ จนมีคนนบั ถอื มาก ภายหลงั ทราบวา่ พระบรมศาสดาเป็นนกั ปราชญ์ จึงมาเฝา้ แสดงความรูแ้ ก่พระองค์ พระองคก์ ไ็ ดน้ าํ กระโหลก พระอรหนั ตม์ าใหท้ ่านพิสจู น์ แตท่ ่านพสิ จู นไ์ มไ่ ดจ้ งึ ยอมแพป้ ระสงคจ์ ะเรยี นพทุ ธมนตจ์ ึงอปุ สมบทใน พระพทุ ธศาสนาเมื่อบวชแลว้ พระบรมศาสดาทรงประทานกมั มฏั ฐานมอี าการ ๓๒ ใหท้ า่ นสาธยาย โดยลว่ งไป ๒-๓ วนั จึงไดส้ าํ เร็จอรหตั ตผล เอตทัคคะ เมื่อท่านจะเขา้ เฝา้ ทไี รมกั ผกู บทบาทคาถาแตง่ กลอนถวายทกุ ครง้ั ดว้ ยเหตนุ พี้ ระบรมศาสดาจึงทรงยก ยอ่ งท่านวา่ เป็ นผเู้ ลศิ กว่าภิกษทุ ัง้ หลายทางมปี ฏภิ าณในการผูกบทบาทคาถา ๕๗. พระปลิ นิ ทวจั ฉเถระ ทา่ นเกดิ ในสกลุ พราหมณว์ จั ฉโคตร ทา่ นมศี รทั ธาเล่อื มใสจงึ อปุ สมบทในพระพทุ ธศาสนา เมอ่ื บวชแลว้ เจริญสมถกมั มฏั ฐาน ไม่นานก็บรรลพุ ระอรหตั ตผล ทา่ นมกั เรยี กใคร ๆ ว่า “วสล”ิ แปลวา่ คนถ่อย เสมอ ๆ นบั ว่าเป็นเพราะกรรมเก่าของทา่ น เป็นการพดู โดยไมต่ งั้ ใจใหร้ า้ ยใคร

๒๐ อนพุ ุทธประวัติ ธรรมศึกษาช้ันโท เอตทคั คะ เทพยดาทงั้ หลายทราบว่าทา่ นเป็นผใู้ หเ้ ทวสมบตั ิแก่พวกตนจงึ พากนั รกั ใคร่ท่าน ดงั นนั้ พระบรมศาสดา จงึ ทรงยกยอ่ งทา่ นว่า เป็ นผู้เลศิ กวา่ ภิกษทุ ้งั หลายผเู้ ป็ นทร่ี กั ใคร่ของเทพยดา ๕๘. พระกมุ ารกสั สปเถระ ทา่ นเป็นบุตรธิดาเศรษฐีในพระนครราชคฤห์ มารดาของท่านมีครรภแ์ ต่ไมร่ ู้ ไดไ้ ปบวชในสาํ นกั นาง ภกิ ษุณี และคลอดบุตรในระหว่างนน้ั พระเจา้ ปเสนทโิ กศลเสด็จมาไดย้ ินเสยี งเด็กรอ้ ง จึงขอไปเลีย้ งไวเ้ ป็นราช โอรสบุญธรรม เมอื่ มีอายคุ รบ ๒๐ ก็ไดอ้ ปุ สมบทในพระพทุ ธศาสนา ตอ่ มาไดฟ้ ังปัญหาพทุ ธยากรณ์ ๑๕ ขอ้ เอตทคั คะ ท่านเป็นผมู้ คี วามสามารถในการแสดงธรรมแก่บริษัท ๔ ไดอ้ ยา่ งวจิ ิตรสมบูรณด์ ว้ ยอปุ มาอปุ ไมย พรอ้ ม ทงั้ เหตุผลใหผ้ ฟู้ ังเขา้ ใจง่าย ฉลาดในการส่งั สอน ดงั นน้ั จึงไดร้ บั การยกยอ่ งจากพระบรมศาสดาว่า เป็ นผูเ้ ลศิ กวา่ ภิกษทุ ้งั หลายผ้แู สดงธรรมไดอ้ ย่างวจิ ติ ร ๕๙. พระมหาโกฏฐติ เถระ ทา่ นเป็นบตุ รของอสั สลายนะพราหมณก์ บั นางจนั ทวทพี ราหมณี ในนครราชคฤห์ ไดศ้ กึ ษาลทั ธิพราหมณจ์ น จบไตรเพท แต่มคี วามเลือ่ มใสในพระพทุ ธศาสนา จึงออกบวชประพฤติพรหมจรรย์ มพี ระสารีบตุ รเถระเป็นพระ อปุ ัชฌายม์ พี ระมหาโมคลั ลวนเถระเป็นพระอาจารย์ ไดส้ าํ เรจ็ พระอรหตั ตผลขณะปลงผม ดว้ ยอาํ นาจวปิ ัสสนา กมั มฏั ฐานพรอ้ มทงั้ ปฏิสมั ภิทา เอตทัคคะ ทา่ นเป็นผใู้ ครต่ อ่ การศึกษา ไมว่ า่ จะเขา้ ไปหาพระเถระรูปไหนก็ดี หรือเขา้ ไปเฝา้ พระบรมศาสดาก็ดี มกั ถามปัญหาในปฏสิ มั ภทิ าทงั้ ๔ เป็นประจาํ ต่อมาพระบรมศาสดาทาํ มหาเวทลั ลสตู รใหเ้ ป็นตน้ เหตุ ตงั้ ทา่ นไวใ้ น เอตทคั คฐานว่า เป็ นผเู้ ลศิ กวา่ ภกิ ษทุ ง้ั หลายผู้แตกฉานในปฏสิ ัมภทิ า ๖๐. พระโสภิตเถระ ท่านเป็นบุตรพราหมณใ์ นนครสาวตั ถี เม่ือเตบิ โตไดศ้ กึ ษาอกั ษรสมยั ในลัทธิพราหมณ์ ภายหลงั ไดฟ้ ังพระ ธรรมเทศนาของพระบรมศาสดา เกิดความเลอ่ื มใสจงึ ไดอ้ ปุ สมบทในพระพทุ ธศาสนา ครนั้ อปุ สมบทแลว้ บาํ เพ็ญ เพียรไมน่ านก็สาํ เรจ็ พระอรหตั ตผล เอตทคั คะ ทา่ นชาํ นาญในการระลกึ ชาติมาก ดงั นน้ั จึงไดร้ บั การยกย่องจากพระบรมศาสดาวา่ เป็ นผูเ้ ลศิ กวา่ ภิกษุ ทง้ั หลายในทางเป็ นผูร้ ะลกึ ปุพเพนิวาสญาฌ

อนุพทุ ธประวัติ ธรรมศึกษาชั้นโท ๒๑ ๖๑. พระนนั ทกเถระ ท่านเป็นบุตรพราหมณใ์ นนครสาวตั ถี มีความเลอื่ มใสจึงอปุ สมบทในพระพทุ ธศาสนาตอ่ มาไดบ้ าํ เพ็ญ สมณธรรมจนสาํ เร็จพระอรหตั ตผล เอตทคั คะ ทา่ นไดแ้ สดงอายตนะ ๖ แก่นางภกิ ษุณี ๕๐๐ รูป ใหไ้ ดส้ าํ เรจ็ พระอรหตั ตผลทงั้ หมดดว้ ยเหตุน้ันจึงไดร้ บั การยกย่องจากพระบรมศาสดาว่า เป็ นผ้เู ลิศกวา่ ภกิ ษุท้ังหลายทางใหโ้ อวาทแกน่ างภิกษณุ ี ๖๒. พระมหากปั ปนิ เถระ ทา่ นเป็นพระราชาในกกุ กุฏวดนี คร ทรงสดบั ข่าวจากพ่อคา้ ว่า “พระพทุ ธ พระธรรม พระสงฆ์ เกดิ ในโลก และประทบั ทเ่ี มืองสาวตั ถี”ทรงเล่อื มใสสละราชสมบตั ิเสด็จไปเฝา้ พระบรมศาสดาพรอ้ มดว้ ยบรวิ ารไดฟ้ ังธรรมจน สาํ เร็จพระอรหตั ตผลแลว้ บวชพรอ้ มกนั หมด เอตทคั คะ เพราะเหตทุ ท่ี า่ นไดส้ ่งั สอนใหบ้ ริวารของตนใหไ้ ดบ้ รรลพุ ระอรหตั ตผล พระบรมศาสดาจงึ ทรงยกยอ่ งทา่ น ว่า เป็ นผเู้ ลิศกวา่ ภิกษุทง้ั หลายทางใหโ้ อวาทแกภ่ กิ ษบุ ริษัท ๖๓. พระศาคตเถระ ท่านเป็นบุตรพราหมณใ์ นนครสาวตั ถี มคี วามเล่ือมใสจึงไดอ้ ปุ สมบทในพระพทุ ธศาสนา เม่อื อปุ สมบทแลว้ ไดต้ ามเสดจ็ พระบรมศาสดาไปยงั เมืองโกสมั พี ทา่ นมีชอ่ื เสียงในการเจรญิ เตโชกสิณ มีเรอื งเลา่ วา่ “ท่านไดต้ อ่ สกู้ บั พญานาคทม่ี าเบียดเบยี นชาวเมอื งโกสมั พใี หห้ ายพยศ” ชาวเมืองจงึ พากนั เล่อื มใสมากไดถ้ วายสรุ าอ่อนแก่ทา่ น ทา่ นฉนั จนเมาหมดสตนิ อนท่ีกองหยาดเย่อื พระบรมศาสดาทรงทราบจึงตรสั บญั ญัตสิ รุ าปานสิกขาบท และติเตียน ท่านเป็นอนั มากรุง่ ขึน้ เชา้ ตรูท่ า่ นไดส้ ติทลู ขอโทษไดค้ วามสงั เวช หม่นั เจรญิ สมณธรรมกไ็ ดส้ าํ เรจ็ พระอรหตั ตผล เอตทคั คะ ต่อมาพระบรมศาสดาประทบั ณ วดั เชตวนั ทรงยกเอาคณุ สมบตั ิของทา่ นดงั กล่าวแลว้ ใหเ้ หตแุ ลว้ ตงั้ ทา่ นไวใ้ นตาํ แหนง่ เอตทคั คะวา่ เป็ นผ้เู ลศิ กวา่ ภกิ ษุทั้งหลายในทางฉลาดในเตโชกสณิ ๖๔. พระอปุ เสนเถระ ท่านเป็นบตุ รของวงั คนั ตพราหมณก์ บั นางสารีพราหมณี เป็นนอ้ งชายของพระสารีบตุ รเถระ ครน้ั เจรญิ วยั แลว้ ไดศ้ ึกษาจบไตรเพทในลทั ธิพราหมณ์ ไดฟ้ ังพระธรรมเทศนาของพระบรมศาสดา เกดิ ความเล่ือมใสจงึ ได้ อปุ สมบทในพระพทุ ธศาสนา แลว้ บาํ เพ็ญเพียรไม่นานกไ็ ดส้ าํ เร็จพระอรหตั ตผล เอตทคั คะ ตอนทา่ นบวชไดพ้ รรษาเดยี ว กใ็ หอ้ ปุ สมบทแกก่ ลุ บตุ ร พระบรมศาสดาทรงทราบ จึงตรสั ตเิ ตียนว่าเป็น คนสะเพรา้ มกั มาก เมอ่ื สาํ เรจ็ อรหนั ตแ์ ลว้ ในพรรษาท่ี ๑๐ ไดแ้ สดงธรรมมกี ุลบุตรเลือ่ มใสมาขอบวชกนั มาก ทา่ นก็ฝึกสอนใหร้ ูว้ นิ ยั แลว้ จึงบวช แตน่ น้ั กใ็ หเ้ รียนธดุ งค์ ๑๓ ใหย้ นิ ดีในการอยปู่ ่าดจุ ทา่ น จนมีบรวิ ารถงึ ๕๐๐ เมือ่ พระบรมศาสดาทรงทราบจึงทรงสรรเสรญิ ท่านว่า เป็ นผู้เลิศกวา่ ภิกษทุ ัง้ หลายทางยงั พหชุ นใหเ้ ลอ่ื มใส

๒๒ อนพุ ทุ ธประวัติ ธรรมศึกษาช้ันโท ๖๕. พระขทริ วนยิ เรวตเถระ ท่านเป็นบตุ รวงั คนั ตพราหมณก์ บั นางสารีพราหมณี เป็นนอ้ งชายคนเล็กของพระสารีบตุ รเถระ เมื่ออายไุ ด้ ๗ ปี บิดา มารดารบี จดั การแตง่ งานเพราะกลวั จะบวชเสยี กอ่ นในวนั แตง่ งานท่านไดอ้ อกอบุ ายหนีไปบวชเป็น สามเณรในสาํ นกั ภกิ ษุ ๓๐ รูปในป่าทพ่ี ระสารีบตุ รส่งั ไว้ ภายหลงั กลวั พวกญาตจิ ะตามมาพบ จึงเรียนเอา กมั มฏั ฐานแลว้ ลาไปอยปู่ ่าสะแก บาํ เพญ็ เพยี รไปก็ไดบ้ รรลพุ ระอรหตั ตผลในพรรษาน้ัน พอออกพรรษา พระบรม ศาสดากบั พระสารีบุตรพรอ้ มดว้ ยหม่สู งฆเ์ สดจ็ ไปเยีย่ ม ทา่ นนมิ ิตรเรอื นอย่างละ ๕๐๐ สาํ หรบั เป็นที่พกั แกห่ มู่ สงฆ์ ทรงประทบั อยู่ ๑ เดอื นก็เสด็จกลบั เอตทคั คะ ท่านชอบอยปู่ ่ากนั ดารเช่นนี้ จงึ มฉี ายาว่า “ขทริ วนยิ ะ” และต่อมาพระบรมศาสดายกย่องทา่ นว่า เป็ นผู้ เลิศกวา่ ภิกษุทั้งหลายผูอ้ ยปู่ ่ ากนั ดาร ๖๖. พระสวี ลเี ถระ ทา่ นเป็นโอรสแหง่ ศากยะกมุ ารกบั พระนางสปุ ปวาสาธิดาโกลยิ วงศ์ เมอ่ื ตงั้ ครรภม์ ีผเู้ อาของสกั การะมา ถวายทกุ เชา้ เยน็ อย่ใู นครรภต์ งั้ ๗ ปี ๗ เดอื น ๗ วนั ดว้ ยผลกรรมท่ีไปลอ้ มเมืองเพอ่ื ชิงราชสมบตั ใิ นชาตกิ อ่ น ครนั้ เวลาคลอดก็งา่ ยดจุ นา้ํ ออกจากกระบอก ทาํ ใหป้ ระยรู ญาตเิ บาใจจึงขนานนามวา่ “สวี ล”ี เม่ือเจริญวยั เกิด ศรทั ธาไปบวชในสาํ นกั พระสารบี ตุ รเถระ ไดส้ าํ เรจ็ พระอรหตั ตผลขณะปลงผมเสร็จพอดี เอตทคั คะ เมอ่ื ทา่ นไดเ้ ขา้ มาบวช จะอย่ทู ี่ไหนก็บรบิ ูรณด์ ว้ ยลาภ จนพระบรมศาสดาจะพาสงฆไ์ ปไหนทางกนั ดารตอ้ ง เอาทา่ นไปดว้ ย อาศยั เหตนุ ี้ พระองคจ์ งึ ทรงยกยอ่ งท่านวา่ เป็ นผู้เลศิ กว่าภกิ ษทุ ง้ั หลายทางเป็ นผู้บริบรู ณด์ ว้ ย ลาภ ๖๗. พระพาหยิ ทารจุ ริ ยิ เถระ ท่านเป็นบตุ รกุฎมุ พผี มู้ ่งั ค่งั ในแควน้ พาหยิ ราษฏร์ เมอื่ เจรญิ วยั แลว้ ไดไ้ ปคา้ ขายยงั แควน้ สวุ รรณภมู เิ รืออปั ปางในกลางมหาสมทุ ร ทา่ นเกาะแผ่นกระดานว่ายนาํ้ มาถึงฝ่ังได้ ไมม่ ีเครื่องน่งุ หม่ จึงเอาเปลือกไมบ้ า้ ง ใบไมบ้ า้ ง มาน่งุ หม่ คนทงั้ หลายเห็นนึกว่าเป็นพระอรหนั ตม์ กั นอ้ ยสนั โดษ เม่ือพรหมเทพผเู้ ป็นสหายเกา่ มาเตอื นวา่ ท่าน ประพฤติลวงโลก แนะนาํ ใหไ้ ปพบพระศาสดา ไดพ้ บพระบรมศาสดาขณะทรงบาตรในระหวา่ งทาง จึงเขา้ ไป หมอบลงริมพระบาททลู ขอใหแ้ สดงธรรมแก่ตนพระบรมศาสดาจงึ ทรงแสดงธรรมโดยย่ออนั รวมในไตรสกิ ขา ทา่ น สง่ จิตไปตามกระแสธรรมกส็ าํ เรจ็ พระอรหตั ตผล นพิ พาน ท่านปรารถนาจะอปุ สมบทจงึ ไปแสวงหาผา้ กาํ ลงั ฉดุ ผา้ อยทู่ ีก่ องหยากเย่ือมีแม่โคลกู อ่อนตวั หนึ่งวง่ิ มา ขวดิ ทา่ นตาย จึงนิพพานในขณะนน้ั พระบรมศาสดาเสด็จทรงบาตรตอ่ ไปพบท่านนอนตายอยทู่ ี่น่นั จงึ รบั ใหส้ งฆ์ จดั การเผาสรีระแลว้ นาํ อฐั ิไปบรรลไุ วท้ ่ีใกลท้ าง ๔ แพรง่ เพอ่ื เป็นทีส่ กั การะ

อนพุ ทุ ธประวตั ิ ธรรมศึกษาชั้นโท ๒๓ เอตทคั คะ ในกาลตอ่ มาพระบรมศาสดาทรงยกยอ่ งทา่ นไวใ้ นเอตทคั คฐานว่า เป็ นผเู้ ลศิ กว่าภิกษทุ ั้งหลายผขู้ ปิ ปา ภิญญา คอื ตรสั รูเ้ ร็ว ๖๘. พระพากลุ เถระ ท่านเป็นบตุ รเศรษฐีในนครโกสมั พี ในคราวโกนผมไฟ นางนมไดพ้ าท่านไปอาบนา้ํ ในแม่นาํ้ คงคา ปลาไดฮ้ บุ เอาทา่ นไป ปลารอ้ นทอ้ งกระวนกระวายไปตดิ แหชาวประมง ๆ ไดน้ าํ ปลาไปขายใหเ้ ศรษฐีในตาํ บลท่ีท่านอย่เู ศรษฐี แลป่ ลาเหน็ ทารกก็มีความรกั ใครด่ จุ บุตร เลยเลีย้ งไวใ้ หเ้ ป็นบุตร ต่อมาเศรษฐีผบู้ ดิ าทราบขา่ ว กเ็ กดิ เรื่องถงึ กบั จะ แยง่ บตุ ร จนพระเจา้ แผ่นดนิ ทรงตดั สินใหท้ งั้ ๒ ตระกลู เลีย้ งในเวลาเท่า ๆ กนั เมอ่ื เจริญวยั แลว้ ไดอ้ ปุ สมบทใน พระพทุ ธศาสนา แลว้ เจริญวิปัสสนาจนสาํ เร็จพระอรหตั ตผล เอตทัคคะ ทา่ นเป็นผไู้ ม่มีโรคาพาธเบียดเบยี นเลยตงั้ แตเ่ ป็นฆราวาสจนถึงนพิ พาน ดว้ ยเหตนุ นั้ พระบรมศาสดาจงึ ทรงยกย่องท่านวา่ เป็ นผเู้ ลิศกวา่ ภิกษุทง้ั หลายผู้มโี รคาพาธน้อย ทา่ นอยมู่ าถึงอายปุ ระมาณ ๑๔๐ ปี จงึ นพิ พานในท่างกลางสงฆ์ และอธิฐานเตโชธาตุ ใหเ้ ผาสรีระเหลือแต่อฏั ฐิสีขาวดงั ดอกมะลิ ๖๙. พระทพั พมลั ลบตุ รเถระ ท่านเป็นโอรสของมลั ลกษัตริย์ พระมารดาของท่านมรณะเมอื่ ทา่ นจะประสตู ิ เมอ่ื กาํ ลงั เป่าศพพอพืน้ อทุ ร รอ้ นก็แตกออก ๒ เสีย่ ง ตวั ท่านกระเด็นไปตกบนพนื้ หญา้ ไม่เป็นอนั ตรายเลย เม่อื อายไุ ด้ ๗ ปีก็ไดบ้ รรพชาเป็น สามเณรและไดบ้ รรลพุ ระอรหตั ตผลขณะปลงผมเสร็จ เอตทคั คะ ทา่ นไดร้ บั ยกย่องจากพระบรมศาสดาวา่ เป็ นผู้เลศิ กวา่ ภกิ ษทุ ้งั หลายทางจดั แจงเสนาสนะและแจก ภตั ต์ ทา่ นนพิ พานในอากาศตงั้ แต่ยงั หน่มุ ๗๐. พระอทุ ายเี ถระ ทา่ นเกิดในสกุลพราหมณ์ ในเมืองกบลิ พสั ดุ์ เล่อื มใสในพระธรรมเทศนาของพระพทุ ธเจา้ จงึ ออกบวชแลว้ ไดส้ าํ เรจ็ พระอรหตั ตผล ท่านมีเช่ือเสียงในทางแสดงธรรม ๗๑. พระอปุ วาณเถระ ทา่ นเกิดในตระกูลพราหมณ์ ในเมอื งสาวตั ถี ไดพ้ บพระพทุ ธเจา้ ในพิธีถวายพระเวฬวุ นั เกดิ ความเลอ่ื มใสจงึ ไดเ้ ขา้ มาบวชในพระพทุ ธศาสนาและไดบ้ รรลเุ ป็นพระอรหนั ต์ ท่านไดเ้ คยเป็นอปุ ัฏฐากของพระพทุ ธเจา้ มากอ่ นที่ พระอานนทจ์ ะมารบั ตาํ แหนง่ ในตอนปรินิพพาน ท่านไดถ้ วายงานพดั อยเู่ ฉพาะพระพกั ตรพ์ ระพทุ ธเจา้

๒๔ อนุพทุ ธประวัติ ธรรมศึกษาช้ันโท ๗๒. พระเมฆยิ เถระ ทา่ นไดเ้ ขา้ มาบวชในพระพทุ ธศาสนา ครง้ั หนึง่ ทา่ นเคยไดเ้ ป็นพทุ ธอปุ ัฏฐาก ในตอนนน้ั ทา่ นไดเ้ ห็นสวน มะม่วงท่นี า่ รนื่ รมย์ ประสงคไ์ ปบาํ เพญ็ สมณธรรมทน่ี ่นั พระบรมศาสดาทรงหา้ มถึง ๓ ครง้ั ท่านก็ไม่ฟัง ผลที่สดุ ก็ ไมไ่ ดส้ าํ เรจ็ อะไร เพราะถกู อกศุ ลวิตกครอบงาํ เสยี ตอ่ มาไดฟ้ ังเทศนาสาํ หรบั ระงบั วิตกจากพระบรมศาสดาแลว้ พยายามบาํ เพ็ญเพียรจนสาํ เรจ็ พระอรหตั ตผล ๗๓. พระนาคติ เถระ ทา่ นเกดิ ท่ีไหน บวชเมื่อไร ไมม่ ปี ระวตั ิ แตเ่ ม่อื บวชแลว้ เคยเป็นพทุ ธอปุ ัฏฐากมากอ่ น. ๗๔. พระจนุ ทเถระ ท่านเป็นนอ้ งชายพระสารบี ตุ รเถระ เกดิ ที่บา้ นนาลนั ทา เมอื งราชคฤห์ ท่านไดเ้ คยเป็นพุทธอปุ ัฏฐากมาครงั้ หนึง่ เม่อื พระสารีบุตรผพู้ ี่ชายไปนพิ พานที่บา้ นเกิด ทา่ นไดต้ ิดตามไปดว้ ยและไดร้ วบรวมบาตรและจวี รพรอ้ มทงั้ อฏั ฐิธาตขุ องพระสารบี ุตรเถระมาถวายพระพทุ ธเจา้ ทเี่ ชตวนั มหาวหิ ารดว้ ย ๗๕. พระยโสชเถระ ท่านเป็นบตุ รชาวประมง ในเมืองสาวตั ถี มคี วามเลอื่ มใสจงึ ไดเ้ ขา้ มาบวชในพระพทุ ธศาสนา ตอ่ มาไดเ้ จริญ สมณธรรมทีฝ่ ่ังแมน่ า้ํ วดั คมุ ทุ า ไดส้ าํ เร็จเป็นพระอรหนั ต์ ๗๖. พระสภยิ เถระ ท่านเคยบวชเป็นปริพพาชก ทา่ นเท่ียวถามปัญหาตอบปัญหาไปเรื่อย ๆ เมือ่ ไดม้ าถามปัญหากบั พระพทุ ธเจา้ พอใจในคาํ ตอบเกดิ ความเล่ือมใสและไดข้ อบวช พระพทุ ธเจา้ ทรงใหอ้ ย่ตู ิดถยิ ปรวิ าส ๔ เดอื น จึง ทรงอนญุ าติใหอ้ ปุ สมบท ตอ่ มากไ็ ดส้ าํ เรจ็ เป็นพระอรหนั ต์ ๗๗. พระเสลเถระ ท่านเกดิ ในตระกูลพราหมณใ์ นองั คตุ ตราชนบท เช่ียวชาญไตรเพทจนเป็นคณาจารยส์ ่งั สอนศิษยป์ ระมาณ ๓๐๐ คน ไดพ้ บพระพทุ ธเจา้ ที่อาปณนิคมจงึ เขา้ ไปเฝา้ ถามปัญหาต่าง ๆพอใจในคาํ ตอบเกิดความเล่อื มใสจึงได้ ขอบวช บาํ เพ็ญเพยี รไมช่ า้ กไ็ ดบ้ รรลเุ ป็นพระอรหนั ต์ ๗๘. พระมหาปรนั ตปเถระ ประวตั ิของท่านองคน์ ี้ ทราบความแต่เพียงเป็นผฉู้ ลาดในการส่งั สอนพทุ ธบรษิ ัท และเป็นพระอรหนั ต์ เทา่ นน้ั ฯ

อนุพทุ ธประวัติ ธรรมศึกษาชั้นโท ๒๕ ๗๙. พระนาลกเถระ ท่านเป็นบุตรของนางพราหมณีซ่ึงเป็นนอ้ งสาวของอสิตดาบส ในนครกบิลพสั ดุ์ ไดม้ าเฝา้ พระบรมศาสดา เพอ่ื ทลู ถามเรอื่ งโมไนยปฏิปทา (การปฏบิ ตั ิเพอ่ื เป็นนกั ปราชญ)์ แลว้ จงึ ขอบวชจากนน้ั กท็ ลู ลาไปบาํ เพญ็ สมณ ธรรมในป่าหิมพานตอ์ ยา่ งเครง่ ครดั จนสาํ เร็จเป็นพระอรหนั ต์ ดาํ รงชวี ติ มาอีก ๗ เดอื นก็นพิ พาน ๘๐. พระองคลุ มิ าลเถระ ทา่ นเกิดในตระกูลพราหมณ์ ในเมืองสาวตั ถี บดิ าชอื่ ว่า ภคั ควพราหมณเ์ ป็นปโุ รหติ ของพระเจา้ โกศล เดมิ ช่ือ ว่า “อหงิ สกะ” ไดศ้ ึกษาศลิ ปศาสตรใ์ นสาํ นกั ทิศาปาโมกขใ์ นเมอื งตกั กสิลา ปรากฏว่าท่านเรียนเกง่ มีความรู้ ความ ประพฤติดี พวกศษิ ยด์ ว้ ยกนั ริษยา ยใุ หอ้ าจารยก์ าํ จดั เสยี อาจารยห์ ลงเชอ่ื จงึ ลวงใหอ้ หิงสกะไปฆ่าคนมาใหค้ รบ พนั หน่ึง แลว้ จะมอบวชิ าวิเศษให้ ท่านจงึ ฆา่ คนคามคาํ ส่งั ของอาจารย์ จึงกลายเป็นคนท่โี หดรา้ ยทารุณมาก ฆา่ แลว้ เอานวิ้ คนมารอ้ ยเป็นพวงมาลยั คลอ้ งคอ จงึ ไดช้ อ่ื วา่ องคลุ ีมาล ภายหลงั พระพทุ ธเจา้ เสดจ็ ไปโปรด ทา่ นกลบั ใจจึงขอบวชและไดส้ าํ เร็จเป็นพระอรหนั ต์ เป็นพระอริยสาวกในพระพทุ ธศาสนา ภิกษทุ ไี่ ดร้ บั เอตทัคคะมีทงั้ หมด ๔๑ รปู ดว้ ยกนั คอื ๑. พระอญั ญาโกณทญั ญะเถระ เป็นเลิศทางรตั ตญั �ู ๒. พระอรุ ุเวลกสั สปเถระ เป็นเลิศทางมบี ริวารมาก ๓. พระมหาสารีบุตรเถระ เป็นเลศิ ทางมีปัญญามาก ๔. พระมหาโมคคลั ลานเถระ เป็นเลศิ ทางมีฤทธ์ิมาก ๕. พระมหากสั สปเถระ เป็ นเลิศทางทรงธุดงค์ ๖. พระมหากจั จายนเถระ เป็นเลศิ ทางอธิบายคาํ ยอ่ ใหพ้ ิสดาร ๗. พระโมฆราชเถระ เป็นเลศิ ทางทรงจีวรเศร้าหมอง ๘. พระราธเถระ เป็นเลิศทางมีปฏภิ าณแจ่มแจง้ ๙. พระปณุ ณมนั ตานีบตุ รเถระ เป็นเลศิ ทางเป็นพระธรรมกถกึ ๑๐. พระกาฬุทายีเถระ เป็นเลิศทางยงั สกลุ ทไี่ ม่เล่อื มใสใหเ้ ลอ่ื มใส ๑๑. พระนนั ทเถระ เป็นเลิศทางสาํ รวมอนิ ทรีย์ ๑๒. พระราหุลเถระ เป็นเลศิ ทางใคร่ในการศึกษา ๑๓. พระอปุ าลีเถระ เป็นเลิศทางทรงจาํ พระวนิ ยั ๑๔. พระภทั ทิยเถระ เป็ นเลิศทางเกิดในตระกูลสูง ๑๕. พระอนุรุทเถระ เป็นเลศิ ทางมีตาทพิ ย์ ๑๖. พระอานนทเ์ ถระ ๕ ทาง คอื เป็นพหูสูต มสี ติ มีธิติ มีคติ และเป็นพทุ ธอุปัฏฐาก ๑๗. พระโสณโกฬวิ ิสเถระ เป็นเลิศทางปรารถความเพยี ร ๑๘. พระรฏั ฐบาลเถระ เป็นเลศิ ทางบวชดว้ ยศรทั ธา

๒๖ อนุพุทธประวัติ ธรรมศึกษาช้ันโท ๑๙. พระพระปิ ณโฑลภารทวาชเถระ เป็นเลศิ ทางบนั ลือสีหนาท ๒๐. พระมหาปันถกเถระ เป็นเลศิ ทางเจริญวปิ ัสสนา ๒๑. พระจูฬปันถกเถระ เป็นเลิศทางชาํ นาญมโนมยิทธิ ๒๒. พระโสณกุฏิกณั ณเถระ เป็ นเลิศทางแสดงธรรมไพเราะ ๒๓. พระสกุณฏกเถระ เป็นเลิศทางมเี สียงไพเราะ ๒๔. พระสุภูมเิ ถระ เป็นเลศิ ทางอรณวหิ ารและทกั ขเิ ณยยบคุ คล ๒๕. พระกงั ขาเรวตเถระ เป็นเลิศทางยินดีในฌานสมาบตั ิ ๒๖. พระวกั กลิเถระ เป็นเลศิ ทางศรทั ธาวิมตุ ติ ๒๗. พระกณุ ฑธานเถระ เป็นเลิศจบั สลากเป็นปฐม ๒๘. พระวงั คีสเถระ เป็นเลศิ ทางฉลาดในการผูกคาถา ๒๙. พระปิ ลนิ ทวจั ฉเถระ เป็นเลศิ ทางเป็นที่รกั ใคร่ของเทพยดา ๓๐. พระกุมารกสั สปเถระ เป็นเลิศแสดงเทศนาไดอ้ ยา่ งวิจิตร ๓๑. พระมหาโกฏฐิตเถระ เป็นเลิศทางแตกฉานในปฏิสมั ภิทา ๓๒. พระโสภิตเถระ เป็นเลศิ ทางชาํ นาญปพุ เพนิวาสญาณ ๓๓. พระนนั ทกเถระ เป็นเลศิ ทางให้โอวาทแกน่ างภิกษุณี ๓๔. พระศาคตเถระ เป็นเลศิ ทางฉลาดในเตโชกสิณ ๓๕. พระมหากปั ปิ นเถระ เป็นเลศิ ทางให้โอวาทแก่ภกิ ษุ ๓๖. พระอุปเสนเถระ เป็นเลศิ ทางยงั พหุชนให้เลื่อมใส ๓๗. พระขทิรวนิยเรวตเถระ เป็นเลิศทางอยปู่ ่ ากนั ดาร ๓๘. พระสีวลเี ถระ เป็นเลศิ ทางมีลาภมาก ๓๙. พระพาหิยทารุจิริยเถระ เป็ นเลิศทางตรัสรู้เร็ว ๔๐. พระพากลุ เถระ เป็นเลิศทางมีอาพาธนอ้ ย ๔๑. พระทพั พมลั ลบุตรเถระ เป็ นเลิศทางเสนาสนคาหาปกะ ภกิ ษณุ ีทไ่ี ดร้ บั เอตทคั คะมี ๑๓ รปู ดว้ ยกนั คอื ๑. พระนางมหาปชาบดีโคตมี เป็นเลศิ ทางรตั ตญั �ู ๒. พระนางเขมาเถรี เป็นเลิศทางมปี ัญญามาก ๓. พระนางอุบลวรรณาเถรี เป็นเลิศทางมฤี ทธ์ิมาก ๔. พระนางธรรมทินนาเถรี เป็นเลศิ ทางเป็นธรรมกถกึ ๕. พระนางปฏาจาราเถรี เป็นเลิศทางเป็นวนิ ยั ธร ๖. พระนางสกลุ าเถรี เป็นเลิศทางมีทพิ ยจกั ษุญาณ

อนพุ ุทธประวตั ิ ธรรมศึกษาช้ันโท ๒๗ ๗. พระนางกีสาโคตมเี ถรี เป็ นเลิศทางทรงจีวรเศร้าหมอง ๘. พระนางนนั ทาเถรี เป็นเลิศทางเพง่ ฌานสมาบตั ิ ๙. พระนางภทั ทากณุ ฑลเกสีเถรี เป็ นเลิศทางตรัสรู้เร็ว ๑๐. พระนางภทั ทกาปิ ลานีเถรี เป็นเลศิ ทางปพุ เพนิวาสนุสสติ ๑๑. พระนางโสณาเถรี เป็ นเลิศทางปรารภความเพียร ๑๒. พระนางสิงคาลมาตาเถรี เป็นเลศิ ทางศรัทธาวมิ ตุ ติ ๑๓. พระนางภทั ทากจั จานาเถรี เป็นเลศิ ทางบรรลมุ หาภญิ ญา ทบทวนกอ่ นสอบ ๑. อนุพุทธบุคคล คอื ใคร ? (พระสาวกของพระพทุ ธเจา้ ผูท้ ไี่ ดต้ รัสรู้ตาม) ๒. สังฆรตั นะ อุบตั ขิ ้นึ ในโลกเมอ่ื ไร?(เมื่อคร้งั พระพุทธเจา้ ทรงประกาศพระธรรมจกั รให้แผก่ ระจายไปคร้ังแรก) ๓. นกั เรียนจะปฏิบตั อิ ยา่ งไร จึงจะทาํ ให้พระศาสนาเจริญ ? ( ตอ้ งศกึ ษาเลา่ เรียนธรรมคาํ สอนของพระพุทธ เจา้ ให้ เขา้ ใจ เมื่อมผี ูไ้ มห่ วงั ดีต่อศาสนา มาสัง่ สอนใหผ้ ดิ หลกั ธรรม จะไดอ้ ธิบายถกู ตอ้ ง) ๔. พระสงฆท์ ีส่ ่งไปประกาศพระศาสนาคร้ังแรกน้นั มจี าํ นวนเทา่ ใด ?( ๖๐ รูป ) ๕. พระปัญจวคั คยี ท์ ้งั ๕ รูป รูปไหนบา้ งทไี่ ปประกาศพระศาสนาแลว้ ไดก้ ลุ บตุ รมาเป็นศษิ ย์ ? (พระอญั ญา โกณทญั ญะไดพ้ ระปุณณมนั ตานีบุตรมาเป็นศษิ ย์ พระอสั สชิไดพ้ ระสารีบตุ รมาเป็นศษิ ย์ ) ๖. การบวชดว้ ยวธิ ีเอหิภิกขอุ ุปสมั ปทา ที่ประทานแกพ่ ระอญั ญาโกณทญั ญะกบั ทป่ี ระทานแก่พระยสะเหมือนกนั หรือตา่ งกนั อยา่ งไร ? (ต่างกนั คอื ประทานแก่พระอญั ญาโกณทญั ญะว่า “เธอจงเป็นภิกษุมาเถิด ธรรมอนั เรา กล่าวดีแล้ว เธอจงประพฤติพรหมจรรย์ เพ่ือทาํ ที่สุดแห่งทกุ ข์โดยชอบเถิด” แต่ของพระยสะไม่มคี าํ ว่า “เพ่ือทาํ ทส่ี ุดแห่งทกุ ข์” เพราะสาํ เร็จอรหตั ตผล แต่ยงั ไม่บวช) ๗. พระอนุพทุ ธะรูปแรกและรูปสุดทา้ ยคือใคร ?(รูปแรก คือพระอญั ญาโกณทญั ญะ รูปสุดทา้ ย คอื พระสุภทั ทะ) ๘. พระอญั ญาโกณทญั ญะ รู้เห็นและเขา้ ใจอยา่ งไรกอ่ น จึงถือวา่ เป็นปฐมอริยสาวก ?(เห็นวา่ ส่ิงใดสิ่งหน่ึงมี ความ เกิดข้นึ เป็นธรรมดา ส่ิงน้นั ท้งั หมดมคี วามดบั เป็นธรรมดา) ๙. พระสารีบตุ ร ก่อนท่ีจะมาบวชในพระพทุ ธศาสนา เคยเป็นศษิ ยข์ องใครมาก่อน ? (เคยเป็นศษิ ยส์ ัญชยั ปริพพาชก) ๑๐. พระอานนทฟ์ ังธรรมจากใคร จึงไดบ้ รรลุโสดาปัตติผล ? (พระปุณณมนั ตานีบุตร) ๑๑. คร้งั แรกท่ีพระยสะมาพบพระพทุ ธเจา้ ทา่ นไดฟ้ ังธรรมอะไรก่อน ? (อนุปพุ พกิ ถา) ๑๒. คนมีลกั ษณะเช่นไร พระพทุ ธเจา้ จึงทรงแสดงอนุปพุ พกิ ถาใหฟ้ ัง ? (คนน้นั จะตอ้ งมลี กั ษณะ ๓ ประการ คือ ๑) เป็นมนุษย์ ๒) เป็นคฤหัสถ์ ๓) ตอ้ งมอี ปุ นิสยั แก่กลา้ พอทจ่ี ะบรรลธุ รรมได้ ณ ท่ีน้นั )

๒๘ อนุพุทธประวตั ิ ธรรมศึกษาช้ันโท ๑๓. พระสารีบุตร ท่ถี ือวา่ มปี ัญญามาก ทาํ ไมจึงบรรลพุ ระอรหัตตผล ทีหลงั บริวาร ? (เพราะมปี ัญญามากนนั่ แหละ จึงใชป้ ัญญาพจิ ารณาหาเหตผุ ลตรึกตรอง ดูให้แน่เสียกอ่ นจึงเชื่อ ไม่เช่ืออยา่ งงมงาย ท่านจึงบรรลุทีหลงั ) ๑๔. พระสารีบตุ รนิพพานทไ่ี หน เพื่ออะไร ? (ทบ่ี า้ นของท่านเอง เพือ่ โปรดมารดาของทา่ น) ๑๕. พระสารีบตุ รบรรลุอรหัตทไ่ี หน เพราะเทศนาอะไร ? (ท่ถี ้าํ สุกรขาตา เพราะเวทนาปริคคหสูตร) ๑๖. ใครท่ีไดช้ ่ือว่า พระธรรมเสนาบดี ? (พระสารีบตุ ร) ๑๗. ในการอนุเคราะห์ภกิ ษุท้งั หลาย พระสารีบตุ ร กบั พระโมคคลั ลานะ มีอุปมาอยา่ งไร ? (พระสารีบุตรเปรียบ เหมือนมารดาที่ใหก้ าํ เนิด พระโมคคลั ลานะ เปรียบเหมอื นแม่นม หรือแมเ่ ล้ียง) ๑๘. พระพทุ ธเจา้ ตรัสว่า “ตถาคตไม่สรรเสริญการคลกุ คลดี ว้ ยหมู่แต่สรรเสริญการอยใู่ นเสนาสนะอนั สงดั “ ดงั น้ีตรัสแก่ใคร ? (ตรัสแก่พระโมคคลั ลานะ) ๑๙. พระโมคคลั ลานะ นิพพานทีไ่ หน เพราะอะไร ? (ท่บี า้ นกาฬศลิ า แขวงมคธ เพราะถกู โจรทาํ ร้าย) ๒๐. พระสารีบุตร กบั พระโมคคลั ลานะ ใครนิพพานก่อน ? (พระสารีบุตรนิพพานก่อน ๑๕ วนั ) ๒๑. พระมหากสั สปะบา้ นเดิมอยทู่ ีไ่ หน ทา่ นพบพระพทุ ธเจา้ ที่ไหน ? (บา้ นมหาตฏิ ฐะ เมืองมคธ ไดพ้ บพร พุทธ เจา้ ที่ตน้ ไทร ช่ือวา่ พหุปตุ ตนิโครธ แดนระหว่างเมืองราชคฤหก์ บั นาลนั ทาตอ่ กนั ๒๒. โอวาท ๓ ขอ้ ทีพ่ ระพุทธเจา้ ประธานแก่ทา่ นมใี จความวา่ อยา่ งไร ? (มใี จความโดยยอ่ วา่ อยา่ งน้ี ๑) ใหม้ ีความเกรงใจในภิกษทุ ้งั หลาย ๒) ใหต้ ้งั ใจฟังธรรม แลว้ พิจารณาหาเหตผุ ล ๓) ใหม้ ีสติรู้ตวั ทกุ ขณะ ) ๒๓. ทา่ นถอื ธุดงค์ อะไรบา้ ง ? (ทา่ นถือธุดงค์ ๓ ขอ้ คอื ๑) ถือผา้ บงั สุกลุ เป็นวตั ร ๒) เทีย่ วบิณบาตรเป็นวตั ร ๓) อยปู่ ่ าเป็นวตั ร ) ๒๔. กษตั ริยอ์ อกบวช คอื ใคร ? ( พระภทั ทยิ ะ กบั พระมหากปั ปิ นะ) ๒๕. เศรษฐีออกบวช คือใคร ? ( พระยสะ ) ๒๖. ขา้ ราชการออกบวช คอื ใคร ? (พระมหากจั จายนะ ) ๒๗. นกั บวชออกบวช คอื ใคร ? ( พระโมฆราช ) ๒๘. ใครออกบวช เพราะศรทั ธา ? ( พระรัฏฐบาล ) ๒๙. ใครออกบวช เพราะเบ่อื หน่าย ? ( พระยสะ กบั พระมหากสั สปะ ) ๓๐. ใครออกบวช เพราะเพ่อื น ? (พระภทั ทิยศากยราช) ๓๑. ใครบวช เพราะจาํ ใจ ? (พระนนั ทะ) ๓๒. ใครบวช เพราะหมดทีพ่ ่ึง ? (พระราธะ) ๓๓. ใครออกบวช เพราะพี่ ? (พระจฬู ปันถกะ) ๓๔. ใครบวชเพราะหลง ? (พระวกั กลิ เพราะหลงในรูปของพระพทุ ธเจา้ ) ๓๕. ใครบวชเพราะตอ้ งการของวิเศษ ? (พระวงั คีสะ เพราะตอ้ งการเรียนมนต)์

อนพุ ุทธประวัติ ธรรมศึกษาชั้นโท ๒๙ ๓๖. พระมหากจั จายนะ มลี กั ษณะเป็นอยา่ งไร ? (เป็นคนรูปหลอ่ มาก ใครเห็นกช็ อบ ท่านเลยอธิษฐานให้เป็น คน อว้ น ไม่งามเหมอื นเดิม) ๓๗. พระมหากจั จายนะ แกพ้ ระเจา้ มธุรราช ว่าคน ๔ วรรณะเหมอื นกนั อยา่ งไร ? (แกว้ า่ เหมอื นกนั ดงั น้ี ๑) คนวรรณะใดกต็ าม ถา้ เป็นคนรวย คนวรรณะอ่ืนก็ตอ้ งการเขา้ เป็นพวกดว้ ยเหมอื นกนั ท้งั หมด ๒) คนวรรณะใดก็ตาม ถา้ ทาํ บาปอกศุ ล กเ็ ขา้ สู่อบายเหมอื นกนั หมด ๓) คนวรรณะใดกต็ าม ถา้ ทาํ ดีทาํ กุศลกรรม ก็เขา้ สู่คตเิ หมือนกนั หมด ๔) คนวรรณะใดกต็ าม ถา้ ทาํ ผิดกฎหมายบา้ นเมอื งก็ไดร้ ับโทษเหมอื นกนั หมด ๕) คนวรรณะใดกต็ าม ถา้ ทาํ ดี กไ็ ดร้ บั การยกยอ่ งเหมือนกนั หมด ดงั น้นั ท้งั ๔ วรรณะจึงมคี ่าเทา่ กนั ) ๓๘. พระสูตรไหนบา้ งทีท่ ่านไดก้ ล่าวไว้ ? (ภทั เทกรัตตสูตร, มธุรสูตร, มธุปิ ณฑิกสูตร, อทุ เทวิภงั คสูตร ฯลฯ ) ๓๙. พระมหากจั จายนะ เป็นอปุ ัชฌายข์ องใคร ? (พระโสณกฏุ ิกณั ณะ) ๔๐. ใครเป็นอาจารยข์ องมาณพ ๑๖ คนท่ีไปทลู ถามปัญหาพระพุทธเจา้ ? (พราหมณพ์ าวรี) ๔๑. หลงั จากที่พระพทุ ธเจา้ ทรงแกป้ ัญหาจบลง มาณพท้งั ๑๖ คนไดบ้ รรลุธรรมอะไรบา้ ง ? (ปิ งคยิ ะ ไดบ้ รรลุ โสดาบนั นอกน้นั บรรลอุ รหัตตผลหมด) ๔๒. มาณพท้งั ๑๖ คนมใี ครเป็นหวั หนา้ ? (อชิตมาณพ) ๔๓. เมอื่ ฟังธรรมแลว้ ใครกลบั ไปแจง้ ข่าวแก่อาจารย์ ? (ปิ งคิยมาณพ) ๔๔. มาณพท้งั ๑๖ คนใครไดร้ บั เอตหคั คะบา้ ง ? (โมฆราชคนเดียว เป็นเอตหคั คะทางทรงจีวรเศร้าหมอง) ๔๕. ใครบวชเป็นสามเณรรูปแรก ? (พระราหุล) ๔๖. ใครบวชดว้ ยวิธีไตรสรณคมน์รูปแรก และใครเป็นพระอปุ ัชฌาย์ ? (พระราหุล มพี ระสารีบตุ รเป็นอปุ ัชฌาย)์ ๔๗. ใครบวชดว้ ยญตั ติจตตุ ถกรรม เป็นรูปแรก และใครเป็นอปุ ัชฌาย์ ? (พระราธะ มีพระสารีบตุ รเป็นอุปัชฌาย)์ ๔๘. ใครเป็นคนทลู ห้ามไมใ่ ห้บวชคนทมี่ ารดาบดิ าไมอ่ นุญาต เพราะอะไร ? (พระเจา้ สุทโธทนะ เพราะพระองค์ เสีย พระทยั หนกั ในการท่พี ระททุ ธเจา้ บวชหลานชาย(พระราหุล)) ๔๙. พระอานนท์ เป็นอะไรกบั พระพุทธเจา้ ? (เป็นนอ้ งชาย) ๕๐. พระสาวกรูปใด บรรลมุ รรคผลแปลกทส่ี ุด ? (พระอานนท์ บรรลุโดยปราศจากอริ ิยาบถ ๔ ) ๕๑. พระสาวกรูปใด นิพพานแปลกทีส่ ุด ? (พระอานนท์ นิพพานบนอากาศ ทา่ มกลางแม่น้าํ โรหิณี ร่างกายแตก ออกเป็น ๒ ส่วน ตกลงคนละฝั่งแมน่ ้าํ ) ๕๒. พระอานนทไ์ ดร้ บั การยกยอ่ งก่ีทาง ? ( ๕ ทาง คอื เป็นพหูสูต, มีคติ, มสี ต,ิ มธี ิต,ิ และเป็นยอดของผอู้ ุปัฏฐาก) ๕๓. ใครเลือกให้พระอานนท์ เป็นผูอ้ ุปัฏฐากพระพุทธเจา้ ? (เป็นมติของสงฆ)์ ๕๔. อะไรบา้ งทีเ่ ป็นสหชาตกิ บั พระพทุ ธเจา้ ? (พระนางพมิ พา, พระฉันนะ, พระกาฬทุ าย,ี พระอานนท,์ มา้ กณั ฐกะ, ขุมทรพั ย,์ และตน้ ศรีมหาโพธ์ิ ๕๕. ใครบา้ งท่ีถกู แผ่นดินสูบ เพราะอะไร ? ๑) พระเจา้ สุปปพุทธะ(พอ่ พระเทวทตั ตแ์ ละนางพมิ พา) เพราะปิ ดทางบณิ ฑบาตรของพระพุทธเจา้

๓๐ อนพุ ุทธประวตั ิ ธรรมศึกษาชั้นโท ๒) พระเทวทตั ต์ เพราะทาํ โลหิตบุ าท เป็นตน้ ๓) นางจิญจมาณวิกา เพราะใส่ร้ายพระพทุ ธเจา้ ๔) นายนนั ทะ เพราะขม่ ขนื นางอุบลวรรณาเถรี ๕) นนั ทยกั ษ์ เพราะใส่ร้ายพระสารีบตุ ร ๕๖. พระรฐั บาลทาํ อยา่ งไรจึงไดอ้ อกบวช ? (อดอาหารประทว้ ง) ๕๗. ใครท่ีไดบ้ วชเป็นนางภกิ ษุณีรูปแรก ดว้ ยวิธีใด ? (พระนางมหาปชาบดีโคตมี ดว้ ยวิธีรับครุธรรม ๘ ประการ) ๕๘. เพราะอะไร พระพุทธเจา้ จึงไม่ตอ้ งการใหส้ ตรีอุปสมบท ? ( เพราะพรหมจรรยจ์ ะต้งั อยไู่ มไ่ ดน้ าน) ๕๙. นางภกิ ษณุ ี มีข้นึ ในพรรษาท่เี ทา่ ไร ? (ในพรรษาที่ ๕ ) การสงั คายนา การสังคายนา ก็คือการประชุมตรวจชาํ ระสอบทาน พระธรรมวินยั ใหเ้ ขา้ เป็นหม่เู ดียวกนั เพื่อประโยชน์ แก่การศึกษา การสังคายนาน้ีเมอ่ื จะนบั ต้งั แต่เม่อื ทาํ ในประเทศอนิ เดีย ศรีลงั กา พมา่ และไทย ก็มีหลายคร้งั ดว้ ยกนั ดงั มรี ายละเอียดดงั ต่อไปน้ี สงั คายนาครง้ั ท่ี ๑ (ในประเทศอนิ เดยี ) สืบเน่ืองมาจากเหตุทหี่ ลวงตารูปหน่ึง ช่ือวา่ สุภทั ทะ ไดพ้ ดู กบั พวกภิกษทุ ี่มคี วามเศร้าโศกเสียใจขณะทีไ่ ด้ ทราบข่าวว่าพระพุทธเจา้ ปรินิพพานแลว้ เมอื่ คร้ังพระมหากสั สปะพาเดินทางไปทาํ ศพของพระพุทธเจา้ โดยบอก ว่า “พระพทุ ธเจา้ ปรินิพพานนะดีแลว้ จะไมไ่ ดห้ า้ มอะไรเราอกี ต่อไปน้ีเราจะทาํ อะไรก็ได”้ ด้งั น้ี เมอ่ื ทาํ การเผา พระศพพระพุทธเจา้ แลว้ พระมหากสั สปะก็ไดป้ รารภเรื่องท่ีหลวงตาน้นั พดู ใหก้ บั คณะสงฆฟ์ ัง และเพ่ือหาทาง ป้องนั ไมใ่ หเ้ รื่องทาํ นองน้ีเกิดข้นึ อกี จึงไดน้ ดั ประชุมสงฆ์ เพ่ือทาํ การสังคายนาข้ึน การสังคายนาคร้งั น้ี - มพี ระมหากสั สปะเป็นประธานและเป็นผถู้ าม - มีพระอุบาลีเป็นผูต้ อบในดา้ นวนิ ยั - มีพระอานนทเ์ ป็นผตู้ อบในดา้ นธรรม - มีพระสงฆ์ (อรหนั ตท์ ้งั หมด) ร่วมประชุม ๕๐๐ รูป ทาํ อยู่ ๗ เดือนจึงสาํ เร็จ ไดพ้ ระ เจา้ อชาตศตั รูเป็นผใู้ หก้ ารอปุ ถมั ภ์ ทาํ ทีถ่ ้าํ สตั ตบรรณคหู า ขา้ งภเู ขาเวภาระใกลก้ รุงราชคฤห์ การสงั คายนาครงั้ ท่ี ๒ (ในประเทศอนิ เดยี ) การสงั คายนาคร้ังน้ีปรารภเหตทุ ภี่ ิกษวุ ชั ชีบตุ ร ในเมืองไพศาลีไดป้ ระพฤตยิ อ่ หยอ่ นพระธรรมวินยั ๑๐ ขอ้ เช่น ตะวนั บา่ ยไปแลว้ ๒ นิ้ว ก็ฉนั อาหารได้ เป็นตน้

อนพุ ุทธประวัติ ธรรมศึกษาชั้นโท ๓๑ เพอ่ื ที่จะช้ีแจงให้เขา้ ใจกนั โดยถูกตอ้ ง พระยสกากณั ฑกบตุ ร ไดช้ กั ชวนพระเถระท้งั หลายทาํ สงั คายนาข้นึ โดยมพี ระเรวตะเป็นผูถ้ าม พระสัพพกามีเป็นผูต้ อบปัญหาในทางวินยั ที่เกิดข้นึ มพี ระสงฆร์ ่วมประชุม ๗๐๐ รูป ทาํ ทว่ี าลิการาม เมอื งไพศาลี แควน้ วชั ชี ทาํ อยู่ ๘ เดือน เม่อื พ.ศ.๑๐๐ ไดม้ ีพระจา้ กาลาโศกราชเป็นองค์ อปุ ถมั ภ์ การสงั คายนาครงั้ ท่ี ๓ (ในประเทศอนิ เดยี ) การทาํ สังคายนาคร้ังน้ี สาเหตกุ ็คอื ปรารภเหตทุ ค่ี นนอกศาสนาปลอมบวชกนั มาก เพราะหวงั ลาถคน เหล่าน้นั เมอื่ มาบวชก็ยงั มคี วามเชื่อตามศาสนาเดิมของตนอยู่ และไดส้ อนผูค้ นไปตามความเช่ือน้นั ทาํ ให้คนตา่ ง พากนั สอนไปตามความเช่ือของคน จึงทาํ ใหพ้ ระสงฆแ์ ทไ้ ม่ยอมลงอโุ บสถสังฆกรรมร่วมกบั ภิกษุปลอมเหล่าน้นั อยนู่ านหลายปี พระเจา้ อโศกจึงใชอ้ าํ นายกาํ จดั พระปลอมเหล่าน้นั ให้สึกไปถงึ ๖๐,๐๐๐ คน จากน้นั พระโมคคลั ลบี ตุ รติสสเถระ จึงไดร้ วบรวมพระสงฆท์ าํ สงั คายนาข้ึน โดยมีท่านเองเป็นผถู้ าม พระมชั ฌนั ติกเถระ และพระ มหาเทวเถระเป็นผูแ้ ก้ มีพระสงฆร์ ่วมประชุม ๑,๐๐๐ รูป ทาํ ที่อโศการาม เมืองปาตลีบุตร เมื่อ พ.ศ.๒๓๔ ทาํ อยู่ ๙ เดือนจึงสาํ เร็จ มเี จา้ อโศกมหาราช (ศรีธรรมาโศกราช)เป็นผอู้ ุปถมั ภ์ เม่อื เสร็จการสงั คายนาคร้งั น้ีแลว้ พระเจา้ อโศกไดส้ ่งพระสงฆอ์ อกไปประกาศพระศาสนาในตา่ งแดน ท้งั หมด ๙ สายดว้ ยกนั สายหน่ึงไดเ้ ดินทางมาประกาศพระศาสนาแถบประเทศไทยเรา(สุวรรณภูม)ิ มีหัวหนา้ ๒ รูป คือ พระโสภณะ กบั พระอตุ ตระ ไทยเราจึงไดร้ ับศาสนาพุทธต้งั แต่น้นั เป็นตน้ มา การสังคายนาคร้ังท่ี ๔ (ในลงั กา) หลงั จากการสงั คายนาคร้ังที่ ๓ แลว้ พระเจา้ อโศกไดส้ ่งพระไปประกาศพระศาสนาในต่างแดน สายหน่ึง โดยการนาํ ของพระมหินทเถระ ซ่ึงเป็นบุตรของพระเจา้ อโศกเอง ไดไ้ ปยงั ประเทศศรีลงั กา(กงั ลาทวีป)ในปัจจบุ นั น้ี ไปถึงทา่ นไดแ้ สดงธรรมแก่พระเจา้ เทวานมั ปิ ยติสสเถระเลอ่ื มใส และอาศยั ความใคร่จะให้ศาสนามนั่ คงในลงั กา น้ีท่านจึงรวมพระสงฆข์ ้ึนทาํ สังคายนา โดยทา่ นเองเป็นประธานและเป็นผถู้ าม พระอริฏฐ เป็นผูแ้ ก้ มีพระสงฆ์ ร่วมประชุม ๖๘,๐๐๐ รูป ทาํ ทีถ่ ปู าราม เมอื งอนุราธบุรี เม่อื พ.ศ. ๒๓๖ ทาํ อยู่ ๑๐ เดือนจึงสาํ เร็จ ไดม้ พี ระเจา้ เทวานมั ปิ ยติสสะ เป็นผอู้ ุปถมั ภ์ การสงั คายนาครง้ั ที่ ๕ (ในลงั กา) ในการสังคายนาในคร้งั น้ี ปรารภเหตุท่วี า่ ตอ่ ไปในอนาคตจะมีผูท้ อ่ งจาํ พระพทุ ธพจนไ์ ดน้ อ้ ย และอาจจะมี ขอ้ วปิ ริตผดิ พลาดไดง้ า่ ย เพราะฉะน้นั เพอ่ื ป้องกนั ไมใ่ หพ้ ระธรรมวนิ ยั ผดิ พลาดจึงไดต้ กลงกนั วา่ ควรจารึกคาํ สอนลงในใบลานคร้ังน้ี ไดม้ พี ระพทุ ธธตั ตะ เป็นประธาน มีพระสงฆเ์ ขา้ ร่วมประชุม ๕๐๐ รูป ทาํ ที่อาโสกเลณ สถานในมลยั ชนบท ในประเทศศรีลงั กา เมือ่ พ.ศ. ๔๕๐ ไดพ้ ระเจา้ วฏั ฏคามนิ ีอภยั เป็นผอู้ ุปถมั ภ์ ทาํ อยู่ ๑ ปี จึง สาํ เร็จ

๓๒ อนพุ ุทธประวตั ิ ธรรมศึกษาชั้นโท เรอ่ื งทีค่ วรรู้ ๑. การทาํ สงั คายนาคร้งั ที่ ๑ ถึงคร้ังท่ี ๕ ปรารภเหตุอะไร ? คร้งั ที่ ๑ ปรารภสุภทั ทะกลา่ วจว้ งจาบพระธรรมวนิ ยั คร้งั ที่ ๒ ปรารภภกิ ษุวชั ชีบุตรแสดงวตั ถุ ๑๐ ประการ คร้งั ที่ ๓ ปรารภเดียรถยี ป์ ลอมบวช คร้งั ท่ี ๔ ปรารภให้ศาสนามนั่ คงในอินเดีย คร้งั ท่ี ๕ ปรารภเพอ่ื จารึกคาํ สอนลงในใบลาน ๒. ในการทาํ สังคายนาแตล่ ะคร้ัง ใชเ้ วลานานเท่าไร ? คร้งั ที่ ๑ ใช้เวลา ๗ เดือน คร้งั ที่ ๒ ใชเ้ วลา ๘ เดือน คร้งั ที่ ๓ ใชเ้ วลา ๙ เดือน คร้งั ท่ี ๔ ใชเ้ วลา ๑๐ เดือน คร้งั ที่ ๕ ใช้เวลา ๑๒ เดือน (๑ ปี ) ๓. ในการทาํ สงั คายนาแต่ละคร้งั มพี ระสงฆเ์ ขา้ ร่วมประชุมคร้ังละเทา่ ไร ? คร้งั ท่ี ๑ มีพระสงฆ์ ๕๐๐ รูป คร้งั ท่ี ๒ มพี ระสงฆ์ ๗๐๐ รูป คร้ังที่ ๓ มพี ระสงฆ์ ๑,๐๐๐ รูป คร้งั ท่ี ๔ มีพระสงฆ์ ๖๘,๐๐๐ รูป คร้งั ท่ี ๕ มีพระสงฆ์ ๕๐๐ รูป ๔. ในการทาํ สงั คายนาแต่ละคร้งั มีใครเป็นประธาน ? คร้งั ท่ี ๑ พระมหากสั สปะ เป็นประธาน คร้งั ที่ ๒ พระยสะ กากณั ฑากบตุ ร เป็นประธาน คร้งั ท่ี ๓ พระโมคคลั ลีบุตร เป็นประธาน คร้งั ท่ี ๔ พระมหินทเถระ เป็นประธาน คร้งั ที่ ๕ พระพทุ ธทตั ตะ เป็นประธาน ๕. ในฝ่ ายฆราวาส มใี ครให้การอปุ ถมั ภใ์ นการทาํ สังคายนาแต่ละคร้ัง ? คร้งั ที่ ๑ พระเจา้ อชาตศตั รู อปุ ถมั ภ์ คร้งั ที่ ๒ พระเจา้ กาลาโศกราช อุปถมั ภ์ คร้งั ท่ี ๓ พระเจา้ อโศกมหาราช อุปถมั ภ์ คร้งั ท่ี ๔ พระเจา้ เทวานมั ปิ ยติสสะ อปุ ถมั ภ์

อนพุ ทุ ธประวัติ ธรรมศึกษาชั้นโท ๓๓ คร้งั ที่ ๕ พระเจา้ วฏั ฏคามนิ ีอภยั อุปถมั ภ์ ๖. การสังคายนาในประเทศอนิ เดีย ท้งั หมดทม่ี ีการรับรองและไม่รับรองก่ีคร้ัง ?( ๔ คร้งั พ.ศ.๓,๑๐๐,๒๓๔, ๖๔๓) ๗. ในลงั กา มที ้งั หมดก่ีคร้ัง ? ( ๓ คร้งั พ.ศ. ๒๓๘ - ๔๕๐ - ๒๔๐๘) ๘. พม่า ท้งั หมดกี่คร้ัง ? ( ๒ คร้งั พ.ศ. ๒๔๑๔ - ๒๔๙๗ ) ๙. ในไทยเรามีการสังคายนาก่ีคร้ัง ? (๕ คร้งั พ.ศ. ๒๐๒๐ - ๒๓๓๑(ร.๑)๒๔๓๖(ร.๕) ๒๔๖๘(ร.๗) ๒๕๒๘(ร.๙) ๑๐. ลองบอกเรื่องราวเกี่ยวกบั พระไตรปิ ฎกในเมืองไทยมาพอสงั เขป ? คร้งั ท่ี ๑ ชาํ ระและจารึกลงในใบลานทาํ ท่เี ชียงใหม่ สมยั พระเจา้ โลกราช พ.ศ. ๒๐๒๐ คร้งั ท่ี ๒ ชาํ ระและจารึกลงในใบลานทาํ ที่วดั มหาธาตุ กรุงเทพฯ สมยั รชั กาลท่ี ๑ พ.ศ. ๒๓๓๑ คร้งั ท่ี ๓ ชาํ ระและพิมพเ์ ป็นเลม่ ทาํ ท่ีกรุงเทพฯ สมยั รชั กาลที่ ๕ พ.ศ. ๒๔๓๑ ถงึ พ.ศ. ๒๔๓๖ คร้งั ที่ ๔ ชาํ ระและพิมพเ์ ป็นเล่ม ทาํ ท่กี รุงเทพฯ สมยั รชั กาลท่ี ๗ พ.ศ. ๒๔๖๘ ถึง พ.ศ. ๒๔๗๓ คร้งั ที่ ๕ ชาํ ระและพิมพเ์ ป็นเลม่ ทาํ ท่ีกรุงเทพฯ สมยั รชั กาลท่ี ๙ พ.ศ. ๒๕๒๘ เพือ่ เป็นการฉลอง ๖๐ พรรษาของพระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหาภมู ิพลอดุลยเดชฯ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook