Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หนังสือเรียนธรรมศึกษาตรีพระธีรวัฒน์ จนฺทโสภโณ

หนังสือเรียนธรรมศึกษาตรีพระธีรวัฒน์ จนฺทโสภโณ

Published by suttasilo, 2021-06-26 01:06:06

Description: หนังสือเรียนธรรมศึกษาตรีพระธีรวัฒน์ จนฺทโสภโณ

Keywords: หนังสือเรียน,ธรรมศึกษาตรี,พระธีรวัฒน์ จนฺทโสภโณ

Search

Read the Text Version

0

1 วิชา กระทธู รรม บทนำ การเรยี งความแกกระทธู รรม เปนการแสดงออกซึง่ ความรู ความเขาใจ ความคิด และ ความรสู ึก ของผเู ขยี นซงึ่ ไดม าจากการศกึ ษาวชิ าธรรมะ พทุ ธะ และเบญจศลี เบญจธรรม วาสามารถจะ ถา ยทอดความรู ความเขาใจ ความคิด และความรสู ึกออกไปสผู อู ื่นไดดีหรอื ไม การเรียนรวู ชิ าธรรมะ พุทธะ และเบญจศีลเบญจธรรม เปรียบเหมอื นนักเรียนไปเก็บเอา ดอกไมท่ีตางสี ตางขนาด มากองรวมกนั ไว สว นการเรียงความแกกระทูธรรม เปรียบเหมอื น นกั เรียนคัดเอาดอกไมเ หลานน้ั มาปกแจกัน จะทำไดส วยงามแคไ หน กข็ ้นึ อยูกบั ความสามารถของแต ละคน ท่ีจะแตงอยางไร ตามหลักธรรมคำสอนในพระพุทธศาสนา การเขียนหรือการพดู ทีจ่ ัดวาดนี นั้ ตอ งเกิด ประโยชนแกผอู านหรอื ผูฟง ๔ ประการ คอื ๑. ไดความรคู วามเขา ใจ ๒. เกิดความเลือ่ มใสใครปฏบิ ัติ ตาม ๓. กลาทำความดี ๔. มีความบันเทิงใจ ไมเบ่ือหนา ย ๑. ผูอา นหรือผูฟง จะไดรับความรู ความเขาใจนน้ั ผเู ขยี นและผูพูดจะตอ งมคี วามรู ความเขาใจในเรื่องน้นั เปนอยา งดีเสยี กอน สรุป ส้ัน ๆ คอื จำได เขาใจชดั ปฏบิ ัติถกู ตอง ๒. ผอู านหรือผฟู ง จะเกิดความเลอ่ื มใส ใครปฏิบตั ิตาม ผูเขียนหรือผูพูดจะตอ งชแ้ี จงใหเ หน็ โทษของการไมปฏบิ ัตอิ ยา งน้ันวา ไมด ีอยางไร ๓. ผอู านหรอื ผูฟงจะกลา ทำความดี ผเู ขยี นหรือผพู ูด จะตอ งชี้แจงใหเหน็ คุณคาหรอื ประโยชนข องการปฏบิ ตั ิอยา งนน้ั วา ดีอยางไร ๔. ผูอ า นหรอื ผูฟง จะมีความบนั เทงิ ใจ ไมเบ่อื หนาย กเ็ พราะไดร บั ความรูความเขาใจ เห็นโทษของการไมปฏบิ ัติ และเห็นคณุ ประโยชนข องการปฏบิ ัติน้ัน ๆ น่นั เอง ฉะน้ัน วิชากระทูธ รรมจงึ เปน วชิ าท่สี ำคญั นาศกึ ษาวชิ าหนึง่ เพราะเปนการเอาวชิ าทีเ่ รยี นแลว มา ประตดิ ประตอ ใหไ ดใ จความสอดคลองกบั กระทูธรรมตามท่ีสนามหลวงออกมา เปน การแสดงใหเ หน็ ถึงความรู ความเขาใจ ความคิดและความรูสกึ ท่ีแทจ รงิ ของผูเ ขยี น และเปนเหตุใหเกดิ ความรูความเขา ใจ ความคิด และความรูสึกแกผูอ่นื ดวย นกั เรียนจึงควรเอาใจใสฝกคดิ ฝกเขยี น ฝกพูดบอ ย ๆ จะ ไดเ ปนคนดีมี ความสามารถ โปรดนึกถงึ พุทธภาษิตบทหนง่ึ อยูเสมอวา ทนโ ต เสฏโฐมนุสเสสุ ผูฝกฝนตน (อยูเสมอ) เปนผปู ระเสรฐิ ทสี่ ุดในมวลมนุษย วชิ า กระทูธ รรม การใชภาษาในการพรรณนาแกกระทูธ รรม พระธีรวัฒน์ จนฺทโสภโณ : วดั ไผ่เงนิ โชตนาราม | ธรรมช้ันตรี 1

2 ในการเขียนเรียงความแกกระทูน้ัน ผูเขียนจะตองพิถีพิถันในดานการใชภาษาใหมาก จะตองเขียนอยา งประณีต ไมใชเพียงเขยี นเพียงใหเ ต็มๆหนาเทา น้ัน ตอ งคำนงึ ถงึ ภาษาท่ีใชด วย กลาวคือภาษาที่ใชต อ งเปนภาษาเขยี น ไมใชภาษาพูด เชนไมควรใชคำวา “ชั้น” “เคา ” “เปน ไง” “ยังเง้ียะ” “ปวดหมอง” “ตังค” ในท่ีน้ีควรเขียนวา \"ฉัน\" \"เขา\" \"เปนอยา งไร\" \"อยางนี้\" ฯลฯ หรอื ไมใชคำแสลง คือคำท่ีใชผ ิดแปลกไปจากปกติ เชน “อื้อซา” “น้ิงไปเลย” “ขาโจ” “ส.บ.ม.ย.ห.” ฯลฯ และไมควรเขยี นแบบใชภาษาไทยปนภาษาตางประเทศ เชน “ประเดยี๋ วจะเซอรไ พรซ” “โอเค นะจะ ” “อเมซิง่ จรงิ ๆ” “มี การคอรัปชั่น” ฯลฯ ซึ่งบางทผี ูเขียนอาจเห็นวาการเขียนเชนนี้ แสดงวา ตนเปนผูมีความรูสงู แตน ่ันหาช่อื วาเปนการเขียน เรียงความที่ดีไม รวมไปถึงไมใชคำพื้นเมืองหรือภาษาทองถ่ิน เชน “บอไป” “เวา” “แซบ” ฯลฯ และไมใชภาษา หนังสือพิมพ เชน “เปดอก” “เปดศึกขย้ี” “พลิกโผ” “แฉส้ิน” ตำรวจปนโหดฆาสามชีวิตที่ทาบอ” ฯลฯ เปนตน แต อยางไรก็ตามในช้ันนี้ทานไมไดเครงครัดการใชภาษานัก เพียงแตกำหนดใหใชภาษาตามสมัยนิยมไดอยางถูกตอ ง เหมาะก็ ถอื วา ใชไดแ ลว การเรียบเรียงเร่ืองราว ก็ควรเปนไปตามลำดับกอนหลังไมวกวนไปมาจนนาเวียนหัว เพราะฉะนั้นในเวลาจะเขียน เรียงความแกกระทูธรรมขอใดก็ตาม ผูหัดเขียนใหมๆ จึงควรวางโครงเร่ืองท่ีจะเขียนใหดีเสียกอน แลวเขียนใหเปนไป ตามลำดบั ขั้นตอนของเรือ่ งท่วี างไว เรียงความแกกระทูธรรมที่ไดคะแนนนอย สวนมากจะมีขอบกพรองตางๆ หลายประการ เชนอธิบาย เนื้อความของกระทูต้ัง ผิดจากความมุงหมายของกระทูธรรมน้ันบาง อธิบายความสบั สนวกไปวนมาเสยี บาง ไมมีสรุปความบาง ใชภาษาไมถูกตองและใชถอยคำไมเหมาะสมบาง นอกจากนั้นแลว ยังมีขอบกพรองซ่ึง ประกอบดว ยลกั ษณะตา งๆอีก คอื ๑. ไมอา งกระทธู รรมมาเชือ่ มขอ ความท่ตี างกนั ๒. อธบิ ายความไมสมเหตสุ มผลกับกระทูท ีต่ งั้ ไว ๓. เขยี นขอความโดยไมมีการเวน ระยะวรรคตอน หรอื เวน ระยะวรรคตอนไมถ ูกตอง ๔. เขียนขอ ความโดยไมมกี ารยอหนา หรือยอหนาเอาตามความพอใจ โดยยังไมท นั ส้นิ กระแสความ ๕. นำกระทธู รรมมาเช่อื ม โดยไมอ า งถงึ ขอความของกระทูธ รรมนั้นกอ น ๖. ไมบ อกชื่อคมั ภรี ทม่ี าของกระทูธ รรมทีน่ ำมารับ หรือบอกชื่อคัมภรี ผดิ พลาด ๗. เขยี นคำบาลแี ละคำแปลภาษาไทยไมถ กู ตอ ง หรอื ขาดตกบกพรอ ง ๘. เขียนตวั สะกด การันต ผิดพลาดมาก ๙. เขยี นหนังสือสกปรก โดยมีการขดี ฆา ขูดลบ ปรากฏอยทู ัว่ ไป ๑๐. แตง ไมไดตามกำหนด (๒ หนา กระดาษ เวนบรรทดั ข้ึนไป) หลักการอา นภาษาบาลเี บื้องตน ๑. พยัญชนะตัวโดดๆ ท่ีไมม ีสระใดๆ ปรากฏอยูเลย ใหอ อกเสยี ง “อะ” แตถ าพยญั ชนะตัวใดมสี ระปรากฏอยู ใหออกเสียง ตามสระนนั้ ๆ เชน สามเณร อา นวา สา-มะ-เน-ระ ภควโต อา นวา ภะ-คะ-วะ-โต อรหํ อานวา อะ-ระ-หัง ๒. เครื่องหมายพนิ ทุ( . ) จุดปรากกอยใู ตพ ยญั ชนะตวั ใด มีวธิ ีอา นดังน้ี ๒.๑ ถาเครื่องหมายพินทุอยูใตพยัญชนะตัวใด ใหเครื่องหมายพินทุ หมายถึง ไมหันอากาศ (ในกรณีที่ พยัญชนะขางหนาตวั น้นั ไมมสี ระใดๆ) เชน พระธรี วัฒน์ จนฺทโสภโณ : วัดไผ่เงนิ โชตนาราม | ธรรมช้ันตรี 2

3 สงฆฺ สสฺ อา นวา สัง-คสั -สะ อตฺตา หิ อตตฺ โน อานวา อตั -ตา-หิ-อัต-ตะ-โน ๒.๒ ถาพยัญชนะตัวหนาของพยัญชนะตัวที่มีเครื่องหมายพินทุ มีสระปรากฏอยู ใหเครื่องหมายพินทุ เปนตัวสะกด (คือ อานอยา งภาษาไทย) เชน ภิกขฺ ุสงฺโฆ อานวา พิก-ข-ุ สัง-โค เหสุนตฺ ิ อา นวา เห-สุน-ติ ปรสิ ทุ โฺ ธ อานวา ปะ-ริ-สดุ -โท ๒.๓ ถาเคร่ืองหมายพินทุอยูใตพยญั ชนะตัวแรกของคำ ใหอ านออกเสยี งพยญั ชนะตวั นั้นกง่ึ เสียง คอื ใหอ อกเสียงพยญั ชนะ ตวั นัน้ เร็วๆ เชน ตวฺ า อา นวา ตะฺ วา เทฺวเม อานวา ทฺะเว-เม สวฺ ากฺขาโต อานวา สะฺ วาก-ขา-โต (บทไหวพระตอนเชา -เย็น นักเรยี นมักกลา วเพ้ียนกันวา “ซา-หฺวาก-ขา-โต..”) ๓. เครอ่ื งหมายนิคคหิต( ํ ) อยเู หนือพยัญชนะตวั ใด มวี ิธอี า นดังนี้ ๓.๑ ถาเครือ่ งหมายนิคคหิตอยูเหนือพยญั ชนะตวั ใดๆ ใหเคร่ืองหมายนิคคหติ อา นออกเสียง “อัง” (ในกรณีท่ี พยญั ชนะตัวนัน้ ไมม ีสระตวั ใดๆปรากฏอยูก อนแลว ) เชน สงฆฺ ํ นมามิ อา นวา สัง-คงั -นะ-มา-มิ อรหํ สมมฺ า อา นวา อะ-ระ-หงั -สัม-มา ๓.๒ ถาพยัญชนะตัวนัน้ มสี ระปรากฏควบคูพ รอมกับเคร่ืองหมายนคิ คหิต ใหเคร่ืองหมายนิคคหิต หมายถึง ง. งู สะกด ใหอ า นออกเสียงตามสระนั้นๆ เชน นปสุ กลิงฺคํ อานวา นะ-ปุง-สะ-กะ-ลงิ -คัง สตึ กึ อา นวา สะ-ตงิ -กงิ วิสุ รกขฺ ณตฺถาย อา นวา วิ-สุง-รกั -ขะ-นัต-ถา-ยะ หลกั เกณฑการแตง กระทู ผจู ะแตงกระทู จำเปน จะตอ งทราบหลักเกณฑในการแตง กระทูกอน หลกั เกณฑในการแตง กระทูน้ัน ผูศึกษาพึงทราบตามทส่ี นามหลวงแผนกธรรมไดวางเปนหลักเอาไวดงั ขอ ความวา แตง อธิบายใหส มเหตุสมผล อา งสภุ าษิตอื่นมาประกอบดวย ๑ ขอ และบอกชอื่ คมั ภีรทม่ี าแหง สุภาษิตนนั้ ดวย สุภาษติ ท่ีอางมาน้นั ตองเรียงเชื่อมความใหสนทิ ติดตอ สมกับกระทูต้งั ชน้ั น้ี (ธรรมศกึ ษาชนั้ ตรี) กำหนดใหเขยี นลงในใบตอบ ตง้ั แต ๒ หนา (เวน บรรทดั ) ข้ึนไป พระธรี วฒั น์ จนฺทโสภโณ : วดั ไผ่เงนิ โชตนาราม | ธรรมช้ันตรี 3

4 วิธกี ารแตง กระทู เมอ่ื ทราบหลกั เกณฑก ารแตงกระทูโดยยอ แลว ตอไปควรทราบวธิ ีการแตง วธิ ีการแตง กระทมู ี องคประกอบใหญ ๆ ๓ อยา ง คอื ๑. คำเร่ิมตน ไดแกค ำวา บดั น้ี จักอธบิ ายขยายความธรรมภาษิต ท่ีไดย กขน้ึ นิกเขปบท เพื่อเปนแนวทางแหงการศึกษา และปฏิบตั ิธรรมตามสมควรแกเ วลา หรืออื่นใดตามท่เี หมาะสม ๒. คำขยายความ คอื อธิบายเน้อื ความแหง ธรรมภาษิต ซ่ึงเปนกระทูป ญหา พรอ มท้งั อา งสุภาษิตอื่นมาประกอบอยา งนอย ๑ ขอ พรอ มท้งั บอกที่มาใหถูกตอง ๓. คำลงทา ย คอื สรุปเน้อื ความทไ่ี ดอ ธิบายมาแลว โดยยออกี คร้งั หนึง่ ใหส อดคลองกบั กระทู ปญ หา จบลงดว ยคำวา สมกับธรรมภาษิตวา ……….หรือ พระพทุ ธองคจึงตรัสวา………. ตามความเหมาะสม (ชอ งวางท่เี วนไวห มายถงึ กระทูปญหาพรอมทง้ั คำแปล) ๘ ขน้ั ตอนการเขียนกระทธู รรมตรี การแตงกระทธู รรมช้นั ตรี จะมขี ้นั ตอนหลักๆ อยู ๘ ขั้นตอนใหญ จะเหน็ วามีตัวเลข กำกบั อยดู า นหนา หมายถึงข้นั ตอนท่ตี อ งเขียนดังนี้ ขั้นตอนที่ ๑ เขยี น \"สุภาษิตบทตง้ั พรอมคำแปล\" เปน สุภาษิตท่ีสนามหลวงกำใหเ ปน โจทย ตอ งเขียนไว ก่งึ กลางหนากระดาษ พระธรี วัฒน์ จนฺทโสภโณ : วดั ไผ่เงินโชตนาราม | ธรรมช้ันตรี 4

5 ขั้นตอนที่ ๒ ยอหนา เขยี น คำนำหรืออารมั ภบท คอื เขียนคำวา \"บัดนี้ จักได ...สืบตอ ไป\" ขน้ั ตอนท่ี ๓ ยอ หนาเขยี น อธบิ ายเนอ้ื ความสุภาษิตบทตง้ั ประมาณ ๘-๑๕ บรรทดั จากนน้ั ตอ ดว ยคำ \"สม ดงั สุภาษติ ทม่ี าใน ...วา\" เชน \"สมดังสุภาษติ ทมี่ าใน ขุทฺทกนกิ าย ธรรมบท วา\" ตอ งปดดวย คำวา \"วา\" เสมอ เปนการบอกท่ีมาของสุภาษติ เชื่อมกอนจะเขียนในขนั้ ที่ ๔ ขั้นตอนท่ี ๔ เขยี น สุภาษิตเช่อื มพรอมคำแปล เปน สุภาษิตทเ่ี ราจำมาเอง ใหอ ยูก่ึงกลางและตรงกับ สภุ าษิตบทตัง้ ดวย ขน้ั ตอนที่ ๕ ยอ หนาเขยี น อธิบายเนอื้ ความสุภาษิตเชอ่ื ม ประมาณ ๘-๑๕ บรรทดั ขั้นตอนท่ี ๖ ยอหนา เขียน สรปุ ความกระทธู รรม ใหไ ดใจความสาระสำคัญ ประมาณ ๕-๖ บรรทัด เม่ือ สรปุ เสร็จแลว ตองเขียนตอ ดว ยคำวา \"สมดงั สุภาษิตที่ยกข้ึนเปน นกิ เขปบทเบอื้ งตน วา ขัน้ ตอนที่ ๗ ใหยกสุภาษิตบทตัง้ พรอ มคำแปล มาเขียนปด อีกครั้งหนงึ่ และจะตอ งเขียนใหอยกู ่ึงกลาง ตรงกันพอกบั สภุ าษิตเชอื่ ม ขั้นตอนที่ ๘ บรรทัดสุดทา ยเขยี นคำวา \"มีนัยดังพรรณนามาดว ยประการฉะน\"้ี เพอื่ ปด การเขยี นเรยี งแก กระทูธ รรมท้ังหมด สำคัญ : ตั้งแตข ั้นตอนที่ ๑ จนถึง ๘ ตอ งเขยี น \"เวนบรรทดั ทุกบรรทัด\" พระธรี วัฒน์ จนฺทโสภโณ : วัดไผ่เงนิ โชตนาราม | ธรรมช้ันตรี 5

6 พระธรี วฒั น์ จนฺทโสภโณ : วดั ไผ่เงนิ โชตนาราม | ธรรมช้ันตรี 6

7 ตัวอยางการวางรปู แบบเรยี งความแกก ระทธู รรม ........................................................ (ภาษิตภาษาบาล)ี ........................................................ (คำแปลภาษาไทย) (คำนำ) บัดน้ี จกั ไดอ ธิบายขยายเน้ือความแหงกระทูธรรมสุภาษิตทีไ่ ดลขิ ิตไว ณ เบื้องตน พอเปนแนวทางแหง การศึกษาและปฏิบตั ิ เปน ลำดบั ไป (อธบิ ายเน้ือความ) ....................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................................................ ...............................................................................................................................……………………… สมดว ยธรรมสภุ าษติ ท่มี าใน............................................................................ ความวา ..............................................................(ภาษิตทย่ี กมาอาง) .............................................................. (คำแปล) (อธิบายเนื้อความ) ....................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................................................ ........................................................ ฯ (สรุปความ).................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................................................ ................................................................................................ สมดังประพันธธรรมสุภาษิตที่ไดยกมาเปนนิกเขปบท ณ เบ้ืองตน วา(ยกภาษิตที่กลาวเบื้องตนมากลาวอีก ครัง้ ).................................. ............................................................................ ดงั มีอรรถาธิบายมา ดวยประการฉะน.ี้ พระธีรวฒั น์ จนฺทโสภโณ : วดั ไผ่เงินโชตนาราม | ธรรมช้ันตรี 7

8 ตวั อยางกระทธู รรม ธรรมศึกษาช้นั ตรี กระทธู รรม ธรรมศึกษาชัน้ ตรี สอบในสนามหลวง วนั ที่ ………พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๔๖ พาลา หเว นปปฺ สํสนฺติ ทานํ คนพาลเทานน้ั ยอมไมสรรเสรญิ ทาน บัดน้ี จักไดอธิบายความแหงกระทูธรรม ตามกฎเกณฑท ่ีกำหนดไว เพอ่ื เปน แนวทางแหง การศึกษา และปฏิบัตธิ รรมตามสมควรแกธรรม สำหรบั ผูสนใจใครธ รรมทกุ ทา น ทาน หมายถึงการบรจิ าคส่ิงของของตน คอื อาหาร นำ้ ด่ืม เส้ือผา ผาหม ที่อยูอาศัย ยารักษาโรค และของใชทีจ่ ำเปนแกชีวิต ใหแ กผูอนื่ ดวยวัตถปุ ระสงค ๒ ประการคือ ๑. เพ่อื ชว ยเหลอื เพ่อื อุดหนนุ บุคคลผูไมม หี รือผขู าดแคลนสิ่งเหลานน้ั เชน ผปู ระสบภยั นำ้ ทวม ไฟไหม เด็กกำพรา คนชรา เปนตน ๒. เพอื่ บูชาคุณความดีของผทู รงศีล ทรงธรรม ตัวอยา งเชน พระสงฆ อกี อยา งหน่ึง ทาน หมายถึง การงดเวนจากการทำบาป ๕ อยาง ดังพระพทุ ธพจนวา อริยสาวกในศาสนาน้เี ปนผลู ะปาณาตบิ าต เวน ขาดจากปาณาตบิ าต เปนผลู ะ อทนิ นาทาน เวน ขากจากอทินนาทาน เปน ผลู ะกาเมสมุ จิ ฉาจาร เวนขาดจากกาเมสุมิจฉาจาร เปน ผูละมสุ าวาท เวน ขาดจากมสุ าวาท เปน ผูล ะการดม่ื สรุ าและอันเปนเหตแุ หงความประมาท ชื่อวา เขาไดใหค วามไมม ีภยั ความไมมเี วร ความไมเบียดเบียนแกส ัตวทัง้ หลายหาประมาณมิได เมอื่ เขาใหค วามไมมีภยั ความไมม เี วร และความไมเ บยี ดเบยี นแกสตั วท ั้งหลายหาประมาณมไิ ด ตวั เขาเองกเ็ ปน ผมู สี วนไดร ับความไมมภี ัย ความไมมีเวร และความไมเบยี ดเบยี นจากผูอ ่ืนหาประมาณมิได เชน เดยี วกัน ทัง้ ๕ นี้ จดั เปน ทานอันยิง่ ใหญ เปนทานท่เี ลศิ กวาทานทั้งหลาย เปนวงศข องอรยิ ชน เปน ของเกา อนั สมณพราหมณผเู ปนวิญูชนไมค ัดคา น ไมล บลา ง ทานทั้ง ๒ ประการ คอื การใหวัตถุส่ิงของมีอาหารเปนตน และการใหอ ภัยมีการไม ฆาเปนตน ดังกลาวมา ชว ยรักษาชีวิตมนุษยแ ละสัตวทงั้ หลายใหรอดพนจากความตายได อุทาหรณที่ เหน็ งา ยท่สี ดุ คือ เม่อื มนษุ ยเ กิดมา มารดาบิดาใหน ้ำนมดืม่ ใหข าวปอน ดแู ลรักษา และไมมีคนมาฆา เด็กทารกนั้นจงึ รอดตายและเจรญิ เตบิ โตได ตรงกนั ขา ม ถามารดา บิดา หรอื ผูอ่ืนใดไมใ หน ำ้ นม ขาวปอน ดูแลรักษา หรอื มีคนมาฆา เด็กทารกนั้นคงไมรอดตายมาได เพราะในเวลานน้ั เขายังไมสามารถจะ หาอะไรมารบั ประทานไดเ อง และไมส ามารถจะตอ สูกับใครได อยา วาแตตอสกู บั มนุษยตวั โต ๆ เลย สกู บั มดและยุงก็ไมไ หวแลว พระธรี วัฒน์ จนฺทโสภโณ : วดั ไผ่เงินโชตนาราม | ธรรมช้ันตรี 8

9 เพราะฉะน้นั ทาน จะในความหมายวา ใหวตั ถสุ ิ่งของแกผอู น่ื หรือใหอภยั คอื ความไมม ี ภัย ไมมีเวร ไมมเี บียดเบยี นแกผ ูอน่ื กต็ าม ลว นมคี วามสำคญั ตอชีวติ ทกุ ชีวิตเปน อยางยง่ิ เพราะชว ย ใหมนษุ ยและสัตวรอดพน จากความตายมาได ดังกลาวแลว ฉะนั้นพระโพธิสตั วจึงไดก ลา วไวใ นสัตตกนิบาตชาดกในขุททกนกิ ายวา ทเทยยฺ ปุรโิ ส ทานํ แปลวา คนควรใหทาน แตท านทั้ง ๒ ประการนี้ ไมใชจะใหก นั ไดงาย ๆ ทกุ คนโดยเฉพาะคนพาล คอื คนท่ีชอบ ทำชว่ั ชอบพูดชั่ว ชอบคดิ ช่วั ชอบทำช่ัว คอื ชอบประพฤตกิ ายทจุ ริต คือ ฆา สัตว ลกั ทรัพย ประพฤติ ผิดในกาม ชอบพดู ชวั่ คือ ชอบพดู เทจ็ ชอบพดู สอ เสยี ด ชอบพดู คำหยาบ ชอบพูดคำเพอเจอ ชอบคดิ ชวั่ คือ ชอบโลภอยากไดของผอู ืน่ ชอบคิดรายตอผอู นื่ ชอบเหน็ ผิดเปนชอบ อยางทีเ่ รยี กวา เหน็ กงจักรเปน ดอกบัว พฤติกรรมท้ังหมดนี้ ลวนเปน ปฏปิ กษ คือ ตรงกนั ขา มกับคุณธรรมท่เี รยี กวา ทานทั้ง ๒ ประการนัน้ ทั้งสิน้ การเห็นคณุ คาของทาน แลวบรจิ าคส่ิงของเพือ่ ชว ยเหลือผขู าดแคลนหรอื เพอื่ บูชาความดีของผู ทรงคณุ ความดดี ว ยตนเองและชกั ชวนบคุ คลอืน่ ใหป ฏบิ ัติเชนน้นั ก็ดี การใหค วามไมม ภี ัยแกช วี ิต ทรพั ยส ิน และเกยี รติยศชือ่ เสยี งของผอู นื่ ก็ดี ช่อื วา สรรเสรญิ ทาน พฤตกิ รรมท่ดี ีเชน นี้ จะทำไดกแ็ ตค นดมี ีศลี มี กลั ยาณธรรมเทา น้นั สว นคนชวั่ คือ คนพาลน้ัน ยากทจ่ี ะทำได สมกบั พระพุทธพจน ในธรรมบทขุ ททกนกิ าย วา สาธุ ปาเปน ทุกกรํ คนชั่ว ทำความดียาก คนพาลนน้ั นอกจากจะไมใ หท านและไมเหน็ คณุ คา ของทานแลว ยังทำอันตรายตอ ทาน เชนลัก ขโมยทรพั ยส นิ ของผูบ ริจาคทาน ทจุ รติ คดโกงเอาเงนิ หรอื ส่ิงของท่ผี ูใจบุญบรจิ าคชว ยเหลอื ผูประสบภัยมา เปนของตนเองเสยี อกี ดว ย ดังไดฟ ง ไดเ หน็ เปน ขา วมากมาย จึงกลา วโดยสรุปไดว า การท่คี นพาลไมใหท านไมเ หน็ คุณคาของทานทั้ง ๒ อยาง คือ วตั ถุ ทาน และอภยั ทาน ขดั ขวางผบู ริจาคทาน และทำอันตรายตอ ทานดว ยการทจุ ริตคดโกง ดงั กลาวมา เปน การกระทำที่แสดงออกถึงการไมส รรเสริญทานตามธรรมภาษิตวา พาลา หเว นปปฺ สสํ นฺติ ทานํ คนพาลเทานนั้ ยอมไมส รรเสริญทาน ดงั พรรณนามาฉะนแี้ ล ฯ พระธีรวฒั น์ จนฺทโสภโณ : วัดไผ่เงนิ โชตนาราม | ธรรมช้ันตรี 9

10 กระทธู รรม ธรรมศึกษาตรี สอบในสนามหลวง วนั ที่……..พฤศจกิ ายน พ.ศ. ๒๕๔๖ สลี ํ โลเก อนุตฺตรํ ศีล เปน เยีย่ มในโลก บัดนี้ จักอธิบายความแหงธรรมภาษิตวาศีลเปนเยี่ยมในโลก ตามความรทู ี่ไดศ ึกษามา เพอ่ื เปน แนวทางแหงการศกึ ษาและปฏบิ ัติธรรมสืบตอ ไป สีล ทานผูรูอ ธิบายความหมายไวหลายนยั ดังน้ี ๑. สีลนะ แปลวา ความปกติ หมายความวา ควบคุมความประพฤตทิ างกาย วาจา ใหอยูในสภาพท่ีเรียบรอ ยดงี าม พนจากการเบยี ดเบยี นกนั และกัน และหมายความวาสามารถรองรบั ความดชี ั้นสูงทุกอยาง เหมือนแผนดิน รองรบั ของหนักมมี หาสมุทรและภูเขา เปนตนเอาไวได โดยไมม คี วามผิดปกตอิ ะไร ๒. สริ ะ แปลวา ศรี ษะ หมายความวา เปน ยอดของความดี เหมือนศรี ษะเปน อวัยวะท่อี ยูสงู ทส่ี ุดของรางกาย ๓. สสี ะ แปลวา ย่งิ ใหญ คือมีความสำคัญ หมายความวา ถาขาดศีลเสียแลวคณุ ธรรมหรือ ความเจรญิ อยา งอ่นื กเ็ กิดไมได ๔. สตี ละ แปลวา มคี วามเย็น หมายความวา ศลี สรางความเยน็ ใหแกจิตใจผรู กั ษา และสรา งความรมเย็นใหแกสงั คม ๕. สิวะ แปลวา ปลอดภยั หมายความวา ศีล สรางความ ไมมีภยั ความไมมีเวร และความไมเ บยี ดเบยี นใหแ กส ังคมมนุษย ศีลนนั้ เมื่อใครรักษาไดจ ะทำลายวีติกกมกเิ ลส คอื กิเลสท่ลี ว งละเมิดมาทางกาย และวาจา ทางกาย เชน การฆาสัตว ทางวาจา เชน การพดู เทจ็ พรอมกันน้นั ก็ทำใหก าย วาจา และใจของผนู ั้นมี ความสะอาดพน จากการกระทำการพูดและความคิดทท่ี ำใหต นเองและผอู ื่นไดรบั ความทุกขความเดือดรอ น เพราะศีลมีความดีอยา งนอี้ งคสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจาจงึ ทรงแนะนำชาวโลกใหรักษาศลี ตามพระพทุ ธ พจนในขุททกนกิ าย อิติอตุ ตกะ วา สลี ํ รกฺเขยยฺ เมธาวี ผมู ีปญ ญาพึงรกั ษาศีล อนึ่ง ศลี จะเกิดข้ึนไดเพราะอาศยั ธรรม ๒ ประการ คอื หริ ิความละอายแกใจในการทำบาป ทุจริต และโอตตปั ปะ ความสะดงุ กลัวตอผลรายอนั จะเกดิ จากการทำบาปทุจรติ นัน้ ศีลนนั้ ยอ มขาดเพราะเหตุ ๕ ประการ คอื ๑. ลาภ ๒ ยศ ๓ ญาติ ๔ อวยั วะ ๕ ชีวิต หมายความวา คนทท่ี ำผิดศลี ก็เพราะปรารถนา ๕ อยา งนี้ อยา งใดอยางหน่ึง เชน อยากได เงนิ จงึ ลักขโมย คดโกง หรือฆาเจา ของทรพั ยเปนตน บคุ คลยอ มรกั ษาศีลไวไ ดเ พราะยึดมน่ั สัมปรุ สิ านุสติ วา บคุ คลพงึ สละทรัพย เพอื่ รักษา อวยั วะ พงึ สละอวัยวะเพ่อื รกั ษาชีวิต พงึ สละทัง้ ทรพั ย อวัยวะและชวี ิตเพื่อรักษาธรรม พระธีรวฒั น์ จนฺทโสภโณ : วัดไผ่เงนิ โชตนาราม | ธรรมช้ันตรี 10

11 ผรู กั ษาศีลไดบรสิ ทุ ธ์ไิ มใ หขาด ไมใหดา งพรอย องคส มเด็จพระสัมมาสัมพทุ ธเจาตรัสวา จะไดรบั อานสิ งส คอื ผลดีแกต น ๕ ประการ คือ ทำใหเกิดทรัพย เกยี รตศิ พั ท ขจรไกล เขาทไ่ี หนอาจหาญ สตมิ น่ั ไมลืมหลง มุงตรงทางสวรรค จากการพรรณนามาโดยยอ นี้ ทำใหเหน็ คุณสมบตั ิของศลี หลายประการดว ยกัน เชน ศีล ควบคมุ ความประพฤติทางกาย วาจา ใหเรยี บรอยพนจากการเบยี ดเบยี นกัน ศีล เปนเครอ่ื งรองรบั ความสุขความเจริญตาง ๆ ศลี สรา งความรมเย็นใหแกชาวโลก ศีล ใหความไมม ีภยั ไมม ีเวร และความไมเบยี ดเบยี นกัน ศลี ทำใหคนมีความประพฤติทางกาย วาจา ใจ สะอาด ฉะนั้น นักปราชญท ั้งหลายมอี งคสมเดจ็ พระสมั มาสมั พุทธเจาเปนตน จึงกลาววา สลี ํ โลเก อนุตฺตรํ ศีลเปนเย่ยี มในโลก ดงั ไดบ รรยายมาดวยประการฉะนี้ ฯ พระธีรวฒั น์ จนฺทโสภโณ : วัดไผ่เงินโชตนาราม | ธรรมช้ันตรี 11

12 กระทูธ รรม ธรรมศึกษาตรี สอบในสนามหลวง วนั ท่ี พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๔๖ สติ โลกสฺมิ ชาคโร สตเิ ปนธรรมเคร่ือง ต่ืนอยูในโลก บัดน้ี จกั ไดอ ธิบายความแหงธรรมภาษิต ขอวา สตเิ ปนธรรมเครื่องตื่นอยใู นโลก เพื่อ เปนแนวทางแหงการศกึ ษาของผสู นใจใฝธ รรมตามสมควรแกเวลา สติ แปลวา ความระลกึ ได หมายถึงสภาพจิตใจที่รจู กั คดิ วาอะไรดี อะไรชัว่ แลวกดี กันเอา ความชั่วออกไปรับเอาแตส ่ิงท่ดี มี าสตู น สติ เปนศัพทท ี่ใชใ นความหมายท่ีดี ถาจะใชในทางทีไ่ มดีใหเตมิ คำวา มิจฉาทีแ่ ปลวา ผดิ ไวข า งหนา เปนมิจฉาสติ แปลวา ความระลกึ ผดิ หมายถงึ สภาพจติ ใจท่ีรบั เอาความไมดีมาสู ตน คอื ชอบคิดแตสิง่ ท่ไี มด ี สติน้นั มลี ักษณะใหร ูได ๒ อยา งคอื ๑ การเตอื นใจ หรอื ๒. การรับเอาแตส ่ิงทีด่ ี ๑. การเตอื นใจ หมายความวา สติน้นั จะเตือนใจวาสง่ิ นั้นดี ส่ิงน้ันไมดี ส่ิงน้นั มี ประโยชน ส่ิงนั้นไมมปี ระโยชน ส่ิงนั้นควรทำ ส่งิ นนั้ ไมควรทำ เปนตน เปรยี บเหมอื นขนุ คลงั แกว คอยทูลเตอื นพระเจา จักพรรดิ์ใหท รงทราบอยตู ลอดเวลาวา ในทองพระคลังมีเงินเทานน้ั มี ทองคำเทา นนั้ มีพลชาง พลมา พลรถ พลราบเทา นน้ั เพื่อจะไดไมทรงประมาท แลว รับส่ังใหจัดหามาใหพรอมอยเู สมอ ๒. การรบั เอาแตส ่ิงทีด่ นี นั้ หมายความวา สตินั้นจะรับเอาแตส ่ิงทด่ี ี เทานั้นใหเ ขามาสูชวี ติ จิตใจ พรอ มกันนั้นจะคอยปอ งกันขับไลส งิ่ ท่ไี มม ที ้งั หลายไมใ หเ ขามา เปรียบเหมือนทหารยามผฉู ลาดของพระราชา หามคนรา ยท่เี ปน ปฏิปกษต อพระราชาไมใ หเขาไปสปู ระตู พระราชวัง จะอนุญาตเฉพาะคนที่เปนคุณเปนประโยชนเทาน้นั ใหเ ขาไป เพราะสตคิ อยชว ยเตอื นใจใหร วู า อะไรดี อะไรชั่ว อะไรมปี ระโยชนอะไรไมม ีประโยชน แลว ใหรบั เอาแตสงิ่ ท่ีดที ีม่ ปี ระโยชนเ ขามาสูชีวติ จติ ใจ และปองกนั สงิ่ ท่ไี มด ีไมม ีประโยชนใหพนไป จึง เปนธรรมมีอปุ การะมาก ควรปรารถนาในกิจทกุ อยา งในท่ที กุ สถาน และในกาลทุกเมือ่ สมเดจ็ พระ มหาสมณเจา กรมพระยาวชริ ญาณวโรรส จงึ ทรงสอนวา สติ สพฺพตถฺ ปตฺภยิ า สติจำปรารถนาในที่ทัง้ ปวง สตนิ ้นั บางคร้ังเกิดขึน้ เองก็ได เชน นกั เรยี นบางคนคิดไปโรงเรียน เรียน หนังสอื และทำการบา นไดเอง ไมตอ งเปนภาระใหใ ครมาเตอื นมาบอก บางครัง้ ตอ งไดรบั คำ เตอื นจึงเกดิ เชน นกั เรียนบางคนตองใหบดิ ามารดาเตือนจึงเกิดสติท่ีจะไปโรงเรียน เรยี นหนังสอื และทำ การบาน ดงั นน้ั นกั ปราชญจ งึ ไดสอนวิธีสรา งสติไวหลายวธิ ดี วยกนั แสดงพอเปน ตัวอยา งดังน้ี พระธีรวัฒน์ จนฺทโสภโณ : วดั ไผ่เงนิ โชตนาราม | ธรรมช้ันตรี 12

13 ความรู หมายความวา ความรูวชิ าการตา ง ๆ ชวยใหเ กิดสตริ ะวังตัวได เชนผูมคี วามรู เรอ่ื งไฟฟา ยอ มระวังตัวใหพ นอันตรายจากไฟฟาได คำเตือน เชน โอวาทตา ง ๆ สุภาษิตตา ง ๆ ที่มคี วามหมายเตือนใจในเรอ่ื งนนั้ ๆ ทำเคร่อื งหมาย เชน ถนนเปน หลมุ เปนบอ ทางโคง อันตราย หรือมีคนและสัตวม กั ขามถนนตรง นัน้ กจ็ ะทำเครอ่ื งหมายบอกเอาไว บนั ทกึ เหตุการณ เชน เกดิ เหตุการณท ี่สำคัญ หรอื แมเ กยี่ วกับการศกึ ษาเลาเรยี นใหจ ดบนั ทึก เอาไว คิดถึงส่ิงทเ่ี หมือนกัน เชน จะจำชือ่ คน หรือเนอ้ื หาวิชาตา ง ๆ ใหค ิดถึงวาคนน้นั มีชอ่ื เหมอื นใคร ทเ่ี ราเคยรจู กั หรอื เนอื้ หาวชิ านัน้ เหมือนหรือคลา ยวิชาอะไรทีเ่ ราเคยจำไดเคยเขาใจ เปน ตน สตินนั้ ชว ยใหค นเกิดความตื่นตัวที่จะทำความดี หลีกหนีความชวั่ และภยั อนั ตรายทัง้ ทางโลก และทางธรรม ทางโลกนนั้ พึงเห็นตัวอยา ง เชน นกั เรยี นบางคนคดิ วาคนจะไดดีมคี วามสุขในภายหนา เพราะอาศัยวิชาความรู จึงขยันไปโรงเรียน ขยันเรียนหนงั สอื ขยนั ทำการบาน ขยันชวยพอแมทำงานไม ยุง เก่ยี วกบั ยาเสพติด ไมเ ทีย่ วแตเสเพล สว นคนหนุมสาว คิดถึงความจรงิ ของชีวติ วา คนเราสดุ ทายตอง แก และตองเจ็บ จึงขยนั ทำงาน หนกั เอาเบาสู ไมอ ยเู ฉย ไดท รัพยส นิ เงินทองมากร็ จู ักประหยัดและออม เอาไวใช เม่ือเวลาแกเฒา และยามเจ็บไข อยา งน้ชี อื่ วา มสี ตใิ นทางโลก สวนทางธรรมนั้น พงึ เหน็ ตัวอยางเชน เจาชายสิทธัตถะ ทรงเห็นคนแกค นเจบ็ และคนตาย แลว เกิดความคิดวา พระองคเ องก็ตองแก ตองเจบ็ และ ตอ งตายเหมือนกนั จึงทรงเลกิ หมกมนุ เร่อื งกาม คุณ แลว เสดจ็ ออกผนวชจนไดเ ปนพระสัมมาสัมพุทธเจา น้ีช่ือวา มีสตใิ นทางธรรม สตชิ วยใหคนต่นื จากความลมุ หลงมัวเมา ความประมาท ทยี่ งั เปน เด็กก็ชว ยเตอื นใหเ อาใจ ใสศึกษาเลาเรียน เปนหนุม สาวกช็ วยเตือนใหข ยนั ทำงาน คนทัว่ ไปก็ชว ยเตือนให ทำความดี หนคี วามชั่ว องคสมเด็จพระสมั มาสมั พทุ ธเจา จงึ ทรงสอนวา สติ โลกสฺมิ ชาคโร สตเิ ปนธรรมเครอื่ งตืน่ อยใู นโลก ดังไดบ รรยายมาดวยประการฉะน้ี ฯ พระธีรวฒั น์ จนฺทโสภโณ : วดั ไผ่เงินโชตนาราม | ธรรมช้ันตรี 13

กระทูธ รรม ธรรมศกึ ษาช้ันตรี 14 สอบในสนามหลวง ขุ.ธ.๒๕ / ๕๙. วันท.ี่ ....เดือน..................พ.ศ............. ปาปานํ อกรณํ สุขํ การไมทำบาป นำสุขมาให บดั น้ี จักอธิบายความแหง พทุ ธภาษติ วา การไมทำบาปนำสขุ มาให ตามระเบียบปฏบิ ัติของ สนามหลวงแผนกธรรม และความรทู ีไ่ ดศ ึกษามา พระพุทธภาษติ น้ี ผูศ ึกษาควรทราบอรรถวภิ าค คอื การจำแนกเน้ือความเปน ๔ ประการ คือ ๑. บาป ๒. สิง่ ทจ่ี ัดวาเปนบาป ๓. การทำบาป ๔. การไมท ำบาป นำความสุขมาให คำวา บาป หมายถึงความไมด ีทกุ อยา ง เชน อกศุ ล โทษ ความผิด ทจุ ริต เวร ธรรมดำ ทกุ ข ยาก ลำบาก เหนด็ เหนื่อย เจ็บปวดความชวั่ เปน ตน ดงั นั้นจึงมักพูดศัพทเดิมวา บาป หรือ ถาจะแปลก็มกั จะแปลวา ความช่ัว อนั หมายถงึ ความไมด นี ่ันเอง สว นทา นผรู ูคัมภรี  ศพั ทศาสตรใ ห ความหมาย ของคำวาบาปไวหลายนัย เชน ส่ิงทีค่ นดที ั้งหลายพึงปองกนั ตัวเอาไวใ หหางไกล หรอื สิ่งท่ีเปน เหตใุ หคนถึงอบาย คือกลายสภาพเปนดิรจั ฉาน เปรต สตั วน รก และ อสรุ กาย เปน ตน ส่ิงท่จี ัดวาเปน บาปน้นั พระพทุ ธศานาจดั สิ่งที่เปนบาป ไวตามโทษหนกั เบาดังน้ี บาปทีม่ โี ทษ หนกั ทส่ี ดุ คือ นิยตมิจฉาทฏิ ฐิ แปลวา ความเหน็ ท่แี นนอนด่งิ ลงไป แกไขไมไ ด ๓ อยา ง คอื อกิ รยิ ทิฏฐิ เหน็ วา ทำบาปหรอื ทำบุญ ก็เปน เพยี งแตก ริ ยิ าทท่ี ำเทา นั้น ไมไดเปน บาปหรือเปนบญุ ดงั ที่ ศาสนาท้ังหลายสอนเลย อเหตุกทฏิ ฐิ เห็นวาความสุขหรอื ความทุกขข องมนุษยล วนเกิดข้นึ เอง ไมได เกิดมาจากเหตุใด ๆ ทั้งสิ้น นตั ตกิ ทิฏฐิ เหน็ วาไมม อี ะไร คือ บาปก็สูญ บญุ กส็ ญู คนตายแลว ก็สญู บาปทีม่ ีโทษหนกั รองจากน้นั ไดแก อนันตรยิ กรรม ๕ อยาง คือ มาตุฆาต ฆามารดา ๑ ปตฆุ าต ฆาบดิ า ๑ อรหนั ตฆาต ฆาพระอรหันต ๑ โลหิตปุ บาท ทำรายพระศาสดาจนถึงพระโลหติ หอ ข้ึน ๑ สงั ฆเภท ทำลายสงฆใหแตกกัน ๑ ท้ัง ๕ ประเภทนี้ ใครทำหลงั จากตายไปตองตกนรกทันที บาปที่มโี ทษถงึ นำไปสอู บายกไ็ ด ทท่ี ำใหไ ดร บั ความทกุ ขค วามเดือดรอ น เชน ทำใหอ ายุสั้น มี โรคมาก ยากจนเข็ญใจ เปนตน กไ็ ด มี ๑๐ อยา ง เปนการกระทำทางกาย ๓ อยาง คือ ฆาสัตว ๑ ลกั ทรัพย ๑ ประพฤติผดิ ในกาม ๑ เปนการพดู ทางวาจา ๔ อยา ง คอื พดู เท็จ ๑ พดู สอ เสียด ทำใหค นแตกสามัคคีกัน ๑ พูดคำหยาบ ๑ พดู เพอเจอ ทำใหผ ูอ ่นื เชอื่ ถือเองไรสาระ ๑ เปนความคิด ชวั่ ทางใจ ๓ อยาง คือ โลภอยากไดข องคนอื่นอยางผดิ ศีลธรรม ๑ คิดรา ยทำลายผอู ืน่ ๑ มีความเหน็ ผิดไม เชอื่ เรือ่ งบาปบญุ คุณโทษ ๑ การทำบาป หมายถึง การทำ การพดู และการคิด สิ่งท่จี ัดวาเปน บาปเหลานเี้ อง คอื ถอื มนั่ มิจฉาทิฏฐิทง้ั ๓ อยาง หรอื อยา งใดอยางหน่ึง กระทำอนนั ตรยิ กรรมมกี ารฆามารดาบดิ าเปนตน หรือทำกายทจุ รติ ๓ พดู วจีทจุ ริต ๔ และมใี จประกอบดวยมโนทจุ ริต ๓ ดงั กลาวแลว พระธีรวัฒน์ จนฺทโสภโณ : วัดไผ่เงนิ โชตนาราม | ธรรมช้ันตรี 14

15 การทำบาปตาง ๆ ดงั กลาวมานล้ี วนแตก อ ใหเ กดิ ความทุกข ความเดอื ดรอ นทง้ั แกผูท ำและ บุคคลอ่นื ผูเกี่ยวของทั้งส้นิ แตก็ยงั มีคนอกี เปน จำนวนมากทช่ี อบทำ ท่ีเปนเชนนี้ ก็เพราะคนสว นมากยังมี บาปอยใู นใจ คนทีม่ เี ชื้อบาปอยใู นใจยอ มทำ ความชัว่ ไดงา ย สมดงั ทอี่ งคส มเดจ็ พระสมั มาสมั พุทธเจาตรสั ไวใ นขุททกนกิ าย อทุ านวา ปาป ปาเปน สุกรํ ความชวั่ อันคนชว่ั ทำงาย บาปท่ที ำนัน้ อยา งหนกั ทำใหตกโลกันตริกนรก รองลงมาทำใหต กนรกอเวจี รองลงมาจากนัน้ ทำใหกลายสภาพเปน ดริ จั ฉาน เปน เปรต เปนอสุรกาย หรือเบากวา นัน้ ถา เกิดมาเปนมนษุ ย ก็จะทำใหมี อายุสั้น มโี รคเบยี ดเบียน ทำกนิ ไมข้ึนมีอปุ สรรค ประสบภัยอันตรายตา ง ๆ เปน ตน สวนการไมท ำบาป คือ เปน คนทม่ี ีสมั มาทิฏฐิ มีความคิดเห็นทีส่ งเสรมิ ศีลธรรม งดเวน เด็ดขาดจากอนนั ตรยิ กรรม และเวน ขาดจากการฆาสตั ว การลักทรัพย การประพฤติผดิ ในกาม การ พูดเทจ็ การพูดสอ เสยี ด การพดู คำหยาบ การพูดเพอ เจอ การโลภอยากไดอยางผิดศีลธรรม ความคดิ รายทำลายผอู ืน่ ยอ มนำความสุขมาใหทัง้ แกต นเอง ครอบครัวและสงั คม จากหลกั ธรรมคำสอนของพระพทุ ธศาสนา ดงั ไดบ รรยายมาแตโดยยอ นี้ พอสรปุ ใจความไดวา ความสขุ ทแ่ี ทจ รงิ จะเกดิ ข้ึนได อนั ดับแรกตองเวนจากการทำบาป คือ ความชั่วเสยี กอ น เหมอื นคน จะแตง ตวั ใหสวยงาม ตอ งอาบน้ำชำระกายใหสะอาดเสยี กอน เพราะถาเนื้อตัวสกปรก จะแตง อยางไรกค็ งไมง าม ความสุขของมนุษยก ็เชน เดยี วกนั ถงึ แมจ ะมีทรพั ยส นิ เงนิ ทอง ยศศกั ดม์ิ ากมายอยา งไร ถาไมม กี ารงดเวน จากการทำบาป เชนฆาฟน ประหัดประหารกนั เปนตน กย็ ากทจ่ี ะหาความสุขไดอ ยา ง แทจรงิ ดังน้ัน องคสมเดจ็ พระสมั มาสัมพทุ ธเจา จงึ ทรงสอนวา ปาปานํ อกรนํ สุขํ การไมท ำบาปนำความสุขมาให ดังไดบ รรยายมาดว ยประการฉะนี้ ฯ พระธรี วัฒน์ จนฺทโสภโณ : วัดไผ่เงนิ โชตนาราม | ธรรมช้ันตรี 15

กระทธู รรม ธรรมศึกษาชั้นตรี 16 สอบในสนามหลวง สํ.ส. ๑๕ / ๕๐. วนั ที…่ ……..เดือน…พฤศจิกายน ……พ.ศ. ๒๕๔……… ปุฺญํ โจเรหิ ทูหรํ บญุ อนั โจรนำไปไมไ ด บดั นี้ จกั อธิบายความแหง พุทธภาษิตวา บุญอันโจรนำไปไมไ ด พอเปนแนวทางแหงการศกึ ษา พระธรรมของสาธุชนทง้ั หลาย ตามสมควรแกความรูท่ไี ดศ กึ ษามา บญุ หมายถงึ กุศล สจุ รติ กรรมดี ความดี ธรรม และธรรมฝายขาว หรอื กลา วโดยรวมวา บญุ เปน ช่ือของความดีทุกอยาง อนั ตรงกนั ขา มกับบาปท่ีเปน ชือ่ ของความไมด ที ุกอยาง ทานผูรูค ัมภีรศัพทศาสตรใ หความหมายวา บญุ แปลวา เครือ่ งชำระลางจิตใจใหสะอาด หรือ แปลวาสภาพทีก่ อใหเ กิดความนา บูชา อธิบายวา บุญคอื การบรจิ าคทาน การรกั ษาศีล และการเจรญิ ภาวนา เปนตน ใครกระทำโดยติดตอไมข าดสาย ยอ มทำใหจิตใจของเขาปราศจากความโลภ ความ โกรธ ความหลง หรือยิ่งทำไปนาน ๆ จนเปน บารมีเหมอื นองคส มเด็จพระสัมมาสมั พุทธเจา หรอื พระ อรหันตสาวกกจ็ ะกำจัดกิเลสไดเด็ดขาด เปน พระอรหนั ต เปนผมู ีจิตใจบริสทุ ธิอ์ ยา งแทจ ริง และผทู ไ่ี มมี กเิ ลสคอื ความโลภ ความโกรธ ความหลงน้ัน ยอ มจัดเปน ปูชนยี บุคคล คอื บคุ คลที่นาบชู า ทงั้ ของเทวดา และมนษุ ย เมือ่ บญุ คอื ความดีจึงเปน ส่งิ ทีท่ ุกคนตอ งทำ การทำบุญนั้น กเ็ หมอื นกบั การทำงานท่วั ไป คอื ตองมีอปุ กรณไดแ กเ คร่อื งมือ เหมือนนกั เรียนมาเรยี นหนงั สือ ตองมีเคร่ืองมือ เชน หนังสือ สมดุ ปากกา เปนตน อปุ กรณส ำหรับใชทำบุญใหญ ๆ มี ๔ อยา ง คือ ๑. ทานวัตถุ ของสำหรับใชบ รจิ าคทาน พระพทุ ธองคทรงกำหนดไว ๑๐ อยา ง คือ ขา ว นำ้ ผา ยานพาหนะ ดอกไมข องหอม ของลูบไล ที่ นอน ที่พกั ประทีป ๒. กาย คือรางกายทุกสว น ๓. วาจา คอื ปาก ๔. ใจ คือความคดิ เม่ือพดู ถึงเรอื่ งทำบุญ พทุ ธศาสนิกชนไทยโดยมากมักรูจกั เพยี งอยางเดียว คอื การบรจิ าคทาน จงึ เปน เหตุใหบางคนรสู ึกกลัวบุญ เพราะทำบุญทไี รจะตอ งเสียทรัพยท ุกคร้งั บางคนรสู ึกวา ตนเองไมม ี โอกาสจะไดท ำบุญกับเขา เพราะไมมที รพั ยส นิ เงินทอง แตค วามจริงแลว ทรัพยส นิ เงินทองไมใ ชอปุ กรณ สำหรับทำบญุ ทสี่ ำคัญเลย อปุ กรณสำหรับทำบญุ ท่สี ำคัญ คือ กาย วาจา ใจ ของแตล ะบคุ คลนั่นเอง กายของนักเรยี นทีเ่ วนจากการฆา สัตว การทำรายกนั การลักขโมย การประพฤติผดิ ในกาม หรือท่ีใชทำส่ิงอนั เปน ประโยชน เชน ขยันไปโรงเรยี น ขยันเรียนหนังสอื ขยนั ทำการบาน ขยนั ชว ยพอ แมทำงาน ไมยุงเก่ียวกับยาเสพตดิ ชว ยเหลอื สังคม ชวยรกั ษาความสะอาดบริเวณโรงเรยี น เปน ตน วาจา หรอื ปาก ใชพูดแตคำสัตยจริง พดู ใหคนเกิดความสามคั คีกลมเกลียวกนั พดู คำสุภาพเรียบรอ ย พูดเร่ืองท่ี เปน ประโยชนแ กผูฟง ใจมคี วามปรารถนาดีตอ ผูอน่ื ไมค ิดโลภอยากไดของใคร ไมคดิ รายทำลายใคร ไม อิจฉาริษยาใคร เชื่อฟงพอแมค รูอาจารย เพยี งเทาน้ี กาย วาจา และใจ ของนกั เรยี นก็สามารถสราง พระธรี วัฒน์ จนฺทโสภโณ : วัดไผ่เงินโชตนาราม | ธรรมช้ันตรี 16

17 มนุษยส มบัติ สวรรคส มบตั ิ ใหแกนกั เรยี นเอง แกบ ดิ ามารดาและครูอาจารยไดแ ลว โดยทไ่ี มตองใช ทรพั ยสนิ เงนิ ทองเลย และพระพุทธศาสนาจัดวาเปน บญุ ที่ยง่ิ ใหญก วาการบริจาคทานอีกดวย เพราะบญุ หมายถงึ ความดที กุ อยาง บญุ จงึ มีความสำคัญตอชีวติ มนุษยท กุ คน เพราะ ๑. เปน เหตุใหไดเกิดในคติภพทดี่ ี ๒. ชวยคมุ ครองรักษาชวี ติ ใหร อดพนจากภัยอนั ตรายตา ง ๆ ๓. ชวยนำพา วถิ ชี วี ติ ไปสคู วามสำเรจ็ และเจรญิ กาวหนา ในสง่ิ ท่ีตนปรารถนา ๔. เปนเหตใุ หจิตใจเกิดความรม เยน็ เปน สุข องคสมเด็จพระสมั มาสมั พุทธเจาจึงทรงสอนใหพุทธศาสนกิ ชนไดหมัน่ ทำบุญเอาไวเสมอเมอ่ื มโี อกาส แมว า จะเปน บญุ เพยี งเลก็ นอยก็ตาม ดังพระพทุ ธพจนว า “อยาดหู มนิ่ บญุ วา มปี ระมาณนอย เม่ือไรจะมาถึงเรา หยดนำ้ ที่หยดลงทีละหยดยงั ทำภาชนะมตี ุมเปนตน ใหเ ต็มได ฉันใด คนผูฉลาดทำบุญอยูเสมอ ก็ยอ ม เตม็ ดว ยบญุ ฉันนน้ั ” อนึ่ง พระพุทธองค ตรัสผลดีทเ่ี กิดจากอานุภาพบุญไวใ นจูฬกัมมวภิ ังคสูตร กลาวโดยสรปุ เพอื่ จำ งายดังน้ี อายยุ ืนเพราะเวน การเขนฆา ไรโรคาเพราะไมทำรา ยสัตว มผี ิวพรรณงามเลิศเจดิ จำรัส เพราะกำจดั ความโกรธรอู ดใจ ยศศักด์ิสงู เพราะใจไมริษยา มโี ภคาเพราะทานคือการให สกลุ สูงเพราะเจียมเสง่ยี มใจ ปญญาไวเพราะคบหาปญญาชน บุญเปน เหตใุ หเ กิดความสุขความเจริญ และความอยรู อดปลอดภัยแหงชีวิต ดังกลาวมานี้ บญุ จึงเปนส่งิ ท่ีควรทำ สมดงั พทุ ธภาษิตในตกิ นบิ าต องั คตุ ตรนิกายวา ปญุ ญานิ กิรยิ าถ สุขาวหานิ ควรทำบุญอันนำสขุ มาให บญุ น้ันเปน เรอื่ งเฉพาะตัว ใครทำใครได ดงั พระพทุ ธพจนวา ความหมดจด (ความดี) หรือ ความเศราหมอง (ความชวั่ ) เปน เรื่องเฉพาะตน คนอ่ืนทำคนอืน่ ใหหมดจดหรอื ใหเศรา หมองไมได ตวั อยา งงาย ๆ สมมติวา นักเรยี น ๒ คน เปนเพ่ือนรกั กนั คนหน่งึ เรยี นเกง คนหนึง่ เรยี นไมเ กง คน เรียนเกงสงสารเพอื่ นอยา งไร กไ็ มส ามารถจะแบง เอาความเกงของตนไปใหเ พอ่ื นได หรือเพือ่ นทีเ่ รยี นไมเกง จะคิดแยงชิงโดยการลกั ขโมย ปลน จ้ีเอาความเกงไปจากเพือ่ นกไ็ มไ ดเหมอื นกัน มอี ยทู างเดียวเทา นั้น คือ ถา อยากเกงตอ งขยันหมัน่ เพียร ฝกฝนดวยตนเอง จะไปขอหรือแยงชิงเอาจากคนอนื่ เหมอื นกับสงิ่ ของไมไ ด เร่อื งบญุ ทีไ่ ดอ ธิบายมาโดยยอ พอสรปุ ไดดงั นี้ คำวาบญุ เปนชื่อของความดีทคี่ วรทำทกุ อยาง เคร่อื งมอื ทำบญุ ท่สี ำคญั ทสี่ ุดคือ กาย วาจา ใจ ของตน บุญเปนความดเี ฉพาะตน ใครทำใครได ดงั คำพูด วา ความดีไมม ีขาย ใครอยากไดต องทำเอง บุญทีไ่ ดทำไวแลวเปนส่ิงวิเศษ สามารถเก็บเอาสมบัตทิ ุก อยา งท้งั มนษุ ยสมบัติ สวรรคสมบตั ิ นพิ พานสมบัติไวภายในไดม ากมาย ไมเ ปนภาระทีต่ องแบกหาม โจร แยงชิงเราไปไมไ ด ยิง่ ใชย่งิ มีมาก พระสมั มาสัมพทุ ธเจาจึงตรัสวา ปุญญํ โจเรหิ ทูหรํ บุญอันโจรนำไปไมได ดังไดบรรยายมาดว ยประการฉะน้ี ฯ พระธรี วฒั น์ จนฺทโสภโณ : วดั ไผ่เงนิ โชตนาราม | ธรรมช้ันตรี 17

18 พทุ ธศาสนสภุ าษติ หลกั สูตรธรรมศกึ ษาชน้ั ตรี หมวดตน ๑๐. ปมาโท ครหโิ ต สทา ๑. อตฺตา หิ อตฺตโน นาโถ ความประมาท บัณฑติ ตเิ ตียนทกุ เมือ่ ตนแล เปนทพี่ ึ่งของตน ท่มี า : คมั ภีรข ทุ ทกนิกาย ธัมมปทคาถา (ขุ.ธ.) ท่ีมา: คมั ภรี ขทุ ทกนกิ าย ธัมมปทคาถา (ข.ุ ธ.) ๑๑. เย ปมตฺตา ยถา มตา ๒. อตฺตา หเว ชิตํ เสยโฺ ย ผปู ระมาท เหมือนคนทตี่ ายแลว ชนะตนนน้ั แหละ เปนดี ท่มี า : คมั ภรี ข ุททกนิกาย ธมั มปทคาถา (ข.ุ ธ.) ท่ีมา: คัมภีรข ุททกนกิ าย ธัมมปทคาถา (ข.ุ ธ.) หมวดจติ ๓. อตตฺ นา ว กตํ ปาป อตตฺ นา สงกฺ ลิ สิ ฺสนฺติ ๑๒. จติ ฺตํ รกขฺ ถ เมธาวี คนทำบาปเอง ยอ มเศราหมองเอง ผูมีปญญา พงึ รักษาจิต ที่มา: คัมภรี ข ุททกนกิ าย ธมั มปทคาถา (ขุ.ธ.) ทีม่ า: คัมภีรข ทุ ทกนกิ าย ธัมมปทคาถา (ขุ.ธ.) ๔. อตตฺ นา อกตํ ปาป อตตฺ นา ว วสิ ุชฺฌติ ๑๓. จติ ตฺ ํ ทนตฺ ํ สขุ าวหํ คนไมท ำบาปเอง ยอมหมดจดเอง จิตที่ฝก ดีแลว นำสขุ มาให ทีม่ า : คัมภีรขุททกนิกาย ธมั มปทคาถา (ขุ.ธ.) ท่ีมา: คัมภรี ข ุททกนิกาย ธมั มปทคาถา (ข.ุ ธ.) ๕. อตฺตนา โจทยตฺตานํ หมวดขันติ จงเตอื นตนดวยตนเอง ๑๔. ขนตฺ ิ ปรมํ ตโป ตตี ิกขฺ า ทม่ี า: คมั ภรี ขุททกนกิ าย ธมั มปทคาถา (ข.ุ ธ.) ขนั ติ คอื ความอดทน เปน ตบะอยา งย่ิง หมวดประมาท ที่มา: คมั ภรี ขุททนิกาย ธมั มปทคาถา (ขุ.ธ.) ๖. อปฺปมาโท อมตํ ปทํ ๑๕. ขนฺติ ตโป ตปสฺสโิ น ความไมป ระมาท เปน ทางไมตาย ความอดทน เปนตบะของผูบำเพญ็ เพียร ทม่ี า: คัมภีรขทุ ทกนกิ าย ธมั มปทคาถา (ขุ.ธ.) ท่มี า: สวดมนตฉ บบั หลวง (ส.ม.) ๗. อปฺปมาทํ ปสํสนตฺ ิ หมวดธรรม บัณฑิตทงั้ หลาย ยอมสรรเสริญความไมป ระมาท ๑๖. มโนปพุ ฺพงคฺ มา ธมฺมา ทม่ี า: คัมภีรข ุททกนกิ าย ธมั มปทคาถา (ขุ.ธ.) ธรรมท้งั หลาย มีใจเปนหัวหนา ๘. อปปฺ มตฺตา น มียนตฺ ิ ที่มา: คัมภรี ข ทุ ทกนิกาย ธมั มปทคาถา (ขุ.ธ.) ผไู มปรมาท ยอ มไมตาย ๑๗. ธมโฺ ม สุจณิ ฺโณ สุขมาวหาติ ทีม่ า: คัมภรี ขุททกนกิ าย ธมั มปทคาถา (ขุ.ธ.) ธรรมทปี่ ระพฤตดิ แี ลว ยอมนำสุขมาให ๙. ปมาโท มจจฺ ุโน ปทํ ทม่ี า: คมั ภรี สงั ยุตตนิกาย สคาถวรรค (ส.ํ ส.) ความประมาท เปน ทางแหง ความตาย ๑๘. ธมฺมปต ิ สขุ ํ เสติ ที่มา : คมั ภรี ขุททกนิกาย ธัมมปทคาถา (ขุ.ธ.) พระธีรวฒั น์ จนฺทโสภโณ : วดั ไผ่เงนิ โชตนาราม | ธรรมช้ันตรี 18

ผอู ิ่มในธรรม ยอมนอนเปนสุข 19 ทม่ี า: คัมภีรขทุ ทกนกิ าย ธมั มปทคาถา (ขุ.ธ.) ๑๙. ธมมฺ จารี สุขํ เสติ ๓๑. ทนโฺ ต เสโ ฐ มนุสเฺ สสุ ผปู ระพฤติธรรม ยอมอยเู ปน สขุ ในหมมู นุษยผ ฝู กตนดแี ลว ประเสรฐิ สุด ที่มา: คมั ภรี ข ทุ ทกนิกาย ธัมมปทคาถา (ขุ.ธ.) ทม่ี า: คมั ภรี ข ุททกนิกาย ธมั มปทคาถา (ขุ.ธ.) ๒๐. ธมฺมํ จเร สจุ รติ ํ ๓๒. วสิ ฺสาสปรมา ญาติ พงึ ประพฤตธิ รรม ใหส จุ รติ ความคนุ เคย เปนญาตอิ ยา งย่งิ ทีม่ า: คัมภีรข ุททกนิกาย ธมั มปทคาถา (ขุ.ธ.) ที่มา: คัมภรี ข ทุ ทกนิกาย ธัมมปทคาถา (ข.ุ ธ.) หมวดทกุ ข ๓๓. นตถฺ ิ โลเก อนนทฺ โิ ต ๒๑. ทกุ โฺ ข ปาปสฺส อุจฺจโย ผูไมถ ูกนินทา ไมมีในโลก การสง่ั สมบาป เปน ทุกข (ในโลก) ทีม่ า: คัมภรี ขุททกนิกาย ธมั มปทคาถา (ขุ.ธ.) ท่ีมา: คมั ภีรขุททกนกิ าย ธัมมปทคาถา (ขุ.ธ.) ๓๔. สโุ ข ปุญฺ สสฺ อจุ ฺจโย ๒๒. นตฺถิ ขนธฺ สมา ทุกฺขา การส่งั สมบญุ เปน สุขในโลก ความทุกขอ ่ืน เสมอดวยขนั ธ( ๕) ไมมี ท่มี า: คัมภีรข ทุ ทกนกิ าย ธัมมปทคาถา (ข.ุ ธ.) ท่มี า: คัมภรี ขทุ ทกนกิ าย ธัมมปทคาถา (ขุ.ธ.) ๓๕. สมคฺคานํ ตโป สโุ ข ๒๓. สงฺขารา ปรมา ทุกขฺ า ความพากเพยี รของผูมคี วามสามัคคี นำสุขมาให สังขารทัง้ หลาย เปนทุกขอยางยงิ่ ที่มา: คมั ภีรข ทุ ทกนิกาย ธัมมปทคาถา (ข.ุ ธ.) ทม่ี า: คมั ภรี ขุททกนกิ าย ธมั มปทคาถา (ข.ุ ธ.) ๓๖. สขุ า สงฺฆสสฺ สามคคฺ ี ๒๔. ทุกฺขํ เสติ ปราชโิ ต ความสามคั คีของหมูคณะ นำสขุ มาให ผูพา ยแพ ยอ มนอนเปน ทุกข ท่ีมา: คมั ภีรขุททกนกิ าย ธัมมปทคาถา (ข.ุ ธ.) ท่มี า: คัมภรี ขทุ ทกนกิ าย ธมั มปทคาถา (ข.ุ ธ.) ๓๗. นตฺถิ สนตฺ ิ ปรํ สขุ ํ ๒๗. กิจโฺ ฉ มนสุ ฺสปฏลิ าโภ ความสุขอืน่ ย่งิ กวาความสงบ ไมม ี การไดเกดิ มาเปนมนุษย เปนการยาก ทม่ี า: คมั ภีรขุททกนกิ าย ธมั มปทคาถา (ข.ุ ธ.) ทีม่ า: คัมภรี ข ุททกนกิ าย ธมั มปทคาถา (ข.ุ ธ.) ๓๘. นิพฺพานํ ปรมํ สขุ ํ ๒๘. สทุ ฺธิ อสทุ ฺธิ ปจฺจตฺตํ นพิ พาน เปนสุขอยางย่ิง ความบรสิ ทุ ธ์ิและไมบ รสิ ุทธิ์เปน ของเฉพาะตัว ท่ีมา: คมั ภีรขุททกนกิ าย ธมั มปทคาถา (ขุ.ธ.) ท่ีมา: คมั ภีรขุททกนิกาย ธัมมปทคาถา (ขุ.ธ.) ๓๙. ธโี ร จ สขุ สวํ าโส ๒๙. นาโฺ ญ อญญํ วโิ สธเย การอยรู ว มกบั นกั ปราชญ เปนความสุข ผอู ืน่ จะทำใหผ อู นื่ หมดจดไมไ ดเลย ที่มา: คมั ภรี ข ุททกนิกาย ธมั มปทคาถา (ขุ.ธ.) ท่มี า: คัมภีรข ุททกนิกาย ธัมมปทคาถา (ข.ุ ธ.) หมวดกเิ ลส ๓๐. ปาปานํ อกรณํ สุขํ ๔๐. นตฺถิ ตณหฺ า สมา นที การไมทำบาปทงั้ หลาย เปน ความสุข แมนำ้ เสมอดวยตัณหา ไมมี (แมน ้ำถึงจะใหญ กไ็ ม ทม่ี า: คัมภีรขทุ ทกนิกาย ธัมมปทคาถา (ข.ุ ธ.) เทาตัณหา) ที่มา: คมั ภีรข ุททกนิกาย ธัมมปทคาถา (ข.ุ ธ.) ๔๑. นตฺถิ ราคสโม อคคฺ ิ พระธรี วัฒน์ จนฺทโสภโณ : วัดไผ่เงนิ โชตนาราม | ธรรมช้ันตรี 19

20 ไฟเปรียบเสมอดว ยราคะ ไมมี สุภาษิตท่ีมาในคัมภรี ตา งๆ ท่ีมา: คมั ภีรข ทุ ทกนกิ าย ธมั มปทคาถา (ขุ.ธ.) ๔๙. อตฺตา หิ อตตฺ โน คติ ๔๐. นตฺถิ โมหสมํ ชาลํ ตนแล เปน คติของตน ตาขายเสมอดวยโมหะ ไมมี ทม่ี า: คมั ภรี ขทุ ทกนิกาย ธัมมปทคาถา (ขุ.ธ.) ทีม่ า: คมั ภรี ข ทุ ทกนิกาย ธมั มปทคาถา (ข.ุ ธ.) ๕๐. นตถฺ ิ อตฺตสมํ เปมํ ๔๑. โลโก ธมมฺ านํ ปริปนฺโถ ความรกั (อยางอ่ืน)เสมอดวย(ความรกั )ตนไมม ี ความโลภ เปน อนั ตรายแกธ รรมท้งั หลาย ทม่ี า: คัมภีรส ังยตุ ตนิกาย สคาถวรรค ทมี่ า: คมั ภรี สังยุตตนิกาย สคาถวรรค (ส.ํ ส.) ๕๑. อตฺตานํ นาติวตฺเตยฺย ๔๒. อิจฉฺ า โลกสฺมิ ทชุ ฺชหา บุคคลไมค วรลมื ตน ความอยาก ละไดย ากในโลก ที่มา: คัมภีรขุททกนิกาย ชาตก ตึสนิบาต (ขุ.ชา. ที่มา: คมั ภีรส ังยุตตนิกาย สคาถวรรค (สํ.ส.) ตึส.) หมวดโกรธ ๕๒. กลยฺ าณการี กลฺยาณํ ปาปการี จ ปาปกํ ๔๓. โกธํ ฆตวฺ า สุขํ เสติ ผูทำกรรมดี ยอมไดรับผลดี ผูทำกรรมชั่วยอม ฆา ความโกรธเสยี ได ยอ มอยเู ปนสขุ ไดร ับผลช่วั ที่มา: คมั ภีรส งั ยตุ ตนิกาย สคาถวรรค (สํ.ส.) ทีม่ า: คัมภีรสังยตุ ตนิกาย สคาถวรรค (สํ.ส.) ๔๔. โกธํ ฆตวฺ า น โสจติ ๕๓. กมมฺ นุ า วตตฺ ตี โลโก ฆา ความโกรธเสียได ยอ มไมเศราโศก สัตวโ ลก ยอ มเปน ไปตามกรรม ทมี่ า: คัมภีรสงั ยุตตนิกาย สคาถวรรค (สํ.ส.) ทม่ี า: คัมภีรม ชั ฌมิ นิกาย มัชฌมิ ปณณาสก (ม.ม.) ๔๕. มาโกธสฺส วสํ คมิ ๕๔. นิสมฺม กรณํ เสยฺโย อยาลุอำนาจ แกความโกรธ บคุ คลใครค รวญดีแลว จึงทำดีกวา ที่มา: คัมภีรขุททกนิกาย ชาตก ทุกนิบาต (ขุ.ชา. ท่ีมา:สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระยาวชิร ทุก.) ญาณวโรรส (ว.ว.) หมวดปญ ญา ๕๕. จิตเฺ ต สงกฺ ิลิเฐ ทคุ ฺคติ ปาฏิกงขฺ า ๔๖. นตถฺ ิ ปฺญา สมา อาภา เมอ่ื จติ เศรา หมองแลว ทคุ ตเิ ปน อนั หวงั ได แสงสวาง เสมอดวยปญ ญา ไมม ี ท่ีมา: คัมภรี ม ชั ฌมิ นิกาย มูลปณณาสก (ม.ม)ู ทม่ี า: คมั ภีรสังยุตตนกิ าย สคาถวรรค (ส.ํ ส.) ๕๖. จิตเฺ ต อสงฺกิลิเ ฐ สุคติ ปาฏกิ งขฺ า ๔๗. ปญฺ า โลกสฺมิ ปชโฺ ชโต เม่ือจติ ไมเศราหมองแลว สุคตเิ ปนอนั หวังได ปญญา เปนแสงสวา งในโลก ท่ีมา: คัมภีรมชั ฌิมนิกาย มูลปณณาสก (ม.มู) ทม่ี า: คัมภีรสังยตุ ตนกิ าย สคาถวรรค (ส.ํ ส.) ๕๗. ชยํ เวรํ ปสวติ ๔๘. สสุ ฺสสู ํ ลภเต ปญฺ ํ ผูชนะ ยอมกอเวร ฟงดวยดี ยอ มไดป ญญา ทม่ี า: คมั ภรี ขทุ ทกนิกาย ธัมมปทคาถา (ข.ุ ธ.) ทม่ี า: คัมภีรส งั ยตุ ตนกิ าย สคาถวรรค (ส.ํ ส.) ๕๘. อกฺโกเธน ชเิ น โกธํ พงึ ชนะคนโกรธ ดว ยความไมโ กรธ ทมี่ า: คัมภรี ข ทุ ทกนกิ าย ธัมมปทคาถา (ข.ุ ธ.) พระธรี วฒั น์ จนฺทโสภโณ : วดั ไผ่เงินโชตนาราม | ธรรมช้ันตรี 20

๖๙. อสาธุ สาธนุ า ชิเน 21 พึงชนะคนไมด ี ดว ยความดี ทีม่ า: คมั ภีรข ุททกนกิ าย ธัมมปทคาถา (ข.ุ ธ.) ท่ี ม า :ส ม เด็ จ พ ระ ม ห าส ม ณ เจ าก ร ม พ ระ ย าว ชิ ร ๖๐. ชิเน กทริยํ ทาเนน ญาณวโรรส (ว.ว.) พึงชนะคนตระหนี่ ดวยการให ๖๕. ยโส ลทธฺ า น มชเฺ ชยย ที่มา: คัมภรี ข ทุ ทกนกิ าย ธมั มปทคาถา (ข.ุ ธ.) บคุ คล ไดยศแลว ไมพงึ มัวเมา ๖๑. ธมฺโม หเว รกขฺ ติ ธมมฺ จารี ท่ีมา: คัมภีรขุททกนิกาย ชาตก จตุกกนิกาย (ขุ. ธรรมแล ยอ มรักษาผูประพฤตธิ รรม ชา.จตกุ ก.) ทม่ี า: คมั ภรี ข ุททกนกิ าย เถรคาถา (ขุ.เถร.) ๖๖. ปญญาย มคฺคํ อลโส น วินทฺ ติ ๖๒. สงฺขารา สสฺสตา นตถฺ ิ คนเกยี จคราน ยอ มไมพบทางแหง ปญญา สงั ขารท่ีเทย่ี งแทย ่งั ยนื ไมมี ทม่ี า: คัมภีรข ุททกนิกาย ธมั มปทคาถา (ขุ.ธ.) ท่ีมา: คัมภีรขุททกนกิ าย ธัมมปทคาถา (ข.ุ ธ.) ๖๗. สกมฺมุนา หญฺ ติ ปาปธมฺโม ๖๓. อนจิ จฺ า วต สงฺขารา คนมีสันดานชั่ว ยอมเดอื ดรอน เพราะกรรม สงั ขารทัง้ หลาย ไมเทีย่ งหนอ ของตน ทม่ี า: คัมภรี ทฆี นิกาย มหาวรรค (ท.ี มหา.) ทีม่ า: คัมภีรขุททกนิกาย เถรคาถา (ข.ุ เถร.) ๖๔. อรติ โลกนาสกิ า ๗๘. วิรเิ ยน ทกุ ขฺ มจฺเจติ ความริษยา เปนเหตุทำใหโลกฉิบหาย คนจะลวงทกุ ขได เพราะความเพียร ทมี่ า: คมั ภีรขุททกนกิ าย สตุ ตนบิ าต (ข.ุ สุ. พระธีรวัฒน์ จนฺทโสภโณ : วัดไผ่เงินโชตนาราม | ธรรมช้ันตรี 21

22 วิชาธรรม บทนำ มนุษยทกุ รปู ทกุ นาม ลว นปรารถนาความสขุ ดวยกนั ทงั้ นั้น และเปน ที่รบั รองตองกันของวญิ ู ชนวา เหตุหรอื ทางมาแหง ความสุขของมนุษยน ั้น ทส่ี ำคัญมี ๓ อยาง คอื ๑. วิชาความรู ๒. อาชีพการ งาน ๓. ธรรม คอื ศลี ธรรม แตสวนมากมักจะใหค วามสำคัญเพยี ง ๒ อยา ง คือ วชิ าความรกู บั อาชีพการงานเพราะมอง เหน็ ชดั วา คนทม่ี คี วามรดู ี ยอมมอี าชพี การงานทีด่ ี อาชพี การงานท่ดี ีกอใหเ กิดทรัพย ทรพั ยยอม นำมาซึง่ ทุกสงิ่ ทุกอยา งทป่ี รารถนาและตอ งการ เลยพากนั ท้งิ ธรรม คือ ศีลธรรม มนุษยจึงไมไ ดร บั ความสขุ ทแ่ี ทจรงิ การขาดธรรม คือ ศีลธรรม สรา งปญหาใหก บั สงั คมมนษุ ยมากมาย ดังตัวอยางที่ไดเห็นและได ยินอยูเสมอ บางคนบางครอบครัว มีความรูสงู มที รัพยส นิ เงินทองมาก แตไ มม ีความสุขเลยทำรายกนั ถงึ กบั ฆา กนั กม็ ี หรือบางสังคม บางประเทศขาดธรรมคอื ความเมตตากรณุ า มีแตค วามอาฆาตพยาบาท ทำลายลางกันตลอดเวลา ทัง้ ท่มี เี ศรษฐกิจดี กห็ าความสุขไมไ ด ดงั นั้น ธรรม คือศีลธรรม จงึ มีความจำเปนสำหรับมนุษย ไมนอ ยไปกวาวชิ าความรู และ อาชพี การงาน การทน่ี ักเรียน นกั ศึกษา มาสนใจศกึ ษาธรรมเพอ่ื นำเอาไปใชใ นชวี ติ ประจำวัน และ อาชีพการงาน จึงเทากบั เปน การหาอบุ ายสรางความสุขใหแกต น เพราะธรรมนนั้ สามารถนำความสขุ มา ใหแ กผ ปู ระพฤติ ทงั้ ในปจจุบันและในภายภาคหนา ดังพระพทุ ธพจนวา ธมม จารี สุขํ เสติ อสม ิ โลเก ปรมห ิ จ. ผูป ระพฤตอิ ยา งสม่ำเสมอ ยอ มอยเู ปน สุขทงั้ ในโลกนี้และในโลกหนา พระธรี วฒั น์ จนฺทโสภโณ : วัดไผ่เงินโชตนาราม | ธรรมช้ันตรี 22

23 ๒. วชิ าธรรม ธรรมศึกษา ช้นั ตรี ทกุ ะ หมวด ๒ ธรรมมอี ุปการะมาก ๒ อยาง ๑. สติ ความระลึกได ๒ . สัมปชัญญะ ความรูต ัว สติ ความระลึกได หมายความวา กอ นจะทำจะพูด คดิ ใหร อบคอบกอ น แลวจงึ ทำจงึ พูด ออกไป สมั ปชญั ญะ ความรูตัว หมายความวา ขณะทำ ขณะพูดมคี วามรูตัวทั่วพรอ มอยูตลอดเวลา ไมใ ชทำหรือพูดเรอื่ งหนงึ่ ใจคดิ อกี เรือ่ งหน่งึ ธรรมท้งั ๒ น้ี ชว ยรักษาจิตจากอกุศลธรรมและชวยใหจติ ประกอบดวยกศุ ลธรรมทกุ อยา ง เหมือนมหาอำมาตยผูม ีความรคู วามสามารถ ทำราชกจิ ทกุ อยางใหสำเร็จเรยี บรอ ย เพราะฉะนนั้ จึงช่ือวา ธรรมมอี ปุ การะมาก ธรรมเปนโลกบาล คือคมุ ครองโลก ๒ อยา ง ๑. หิริ ความละอายแกใ จ ๒. โอตตัปปะ ความเกรงกลัว หิริ ความละอายแกใ จ หมายความวารสู ึกรังเกยี จทุจริต มีกายทุจริต เปนตน เหมอื นคน เกลยี ดสงิ่ โสโครกมอี ุจจาระ เปนตน ไมอ ยากจบั ตอ ง โอตตปั ปะ ความเกรงกลวั หมายความวา สะดงุ กลวั ตอ ทจุ รติ มกี ายทจุ ริต เปน ตน เหมอื นคนกลวั ความรอ นของไฟ ไมก ลา ไปจับไฟ คนดที ั้งหลายยอ มเคารพตน คือคดิ ถึงฐานะของตนมีชาติและตระกลู เปนตน ดวยหิริ ยอม เคารพผอู ื่น คือคดิ ถึงเทวดาทีค่ มุ ครองรักษาตนเปนตน ดวยโอตตปั ปะแลว งดเวนจากการทำบาป รกั ษาตน ใหบริสุทธ์ิ เพราะฉะนั้น ธรรมทงั้ ๒ นี้ จงึ ชอ่ื ธรรมคุมครองโลก และธรรมทั้ง ๒ ประการนี้ เรียกวา “เทวธรรม” เพราะทำจิตใจของมนุษยใ หสูงเย่ียงเทวดา ธรรมอนั ทำใหง าม ๒ อยาง ๑. ขันติ ความอดทน ๒. โสรจั จะ ความเสงีย่ ม ขันติ ความอดทน หมายความวา ทนไดไมพ า ยแพ ความหนาว รอน หิว กระหาย ทุกขเวทนา อนั เกดิ จากความเจ็บปว ย ความบาดเจบ็ ถอยคำดาวาเสยี ดสีดถู กู ดหู มน่ิ และการถูกทำราย พระธรี วัฒน์ จนฺทโสภโณ : วัดไผ่เงนิ โชตนาราม | ธรรมช้ันตรี 23

24 โสรัจจะ ความเสงยี่ ม หมายความวา เปนผูไ มมอี าการผดิ แปลกไปจากปกตปิ ระหนึ่งวา ไมเ หน็ ไมไดยนิ ไมร บั รูความหนาว ความรอ นเปน ตน เหลา นน้ั อนึง่ การไมแ สดงอาการเหอเหมิ จนเปนท่ีบาดตาบาดใจคนอืน่ เมอื่ เวลาไดดี กค็ วรจัดเปนโสรัจ จะดวย บคุ คลผูมีขันตแิ ละโสรัจจะ ยอมประคองใจใหอยูในปกตภิ าพท่ดี ีอยางสมำ่ เสมอ ไมพลงุ พลาน หรือซบเซาในยามมคี วามทุกข ไมเหอ เหิมหรอื เหลงิ ในยามมคี วามสุข เพราะฉะนั้น ขนั ตแิ ละ โสรัจจะ จึง ช่อื วา ธรรมอนั ทำใหง าม บุคคลหาไดย าก ๒ อยา ง ๑. บุพพการี บุคคลผูท ำอปุ การะกอ น ๒. กตญั กู ตเวที บุคคลผรู อู ปุ การะทีท่ านทำแลว และตอบแทน บพุ พการี บคุ คลผทู ำอุปการะกอ น หมายความวา เปนผูชว ยเหลอื เกื้อกลู ผอู ืน่ โดยไมคิดถึงเหตุ ๒ ประการ คือ ๑. ผูนน้ั เคยชวยเหลือเรามากอน ๒. ผนู นั้ จะทำตอบแทนเราในภายหลงั ยกตัวอยา ง เชน บิดามารดาเลย้ี งดบู ุตรธดิ า และครูอาจารยส ัง่ สอนศิษยเ ปนตน กตญั กู ตเวที บุคคลผรู ูอปุ การะทที่ านทำแลวและตอบแทน หมายความวา ผูไดร ับการ ชว ยเหลือจากใครแลวจดจำเอาไว ไมลืม ไมล บลาง ไมทำลายจะดวยเหตใุ ดกต็ าม คอยคิดถงึ อยเู สมอ และทำตอบแทนอยา งเหมาะแกอุปการะที่ตนไดร ับมา บพุ พการี ชอื่ วาหายาก เพราะคนทว่ั ไปถกู ตณั หาครอบงำ คอื อยากไดม ากกวา อยากเสีย กตญั กู ตเวที ชอ่ื วาหายาก เพราะคนสวนมากถูกอวชิ ชา ไดแกก เิ ลสทที่ ำลายความรู เชน ความโลภ ความโกรธ และความตระหนเี่ ปน ตน ครอบงำ คอื ปด บังความรูสึกทีด่ ี นนั้ เสยี ตกิ ะ คือ หมวด ๓ รตนะ ๓ อยาง พระพุทธ ๑ พระธรรม ๑ พระสงฆ ๑ ๑. ทา นผูสอนใหประชุมชนประพฤติชอบดว ย กาย วาจา ใจ ตามพระธรรมวินัยทเี่ รยี กวา พระพุทธศาสนา ช่ือพระพุทธเจา ๒. พระธรรมวนิ ัยทเี่ ปนคำสอนของทาน ชอื่ พระธรรม ๓. หมูชนทฟี่ งคำส่งั สอนของทานแลว ปฏิบตั ชิ อบตามพระธรรมวนิ ยั ช่ือพระสงฆ รตนะ แปลวา ส่ิงท่ใี หเกิดความยนิ ดี หมายถงึ สงิ่ ทีม่ รี าคาแพง เชน เพชร พลอย ทองคำ หรอื สิ่งอื่นใดก็ตามที่ชาวโลกเขานยิ มกนั หรอื ของวิเศษ เชน รตนะ ๗ อยา ง ของพระเจา จกั รพรรดิ คอื ชางแกว มาแกว ขนุ พลแกว ขนุ คลงั แกว นางแกว จักรแกว แกวมณี พระธรี วัฒน์ จนฺทโสภโณ : วดั ไผ่เงินโชตนาราม | ธรรมช้ันตรี 24

25 พระพทุ ธเจา พระธรรม และพระสงฆ ทรงจดั วา เปน รตนะ เพราะเปน ผูมีคา มากโดยตนเอง เปนผูสงบจากบาปแลว สอนผอู ืน่ ใหล ะช่ัวประพฤติชอบ ถา คนในโลกไมล ะช่ัวประพฤตชิ อบแลว สงิ่ มีคา ท้งั หลายกจ็ ะกลายเปนศัตรนู ำภัยอันตรายมาสตู นเอง เพราะฉะนั้น พระพทุ ธเจา พระธรรม และพระสงฆ จึงช่อื วา รตนะ คอื เปนสงิ่ ที่มีคา นา ยนิ ดี คุณของรตนะ ๓ อยา ง พระพทุ ธเจา รูดีรูชอบดว ยพระองคเ องกอ นแลว สอนผอู น่ื ใหร ตู ามดว ย พระธรรมยอ มรักษาผปู ฏิบตั ิไมใ หตกไปในท่ชี ่วั พระสงฆ ปฏบิ ตั ชิ อบตามคำสอนของพระพทุ ธเจา แลว สอนใหผ ูอนื่ กระทำตามดวย โอวาทของพระพทุ ธเจา ๓ อยา ง ๑. เวนจากทุจริต คือประพฤติชว่ั ดวยกาย วาจา ใจ ๒. ประกอบสุจริต คือประพฤตชิ อบ ดวยกาย วาจา ใจ ๓. ทำใจของตนใหหมดจดจากเครอ่ื งเศรา หมองใจ มีโลภ โกรธ หลง เปนตน ทจุ ริต ๓ อยาง ๑. ประพฤติชัว่ ดวยกาย เรยี กกายทุจรติ ๒. ประพฤติช่ัวดวยวาจา เรียกวจีทจุ รติ ๓. ประพฤติช่วั ดว ยใจ เรยี กมโนทุจริต กายทจุ รติ ๓ อยาง ฆา สตั ว ๑ ลักฉอ ๑ ประพฤติผิดในกาม ๑ วจีทจุ ริต ๔ อยา ง พูดเทจ็ ๑ พดู สอเสยี ด ๑ พูดคำหยาบ ๑ พูดเพอเจอ ๑ มโนทุจริต ๓ อยา ง โลภอยากไดข องเขา ๑ พยาบาทปองรา ยเขา ๑ เห็นผิดจากคลองธรรม ๑ ทุจริต (ความประพฤติช่วั ) ๓ อยางนี้ เปนสงิ่ ไมค วรทำ ควรละเสยี สจุ ริต ๓ อยาง ๑ ประพฤตชิ อบดวยกาย เรยี กกายสจุ ริต ๒. ประพฤติชอบดวยวาจา เรียกวจีสจุ ริต พระธรี วฒั น์ จนฺทโสภโณ : วัดไผ่เงินโชตนาราม | ธรรมช้ันตรี 25

26 ๓. ประพฤติชอบดวยใจ เรยี กมโนสุจรติ กายสุจริต ๓ อยาง เวน จากฆาสตั ว ๑ เวนจากลกั ฉอ ๑ เวนจากประพฤตผิ ดิ ในกาม ๑ วจสี จุ ริต ๔ อยา ง เวนจากพดู เทจ็ ๑ เวนจากพูดสอเสยี ด ๑ เวนจากพูดคำหยาบ ๑ เวนจากพดู เพอเจอ ๑ มโนสุจรติ ๓ อยาง ไมโลภอยากไดของเขา ๑ ไมพยายามปองรา ยเขา ๑ เห็นชอบตามคลองธรรม ๑ สุจรติ (ความประพฤตชิ อบ) ๓ อยางนี้ เปนกิจควรทำ ควรประพฤติ อกุศลมลู ๓ อยา ง รากเหงาของอกุศล เรียกอกุศลมูล มี ๓ อยา ง คือ โลภะ อยากได ๑ โทสะ คิด ประทษุ รา ยเขา ๑ โมหะ หลงไมรูจ รงิ ๑ เม่อื อกุศลทงั้ ๓ น้ี กด็ ี ขอใดขอหนึ่งก็ดมี ีอยใู นใจ อกุศลอื่นท่ียงั ไมเกดิ กเ็ กดิ ขึน้ ท่ีเกดิ แลวก็ เจรญิ มากข้ึน เหตุน้นั จึงช่ือวา อกศุ ลมูล คอื รากเหงาของอกศุ ล ทานสอนใหละเสีย กศุ ลมลู ๓ อยา ง รากเหงา ของกศุ ล เรียกกศุ ลมลู มี ๓ อยา ง คือ อโลภะ ไมอยากได ๑ อโท สะ ไมค ิดประทษุ รา ยเขา ๑ อโมหะ ไมห ลง ๑ เม่อื กศุ ลทง้ั ๓ นี้ กด็ ี ขอ ใดขอ หนงึ่ ก็ดีมอี ยูในใจ กศุ ลอ่ืนทีย่ ังไมเกิดก็เกิดขนึ้ ทีเ่ กิดข้นึ แลว ก็ เจริญมากข้นึ เหตนุ น้ั จึงชอื่ วากศุ ลมูล คือรากเหงาของกศุ ล ทานสอนวา ควรใหเ กิดขึ้นในใจอยาง ตอ เน่อื ง สัปปุริสบัญญัติ คือขอท่ที านสัตบุรุษตงั้ ไว ๓ อยาง ๑. ทาน สละส่งิ ของของตน เพือ่ ประโยชนแ กผูอ ื่น ๒. ปพพชั ชา ถือบวช เปนอุบายเวนจากการเบยี ดเบียนกนั และกนั ๓. มาตาปต ุอปุ ฏฐาน ปฏิบตั มิ ารดา บิดาของตนใหเปน สุข สัตบรุ ษุ แปลวาคนดีมคี วามประพฤติทางกาย วาจาและใจอันสงบ กายสงบ คือเวน จาก กายทจุ ริต ๓ วาจาสงบ คอื เวนจากวจีทุจรติ ๔ ใจสงบ คือเวน จากมโนทจุ ริต ๓ และเปนผูทรง ความรู ทาน แปลวา การให หมายถึงการใหส่ิงของของตน มีขาว น้ำเปนตน แกบ คุ คลอ่ืนดวย วัตถปุ ระสงค ๒ อยา ง คือ ๑. เพ่ือบชู าคุณของผมู คี ณุ ความดี เชนการทำบุญแกพระสงฆเ ปน ตน ๒ เพ่ือ ชวยเหลือบคุ คลผขู าดแคลน เชนการชว ยเหลอื ผูประสบภัยเปน ตน ปพพัชชา แปลวา การถือบวช หมายถึง นำกายและใจออกหางจากกามคณุ อันเปน เหตุแหง การเบียดเบียนกนั แมผูเ ปนฆราวาสจะทำเชนนบ้ี างคร้ังบางคราวกเ็ กดิ ประโยชนไ ด พระธีรวฒั น์ จนฺทโสภโณ : วัดไผ่เงนิ โชตนาราม | ธรรมช้ันตรี 26

27 มาตาปต อุ ุปฏฐาน แปลวา การปฏิบัตบิ ิดาและมารดา หมายถงึ การเลย้ี งดูทาน ชว ยทาน ทำงาน รักษาชือ่ เสยี งวงศตระกลู รักษาทรัพยม รดก และเม่อื ทา นถึงแกก รรมทำบญุ ใหทา น บุญกริ ยิ าวัตถุ ๓ อยา ง ส่งิ เปนทตี่ ั้งแหงการบำเพ็ญบญุ เรียกบุญกริ ยิ าวัตถุ โดยยอมี ๓ อยาง ๑. ทานมยั บุญสำเร็จดวยการบรจิ าคทาน ๒. สลี มัย บญุ สำเร็จดว ยการรกั ษาศีล ๓. ภาวนามยั บุญสำเร็จดวยการเจรญิ ภาวนา บญุ มคี วามหมาย ๒ ประการ คือ ๑. เครื่องชำระสง่ิ ท่ีไมด ีที่นอนเน่อื งอยูใ นใจ ๒. สภาพทก่ี อ ใหเ กิดความนา บูชา บญุ น้ันเปน สง่ิ ที่ควรทำ จึงชือ่ วา บญุ กิริยา บุญท่ีควรทำนั้น เปนที่ตงั้ แหง สุขวิเศษ จึงชื่อวา บญุ กริ ยิ าวตั ถุ ทาน คอื เจตนาท่ีเสียสละสิ่งของ หมายถึง เสียสละเพ่ือทำลายกิเลสคือความโลภ ในใจของตน ศลี คอื เจตนาที่ตั้งไวด โี ดยหา มกายกรรมและวจกี รรมทม่ี ีโทษ แลว ใหสมาทานกรรมดีไมม ีโทษ และเปน ทต่ี ง้ั ของกศุ ลธรรมชั้นสูง มีสมาธแิ ละปญ ญาเปน ตน ภาวนา คอื เจตนาที่ทำใหก ุศลเจรญิ หมายความวา ทำกศุ ลทีย่ งั ไมเ กิดใหเกดิ ขน้ึ และทำกศุ ล ท่ีเกิดขนึ้ แลวใหเ พ่มิ พนู มากขึ้น จตุกกะ คือ หมวด ๔ วุฑฒิ คอื ธรรมเปน เครื่องเจริญ ๔ อยา ง ๑. สปั ปรุ ิสสงั เสวะ คบทานผูประพฤตชิ อบดว ยกาย วาจา ใจ ที่เรยี กวา สัตบุรุษ ๒. สัทธัมมสั สวนะ ฟงคำสอนของทานโดยเคารพ ๓. โยนโิ สมนสิการ ตรติ รองใหรูจกั สิ่งที่ดีหรอื ช่วั โดยอุบายทีช่ อบ ๔. ธัมมานุธมั มปฏิปตติ ประพฤติธรรมสมควรแกธรรมท่ีไดตรองเห็นแลว วุฑฒิ คอื ธรรมเปน เครื่องเจริญ หมายความวา ถา ทางคดีโลก ก็เปนเหตใุ หเ จรญิ ดวย วชิ า ความรู ทรัพยสนิ เงินทองและคุณความดี ถาเปน คดีธรรมกเ็ ปนเหตุใหเ จริญดว ยศลี สมาธิ และปญ ญา สตั บุรุษ คือ คนดีมคี วามรูดงั ไดอ ธบิ ายแลว ในสัปปุรสิ สบัญญัติ การคบ คอื การเขาไปหาคนดดี วยมุงหวังจะซมึ ซับเอาความดจี ากทา นมาสตู น ฟงคำสอนของ ทานโดยเคารพ คือใหความสำคญั ตอ คำสอนและผสู อน ไมใชฟ ง พอเปนมารยาท ไมสนใจทีจ่ ะนำเอาไป ปฏบิ ัติ โยนโิ สมนสกิ าร คอื พจิ ารณาดวยปญ ญาถงึ สิ่งทีท่ า นสอนวา ช่ัวน้ันชัว่ จรงิ ไหม และท่ที า น สอนวา ดีน้ันดจี ริงไหม ช่ัว คือเปนเหตใุ หเ กิดทกุ ขเกดิ โทษ ดี คือเปน เหตใุ หเกดิ ประโยชนเ กดิ ความสขุ ทั้งแกตนเองและผอู ่นื พระธีรวัฒน์ จนฺทโสภโณ : วัดไผ่เงินโชตนาราม | ธรรมช้ันตรี 27

28 ธมั มานธุ มั มปฏปิ ตติ คือ ๑. ธัมมะ หมายถึง เปาหมายท่ีตั้งเอาไว ๒. อนธุ ัมมะ หมายถึง วิธีการทจ่ี ะทำใหบรรลุถงึ เปาหมายทตี่ ้ังเอาไว ๓. ปฎปิ ต ติ หมายถึง การปฏบิ ตั ิ คือการลงมือทำรวมกันแลวเปน ธมั มานุธัมมปฏิบัติ ทานแปลวา ประพฤติธรรมสมควรแกธรรมท่ไี ดตรองเหน็ แลว ยกตัวอยางเชน นกั เรยี นตอ งการจะมีงานทำทดี่ ี นักเรียนจะตองขยันเอาใจใส ตง้ั ใจเรยี น ไมเอาแตเที่ยวเตรเ สเพล จักร ๔ ๑. ปฏริ ูปเทสวาสะ อยูในประเทศอนั สมควร ๒. สัปปุริสูปส สยะ คบสตั บรุ ษุ ๓. อัตตสมั มาปณิธิ ตงั้ ตนไวช อบ ๔. ปพุ เพกตบุญญตา ความเปนผูไดก ระทำความดีไวในปางกอ น จักร หรือ บางแหงเรียกวา จักรธรรม แปลวา ธรรมท่เี ปรยี บเหมอื นลอ รถอนั สามารถนำพา ชีวิตของผปู ฏิบัติตามไปสูความเจรญิ ทั้งทางโลกและทางธรรม การอยใู นประเทศอันสมควร หมายถึง อยใู นสงั คมของคนที่มศี ีลธรรม มคี วามรู การคบสตั บรุ ษุ มีอธบิ ายเหมอื นในวุฑฒธิ รรม การตงั้ ตนไวชอบ หมายถงึ ประพฤติตนในศีลธรรมเคารพกฎหมายบานเมอื ง รกั ษาวัฒนธรรม และประเพณที ่ดี งี าม ปุพเพกตบุญญตา ความเปน ผไู ดก ระทำความดไี วใ นปางกอ น หมายถึง ไดส รางเหตุแหง ประโยชนและความสุขไวใ นชาติกอน ปก อ น เดือนกอ น หรือวนั กอน เชนนกั เรียนต้ังใจเรยี นในวนั น้ี จะ เปน เหตใุ หไ ดหนาท่ีการงานท่ดี ีในวนั หนา เปนตน อคติ ๔ ๑. ลำเอียง เพราะรักใครก นั เรยี กฉันทาคติ ๒. ลำเอียง เพราะไมช อบกนั เรียกโทสาคติ ๓. ลำเอยี ง เพราะเขลา เรยี กโมหาคติ ๔. ลำเอยี ง เพราะกลวั เรียกภยาคติ อคติ ๔ ประการนี้ ไมควรประพฤติ อคติ แปลวา การถึงฐานะทไี่ มควรถึง ทานแปลเอาใจความวา ความลำเอยี ง ในสิคาลสตู รตรสั เรยี กวา เหตใุ หทำบาป บาปธรรมท้งั ๔ น้ีโดยมากเกิดกบั ผูม อี ำนาจ คนที่ตนรัก ผิดก็หาทางชวยเหลอื ไมลงโทษ ไมม ีความรู ความสามารถ ก็แตงต้งั ใหเปน ใหญ เปนตน ชอ่ื วามีฉนั ทาคติ คนที่ตนเกลียด คอยจองจบั ผิด คอยขดั ขวางความเจรญิ กาวหนา และทำลายลางเปน ตน ชือ่ วา มีโทสาคติ พระธรี วัฒน์ จนฺทโสภโณ : วัดไผ่เงนิ โชตนาราม | ธรรมช้ันตรี 28

29 ไมรขู อมูลทแี่ ทจ ริง ทำโทษหรือยกยอ งคนไปตามคำบอกเลา ของผูประจบสอพลอ เปน ตน ชอ่ื วา มโี มหาคติ หวงั เกาะผมู ีอำนาจ กลัวเขาจะไมชวยเหลือจึงทำสงิ่ ทไี่ มถกู ตอ งอันผิดกฎหมายผิดศลี ธรรม เปน ตน ชอื่ วา มีภยาคติ ผูประพฤตอิ คติ ๔ ประการน้ี ยอ มเปนผูไรเกยี รติ ดังพระพุทธพจนวา ผูลว งละเมดิ ธรรม เพราะความรกั ความชัง ความหลง และความกลวั เกียรติยศของผนู ั้นยอมเส่ือมจากใจคน เหมอื นดวง จนั ทรข า งแรม ปธาน คือความเพยี ร ๔ อยาง ๑. สงั วรปธาน เพียรระวงั บาปไมใหเกิดขน้ึ ในสนั ดาน ๒. ปหานปธาน เพยี รละบาปที่เกดิ ขนึ้ แลว ๓. ภาวนาปธาน เพียรใหก ศุ ลเกิดขึ้นในสันดาน ๔. อนุรักขนาปธาน เพียรรกั ษากุศลท่ีเกดิ ข้ึนแลวไมใ หเ สอื่ ม ความเพียร ๔ อยา งนี้ เปน ความเพยี รชอบควรประกอบใหม ีในตน ปธาน เปนชอื่ ของความเพยี รท่แี รงกลาไมยน ยอทอ ถอย ดังพระพทุ ธพจนวา แมเ นอ้ื และเลอื ด ในรางกายจะเหอื ดแหงไป เหลอื อยแู ตห นัง เอน็ และกระดกู กต็ าม เมอ่ื ยังไมบ รรลผุ ลท่ีจะพงึ บรรลไุ ดดวย เร่ยี วแรงของลกู ผชู าย ความหยดุ ยง้ั แหงความเพียรจะไมมี ความเพยี รมีอยางเดยี วแตท ำหนา ที่ ๔ อยาง คือ ๑. เพียรระวังความช่ัวทยี่ ังไมเ คยทำ ไม เคยพดู ไมเคยคิด อยา ใหเ กดิ ขึน้ ๒ เพียรละความชั่วท่เี คยเผลอตัวทำ พูดและคดิ มาแลว โดยจะไมท ำ อยางนัน้ อีก ๓. เพียรสรา งความดที ี่ยังไมเคยทำ ไมเ คยพูด ไมเคยคดิ ๔. เพยี รรักษาความดีทีเ่ คยทำ เคย พูด เคยคดิ มาแลว โดยการทำ พดู และคิดความดีนนั้ บอ ย ๆ อธษิ ฐานธรรม ๔ คอื ธรรมทค่ี วรต้ังไวในใจ ๔ อยา ง ๑. ปญ ญา รอบรูส่งิ ท่ีควรรู ๒. สจั จะ ความจรงิ ใจ คือประพฤติสงิ่ ใดก็ใหไดจรงิ ๓. จาคะ สละส่ิงที่เปนขา ศึกแกความจรงิ ใจ ๔. อุปสมะ สงบใจจากสงิ่ ท่เี ปน ขาศึกแกความสงบ อธิษฐานธรรม ทานแปลวา ธรรมทีค่ วรต้ังไวในใจ หมายความวา ใหแสวงหาธรรมท้งั ๔ น้ี มาเกบ็ ไวในใจตน โดยการฝกฝนปฏบิ ัตติ ามใหไ ด จะทำใหเ ปนคนมีคาแกส ังคม และมีความสุขใจแกตนเอง ดวย ปญ ญา รอบรูส่ิงท่ีควรรู ในทางธรรมหมายถึง รสู ภาวธรรม มขี ันธเ ปน ตน ตามความจริงวา ทุกสิ่งทกุ อยางเกดิ ขน้ึ แลวกด็ ับไป ไมค วรไปยึดมัน่ ถอื มัน่ ใหเ กิดทิฎฐมิ านะ แบงชนั้ วรรณะ เปนตน ในทาง พระธรี วฒั น์ จนฺทโสภโณ : วัดไผ่เงนิ โชตนาราม | ธรรมช้ันตรี 29

30 โลกหมายถงึ รูเหตแุ หงความเสอื่ มและความเจรญิ ตลอดถึงรูวชิ าการตาง ๆ อนั เปน เหตุเกิดของทรพั ย เกยี รติ และความสุข เปนตน สัจจะ ความจรงิ ใจ หมายความวา รวู า อะไรไมด ีก็ละใหไ ดจรงิ รวู าอะไรดมี ีประโยชนกต็ ัง้ ใจทำ ใหไดจริง สัจจะนนี้ ำความดีทกุ ชนิดมาสตู น ดังโพธสิ ตั วภาษิตวา สมณพราหมณท ัง้ หลายขามพน ชราและ มรณะได เพราะตั้งอยูในสัจจะ จาคะ สละส่งิ ท่เี ปน ขา ศกึ แกความจรงิ ใจ หมายความวา รจู กั กลับตัวกลบั ใจจากความไมด ี ท้งั หลายที่เคยทำ เคยพดู เคยคดิ และเคยยึดติดมากอน อปุ สมะ สงบใจจากส่ิงทเี่ ปนขา ศึกแกค วามสงบ หมายความวา รจู กั ดับความขุนของหมองใจ ความวิตกกังวลตาง ๆ อันเกดิ จากกิเลสมนี ิวรณ ๕ เปนตน อิทธบิ าท คอื คุณเคร่อื งใหส ำเรจ็ ความประสงค ๔ อยาง ๑. ฉนั ทะ พอใจรกั ใคร ในส่ิงน้ัน ๒. วริ ิยะ เพียรประกอบส่ิงนั้น ๓. จิตตะ เอาใจฝกใฝในสิ่งนัน้ ไมว างธุระ ๔. วิมงั สา หมั่นตริตรองพิจารณาเหตุผลในสิ่งน้นั คณุ ๔ อยา งน้ี มบี ริบูรณแ ลว อาจชกั นำบคุ คลใหถึงสงิ่ ทีต่ อ งประสงค ซงึ่ ไมเหลอื วิสัย อิทธิ แปลวา ความสำเร็จ บาท หรอื ปาทะ แปลวา เหตทุ ที่ ำใหถึง อทิ ธบิ าท จงึ แปลวา เหตุท่ีใหถ ึงความสำเร็จ หมายถึง เหตทุ ่มี ีกำลังในการบรรลคุ วามสำเร็จ ฉันทะ คอื ความปรารถนา ความตองการ ความประสงค หวามมุงหมาย เมือ่ ตอเขากบั อทิ ธิ บาท จึงมีความหมายวา ความปรารถนา ความตองการ ความประสงค ความมุง หมายท่มี กี ำลังในการ บรรลุความสำเรจ็ อทิ ธิบาท คือ ฉันทะ ยอมพาเอาความคิดจติ ใจทงั้ หมดไปรวมอยูกบั ส่งิ ทปี่ รารถนา ท่พี อใจ เหมอื นกระแสนำ้ ที่ไหลมาอยางแรง ยอมพัดพาเอาตน ไม กอไผ กอหญา เปนตน ไปกบั กระแสนำ้ ดวย วิริยะอิทธิบาท จติ ตะอทิ ธบิ าท และวิมงั สาอทิ ธิบาท ก็มีอธิบายเหมอื น อยา งนี้ วิรยิ ะ คอื ความอาจหาญในการงาน ยอมสำคญั งานใหญว า งานเลก็ งานหนกั วางานเบา งาน ยากวา งานงาย ทางไกลวาทางใกล เปนตน จิตตะ คือ ความคิดถึงการงานนัน้ แบบใจจดใจจอ เปรียบเหมอื นคนกระหายนำ้ จดั ใจคิดถงึ แตน้ำตลอดเวลา วิมังสา ความไตรตรอง ใชปญญาพิจารณาหาเหตุผลและวิธีการที่จะทำงานนนั้ ใหส ำเร็จลงใหได พระธีรวัฒน์ จนฺทโสภโณ : วดั ไผ่เงินโชตนาราม | ธรรมช้ันตรี 30

31 ควรทำความไมป ระมาทในท่ี ๔ สถาน ๑. ในการละกายทุจรติ ประพฤตกิ ายสจุ รติ ๒. ในการละวจีทุจริต ประพฤติวจสี ุจรติ ๓. ในการละมโนทุจรติ ประพฤติมโนสุจริต ๔. ในการละความเหน็ ผิด ทำความเห็นใหถูก อกี อยางหน่ึง ๑. ระวังใจไมใหกำหนดั ในอารมณเ ปนที่ต้ังแหงความกำหนดั ๒. ระวงั ใจไมใ หข ัดเคอื งในอารมณเ ปนทีต่ ้ังแหงความขดั เคอื ง ๓. ระวังใจไมใ หห ลงในอารมณเปนท่ีต้ังแหง ความหลง ๔. ระวังใจไมใหม วั เมาในอารมณเปน ทีต่ ั้งแหง ความมัวเมา ความประมาท คอื ความขาดสติอันกอใหเ กิดผลเสยี ๓ ประการ คือ ๑. ใหเกดิ การทำความช่วั ๒. ใหหลงลมื ทำความดี ๓. ไมท ำความดีอยา งตอเนอื่ ง ความไมประมาท คือความมีสติกำกับใจอยูเสมอ ใหเ กิดความคดิ เปนกุศล ดังนี้ ๑. ไมทำความช่วั ๒. ไมลืมทำความดี ๓. ทำความดีใหดีย่ิงขึน้ ไปอยา งตอเน่ือง เม่อื สรปุ คำสอนทงั้ ๒ นยั นี้ ยอ มไดค วามไมประมาท ๓ ประการ คือ ๑. ระวังอยาไปทำความช่วั ๒. อยาลืมทำความดี ๓. อยา ปลอยใจใหไปคดิ เรื่องบาปเร่ืองอกุศล พรหมวิหาร ๔ ๑. เมตตา ความรกั ใคร ปรารถนาจะใหเปน สุข ๒. กรณุ า ความสงสาร คิดจะชวยใหพน ทุกข ๓. มทุ ติ า ความพลอยยนิ ดี เมอ่ื ผูอน่ื ไดด ี ๔. อุเบกขา ความวางเฉย ไมด ีใจ ไมเ สยี ใจ เมื่อผอู ืน่ ถึงความวิบัติ คำวา พรหม แปลวา ประเสริฐ เปนใหญ โดยบคุ คลาธิษฐาน หมายถึง บุคคลผอู ยดู วยฌาน สมาบัติ ไมยุงเก่ยี วเรือ่ งกามารมย โดยธรรมาธษิ ฐาน หมายถงึ จติ ใจท่ีประกอบดว ย เมตตา กรุณา มทุ ติ า อุเบกขา หรือดับนวิ รณไ ด พรหมวิหาร แปลวา ธรรมเปนเครอ่ื งอยูข องพรหม หรือผปู ระเสรฐิ ผเู ปน ใหญ พระธีรวัฒน์ จนฺทโสภโณ : วัดไผ่เงินโชตนาราม | ธรรมช้ันตรี 31

32 ความรักดวยความปรารถนาดี คอื ตอ งการใหเขามีความสุข โดยไมม คี วามใครอ ยากจะไดอะไร จากเขามาเปน ของตน ชือ่ วา เมตตา ความเอื้อเฟอ ความเอาใจใส ความหว งใยตอ ผูตกทุกขประสพภยั อดอยากหวิ โหย เปนตน เขาชวยเหลือ ดว ยกำลังกายและทรพั ย ช่อื วา กรุณา ความยนิ ดดี วยกับบุคคลที่ไดลาภ ไดย ศ ไดเกียรติ ไดร บั ความสำเร็จในอาชีพการงาน เปน ตน ชือ่ วา มุทิตา ความวางเฉย คอื มีใจเปน กลาง ไมดีใจเมื่อผูท่เี ปนศตั รูแกตน ประสบทุกขภยั อันตราย และ ไดรับความวิบัติ ไมเสียใจเม่ือผทู ี่ตนรัก ประสบทกุ ข เปน ตนนนั้ ในเมอ่ื ตนไดชว ยเหลืออยางเตม็ ที่แลว แตช ว ยไมไ ด ชอ่ื วา อเุ บกขา อรยิ สัจ ๔ ๑. ทุกข ความไมส บายกาย ไมสบายใจ ๒. สมทุ ัย คือเหตใุ หท ุกขเ กิด ๓. นิโรธ คือความดับทกุ ข ๔. มรรค คอื ขอปฏิบตั ใิ หถ ึงความดับทุกข ความไมสบายกาย ไมส บายใจ ไดช ่อื วา ทกุ ข เพราะเปนของทนไดยาก ตัณหา คือความทะยานอยาก ไดชอ่ื วา สมทุ ัย เพราะเปนเหตุใหท ุกขเกิด ตัณหานน้ั มีประเภทเปน ๓ คอื ตัณหา ความอยากในอารมณที่นา รักใคร เรยี กวา กามตัณหาอยาง ๑ ตัณหาความอยากเปนโนนเปนนี่ เรียกวา ภวตัณหาอยา ง ๑ ตณั หาความอยากไมเ ปนโนน เปนนี่ เรียกวาวภิ วตัณหาอยา ง ๑ ความดับตณั หาไดสิน้ เชิง ทกุ ขด ับไปหมดไดช ่อื วา นิโรธ เพราะเปน ความดับทุกข ปญ ญาอันเห็นชอบวา สิง่ นที้ กุ ข สง่ิ น้เี หตใุ หทุกขเ กดิ สง่ิ นค้ี วามดับทกุ ข ส่งิ น้ีทางใหถ ึงความดบั ทุกข ไดช ือ่ วา มรรค เพราะเปนขอปฏบิ ัตใิ หถ ึงความดบั ทุกข มรรคน้นั มอี งค ๘ ประการ คอื ปญญาอนั เหน็ ชอบ ๑ ดำริชอบ ๑ เจรจาชอบ ๑ ทำการ งานชอบ ๑ เลีย้ งชีวติ ชอบ ๑ ทำความเพียรชอบ ๑ ต้ังสตชิ อบ ๑ ตั้งใจชอบ ๑ อริยสจั แปลวา ความจริงอันประเสริฐ หมายความวา เปน ความจริงทีห่ นไี มพ น เชนความแก ความตาย เปน ตน มนุษยท ุกรปู ทกุ นามเกิดมาแลว สุดทา ยตองแก และตองตายทั้งสิ้น หรือเปนกฎเกณฑ ที่แนน อน คอื เม่อื ดบั ตณั หาไดความทุกขทง้ั หลายกด็ บั ไป และตณั หาน้ันกม็ ีวิธีดับโดยการปฏบิ ัติตามมรรค มีองค ๘ ทุกข ทา นใหความหมายวา ความไมส บายกาย ไมสบายใจ อธบิ ายวา ทกุ ขใ นอรยิ สจั ตาง จากทกุ ขในสามัญลกั ษณะ ทุกขใ นอริยสจั หมายเอาทุกขท ีเ่ กิดกบั ส่งิ ทีม่ ีวิญญาณครอง โดยเฉพาะคือมนุษย เชน แก เจบ็ ตาย ผิดหวัง เปนตน สวนทกุ ขในสามญั ลักษณะ หมายถึงสภาพท่ีทนอยไู มไ ด เพราะถกู สงิ่ พระธรี วฒั น์ จนฺทโสภโณ : วดั ไผ่เงินโชตนาราม | ธรรมช้ันตรี 32

33 ทเ่ี ปนขาศกึ กนั เบยี ดเบยี นทำลาย เชน ผวิ คลำ้ เพราะถูกแสงแดด อาคารบา นเรือนเกา เพราะถกู แดดและ ฝน ตลิ่งพังเพราะถูกนำ้ เซาะ เปน ตน สว นอรยิ สจั ขออน่ื ๆ มอี ธบิ ายชดั เจนแลว ปญจกะ หมวด ๕ อนันตริยกรรม ๕ ๑. มาตุฆาต ฆามารดา ๒. ปตฆุ าต ฆา บิดา ๓. อรหนั ตฆาต ฆาพระอรหันต ๔. โลหิตปุ บาท ทำรา ยพระพุทธเจา จนถึงยงั พระโลหิตใหหอข้ึนไป ๕. สงั ฆเภท ยังสงฆใหเ แตกจากกัน กรรม ๕ อยา งนี้ เปน บาปหนกั ท่สี ุด หามสวรรค หามนพิ พาน ตั้งอยใู นฐานปาราชกิ ผูนับ ถือพระพทุ ธศาสนาหามไมใ หทำเปนอนั ขาด อนนั ตริยกรรม แปลวา กรรมทีใ่ หผ ลในภพที่ตดิ ตอ กนั ทนั ที อธบิ ายวา ผูทำ อนนั ตริยกรรม ทัง้ ๕ น้ี ขอ ใดขอหนง่ึ หลงั จากตายแลว ตอ งไปตกนรกชนั้ อเวจีทันที ไมม ีกุศลกรรม อะไรจะมาชว ยได เชนพระเทวทตั เปนตน กรรมทง้ั ๕ นี้ ทานกลาววา ตั้งอยูใ นฐานปาราชิก หมายความวา ผทู ำกรรมน้ีเปนผูพายแพ ตอ ความดี เปน ผอู าภัพคือหมดโอกาสท่จี ะได มนษุ ยส มบตั ิ สวรรคสมบัติ และนิพพานสมบตั ิ เพราะ ตองตกนรกอเวจีสถานเดียว อภิณหปจจเวกขณะ ๕ ๑. ควรพิจารณาทกุ วัน ๆ วา เรามีความแกเ ปน ธรรมดา ไมลวงพน ความแกไปได ๒. ควรพจิ ารณาทกุ วนั ๆ วา เรามีความเจบ็ เปนธรรมดา ไมลว งพนความเจ็บไปได ๓. ควรพจิ ารณาทุกวัน ๆ วา เรามคี วามตายเปน ธรรมดา ไมล วงพนความตายไปได ๔. ควรพจิ ารณาทุกวัน ๆ วา เราจะตอ งพลดั พรากจากของรกั ของชอบใจทง้ั สน้ิ ๕. ควรพจิ ารณาทุกวนั ๆ วา เรามกี รรมเปน ของตัว เราทำดจี ักไดดี ทำช่วั จักไดช่วั อภณิ หะ แปลวา เนอื ง ๆ เสมอ หรือเปนประจำ ปจ จเวกขณะ แปลวา การพจิ ารณา คอื เก็บเอามาคิดเพ่ือใหเ ขาใจความจริง อภณิ หปจจเวกขณะ จึงมีความหมายวา การพจิ ารณา หรือการคดิ เนือง ๆ เพ่ือใหเ ขา ใจความจรงิ พระพทุ ธเจา ตรัสสอนวา สตรกี ต็ าม บุรุษก็ตาม คฤหัสถกต็ าม บรรพชติ ก็ตาม ควรพจิ ารณาเนอื ง ๆ ถงึ ความแก ความเจ็บ ความตาย ความพลัดพรากจากบุคคล และของรัก และผูท ่ี ทำความดีความช่ัวแลวไดร ับผลดแี ละผลราย เห็นคนแกชราภาพ ใหนกึ วา เราก็จะตอ งแกอ ยา งนัน้ จะชวยบรรเทาความมัวเมาในวัย พระธีรวัฒน์ จนฺทโสภโณ : วดั ไผ่เงนิ โชตนาราม | ธรรมช้ันตรี 33

34 เหน็ คนเจ็บทุกขทรมาน ใหน ึกวา เราก็จะตองเจ็บอยา งน้นั จะชว ยบรรเทาความมัวเมาวาตนไม มโี รค เหน็ คนตาย ใหนึกวา เราก็จะตอ งตายอยางมากไมเกิน ๑๐๐ ป จะชว ยบรรเทาความมัวเมา ในชวี ิต คิดวา ตวั เองจะอยคู ้ำฟา เหน็ คนประสบความวบิ ัตจิ ากคนรักและทรพั ยส ินเงนิ ทอง ใหน ึกวา ความจากกนั นั้นมีแน ไม เขาจากเรา ก็เราจากเขา จะชว ยบรรเทาความยดึ ตดิ ผกู พันในคนรกั และของรัก เหน็ คนผทู ำความดีและความชว่ั แลว ไดร บั ผลดแี ละผลราย ใหน กึ วา ทกุ คนมีกรรมเปนของตน จะชว ยบรรเทาความทุจรติ ตาง ๆ ได ธัมมัสสวนานิสงส คือ อานิสงสแ หง การฟงธรรม ๕ อยา ง ๑. ผูฟงธรรมยอ มไดฟ ง สิง่ ทยี่ งั ไมเคยฟง ๒. สง่ิ ใดไดเ คยฟง แลว แตย ังไมเ ขา ใจชัด ยอมเขาใจส่งิ นั้นชดั ๓. บรรเทาความสงสัยเสียได ๔. ทำความเหน็ ใหถ กู ตอ งได ๕. จิตของผูฟง ยอ มผอ งใส การฟงธรรม เปน อบุ ายวิธที ส่ี ำคญั อยา งหน่งึ ซงึ่ สามารถทำใหบุคคลบางประเภทละชัว่ ประพฤติ ชอบได และเปนเหตใุ หบ ุคคลบางประเภทแมเ ปนคนดี มีความฉลาดอยแู ลว บรรลุ ผลอันสงู สุดของชวี ิตได เชน อปุ ติสสปรพิ พาชก เปนตน พระพทุ ธองคจ ึงตรัสสอนวา บุคคลในโลกนีม้ ี ๓ ประเภท คอื ๑.บางคนจะไดฟงธรรมจากพระพุทธเจาและพระสาวกหรือไมก ต็ าม กล็ ะชวั่ ประพฤตชิ อบไมไ ด เปรยี บเหมอื นคนไขบ างคนจะไดอ าหาร ทีอ่ ยูและหมอที่ดีหรอื ไมโรคก็ไมหายตายสถานเดยี ว ๒.บางคนจะไดฟงธรรมจากพระพทุ ธเจาและพระสาวกหรือไม ก็ละชวั่ ประพฤติชอบไดเอง เปรยี บเหมอื นคนไขบ างคนจะไดอ าหาร ท่ีอยูและหมอท่ีดีหรอื ไม โรคกห็ ายเอง ๓.บางคนตอ งไดฟงธรรมจากพระพุทธเจาหรือพระสาวกเทา น้ันจึงละชั่วประพฤตชิ อบเปรยี บ เหมือนคนไขบ างคนตองไดอ าหาร ยาและหมอทีด่ ี โรคจึงหาย เมอื่ ไมไดไมหาย การฟงธรรม จงึ เปน ประโยชนโ ดยตรงแกบ ุคคลประเภทท่ี ๓ แตบุคคลประเภทที่ ๑ กค็ วรฟง เพ่ือเปนอุปนิสยั ในภายหนา และบคุ คลประเภทที่ ๒ ก็ควรฟง เพื่อความรูความเขา ใจภูมิธรรมทีส่ ูงข้ึน เพอื่ จำงาย ยออานสิ งส ๕ ดังน้ี ไดฟ งเรื่องใหมเ ขา ใจเรื่องเกา บรรเทาความสงสยั ทำลาย ความเหน็ ผดิ ดวงจติ ผอ งใส พระธีรวฒั น์ จนฺทโสภโณ : วัดไผ่เงินโชตนาราม | ธรรมช้ันตรี 34

35 พละ คอื ธรรมเปน กำลงั ๕ อยาง ๑. สัทธา ความเชื่อ ๒. วริ ยิ ะ ความเพียร ๓. สติ ความระลึกได ๔. สมาธิ ความตัง้ ใจมน่ั ๕. ปญญา ความรอบรู อนิ ทรยี  ๕ ก็เรยี กเพราะเปนใหญใ นกิจของตน พละ แปลวาธรรมมกี ำลัง มีความหมาย ๒ อยา ง คอื ๑ ครอบงำ ยำ่ ยีธรรมทเี่ ปนขาศกึ ที่ เกดิ ขึ้นแลว ได เปรยี บเหมอื นชา งสามารถเหยียบมนษุ ย หรือเอางวงจับฟาดตามสบาย เพราะมกี ำลัง มากกวา ๒. อันธรรมทีเ่ ปน ขา ศึกใหหวัน่ ไหวไมได เปรียบเหมือนภูเขาอนั มนุษย หรือสัตวทง้ั หลายมชี า ง เปน ตน ทำใหหวัน่ ไหวไมไ ด เพราะมีความแข็งแกรงกวา สภาพทีข่ าศกึ คอื ความไมม ีศรัทธา (อสทั ธิยะ) ใหหวนั่ ไหวไมไ ด ชือ่ วา สัทธาพละ สภาพทีข่ าศกึ คอื ความเกียจครา น (โกสัชชะ) ใหหวั่นไหวไมไ ด ชอื่ วา วิริยพละ สภาพที่ขาศกึ คอื ความขาดสติ (สติวปิ วาสะ) ใหห วั่นไหวไมได ชอ่ื วา สติพละ สภาพทข่ี าศึก คือ ความฟุง ซาน (อุทชจั จะ) ใหหวั่นไหวไมได ชอื่ วา สมาธิพละ สภาพทขี่ าศึก คือ ความไมรู (อวิชชา) ใหหวนั่ ไหวไมไ ด ช่ือวา ปญ ญาพละ อีกนัยหนึ่ง กุศลธรรมทีค่ รอบงำ อสทั ธยิ ะ โกสัชชะ สติวปิ วาสะ อทุ ชัจจะ และอวิชชาไดช ือ่ วา สทั ธาพละ วิริยพละ สติพละ สมาธิพละ และ ปญญาพละ ตามลำดับ ขันธ ๕ กายกบั ใจน้ี แบง ออกเปน ๕ กอง เรยี กวา ขนั ธ ๕ คือ ๑. รปู ๒. เวทนา ๓. สญั ญา ๔. สังขาร ๕. วิญญาณ ธาตุ ๔ คอื ดิน นำ้ ไฟ ลม ประชุมกนั เปน กาย น้ีเรียกวา รูป ความรสู ึกอารมณวา เปนสุข คอื สบายกาย สบายใจ หรือเปนทุกข คอื ไมสบายกายไมส บาย ใจ หรือเฉย ๆ คอื ไมทกุ ขไ มสุข เรยี กวา เวทนา ความจำไดหมายรู คือจำรูป เสยี ง กล่นิ รส โผฎฐัพพะ และอารมณทเี่ กิดกบั ใจได เรียกวา สญั ญา เจตสกิ ธรรม คอื อารมณท ่ีเกดิ กบั ใจ เปน สว นดีเรยี กกุศล เปนสว นชว่ั เรยี กอกุศล เปน สวนกลาง ๆ ไมด ีไมช่วั เรียก อัพยากฤต (ท้ังหมด) เรียกวา สงั ขาร ความรูอ ารมณใ นเวลามรี ูปมากระทบตา เปน ตน เรียกวา วญิ ญาณ ขนั ธ ๕ นี้ ยน เรยี กวา นาม รปู คอื เวทนา สญั ญา สงั ขาร และวญิ ญาณ รวมเขาเปน นาม รปู คงเปน รปู คำวา ขันธ แปลวา กอง หมายถงึ กองธรรม ๕ กอง ทรี่ วมกนั เขา แลวเปน ชีวติ พระพุทธเจา ทรงแสดงเพอื่ ใหเ ขา ใจวา ชวี ิตมนษุ ยก ค็ ือ การประชุมรวมกนั ของกองธรรมทงั้ ๕ นี้ ไดเ หตุไดปจจัยก็ พระธรี วฒั น์ จนฺทโสภโณ : วัดไผ่เงนิ โชตนาราม | ธรรมช้ันตรี 35

36 รวมกนั เรียกวามีชวี ิต สนิ้ เหตสุ ิ้นปจ จยั ก็แตกสลาย เรยี กวา ตาย ไมมีใครที่ไหนมาสรา งมาดลบันดาลให เกดิ ขึน้ หรอื ใหตายไป ฉกั กะ หมวด ๖ คารวะ ๖ อยา ง ความเอื้อเฟอ ในพระพุทธเจา ๑ ในพระธรรม ๑ ในพระสงฆ ๑ ในความศึกษา ๑ ใน ความไมประมาท ๑ ในปฏสิ ันถารคือตอ นรับปราศรัย ๑ คารวะ แปลวา ความเคารพ หมายถงึ การใหความสำคัญตอบคุ คล หรือสิ่งท่ีมคี ณุ ความดมี คี า ควรแกก ารใหเ กียรติ ใหก ารสนับสนนุ และการคมุ ครองรกั ษา การกระทำทแ่ี สดงออกซึ่งความเคารพ คือการไหว การกราบ การกม ศรี ษะ การลกุ ขึ้นตอนรับ การใหท่ีนั่ง การหลกี ทางให การใหส ิ่งของ การนบั ถือ การบูชา เปน ตน ความเคารพในพระพุทธเจาในปจจุบนั น้ี คอื เชื่อความตรัสรูของพระองค ไม แสดงอาการไมสุภาพตอพระปฏมิ าและศาสนสถาน มเี จดีย เปน ตน ความเคารพในพระธรรม คือ ตั้งใจศกึ ษาและปฏบิ ตั ติ าม ศลี สมาธิ ปญญา ความเคารพในพระสงฆ คือการกราบไหว นับถือ ถวายไทยธรรม มีอาหารบิณฑบาต เปน ตน ความเคารพในการศึกษา คือ เหน็ คุณคา ของการศึกษาวา จะทำใหม ีความรูดี มีความประพฤติดี มอี าชพี การงานดี แลว ตั้งใจศึกษาเลา เรียน ไมเ ทยี่ วเตร เสเพล ความเคารพในความไมประมาท คอื ระวังตวั ไมใ หไ ปทำความชั่ว ไมลืมทำความดี ไมปลอ ยใจ ใหค ดิ เร่ืองบาป อกศุ ล ความเคารพในปฏสิ นั ถาร คอื ตอ นรับผูมาเยือนดวยการใหท ีพ่ กั นำ้ อาหาร และสนทนาปราศรัย ดวยปย วาจา เปน ตน สาราณยิ ธรรม ๖ อยา ง ธรรมเปนที่ต้ังแหง ความใหระลกึ ถึง เรยี ก สาราณิยธรรม มี ๖ อยาง คือ ๑. เขาไปตัง้ กายกรรมประกอบดว ยเมตตา ในเพอ่ื นภิกษสุ ามเณร ทง้ั ตอ หนาและลับหลงั คือ ชว ยขวนขวายในกจิ ธรุ ะของเพือ่ นดวยกายมีพยาบาลภิกษุไข เปน ตน ดวยจิตเมตตา ๒. เขา ไปตง้ั วจกี รรมประกอบดว ยเมตตา ในเพื่อนภกิ ษุสามเณร ท้ังตอหนา และลับหลัง คอื ชวยขวนขวายในกจิ ธรุ ะของเพอื่ นดวยวาจา เชนกลาวสง่ั สอน เปน ตน ๓. เขาไปต้งั มโนกรรมประกอบดวยเมตตาในเพื่อนภกิ ษุสามเณร ทัง้ ตอหนาและลบั หลัง คอื คิด แตส ่ิงทีเ่ ปน ประโยชนแกเ พือ่ นกนั ๔. แบง ปน ลาภทต่ี นไดมาโดยชอบธรรม ใหแกเพือ่ นภิกษุสามเณร ไมหวงไวบ ริโภคจำเพาะผู เดยี ว ๕. รักษาศลี ใหบรสิ ทุ ธเ์ิ สมอกนั กบั เพื่อนภกิ ษุสามเณรอื่น ๆ ไมท ำตนใหเปน ท่รี ังเกยี จของผอู ่ืน ๖. มีความเหน็ รว มกันกับภกิ ษุสามเณรอ่นื ๆ ไมว วิ าทกับใคร ๆ เพราะมีความเหน็ ผดิ กนั พระธีรวัฒน์ จนฺทโสภโณ : วัดไผ่เงินโชตนาราม | ธรรมช้ันตรี 36

37 ธรรม ๖ อยา งนี้ ทรงแสดงแกภกิ ษุจงึ ดูเหมอื นเปนเรื่องเฉพาะพระ แตความจริงแลว ทกุ คน นำไปใชไ ดก ับทกุ คน ทุกเพศทุกวยั เชน อยกู ับบดิ ามารดากใ็ ชว า เขา ไปตั้งกายกรรม วจกี รรม มโนกรรม อนั ประกอบดว ยเมตตาทง้ั ตอ หนา และลบั หลัง ชวยทานทำงาน พูดกับทานดว ยปยวาจา มีจติ ใจเคารพนับ ถอื ทา น เปน ตน สัตตกะ หมวด ๗ อรยิ ทรัพย ๗ ทรัพย คือ คุณความดีท่มี ใี นสนั ดานอยางประเสรฐิ เรยี กอริยทรัพย มี ๗ อยา ง คอื ๑. สทั ธา เช่อื ส่ิงที่ควรเชือ่ ๒. ศีล รกั ษากาย วาจา ใหเรยี บรอย ๓. หิริ ความละอายตอ บาปทุจรติ ๔. โอตตัปปะ สะดุงกลวั ตอ บาป ๕. พาหุสจั จะ ความเปนคนเคยไดยินไดฟงมามาก คอื ทรงจำธรรม และรูศิลปวิทยามาก ๖. จาคะ สละใหป นสิ่งของของตนแกคนทีค่ วรใหปน ๗. ปญญา รอบรสู ิง่ ท่เี ปนประโยชนแ ละไมเปน ประโยชน อรยิ ทรัพย ๗ ประการน้ี ดีกวาทรัพยภายนอก มเี งินทอง เปนตน ควรแสวงหาไวใ หม ีใน สันดาน ทรัพยภายนอก จะเปนสงั หาริมทรัพย อสังหารมิ ทรพั ย สวิญญณกทรัพย อวิญญณกทรัพย ก็ ตาม มีไวเพอ่ื ใหเกดิ ความสขุ ถาขาดทรัพยแ ลว ยอ มมีความทกุ ข ตามธรรมภาษิตวา ทลิททลยิ ํ ทุกขํ โลเก ความจนเปน ทุกขในโลก แตถ ึงจะมที รัพยภ ายนอกมากมายอยา งไร ถา ขาดทรัพยภายใน คอื อริยทรัพย เชน ขาดศีล หิริ โอตตปั ปะ เปน ตน โลกกจ็ ะลกุ เปน ไฟหาความสขุ ไมไดเลย อนงึ่ เมือ่ คนมีทรัพยภ ายใน คือ อริยทรัพยแ ลว ยอ มหาทรัพยภ ายนอกไดงาย ทง้ั ทำใหท รัพย ภายนอกนั้นมีความมั่นคง และกอ ใหเกิดความสขุ อยา งแทจรงิ สมดังที่นกั ปราชญส อนไววา ความพยายาม ทกุ อยา งของมนุษย กเ็ พ่อื ความสุข แตถาขาดธรรมเสียแลว ความสขุ จะเกิดไมไ ดเลย สปั ปุริสธรรม ๗ อยาง ธรรมของสตั บรุ ษุ เรียกวา สัปปุรสิ ธรรม มี ๗ อยาง คือ ๑. ธมั มัญุตา ความเปน ผูรจู ักเหตุ เชนรูจกั วา ส่งิ นเ้ี ปน เหตแุ หงสขุ ส่งิ น้เี ปน เหตแุ หงทกุ ข ๒. อตั ถัญุตา ความเปน ผูรูจกั ผล เชนรูจกั วาสุขเปน ผลแหงเหตุอันนี้ ทุกขเปนผลแหง เหตุอันนี้ ๓. อตั ตญั ุตา ความเปนผรู ูจักตนวา เราวา โดยชาติ ตระกลู ยศศกั ด์ิ สมบตั ิ บริวาร ความรู และคณุ ธรรมเพยี งเทานี้ แลวประพฤตติ นใหส มควรแกทเ่ี ปนอยู อยางไร ๔. มตั ตัญตุ า ความเปน ผูรูประมาณในการแสวงหาเครือ่ งเลี้ยง ชวี ิตแตโดยทางที่ชอบ และรจู กั ประมาณในการ บริโภคแตพอสมควร พระธรี วฒั น์ จนฺทโสภโณ : วัดไผ่เงนิ โชตนาราม | ธรรมช้ันตรี 37

38 ๕. กาลัญตุ า ความเปน ผูร จู ักกาลเวลาอนั สมควรในอันประกอบกจิ นั้น ๆ ๖. ปริสัญุตา ความเปน ผูรจู กั ประชุมชน และกริ ิยาท่ีจะตอ งประพฤติตอประชมุ ชนนน้ั ๆ วา หมูนีเ้ มื่อเขา ไปหา จะตองทำกริ ิยาอยา งน้ี จะตอ งพูดอยางน้ี เปน ตน ๗. ปคุ คลปโรปรัญุตา ความเปน ผรู ูจักเลอื กบคุ คลวา ผูนี้เปนคนดีควรคบ ผูนีเ้ ปนคนไม ดีไมค วรคบ เปนตน สัตบุรุษ คอื คนดีมคี วามประพฤติ ทางกาย วาจา ใจ อันสงบ และทรงความรู หรือจะกลา ว วา ผปู ระกอบดว ยธรรม ๗ ประการน้ี คอื รจู ักเหตุ รจู ักผล รจู ักตน รูจกั ประมาณ รจู ักกาลเวลา รูจ กั เขา หาชุมชน รจู กั เลือกคนทีค่ วรคบ เรยี กวา สตั บรุ ุษ กไ็ ด รวู า จุดไฟทง้ิ ไวในบา น ไฟจะไหมบา น ชอื่ วา รูเหตุ รูวาไฟไหมบา นพรอ มทง้ั ทรพั ยสนิ ตาง ๆ หมดสิ้น กเ็ พราะจดุ ไฟท้ิงไว ชอื่ วา รผู ล การรูเ หตุ ทำใหร ูจ กั สรางเหตุดี หลกี หนีเหตุราย การรผู ล ทำใหเปน คนมปี ระสบการณ แลวไมทำอยา งน้ันอีก สัปปรุ ิสธรรมขอ อ่นื ๆ ทานอธิบายไวชัดเจนแลว อฏั ฐกะ คือ หมวด ๘ โลกธรรม ๘ ธรรมทค่ี รอบงำสัตวโ ลกอยู และสัตวโ ลกยอ มเปนไปตามธรรมนน้ั เรยี กวา โลกธรรม โลกธรรมนั้น มี ๘ อยาง คือ มีลาภ ๑ ไมม ีลาภ ๑ มียศ ๑ ไมม ยี ศ ๑ นินทา ๑ สรรเสรญิ ๑ สุข ๑ ทุกข ๑ ในโลกธรรม ๘ ประการน้ี อยางใดอยางหนึง่ เกดิ ข้นึ ควรพิจารณาวา สงิ่ นีเ้ กิดขนึ้ แกเ ราแลว ก็ แตว า มันไมเทีย่ ง เปนทกุ ข มีความแปรปรวนเปนธรรมดา ควรรตู ามที่เปน จรงิ อยา ใหม ันครอบงำ จิตได คืออยายินดีในสวนท่ปี รารถนา อยายนิ รา ยในสว นที่ไมนา ปรารถนา โลกธรรม ๘ น้ี ทานแบงออกเปน ๒ ฝาย ที่ดี คือ มีลาภ มียศ สรรเสริญ สุข เรียกวา อฏิ ฐารมณ แปลวา อารมณท่นี าปรารถนา ๑ ท่ไี มด ี คอื ไมมีลาภ ไมมียศ นนิ ทา ทุกข เรยี กวา อนฏิ ฐารมณ แปลวา อารมณทีไ่ มน าปรารถนา ๑ ท่วี า ครอบงำสตั วโ ลก และสัตวโ ลกยอมเปน ไปตามธรรมนัน้ หมายความวา เม่ือไดร บั โลก ธรรมฝายดี จิตใจก็ฟเู บกิ บาน หรอื เรียกวา หนาชนื่ ตาบาน เมอ่ื ไดรบั โลกธรรมฝายไมดี จติ ใจก็ฟบุ เห่ยี วแหง หรือทเ่ี รียกวา หนาเศราอกตรม ความรูสกึ ท้ัง ๒ น้ี พระพทุ ธศาสนาสอนวา ลวนเปน ภยั ตอ ระบบศลี ธรรมทั้งนน้ั คือ เปนเหตุใหจิตใจเหนิ หา ง จากศีล สมาธิ และปญ ญา พระธรี วัฒน์ จนฺทโสภโณ : วัดไผ่เงินโชตนาราม | ธรรมช้ันตรี 38

39 ทสกะ คอื หมวด ๑๐ บญุ กิริยาวตั ถุ ๑๐ อยา ง ๑. ทานมัย บุญสำเร็จดว ยการบรจิ าคทาน ๒. สลี มัย บุญสำเร็จดว ยการรกั ษาศีล ๓. ภาวนามัย บุญสำเรจ็ ดวยการเจริญภาวนา ๔. อปจายนมัย บุญสำเรจ็ ดวยการประพฤตถิ อมตนแกผ ใู หญ ๕ เวยยาวจั จมยั บุญสำเรจ็ ดว ยการชว ยขวนขวายในกิจท่ีชอบ ๖. ปตติทานมยั บญุ สำเรจ็ ดวยการใหส วนบญุ ๗. ปต ตานโุ มทนามัย บญุ สำเรจ็ ดวยการอนโุ มทนาสว นบญุ ๘. ธัมมัสสวนมยั บุญสำเร็จดวยการฟงธรรม ๙. ธมั มเทสนามยั บญุ สำเรจ็ ดวยการแสดงธรรม ๑๐. ทิฏุชุกัมม การทำความเหน็ ใหตรง ความหมายของคำวา บุญกริ ิยาวัตถุ ไดอธิบายแลวในบุญกิรยิ าวัตถุ ๓ ในหมวดน้ี เพียงแตใหต ั้งขอสังเกตวา คนสว นใหญเ มอื่ พูดถงึ การทำบญุ กจ็ ะคดิ วา ตนไมมี ทรพั ย เลยไมม ีโอกาสไดท ำบุญกบั เขา แตความจรงิ แลว ทรัพยไ มใชอ ุปกรณสำหรบั ทำบุญทส่ี ำคัญเลย จะ เหน็ วา ทั้ง ๑๐ ขอ น้ที ต่ี อ งใชท รพั ยมีขอเดียว คอื ทานมัยเทาน้ันเอง นอกจากนน้ั เปน เรื่องของ กาย วาจา ใจ ท้ังส้ิน ดงั นัน้ จึงทำใหเ ขา ใจไดว า อุปกรณสำหรับทำบุญทส่ี ำคัญที่สดุ ก็คอื กาย วาจา และ ใจ ของตนนเี่ อง กาย และ วาจาของตนงดเวน จากการทำ การพูด ท่สี รางความทุกข ความเดอื ดรอนใหแก ผอู น่ื ศีรษะของตน ใชกมใหก บั ผูใ หญ มือของตนใชไ หวท า นผูเจริญดว ยวัยวฒุ ิ คุณวฒุ ิ และชาตวิ ฒุ ิ รา งกายของตน รวมดวยชวยกันทำส่งิ ที่เปน ประโยชนแกส ังคม ปาก ใชพ ดู เรอ่ื งท่เี ปน ประโยชน มีคุณคาแกช ีวิตจิตใจของผฟู ง หู ใชฟงคำสอนของบดิ ามารดา ครูอาจารย และองคสมเดจ็ พระสมั มาสมั พุทธเจาเปน ตน ใจ ใชคิดและรบั รู แตสงิ่ ท่ีเปนความรู เปนกศุ ล ไมโลภอยากไดของใคร ไมคดิ ประทุษรา ยใคร มีความคิดเหน็ ทส่ี งเสรมิ ระบบศลี ธรรม เพียง การทำ การพดู และการคิด อยา งน้ี กาย วาจา และใจของเรา กส็ ามารถสรางมนษุ ยสมบตั ิ สวรรคสมบตั ิ และนพิ พานสมบัติ ใหแกเราไดแลว พระธรี วฒั น์ จนฺทโสภโณ : วดั ไผ่เงนิ โชตนาราม | ธรรมช้ันตรี 39

40 คิหิปฏิบัติ จตุกกะ ทฏิ ฐธมั มิกัตถประโยชน คือ ประโยชนในปจ จุบัน ๔ อยา ง ๑. อุฏฐานสมั ปทา ถงึ พรอมดวยความหม่นั ในการประกอบกิจ เคร่อื งเลี้ยงชวี ิตก็ดี ใน การศึกษาเลา เรยี นก็ดี ในการทำธรุ ะหนาทข่ี องตนกด็ ี ๒. อารักขสมั ปทา ถึงพรอ มดวยการรกั ษา คอื รักษาทรัพยท แี่ สวงหามาไดดว ยความหม่ัน ไมใ หเ ปนอนั ตรายก็ดี รกั ษาการงานของตน ไมใหเส่อื มเสียไปกด็ ี ๓. กัลยาณมติ ตตา ความมีเพอื่ นเปน คนดี ไมคบคนช่ัว ๔. สมชีวติ า ความเลี้ยงชวี ิตตามสมควร แกก ำลังทรัพยทหี่ าได ไมใหฝ ดเคอื งนกั ไมให ฟมุ เฟอ ยนกั สมั ปรายิกัตถประโยชน คอื ประโยชนภายหนา ๔ อยา ง ๑. สทั ธาสัมปทา ถึงพรอมดว ยศรทั ธา คอื เชื่อส่งิ ทีค่ วรเชอื่ เชน เช่ือวาทำดไี ดดี ทำชว่ั ไดช ว่ั เปนตน ๒. สลี สมั ปทา ถึงพรอมดว ยศลี คอื รักษา กาย วาจาเรยี บรอยดี ไมม ีโทษ ๓. จาคสมั ปทา ถึงพรอมดวยการบรจิ าคทาน เปนการเฉล่ยี สุขใหแกผ ูอน่ื ๔. ปญญาสัมปทา ถึงพรอมดว ยปญ ญา รจู กั บาป บุญ คณุ โทษ ประโยชน มใิ ชประโยชน เปนตน มติ ตปฏริ ปู คือ คนเทยี มมิตร ๔ จำพวก ๑. คนปลอกลอก ๒. คนดีแตพูด ๓. คนหัวประจบ ๔. คนชกั ชวนในทางฉบิ หาย คน ๔ จำพวกนี้ ไมใ ชมิตร เปน แตค นเทยี มมติ ร ไมค วรคบ ๑. คนปลอกลอก มลี กั ษณะ ๔ ๑. คิดเอาแตไดฝายเดยี ว ๒. เสยี ใหน อ ย คิดเอาใหไดมาก ๓. เมือ่ มภี ัยแกตัว จงึ รบั ทำกิจของเพอื่ น ๔. คบเพื่อนเพราะเหน็ แกประโยชนของตัว ๒. คนดแี ตพ ูด มลี กั ษณะ ๔ ๑. เก็บเอาของลว งแลวมาปราศรัย ๒. อา งเอาของทยี่ ังไมม ีมาปราศรัย พระธีรวฒั น์ จนฺทโสภโณ : วดั ไผ่เงินโชตนาราม | ธรรมช้ันตรี 40

41 ๓. สงเคราะหดว ยสงิ่ หาประโยชนม ิได ๔. ออกปากพงึ่ มิได ๓. คนหัวประจบ มลี ักษณะ ๔ ๑. จะทำช่ัวก็คลอ ยตาม ๒. จะทำดีก็คลอ ยตาม ๓. ตอ หนาวาสรรเสรญิ ๔. ลับหลังตัง้ นินทา ๔. คนชักชวนในทางฉบิ หาย มีลักษณะ ๔ ๑. ชักชวนดม่ื นำ้ เมา ๒. ชกั ชวนเทยี่ วกลางคืน ๓. ชักชวนใหมัวเมาในการเลน ๔. ชกั ชวนเลนการพนัน มิตรแท ๔ จำพวก ๑. มิตรมอี ุปการะ ๒. มิตรรวมสขุ รวมทกุ ข ๓. มติ รแนะประโยชน ๔. มิตรมีความรกั ใคร มิตร ๔ จำพวกนี้ เปนมติ รแท ควรคบ ๑. มติ รมีอปุ การะ มลี ักษณะ ๔ ๑. ปองกันเพือ่ นผูประมาทแลว ๒. ปอ งกนั ทรพั ยส มบัตขิ องเพ่อื นผปู ระมาทแลว ๓. เมื่อมภี ัย เปน ทพ่ี ง่ึ พำนกั ได ๔. เมื่อมธี รุ ะ ชวยออกทรัพยใหเ กินกวาทอี่ อกปาก ๒. มิตรรว มสขุ รวมทุกข มีลักษณะ ๔ ๑. ขยายความลับของตนแกเพอ่ื น ๒. ปดความลบั ของเพ่ือนไมใ หแ พรงพราย ๓. ไมละท้ิงในยามวิบตั ิ ๔. แมชีวติ ก็อาจสละแทนได ๓. มติ รแนะประโยชน มลี ักษณะ ๔ ๑. หามไมใหทำความช่ัว ๒. แนะนำใหต ง้ั อยใู นความดี ๓. ใหฟงส่ิงที่ยงั ไมเคยฟง ๔. บอกทางสวรรคให ๔. มิตรมคี วามรกั ใคร มีลกั ษณะ ๔ พระธีรวฒั น์ จนฺทโสภโณ : วดั ไผ่เงนิ โชตนาราม | ธรรมช้ันตรี 41

42 ๑. ทกุ ข ๆ ดว ย ๒. สุข ๆ ดวย ๓. โตเ ถียงคนที่พดู ตเิ ตียนเพ่อื น ๔. รับรองคนทีพ่ ดู สรรเสรญิ เพอ่ื น ๕. สังคหวตั ถุ ๔ อยา ง ๑. ทาน ใหปนสิ่งของของตนแกผอู ืน่ ที่ควรใหปน ๒. ปย วาจา เจรจาวาจาที่ออ นหวาน ๓. อัตถจริยา ประพฤติสงิ่ ทเ่ี ปน ประโยชนแกผ ูอื่น ๔. สมานัตตตา ความเปนคนมีตนเสมอไมถอื ตวั คุณทง้ั ๔ อยา งน้ี เปน เครือ่ งยดึ เหน่ียวใจของผอู ืน่ ไวไ ด ๑. สัจจะ ๖. ธรรมของฆราวาส ๔ ๒. ทมะ ๓. ขนั ติ สตั ยซ อ่ื ตอกัน ๔. จาคะ รจู ักขมจติ ของตน (หมายถงึ ปญญา) อดทน (หมายถงึ ความเพียร) สละใหป นส่ิงของของตนแกคนท่ีควรใหปน ปญจกะ ๑. มจิ ฉาวณชิ ชา คือการคา ขายไมช อบธรรม ๕ อยาง ๑. คา ขายเครอื่ งประหาร ๒. คาขายมนษุ ย ๓. คาขายสัตวเปน สำหรับฆา เพื่อเปนอาหาร ๔. คา ขายนำ้ เมา ๕. คา ขายยาพษิ การคาขาย ๕ อยางน้ี เปนขอหามอุบาสกไมใหประกอบ ๒. สมบตั ขิ องอุบาสก ๕ ประการ ๑. ประกอบดวยศรัทธา ๒. มศี ลี บริสุทธ์ิ ๓. ไมถ อื มงคลต่นื ขาว คือเช่อื กรรม ไมเช่อื มงคล ๔. ไมแสวงหาเขตบุญนอกพุทธศาสนา ๕. บำเพญ็ บุญแตใ นพระพทุ ธศาสนา อบุ าสกพงึ ต้งั อยใู นสมบัติ ๕ ประการ และเวน จากวบิ ตั ิ ๕ ประการ ซ่งึ วิปรติ จากสมบัตินน้ั พระธีรวัฒน์ จนฺทโสภโณ : วดั ไผ่เงินโชตนาราม | ธรรมช้ันตรี 42

43 ๑. ปุรตั ถมิ ทสิ ฉักกะ ๒. ทักขิณทศิ ๓. ปจ ฉมิ ทสิ ทิศ ๖ ๔. อุตตรทิส ๕. เหฏฐิมทสิ คอื ทิศเบือ้ งหนา มารดาบดิ า ๖. อปุ รมิ ทสิ คือทิศเบ้ืองขวา อาจารย คือทิศเบ้ืองหลงั บุตรภรรยา คือทิศเบือ้ งซาย มิตร คือทิศเบือ้ งต่ำ บาว คือทศิ เบ้ืองบน สมณพราหมณ ๑. ปุรตั ถิมทสิ คือทิศเบ้อื งหนา ไดแ ก มารดาบดิ า บุตรพงึ บำรงุ ดว ยสถาน ๕ ๑. ทานไดเลี้ยงมาแลว เล้ยี งทานตอบ ๒. ทำกิจของทา น ๓. ดำรงวงศสกุล ๔. ประพฤติตนใหเ ปน คนควรรบั ทรพั ยม รดก ๕. เม่อื ทา นลวงลบั ไปแลว ทำบุญอทุ ิศใหท า น มารดาบิดาไดร บั บำรงุ ฉะน้แี ลว ยอ มอนเุ คราะหบ ตุ รดวยสถาน ๕ ๑. หา มไมใ หทำความชว่ั ๒. ใหตัง้ อยูในความดี ๓. ใหศ กึ ษาศลิ ปวทิ ยา ๔. หาภรรยาทีส่ มควร ๕. มอบทรัพยใหใ นสมยั ๒. ทักษิณทศิ คือทิศเบื้องขวา ไดแก อาจารย ศิษยพ งึ บำรุงดวยสถาน ๕ ๑. ดวยลกุ ขึน้ ยืนรับ ๒. ดวยเขา ไปยืนคอยรบั ใช ๓. ดวยเชอ่ื ฟง ๔. ดวยอปุ ฏ ฐาก ๕. ดวยเรียนศลิ ปวทิ ยาโดยเคารพ อาจารยไ ดรับบำรงุ ฉะนี้แลว ยอ มอนเุ คราะหศ ษิ ยดวยสถาน ๕ ๑. แนะนำดี ๒. ใหเรียนดี ๓. บอกศิลปใหส ิน้ เชิง ไมปด บงั อำพราง ๔. ยกยอ งใหปรากฏในเพอ่ื นฝูง ๕. ทำความปอ งกนั ในทิศท้งั หลาย (คือจะไปทางทิศไหนกไ็ มอ ดอยาก) ๓. ปจ ฉมิ ทิส คือทศิ เบ้ืองหลงั ไดแก ภรรยา สามพี ึงบำรุงดวยสถาน ๕ พระธรี วัฒน์ จนฺทโสภโณ : วดั ไผ่เงนิ โชตนาราม | ธรรมช้ันตรี 43

44 ๑. ดวยยกยอ งนบั ถอื วาเปนภรรยา ๒. ดวยไมด หู ม่ิน ๓. ดวยไมประพฤตลิ วงใจ ๔. ดวยมอบความเปน ใหญใ ห ๕. ดวยใหเครอ่ื งแตง ตัว ภรรยาไดรบั บำรงุ ฉะนแี้ ลว ยอมอนเุ คราะหสามีดว ยสถาน ๕ ๑. จัดการงานดี ๒. สงเคราะหค นขางเคยี งของสามีดี ๓. ไมประพฤติลวงใจสามี ๔. รักษาทรัพยท ี่สามีหามาไดไว ๕. ขยนั ไมเ กียจครา นในกจิ การท้งั ปวง ๔. อตุ ตรทสิ คือทศิ เบอ้ื งซาย ไดแก มิตร กุลบุตรพงึ บำรุงดว ยสถาน ๕ ๑. ดว ยใหปน ๒. ดวยเจรจาถอ ยคำไพเราะ ๓. ดวยประพฤติประโยชน ๔. ดวยความเปนผมู ีตนเสมอ ๕. ดวยไมแ กลงกลา วใหคลาดจากความเปนจรงิ มติ รไดบำรุงฉะนี้แลว ยอมอนเุ คราะหก ลุ บตุ รดวยสถาน ๕ ๑. รกั ษามิตรผปู ระมาทแลว ๒. รักษาทรพั ยของมติ รผูประมาทแลว ๓. เม่ือมภี ัย เอาเปน ทพ่ี ึ่งพำนักได ๔. ไมละทง้ิ ในยามวิบตั ิ ๕. นับถือตลอดถงึ วงศข องมติ ร ๕. เหฏฐิมทสิ คอื ทิศเบือ้ งตำ่ ไดแก บา ว นายพึงบำรุงดว ยสถาน ๕ ๑. ดวยจัดการงานใหท ำตามสมควรแกก ำลัง ๒. ดวยใหอาหารและรางวลั ๓. ดวยรกั ษาพยาบาลในเวลาเจ็บไข ๔. ดวยแจกของมีรสประหลาดใหกิน ๕. ดวยปลอยในสมัย บา วไดบ ำรงุ ฉะนี้แลว ยอมอนุเคราะหน ายดวยสถาน ๕ ๑. ลุกขนึ้ ทำการงานกอนนาย ๒. เลิกการงานทหี ลงั นาย ๓. ถือเอาแตของท่ีนายให ๔. ทำการงานใหด ีขึน้ พระธีรวัฒน์ จนฺทโสภโณ : วัดไผ่เงนิ โชตนาราม | ธรรมช้ันตรี 44

45 ๕.นำคณุ ของนายไปสรรเสริญในทีน่ ั้น ๆ ๖. อปุ ริมทสิ คือทิศเบือ้ งบน ไดแก สมณพราหมณ กุลบตุ รพึงบำรุงดวยสถาน ๕ ๑. ดวยกายกรรม คือทำอะไร ๆ ประกอบดว ยเมตตา ๒. ดวยวจีกรรม คอื พูดอะไร ๆ ประกอบดว ยเมตตา ๓. ดวยมโนกรรม คือคดิ อะไร ๆ ประกอบดว ยเมตตา ๔. ดวยความเปน ผไู มปดประตู คอื มไิ ดหามเขาบา นเรือน ๕. ดวยใหอ ามิสทาน สมณพราหมณไดร บั บำรงุ ฉะน้แี ลว ยอ มอนุเคราะหก ุลบตุ รดวยสถาน ๖ ๑. หา มไมใหกระทำความช่ัว ๒. ใหต ัง้ อยูใ นความดี ๓. อนุเคราะหดวยนำ้ ใจอนั งาม ๔. ใหไดฟ ง สงิ่ ท่ียังไมเคยฟง ๕. ทำสิ่งท่เี คยฟงแลว ใหแ จม แจง ๖. บอกทางสวรรคใ ห อบายมขุ คือเหตุเคร่อื งฉบิ หาย ๖ ๑. ดม่ื นำ้ เมา ๒ เท่ยี วกลางคนื ๓. เทีย่ วดกู ารเลน ๔. เลนการพนัน ๕. คบคนชวั่ เปนมิตร ๖. เกยี จครา นการทำงาน ๑. ด่ืมนำ้ เมา มโี ทษ ๖ ๑. เสียทรพั ย ๒. กอการทะเลาะวิวาท ๓. เกดิ โรค ๔. ตองติเตยี น ๕. ไมร จู กั อาย ๖. ทอนกำลังปญ ญา ๒ เที่ยวกลางคืน มีโทษ ๖ ๑. ชื่อวา ไมร กั ษาตวั ๒. ชือ่ วาไมรักษาลกู เมีย พระธรี วฒั น์ จนฺทโสภโณ : วัดไผ่เงินโชตนาราม | ธรรมช้ันตรี 45

46 ๓. ชื่อวา ไมรักษาทรพั ยส มบตั ิ ๔. เปน ทรี่ ะแวงของคนทัง้ หลาย ๕. มกั ถกู ใสค วาม ๖. ไดค วามลำบากมาก ๓. เที่ยวดกู ารเลน มโี ทษตามวตั ถุทีไ่ ปดู ๖ ๑. รำทีไ่ หนไปท่นี นั่ ๒. ขบั รองทไ่ี หนไปทนี่ น่ั ๓. ดีดสีตีเปา ท่ีไหนไปท่นี ัน่ ๔. เสภาท่ไี หนไปท่นี น่ั ๕. เพลงทไี่ หนไปทีน่ น่ั ๖. เถดิ เทิงทีไ่ หนไปที่น่นั ๔. เลน การพนัน มีโทษ ๖ ๑. เมอื่ ชนะยอมกอเวร ๒. เม่อื แพยอ มเสยี ดายทรพั ยท เี่ สียไป ๓. ทรพั ยย อมฉบิ หาย ๔. ไมมใี ครเช่ือถือถอ ยคำ ๕. เปนทหี่ มน่ิ ประมาทของเพอ่ื น ๖. ไมมีใครประสงคจ ะแตงงานดวย ๕. คบคนช่ัวเปนมติ ร มีโทษตามบุคคลท่ีคบ ๖ ๑. นำใหเ ปนนักเลงการพนัน ๒. นำใหเ ปน นกั เลงเจาชู ๓. นำใหเ ปน นักเลงเหลา ๔. นำใหเปนคนลวงเขาดว ยของปลอม ๕. นำใหเ ปน คนลวงเขาซง่ึ หนา ๖. นำใหเปน คนหวั ไม ๖. เกียจครานการทำงาน มโี ทษ ๖ ๑. มกั ใหอางวา หนาวนกั แลวไมทำการงาน ๒. มักใหอ างวา รอนนัก แลวไมทำการงาน ๓. มกั ใหอางวา เวลาเยน็ แลว แลว ไมทำการงาน ๔. มักใหอางวา ยังเชา อยู แลว ไมทำการงาน พระธีรวัฒน์ จนฺทโสภโณ : วดั ไผ่เงินโชตนาราม | ธรรมช้ันตรี 46

47 ๕. มกั ใหอางวา หวิ นกั แลว ไมท ำการงาน ๖. มกั ใหอ างวา กระหายนกั แลว ไมทำการงาน ผหู วังความเจริญดวยโภคทรัพย พึงเวน เหตเุ คร่ืองฉบิ หาย ๖ ประการนเ้ี สีย พระธรี วัฒน์ จนฺทโสภโณ : วดั ไผ่เงนิ โชตนาราม | ธรรมช้ันตรี 47

48 วชิ า พทุ ธประวัติ บทนำ วชิ าพุทธประวตั ิ เปนวิชาวาดวยประวัติขององคสมเด็จพระสมั มาสมั พทุ ธเจา ผเู ปนพระศาสดา แหงเราทง้ั หลาย จึงควรท่เี ราท้ังหลายในฐานะเปน พุทธศาสนิกชนตอ งศึกษา ซ่งึ นอกจากจะทำใหได ทราบถึงวงศต ระกลู การศกึ ษาฐานะทางสงั คมของพระศาสดากอนที่จะทรงผนวชแลวยังจะไดพ สิ จู นค วาม จริงเกยี่ วกบั พระศาสดาอยา งนอ ย ๔ ประการ คือ ๑. สมั มาสัมพุทธปฏญิ ญา ไดแกก ารทที่ รงปฏญิ ญาวา เปน พระพุทธเจา เราจะไดศ ึกษาวา ธรรมทีท่ รงตรัสรูน น้ั มศี าสดาอ่ืนเขาสอนกันมากอนแลว หรือไม ๒. ขณี าสวปฏิญญา ไดแ ก ท่ีทรงปฏิญญาวา พระองคเ ปนขณี าสพ คือ หมดกเิ ลสนน้ั เราจะไดศกึ ษาดพู ระจรยิ าวัตรทท่ี รงปฏบิ ัตมิ า ๔๕ พรรษา หลงั จากทรงตรสั รแู ลว วามตี รงไหนบางท่แี สดง วา พระองคยังมีกิเลสอยู ๓ อันตรายกิ ธรรมวาทะ ไดแก การที่พระองคทรงสอนวา ธรรมเหลา ใดเปนอันตรายแก บคุ คลผูประพฤติ เราศึกษาดธู รรมเหลาน้นั แลว จะไดทราบวา เปนเชนนั้นจริงหรือไม ๔. นิยานกิ ธรรมเทศนา ไดแ ก การท่ีพระองคทรงแสดงธรรมใดวาทำใหผปู ฏิบัติตามพน จาก ความทุกข เราจะไดศึกษาดูวา ธรรมเหลา นั้นชว ยใหผูปฏบิ ัติตามพน ทกุ ขไ ดจริงหรอื ไม การศกึ ษาวชิ าพุทธประวตั ดิ ว ยความเคารพ และความสนใจใฝร ู ยอมนำไปสูเปา หมายอนั สำคญั ทีส่ ุดของพุทธศาสนิกชน คือ ตถาคตโพธิศรัทธา ความเชื่อม่ันในความตรสั รูข องพระตถาคต ซึ่งผมู ี ศรัทธานี้แลว ยอ มเปนไปเพื่อประโยชน และความสุขแกชวี ิตอยา งย่ิงใหญไพศาล พระธีรวฒั น์ จนฺทโสภโณ : วดั ไผ่เงินโชตนาราม | ธรรมช้ันตรี 48

49 พุทธประวตั ิ ปรุ ิมกาล ปริจเฉทที่ ๑ ชมพูทวีปและประชาชน ชมพทู วปี คอื ประเทศอินเดยี ปจ จบุ ันนไี้ ดแก อนิ เดยี ปากีสถาน เนปาล บงั คลาเทศ ประชาชนในชมพทู วปี มี ๒ พวก คือ ๑. พวกเจา ของถิน่ เดมิ เรียกวา มลิ กั ขะ ๒. พวก ทย่ี กมาจากแผนดนิ ขา งเหนือ เรยี กวา อรยิ กะ ชมพูทวีปแบงเปน ๒ จังหวัด คือ ๑. รวมใน เรียกวา มชั ฌมิ ชนบท ๒. ภายนอก เรียกวา ปจ จันตชนบท มลู เหตุแหงการแบง เชนน้ี สมเดจ็ พระมหาสมณเจากรมพระยาวชิรญาณวโรรส ทรงสันนิษฐาน วา พวกอรยิ ะ คงเรียกชนบททต่ี นเขา ตง้ั และเปนใจกลางแหงการปกครองวา มชั ฌมิ ชนบท เรียกชนบทที่ พวกมิลกั ขะตัง้ อยูภายนอกเขตของตนวา ปจจันตชนบท ชมพทู วปี ตามบาลีอโุ บสถสตู ร ในติกนิบาทองั คตุ ตรนกิ าย ระบวุ า มี ๑๖ แควน คือ อังคะ มคธะ กาสี โกสละ วัชชี มัลละ เจตี วังสะ กุรุ ปญจาละ มจั ฉะ สรุ เสน อัสสกะ อวันตี คันธาระ กมั โพชะ และในบาลอี ่ืนท่ีไมซ ้ำอีก ๕ คอื สักกะ โกลยิ ะ ภคั คะ วเิ ทหะ อังคุตตราปะ คนในชมพทู วีป แบง เปน ๔ พวก เรียกวา วรรณะ คอื ๑. กษัตรยิ  พวกเจา มีธรุ ะทางรกั ษาบานเมอื ง ๒. พราหมณ พวกเลา เรยี นมธี ุระทางฝกสอนและทำพิธี ๓. แพศย พวกพลเรอื น มธี ุระทางทำนา คา ขาย ๔. ศทู ร พวกคนงาน มีธุระรบั จางทำการ ทำของ และยังมคี นนอกจาก ๔ พวกนอี้ ีก เรียกวา จณั ฑาล อันเกิดมาจากบิดาและมารดาทีต่ า ง วรรณะกัน เปนที่ดูหมิ่นของคนมชี าตสิ กลุ เปน อยา งยง่ิ การศึกษาของวรรณะ ๔ พวกกษัตรยิ  ศึกษาในเร่อื งยุทธวธิ ี พวกพราหมณ ศึกษาในเรอ่ื งศาสนา และวิทยาการตาง ๆ พวกแพศย ศกึ ษาเร่อื งศลิ ปะ กสกิ รรม และพาณิชการ พวกศูทร ศึกษาเรือ่ งการงานที่จะพึงทำดวยแรงกาย ความเช่อื ของชาวชมพูทวปี ๑. เก่ียวกบั ความเกิดและความตาย บางพวกเชอ่ื วา ตายแลวเกดิ ใหม บางพวกเช่อื วาตายแลว สญู ๒. เก่ียวกบั ความสุขและความทุกข บางพวกถือวา สตั วจะไดสขุ หรือทุกขก ็ไดเ อง สขุ ทกุ ขไ ม มีเหตปุ จจัย บางพวกเหน็ วา สุขทุกขมเี หตุปจจยั พระธรี วัฒน์ จนฺทโสภโณ : วดั ไผ่เงนิ โชตนาราม | ธรรมช้ันตรี 49