Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ภาษาไทยมาตรฐานและภาษาถิ่น

ภาษาไทยมาตรฐานและภาษาถิ่น

Published by อริญญา พิลาทา, 2021-03-18 04:45:54

Description: ภาษาไทยมาตรฐานและภาษาถิ่น

Search

Read the Text Version

ภาษาไทยมาตรฐานและภาษาถ่ิน ภาษาไทยมาตรฐาน คือ ภาษาที่ใช้อย่างเป็นทางการของคนไทย ได้รับการยอมรับว่าเป็นภาษาท่ีถูกต้องเหมาะสม ทั้งการพูด และการเขียน ถือเป็นภาษากลางท่ีใช้ติดต่อส่ือสารเข้าใจกันท้ังประเทศด้วยสานวน และสาเนียงเดียวกัน ใช้ ติดต่อส่ือสารในวงราชการ สถานศึกษาและสถาบันสาคัญในสังคม ในสถานการณ์ ท่ีเป็นทางการ ภาษาถ่ินท่ีได้รับ การยอมรับ ให้เป็นภาษามาตรฐานนั้น มักจะเป็นภาษาถ่ินท่ีใช้ติดต่อสื่อสาร กันอยู่ในเมืองหลวงของประเทศ ดงั เช่น ภาษามาตรฐานของไทยก็ คอื ภาษาถิ่นกรุงเทพมหานคร ภาษามาตรฐานมีลกั ษณะดังน้ี 1) เป็นภาษาท่ีได้รับการเลือกเฟ้น ภาษามาตรฐานเป็นภาษาถิ่นที่ได้รับการเลือก จากภาษาถิ่นของบุคคล ในถน่ิ ที่มีบทบาทในการเมอื ง การปกครอง เศรษฐกจิ และสงั คมแลว้ ยกระดับ มาตรฐาน ให้ทุกคนใช้เหมือนกันและ เข้าใจตรงกัน นอกจากนภี้ าษาถนิ่ นน้ั จะตอ้ งมี ลกั ษณะผสมผสาน เอาลกั ษณะ ของภาษาถนิ่ อนื่ ๆ ไวด้ ้วย 2) เปน็ ภาษาทีไ่ ดร้ ับการรวบรวมหลกั เกณฑ์ระเบยี บของภาษาไว้เป็นมาตรฐานเดียวกัน นักวิชาการจะต้อง จัดทาพจนานุกรมและตาราหลักภาษาไว้เป็นหลักในการตรวจสอบ และผู้ใช้ยอมรับ ในหลักของภาษา มีการสอน ให้ผใู้ ช้ รู้หลักเกณฑ์การเขียน การอ่านให้ถูกต้องตามหลักเกณฑ์ท่กี าหนดไว้ 3) เป็นภาษาท่ีใช้ได้ทุกวงการและทุกสาขาอาชีพ เป็นภาษาท่ีคนหลายกลุ่มหลายหน้าที่นาไปใช้ได้ และ ผใู้ ชภ้ าษา เขา้ ใจตรงกนั ทัง้ การพดู และการเขยี น เชน่ ในศาล ในรฐั สภา ในวงการศึกษา วิทยาศาสตร์ การเมืองการ ปกครอง วิชาการแขนงต่าง ๆ ศิลปกรรม ดนตรีนาฏศิลป์ วรรณคดี และวรรณกรรม เปน็ ต้น 4) เป็นภาษาที่สามารถปรับปรุงเปลี่ยนแปลงและพัฒนาให้สอดคล้องกับความก้าวหน้าของสังคม และ เทคโนโลยี มีการเพิ่มคาด้วยวิธีต่าง ๆ เช่น การทับศัพท์ การประสมคา หรือบัญญัติศัพท์ เพ่ือให้เพียงพอต่อความ ต้องการ ในการใชแ้ ละสามารถนาไปใช้ได้อย่างหลากหลาย 5) เปน็ ภาษาท่ีเปน็ ที่ยอมรบั ของคนถนิ่ อน่ื ว่าเปน็ ภาษาประจาชาติเป็นภาษาท่ีมีลักษณะเฉพาะแตกต่าง จากภาษาถน่ิ ท่วั ไป เป็นเอกลักษณ์ของชาติ สร้างความภูมใิ จแก่คนในชาติ

ภาษาถน่ิ คือ ภาษาย่อยท่ใี ชพ้ ูดจากนั ในท้องถ่ินต่าง ๆ ซึ่งเกิดจากการใช้ภาษาเพ่ือการส่ือความหมาย ความเข้าใจ กันระหวา่ งผคู้ นที่อาศัยอยูต่ ามทอ้ งถิ่นนนั้ ๆ ซึ่งอาจจะแตกต่างไปจากมาตรฐาน หรือภาษาท่ีคนส่วนใหญ่ของแต่ ละประเทศใช้กัน ภาษาถ่ินของไทยจะแบ่งตาม ภูมิศาสตร์หรือท้องถิ่นท่ีผู้พูดภาษา นั้นอาศัยอยู่ในภาค ต่าง ๆ แบง่ ได้เปน็ 4 ถิ่นใหญ่ ๆ คอื ภาษาถนิ่ กลาง ภาษาถน่ิ เหนือ ภาษาถน่ิ อสี านและภาษาถิ่นใต้ 1.ภาษาถ่ินกลาง ภาษาถิ่นท่ีใช้ส่ือสารอยู่ในบางจังหวัดของภาคกลาง เช่น เพชรบุรี กาญจนบุรี สุพรรณบุรี ราชบุรี นครปฐม อ่างทอง และพระนครศรีอยุธยา เป็นต้น ภาษาถ่ินที่ใช้สื่อสารอยู่ในจังหวัดเหล่าน้ี มีสาเนียงพูดที่ แตกตา่ งกันออกไป จะมลี กั ษณะเพีย้ นเสียงไปจากภาษากลางที่เป็นภาษามาตรฐาน 2. ภาษาถนิ่ เหนอื ภาษาถ่นิ เหนอื หรือภาษาถิ่นพายัพ (คาเมือง) ได้แก่ ภาษาถิ่นท่ีใช้ส่ือสารอยู่ในบางจังหวัดของภาคเหนือ ตอนบน หรือภาษาในอาณาจักรล้านนาเดิม มักจะพูดกันมากในจังหวัดเชียงใหม่ แม่ฮ่องสอน เชียงราย พะเยา ลาปาง น่าน ลาพูน ตา แพร่ เป็นต้น 3. ภาษาถ่นิ อสี าน ภาษาถนิ่ อสี านของประเทศไทยมีลกั ษณะใกลเ้ คียงกบั ภาษาทพี่ ดู ทใ่ี ช้กันในประเทศลาว แต่ภาษาอีสาน ก็ ยังถอื วา่ เปน็ ภาษาถ่ินของภาษาไทย ภาษาถ่นิ อีสานมีภาษาถ่ินย่อยหลายภาษา ได้แก่ ภาษาที่ชนกลุ่มใหญ่ในภาค อีสานใช้พูดจากัน ซ่ึงใช้ส่ือสารอยู่ในจังหวัดต่าง ๆ ของภาคอีสาน หรือภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เช่น สกลนคร หนองคาย นครพนม ขอนแกน่ อุดรธานี อุบลราชธานี รอ้ ยเอ็ด เลย ชัยภูมิ มหาสารคาม กาฬสนิ ธ์ุ เปน็ ตน้

4. ภาษาถน่ิ ใต้ ภาษาถิ่นท่ีใช้ส่ือสารอยู่ในจังหวัดต่าง ๆ ของภาคใต้ของประเทศไทย ลงไปถึงชายแดนประเทศมาเลเซีย รวม 14 จังหวัดภาษาถิ่นใต้ ยังมีภาษาถิ่นย่อยลงไปอีก เป็นภาษาถ่ินใต้ ภาคตะวันออก เช่น ภาษาถิ่นที่ใช้ใน จังหวัดนครศรีธรรมราช พัทลุง สงขลา ปัตตานี ตรัง สตลู ภาษาถ่ินใต้ตะวันตก เช่น ภาษาถ่ินท่ีใช้ในจังหวัด กระบี่ พังงา ระนอง สุราษฎร์ธานีและชุมพร และภาษาถ่ินใต้สาเนียงเจ๊ะเห เช่น ภาษาถ่ินท่ีใช้ในจังหวัด นราธิวาส และ ปตั ตานี ในแตล่ ะภาคก็จะมภี าษาถนิ่ ใต้ เป็นภาษาถิ่นย่อยลงไปอีก เช่น ภาษาถ่ินระนอง ภาษา ถ่ินภูเก็ต ภาษาถิ่นพัทลุง ภาษาถิ่นสงขลา เป็นต้น ภาษาถ่ินย่อยเหล่านี้อาจจะมีเสียง และคาที่เรียกส่ิงเดียวกัน แตกต่างกันออกไป ตวั อย่างการเปรยี บเทียบภาษาไทยมาตรฐานกบั ภาษาถ่ิน








Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook