Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือการประเมินข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาสายงานนิเทศการศึกษา

คู่มือการประเมินข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาสายงานนิเทศการศึกษา

Published by suvijuk.cha, 2020-05-20 11:28:19

Description: คู่มือการประเมินข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาสายงานนิเทศการศึกษา

Search

Read the Text Version

คูม ือ การประเมินขาราชการครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา เพอ่ื ใหมีวทิ ยฐานะและเลอื่ นวิทยฐานะ สายงานนเิ ทศการศึกษา ตามหลกั เกณฑและวธิ ีการ ใหขา ราชการครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษามวี ิทยฐานะและเลือ่ นวิทยฐานะ (หนังสอื สํานักงาน ก.ค.ศ. ดว นท่สี ุด ท่ี ศธ 0206.4/ว 17 ลงวันที่ 30 กนั ยายน 2552) สาํ นกั งาน ก.ค.ศ. กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

คูมอื การประเมนิ ขา ราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษา เพื่อใหมีวิทยฐานะและเลือ่ นวิทยฐานะ สายงานนเิ ทศการศกึ ษา ตามหลักเกณฑแ ละวิธีการ ใหข า ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษามวี ิทยฐานะและเลอ่ื นวิทยฐานะ (หนงั สอื สาํ นกั งาน ก.ค.ศ. ดวนท่สี ุด ที่ ศธ 0206.4/ว 17 ลงวันท่ี 30 กันยายน 2552)

คาํ นํา คูมือการประเมินขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาเพ่ือใหมีวิทยฐานะและเล่ือนวิทยฐานะ สายงานนิเทศการศึกษา จัดทําขึ้นเพื่อใหคณะกรรมการประเมินและผูที่เกี่ยวของไดใชเปนคูมือ ในการประเมินดานที่ 1 ดานวินัย คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ ดานท่ี 2 ดานความรู ความสามารถ และดา นที่ 3 ดานผลการปฏิบัติงาน ไดอ ยา งถูกตอง คูมือการประเมินนี้ ประกอบดวยหนังสือสํานักงาน ก.ค.ศ. ดวนที่สุด ที่ ศธ 0206.4/ ว 17 ลงวันที่ 30 กันยายน 2552 เรื่องหลักเกณฑและวิธีการใหขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา มีวิทยฐานะและเล่ือนวิทยฐานะ แบบเสนอขอรับการประเมินฯ แบบรายงานดานที่ 1 และ แบบรายงานผลการปฏบิ ัติงาน รวมทัง้ คําชี้แจงการประเมิน คาํ อธบิ ายรายการและตัวบงชี้ กรอบการประเมิน และแบบประเมนิ แตละดา น พรอมแบบรายงานตาง ๆ ท่ีเกยี่ วขอ ง สํานักงาน ก.ค.ศ. ขอขอบคุณผูทรงคุณวุฒิทุกทานที่กรุณาใหคําปรึกษา แนะนํา และ รวมระดมความคิดเห็นอันเปนประโยชนอยางยิ่งตอการจัดทําคูมือการประเมินขาราชการครู และบุคลากรทางการศึกษาเพื่อใหมีวิทยฐานะและเล่ือนวิทยฐานะ และขอบคุณเจาหนาที่ผูเก่ียวของ ที่ไดรวมกันดําเนินงานอยางเขมแข็ง ทําใหไดคูมือการประเมินที่มีความสมบูรณ สามารถใชในการประเมิน ไดอ ยา งถกู ตองและเปนมาตรฐานเดียวกัน สาํ นักงาน ก.ค.ศ. 30 เมษายน 2553

สารบญั คํานาํ หนา คาํ ชี้แจง 1 3 หลักเกณฑแ ละวธิ ีการใหขา ราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษามีวทิ ยฐานะและเล่อื นวทิ ยฐานะ 6 สายงานนเิ ทศการศกึ ษา 10 วิทยฐานะศกึ ษานเิ ทศกช ํานาญการ 17 วิทยฐานะศกึ ษานเิ ทศกช ํานาญการพเิ ศษ 24 วทิ ยฐานะศกึ ษานิเทศกเ ช่ยี วชาญ 30 วทิ ยฐานะศกึ ษานเิ ทศกเ ชีย่ วชาญพเิ ศษ 34 แบบเสนอขอรบั การประเมนิ วิทยฐานะชาํ นาญการ (ก.ค.ศ. 1) 38 แบบเสนอขอรับการประเมนิ วิทยฐานะชาํ นาญการพิเศษขนึ้ ไป (ก.ค.ศ. 1/1) 42 แบบรายงานดา นที่ 1 ทุกตาํ แหนง และทุกวทิ ยฐานะ (ก.ค.ศ. 2) 45 แบบรายงานผลการปฏิบตั งิ าน ดา นที่ 3 วิทยฐานะชาํ นาญการ (ก.ค.ศ. 3) 49 แบบรายงานผลการปฏิบัตงิ าน ดา นที่ 3 วิทยฐานะชาํ นาญการพเิ ศษข้ึนไป (ก.ค.ศ. 3/4) 50 53 การประเมินดา นที่ 1 ดานวนิ ยั คณุ ธรรม จรยิ ธรรม และจรรยาบรรณวิชาชพี 57 คาํ ชแ้ี จงการประเมนิ ดา นท่ี 1 82 คําอธิบายตวั บง ชกี้ ารประเมนิ ดานที่ 1 101 กรอบการประเมนิ ดา นที่ 1 102 แบบประเมินดานที่ 1 (ก.ค.ศ. 4 และ ก.ค.ศ. 5) 105 108 การประเมินดา นที่ 2 ดา นความรคู วามสามารถ 117 คําช้ีแจงการประเมินดานที่ 2 136 คาํ อธิบายตัวบง ชก้ี ารประเมนิ ดา นท่ี 2 137 กรอบการประเมนิ ดานท่ี 2 142 แบบประเมนิ ดา นท่ี 2 (ก.ค.ศ. 6/4 ก.ค.ศ. 7/4 ก.ค.ศ. 8/4 ก.ค.ศ. 9 และ ก.ค.ศ. 10) 147 156 การประเมนิ ดา นที่ 3 ดา นผลการปฏบิ ตั ิงาน คาํ ชแ้ี จงการประเมินดานที่ 3 คําอธิบายรายการและตัวบง ชก้ี ารประเมินดานที่ 3 กรอบการประเมนิ ดา นที่ 3 แบบประเมินดา นที่ 3 (ก.ค.ศ.11/4 ก.ค.ศ.12/4 ก.ค.ศ.13/4 ก.ค.ศ.14/4และก.ค.ศ.15/4)

คําช้ีแจง คูมือการประเมินขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาเพ่ือใหมีวิทยฐานะและ เล่ือนวิทยฐานะ สายงานนิเทศการศกึ ษา ประกอบดวยสาระสําคญั ดงั น้ี 1. หลักเกณฑและวิธีการใหขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา มีวิทยฐานะและ เล่ือนวิทยฐานะ สายงานนิเทศการศึกษา ตามหนังสือสํานักงาน ก.ค.ศ. ดวนท่ีสุด ท่ี ศธ 0206.4/ ว 17 ลงวันที่ 30 กันยายน 2552 รวมทั้งแบบเสนอขอรับการประเมิน แบบรายงานดานที่ 1 และแบบ รายงานดานท่ี 3 2. การประเมินดานท่ี 1 ดานวินัย คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ ประกอบดวย คําชี้แจงการประเมิน คําอธิบายตัวบงช้ี กรอบการประเมิน แบบประเมิน แบบสรปุ ผลการประเมนิ และแบบรายงานทเ่ี กีย่ วของ 3. การประเมินดานที่ 2 ดานความรูความสามารถ ประกอบดวย คําช้ีแจงการประเมิน คําอธิบายตัวบงชี้ กรอบการประเมิน แบบประเมิน แบบสรุปผลการประเมินและ แบบรายงานทเ่ี กย่ี วของ 4. การประเมินดานท่ี 3 ดานผลการปฏิบัติงาน ประกอบดวย คําช้ีแจงการประเมิน คําอธิบายรายการและตัวบงชี้ กรอบการประเมิน แบบประเมิน แบบสรุปผลการประเมินและ แบบรายงานทเี่ ก่ยี วขอ ง 5. แบบสรุปผลการประเมินเสนอ อ.ก.ค.ศ.เขตพ้ืนท่ีการศึกษา หรือ อ.ก.ค.ศ. ท่ี ก.ค.ศ. ต้ัง และแบบรายงานสํานักงาน ก.ค.ศ. หลักเกณฑและวิธีการใหขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษามีวิทยฐานะและ เลื่อนวิทยฐานะ ตามหนังสือสํานักงาน ก.ค.ศ. ดวนท่ีสุด ท่ี ศธ 0206.4/ว 17 ลงวันท่ี 30 กันยายน 2552 สายงานนิเทศการศึกษา ตําแหนง ศึกษานเิ ทศก กาํ หนดใหมีคณะกรรมการประเมนิ ดงั น้ี วิทยฐานะชํานาญการ ใหมีคณะกรรมการประเมินจํานวน 3 คน ทําการประเมินดานที่ 1 ดานที่ 2 และดานท่ี 3 พรอมกัน โดยประเมินจากเอกสารการรายงานของผูขอรับการประเมิน เอกสารหลักฐานท่ีเกี่ยวของ รายงานการสังเคราะหผลการแกปญหาและพัฒนาการจัดการศึกษา รวมทั้งการปฏิบัติงานจริง ณ สถานที่ปฏิบัติงานของผูขอรับการประเมิน กรณีผลการประเมิน ดานใดไมผานเกณฑ และคณะกรรมการประเมินมีความเห็นวาผลการประเมินอยูในวิสัยที่สามารถ พฒั นาใหผา นเกณฑได ใหพ ฒั นาไดไมเกิน 2 ครั้ง ครง้ั ละไมเกิน 3 เดือน

-2- สําหรับวิทยฐานะชํานาญการพิเศษ วิทยฐานะเชี่ยวชาญ และวิทยฐานะเชี่ยวชาญพิเศษ กาํ หนดใหมีคณะกรรมการประเมิน 2 ชุด ดังน้ี ชุดที่ 1 ทําหนาท่ีประเมินดานที่ 1 และดานท่ี 2 ใหคณะกรรมการทั้ง 3 คน ประเมิน ทั้ง 2 ดานพรอมกัน โดยประเมินจากเอกสารหลักฐานรวมทั้งการปฏิบัติงานจริง ณ สถานที่ ปฏิบัติงานของผูขอรับการประเมิน กรณีผลการประเมินดานที่ 1 และดานท่ี 2 ไมผานเกณฑ และ คณะกรรมการประเมินมีความเห็นวาผลการประเมินอยูในวิสัยที่สามารถพัฒนาใหผานเกณฑได ใหพัฒนาไดไ มเกิน 2 ครั้ง ครัง้ ละไมเกนิ 3 เดือน ชุดท่ี 2 ทําหนาที่ประเมินดานท่ี 3 คือ ดานผลการปฏิบัติงาน ประกอบดวย สวนท่ี 1 ผลการพัฒนาคุณภาพการนิเทศการศึกษา และสวนที่ 2 ผลงานทางวิชาการ กําหนดใหมีคณะกรรมการ ประเมินจํานวน 3 คนตอผูขอรับการประเมิน 1 ราย โดยประเมินจากเอกสารท่ีผูขอรับการประเมินเสนอ และนําผลการประเมินและขอสังเกตของคณะกรรมการชุดที่ 1 มาประกอบการพิจารณาดวย ทั้งนี้ คณะกรรมการอาจใหผูขอรับการประเมินนําเสนอและตอบขอซักถามดวยก็ได กรณีคณะกรรมการ ชุดที่ 2 พิจารณาแลวเห็นสมควรใหปรับปรุงดานที่ 3 ผูขอรับการประเมินจะตองมีผลการประเมิน ผานเกณฑจ ากกรรมการไมน อ ยกวา 2 ใน 3 คน ดว ย การปรับปรุงสวนท่ี 1 ผลการพัฒนาคุณภาพการนิเทศการศึกษา ตองเปนกรณี ที่ผูขอรับการประเมินช้ีแจงขอมูลตามแบบรายงานผลการปฏิบัติงาน (ก.ค.ศ. 3/4) ยังไมชัดเจนเทานั้น ไมสามารถใหปรับปรุงขอมูลเก่ียวกับผลการพัฒนาคุณภาพการนิเทศการศึกษา แตอาจให ผขู อรบั การประเมนิ ชแี้ จงใหชดั เจน และหรอื เสนอเอกสารเพมิ่ เตมิ ได การปรับปรุงสวนท่ี 2 ผลงานทางวิชาการ ตองอยูในวิสัยที่สามารถปรับปรุงได การปรับปรุงดานที่ 3 ทั้ง 2 สวน สามารถปรับปรุงไดไมเกิน 2 ครั้ง โดยคร้ังที่ 1 ใหปรับปรุงภายในเวลา 6 เดือน เม่ือปรับปรุงแลว หากคณะกรรมการประเมินพิจารณาเห็นวา ผูขอรับการประเมินยังปรับปรุงไมครบถวนตามขอสังเกต อาจใหปรับปรุงไดอีกครั้งหน่ึง ภายใน เวลา 3 เดือน ท้ังน้ี การปรับปรุงดานที่ 3ทั้ง 2 สวนของผูขอรับการประเมินวิทยฐานะชํานาญการพิเศษ ตองเปน กรณที ่ี อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นทีก่ ารศึกษามีมตใิ หปรับปรงุ ไดเ ทานัน้

หลักเกณฑแ ละวิธีการใหข า ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา มวี ิทยฐานะและเล่ือนวทิ ยฐานะ สายงานนเิ ทศการศึกษา (ตามหนังสอื สาํ นักงาน ก.ค.ศ. ดว นท่สี ดุ ที่ ศธ 0206.4/ว 17 ลงวันที่ 30 กนั ยายน 2552) วิทยฐานะศึกษานเิ ทศกช าํ นาญการ วิทยฐานะศกึ ษานิเทศกชาํ นาญการพเิ ศษ วิทยฐานะศกึ ษานิเทศกเชี่ยวชาญ วิทยฐานะศกึ ษานิเทศกเ ชีย่ วชาญพเิ ศษ

-4-   อางถึง (1) หนงั สอื สํานกั งาน ก.ค.ศ. ที่ ศธ 0206.3/ว 25 ลงวันท่ี 29 ธนั วาคม 2548 (2) หนงั สือสาํ นกั งาน ก.ค.ศ. ท่ี ศธ 0206.3/ว 26 ลงวันที่ 30 ธนั วาคม 2548 (3) หนังสือสํานกั งาน ก.ค.ศ. ที่ ศธ 0206.3/ว 2 ลงวันที่ 29 กมุ ภาพันธ 2551 (4) หนงั สอื สาํ นกั งาน ก.ค.ศ. ดวนที่สดุ ที่ ศธ 0206.2/852 ลงวนั ท่ี 29 กันยายน 2551 (5) หนงั สือสํานกั งาน ก.ค.ศ. ท่ี ศธ 0206.2/900 ลงวันท่ี 15 ตลุ าคม 2551   สิง่ ท่สี ง มาดวย (1) หลักเกณฑแ ละวธิ กี ารใหข า ราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษามวี ทิ ยฐานะและเลอ่ื นวิทยฐานะ จาํ นวน 1 ชดุ (2) แบบเสนอขอรบั การประเมินของขา ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษาใหมีวิทยฐานะและ เลอ่ื นวิทยฐานะ จํานวน 1 ชดุ (3) แบบรายงานเพ่ือขอรับการประเมินของขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาใหม ีวิทยฐานะและ เลอื่ นวิทยฐานะ จาํ นวน 1 ชุด ตามหนงั สือท่ีอา งถึง สาํ นกั งาน ก.ค.ศ.ไดแจง หลักเกณฑและวิธกี ารใหขาราชการครูและบคุ ลากร ทางการศึกษามีวทิ ยฐานะและเลื่อนวิทยฐานะ ใหห นว ยงานการศึกษาทราบและถือปฏิบตั ิ นัน้   ก.ค.ศ.ไดพิจารณาหลักเกณฑและวิธีการใหขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษามีวิทยฐานะและ เลื่อนวิทยฐานะดังกลาวแลวเห็นวาเพ่ือใหการประเมินวิทยฐานะของขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา มีความเหมาะสมย่งิ ข้นึ จงึ มีมติ ดงั นี้ 1. ยกเลกิ หลกั เกณฑและวธิ ีการใหข าราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษามวี ิทยฐานะและเล่อื นวิทยฐานะ ตามหนังสอื ทอ่ี างถงึ (1) - (5)   /2. กาํ หนดหลักเกณฑ. ..  

  -5-     2. กาํ หนดหลกั เกณฑและวิธกี ารใหข า ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษามวี ิทยฐานะและ เลื่อนวทิ ยฐานะ ตามส่งิ ท่ีสงมาดว ยพรอมน้ี โดยใหถ ือปฏิบัติ ต้ังแตวันที่ 1 ตุลาคม 2552 เปนตนไป 3. สําหรับขาราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษาทีข่ อรบั การประเมินเพอื่ ใหมวี ทิ ยฐานะและเล่ือนวทิ ยฐานะ ตามหนังสือทอ่ี างถงึ (1) และ (2) และอยใู นระหวา งดําเนินการ ใหด ําเนินการตอไปจนแลวเสรจ็ จึงเรยี นมาเพ่ือโปรดทราบและถือปฏิบตั ติ อ ไป  ภารกิจระบบตําแหนง และวิทยฐานะที่ 2 โทร. 0 2280 2821, 0 2280 2831, 0 2280 1017 โทรสาร 0 2280 1029 0 2280 1095 

-6- หลักเกณฑแ ละวิธกี าร ใหขา ราชการครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษามีวิทยฐานะศึกษานเิ ทศกชํานาญการ หลกั เกณฑ 1. ผูขอมวี ทิ ยฐานะศกึ ษานิเทศกช ํานาญการ ตอ งมคี ณุ สมบตั ิ ตอ ไปน้ี 1.1 ดาํ รงตาํ แหนงศกึ ษานิเทศก หรอื ดาํ รงตําแหนง อ่ืนที่ ก.ค.ศ.เทยี บเทา อยางใดอยางหนง่ึ หรือรวมกนั มาแลว ไมนอ ยกวา 2 ป นบั ถงึ วนั ทีย่ ่นื คาํ ขอ 1.2 มีภาระงานนิเทศการศกึ ษาเตม็ เวลา 1.3 ไดปฏิบัตงิ านตามหนา ที่ความรบั ผิดชอบดา นการนเิ ทศการศกึ ษาและ การพฒั นาการนเิ ทศการศกึ ษายอ นหลัง 2 ปติดตอ กนั นบั ถงึ วันท่ยี ืน่ คาํ ขอ 2. ผูขอตอ งผา นการประเมิน 3 ดาน ดังนี้ ดา นที่ 1 ดานวินัย คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ พิจารณาจากขอมูล ของบคุ คลและหรอื หนว ยงานท่ีเกี่ยวขอ ง และเอกสารหลักฐาน ดงั น้ี สวนที่ 1 ประวัติการรับราชการ (ก.พ.7) สวนท่ี 2 คาํ รบั รองของผบู งั คบั บญั ชา และคณะกรรมการเขตพนื้ ที่ การศกึ ษา สวนท่ี 3 เอกสารหลักฐานท่ีแสดงการมีสวนรวมในการเสริมสรางวินัย คณุ ธรรม จรยิ ธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ ดา นท่ี 2 ดานความรูความสามารถ พิจารณาจากการพัฒนางานในหนาท่ี และการพัฒนาตนเอง ดังน้ี สวนท่ี 1 การเปนผูมีความสามารถในการนิเทศการศึกษา พิจารณาจาก ความรูความสามารถในการนเิ ทศการศึกษา ความรูความสามารถที่เกี่ยวของกับการศึกษา การจัดทํา การใช และการนําเสนอส่ือ นวัตกรรม และเทคโนโลยีสารสนเทศ การวิเคราะห สังเคราะหและ การวจิ ยั ทางการศกึ ษา และการติดตาม ตรวจสอบและประเมนิ ผลการนเิ ทศการศึกษา สวนที่ 2 การพัฒนาตนเองเพ่ือเพ่ิมพูนความรูและทักษะในการนิเทศ การศึกษา พิจารณาจาก การศึกษาคนควาหาความรูดวยวิธีการตาง ๆ ผลการทดสอบความรูจาก หนวยงานหรือสถาบันทางวิชาการที่ ก.ค.ศ.ใหการรับรอง การประมวลความรูเก่ียวกับการพัฒนา วิชาการและวิชาชีพ และการนําไปใชใ นการนิเทศการศกึ ษา และการใหบ ริการทางวิชาการและวิชาชพี

-7- ดา นท่ี 3 ดานผลการปฏิบัติงาน พิจารณาจากผลการพัฒนาคุณภาพการนิเทศ การศึกษา ไดแก ผลที่เกิดกับครู ผูเรียน สถานศึกษา และระบบการจัดการศึกษาของสถานศึกษา รายงานการสังเคราะหผลการแกปญหาและพัฒนาการจดั การศึกษา 3. การประเมนิ ดา นท่ี 1 และดานที่ 2 ใหคณะกรรมการประเมินจากเอกสารหลักฐานรวมท้ัง การปฏิบัติงานจริง สวนดานที่ 3 ใหประเมินจากเอกสารหลักฐานที่ผูขอรับการประเมินเสนอ โดยอาจ ประเมนิ จากการปฏิบตั งิ านจริง หรอื อาจใหผ ขู อรับการประเมนิ นําเสนอ และตอบขอซักถามดวยกไ็ ด ท้ังน้ี ใหคณะกรรมการบันทึกขอสังเกตเก่ียวกับจุดเดน จุดท่ีควรพัฒนาในเร่ืองท่ี ประเมนิ ของผูข อรบั การประเมินไวใ นแบบประเมนิ ดว ย 4. การประเมินดานท่ี 1 ดานที่ 2 และดานท่ี 3 ใหมีคณะกรรมการประเมิน 3 คน ประเมินพรอมกันทั้ง 3 ดาน และใหดําเนินการภายในเวลา 3 เดือน นับแตวันที่สํานักงานเขตพื้นที่ การศึกษาไดรบั คาํ ขอ 5. เกณฑก ารตัดสิน ผทู ผี่ า นเกณฑการประเมินตอ งไดคะแนนแตละดาน ดังน้ี 5.1 ดานที่ 1 ดานวินัย คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ ตองไดคะแนนจาก กรรมการท้ัง 3 คนเฉลย่ี ไมตํ่ากวา รอยละ 65 5.2 ดานที่ 2 ดานความรูความสามารถ ตองไดคะแนนจากกรรมการทั้ง 3 คนเฉลี่ย ไมตํา่ กวารอยละ 65 5.3 ดานที่ 3 ดานผลการปฏิบัติงาน ตองไดคะแนนจากกรรมการแตละคน ไมต าํ่ กวา รอยละ 65 กรณีคณะกรรมการประเมนิ ดา นที่ 1 ดา นที่ 2 และดา นท่ี 3 มีความเหน็ วา ผลการประเมนิ อยูในวสิ ัยทส่ี ามารถพฒั นาใหผานเกณฑได ใหพฒั นาไดไ มเ กิน 2 คร้ัง ครั้งละไมเ กิน 3 เดอื น 6. การพิจารณาอนุมัติผลการประเมินเพื่อใหมีวิทยฐานะศึกษานิเทศกชํานาญการ ให อ.ก.ค.ศ.เขตพื้นที่การศึกษาเปนผูอนุมัติ มีผลไมกอนวันท่ีสํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาไดรับ คําขอและเอกสารครบถวนสมบรู ณ กรณีท่ีมีการพัฒนาไมวาดานใดก็ตาม ใหอนุมัติไดไมกอนวันที่สํานักงานเขตพ้ืนท่ี การศกึ ษาไดรบั หนงั สอื ทสี่ ง รายละเอียดในการพัฒนาครบถว นสมบูรณคร้ังหลงั สดุ

-8- 7. เม่ือ อ.ก.ค.ศ. เขตพ้ืนท่ีการศึกษาพิจารณาผลการประเมิน และมีมติเปนประการใดแลว ใหถ ือเปน อันสิ้นสดุ 8. สํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา ใหหมายความรวมถึง สวนราชการดวย และ อ.ก.ค.ศ. เขตพนื้ ทกี่ ารศึกษา ใหห มายความรวมถึง อ.ก.ค.ศ. ท่ี ก.ค.ศ. ตง้ั ดวย วิธกี าร 1. ใหผูประสงคขอรับการประเมินยื่นคําขอไดตลอดป รอบปละ 1 ครั้งโดยสงคําขอ พรอมท้ังผลการปฏิบัติงาน (ดานท่ี 3) ซ่ึงเปนเอกสารผลการพัฒนาคุณภาพการนิเทศการศึกษา จํานวน 4 ชุด ตอ ผูบังคับบญั ชาช้นั ตน เพื่อตรวจสอบและรับรองแลวเสนอผูบังคับบัญชาตามลําดับ ถงึ สาํ นกั งานเขตพื้นทกี่ ารศึกษา กรณีผูท่ีจะเกษียณอายุราชการใหยื่นคําขอพรอมทั้งผลการปฏิบัติงาน (ดานที่ 3) ซ่ึงเปนเอกสารผลการพัฒนาคุณภาพการนิเทศการศึกษา จํานวน 4 ชุด ตอผูบังคับบัญชาช้ันตน เพื่อตรวจสอบและรับรองแลวเสนอผูบังคับบัญชาตามลําดับ ถึงสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา กอนท่ีจะ เกษยี ณอายุราชการ ไมนอ ยกวา 6 เดอื น 2. ใหสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาตรวจสอบคุณสมบัติและเอกสารหลักฐาน ตามหลกั เกณฑและวธิ ีการท่ี ก.ค.ศ. กาํ หนด และนาํ เสนอ อ.ก.ค.ศ. เขตพน้ื ท่ีการศกึ ษาพจิ ารณา 3. ให อ.ก.ค.ศ. เขตพ้ืนท่ีการศึกษาต้ังคณะกรรมการประเมินดานท่ี 1 คือ ดานวินัย คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ ดานที่ 2 คือ ดานความรูความสามารถ และดานท่ี 3 คือ ดานผลการปฏิบัติงาน จํานวน 3 คน ประกอบดวย ผูบริหารการศึกษาในสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ของผขู อรบั การประเมนิ ผูทรงคุณวุฒินอกสาํ นักงานเขตพ้ืนที่การศึกษานั้นที่มีความรูความสามารถ เหมาะสม จํานวน 1 คน และศึกษานิเทศกที่มีวิทยฐานะไมต่ํากวาวิทยฐานะศึกษานิเทศกชํานาญการ และเปนผูมีความรูความสามารถ ประสบการณสอดคลองกับความรับผิดชอบของผูขอรับการประเมิน จาํ นวน 1 คน เปน กรรมการ โดยใหต ัง้ กรรมการคนหนึง่ เปนประธานกรรมการ 4. การประเมินดานท่ี 1 ดา นที่ 2 และดานท่ี 3 4.1 กรณีผลการประเมินดานใดไมผานเกณฑ และคณะกรรมการมีความเห็นวา ผลการประเมินอยูในวิสัยท่ีสามารถพัฒนาใหผานเกณฑได ใหคณะกรรมการประเมินแจง สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาเพ่ือแจงผูขอรับการประเมินภายในเวลา 15 วัน นับแตวันที่ คณะกรรมการประเมินแลวเสร็จ ใหผูขอรับการประเมินพัฒนาตามขอสังเกตของคณะกรรมการ ภายในเวลา 3 เดอื น นับแตวนั ทไี่ ดร บั แจง

-9- 4.2 เม่ือผูขอรับการประเมินไดพัฒนาแลว ใหสงหนังสือแจงรายละเอียด ทพ่ี ฒั นาถงึ สํานกั งานเขตพื้นที่การศึกษา เพ่อื เสนอคณะกรรมการชดุ เดมิ ตรวจและประเมินตอไป 4.3 กรณีที่คณะกรรมการประเมินพิจารณารายละเอียดที่พัฒนาแลว เห็นควรใหมี การพัฒนาเพิ่มเติม ใหแจงสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาเพื่อแจงผูขอรับการประเมินภายในเวลา 15 วัน นับแตวันที่คณะกรรมการประเมินแลวเสร็จ ใหผูขอรับการประเมินพัฒนาตามขอสังเกตของ คณะกรรมการ ภายในเวลา 3 เดือนนบั แตวนั ที่ไดร บั แจง 4.4 กรณีท่ีกรรมการประเมินคนเดิมไมสามารถประเมินไดดวยเหตุผลใดก็ตาม ให อ.ก.ค.ศ.เขตพนื้ ที่การศกึ ษาตัง้ กรรมการแทนไดตามทก่ี ําหนดในวิธกี ารขอ 3 4.5 กรณีผูขอรับการประเมินไมสงรายละเอียดการพัฒนาตามขอสังเกต ภายในเวลาท่ีกาํ หนด หรอื สงเกนิ เวลาทก่ี ําหนด ถือวา สละสิทธิ์ 4.6 กรณีผูขอรับการประเมินไดพัฒนาแลว และมีผลการประเมินไมผานเกณฑ ที่ ก.ค.ศ.กําหนด ถือวาไมผานการประเมิน ใหเสนอ อ.ก.ค.ศ.เขตพ้ืนที่การศึกษาพิจารณาไมอนุมัติ และใหส าํ นักงานเขตพ้ืนที่การศกึ ษาแจง ผลการพจิ ารณาใหผ ขู อรับการประเมินทราบ 4.7 กรณีผลการประเมินทั้ง 3 ดาน ผานเกณฑที่ ก.ค.ศ.กําหนด ใหเสนอ อ.ก.ค.ศ.เขตพน้ื ท่กี ารศกึ ษาพิจารณาอนมุ ัติ 5. การแตง ตง้ั ใหมวี ิทยฐานะศึกษานิเทศกชาํ นาญการ กรณี อ.ก.ค.ศ.เขตพ้ืนท่ีการศึกษามีมติอนุมัติ ใหผูมีอํานาจตามมาตรา 53 สัง่ แตง ตั้งใหม วี ิทยฐานะศกึ ษานเิ ทศกช ํานาญการ และใหไดรับเงินเดือนอันดับ คศ. 2 สําหรับผูท่ีรับ เงินเดือนต่ํากวาข้ันตํ่าของอันดับ คศ. 2 จะแตงต้ังไดเมื่อรับเงินเดือนตํ่ากวาข้ันตํ่าของอันดับ คศ. 2 ไมเกิน 1 ขั้น และสงสําเนาคําส่ัง จํานวน 1 ชุด ใหสํานักงาน ก.ค.ศ. ภายในเวลา 7 วัน นับแต วันออกคาํ สงั่ 6. ใหดําเนินการประเมินใหแลวเสร็จภายในรอบระยะเวลา 1 ปนับแตวันที่สํานักงาน เขตพื้นที่การศึกษาไดรับคําขอ และเอกสารผลการปฏิบัติงาน (ดานท่ี 3) หากดําเนินการไมแลวเสร็จ ใหสํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาแจงผูขอรับการประเมินทราบ และเรงรัดการดําเนินการ ใหแ ลว เสร็จโดยเร็ว

- 10 - หลกั เกณฑแ ละวธิ กี าร ใหขาราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษาเลือ่ นเปนวิทยฐานะศึกษานิเทศกชํานาญการพเิ ศษ หลกั เกณฑ 1. ผูขอเลือ่ นเปน วทิ ยฐานะศกึ ษานิเทศกช ํานาญการพเิ ศษ ตองมีคุณสมบตั ิ ตอไปนี้ 1.1 ดํารงตาํ แหนง ศกึ ษานเิ ทศกท มี่ ีวิทยฐานะศกึ ษานิเทศกชาํ นาญการ หรือ ดํารงตาํ แหนง อ่ืนที่ ก.ค.ศ. เทียบเทา อยา งใดอยา งหนึง่ หรือรวมกันมาแลวไมนอยกวา 1 ป นบั ถงึ วนั ที่ย่ืนคําขอ 1.2 มภี าระงานนิเทศการศกึ ษาเต็มเวลา 1.3 ไดปฏิบตั งิ านตามหนา ที่ความรับผดิ ชอบดานการนิเทศการศกึ ษาและ การพัฒนาการนเิ ทศการศกึ ษา ยอ นหลัง 2 ปต ิดตอกนั นับถงึ วันท่ียื่นคําขอ 2. ผูข อตอ งผานการประเมนิ 3 ดาน ดังน้ี ดานท่ี 1 ดานวินัย คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ พิจารณาจากขอมูล ของบคุ คลและหรือหนวยงานทเ่ี ก่ยี วของ และเอกสารหลักฐาน ดงั นี้ สว นที่ 1 ประวัติการรบั ราชการ (ก.พ.7) สว นท่ี 2 คาํ รับรองของผบู ังคับบัญชา และคณะกรรมการเขตพ้ืนที่การศกึ ษา สวนที่ 3 เอกสารหลักฐานท่ีแสดงการมีสวนรวมในการเสริมสรางวินัย คณุ ธรรม จรยิ ธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ ดา นท่ี 2 ดานความรูความสามารถ พิจารณาจากการพัฒนางานในหนาที่ และ การพัฒนาตนเอง ดงั นี้ สว นท่ี 1 การเปนผูมีความสามารถในการนิเทศการศึกษา พิจารณาจาก ความรูความสามารถในการนิเทศการศึกษา ความรูความสามารถท่ีเก่ียวของกับการศึกษา การจัดทํา การใช และการนําเสนอส่ือ นวัตกรรม และเทคโนโลยีสารสนเทศ การวิเคราะห สังเคราะหและการวจิ ัยทางการศกึ ษา และการตดิ ตาม ตรวจสอบและประเมินผลการนเิ ทศการศกึ ษา

- 11 - สว นท่ี 2 การพัฒนาตนเองเพื่อเพ่ิมพูนความรูและทักษะในการนิเทศ การศึกษา พิจารณาจาก การศึกษาคนควาหาความรูดวยวิธีการตาง ๆ ผลการทดสอบความรูจาก หนวยงานหรือสถาบันทางวิชาการที่ ก.ค.ศ.ใหการรับรอง การประมวลความรูเก่ียวกับ การพัฒนาวิชาการและวิชาชีพ และการนําไปใชในการนิเทศการศึกษา และการใหบริการ ทางวชิ าการและวิชาชพี ทั้งนี้ การประเมินดานท่ี 1 และดานที่ 2 ใหคณะกรรมการประเมินจาก เอกสารหลักฐานรวมทั้งการปฏบิ ัติงานจริง ดานที่ 3 ดานผลการปฏิบตั ิงาน ประกอบดว ย 2 สวน คือ สวนท่ี 1 ผลการพัฒนาคุณภาพการนิเทศการศึกษา พิจารณาจากผลที่เกิดกับ ครู ผูเรียน สถานศึกษา และระบบการจัดการศึกษาของสถานศึกษา และอาจพิจารณาจาก การปฏิบตั งิ านจรงิ ดวยกไ็ ด สวนท่ี 2 ผลงานทางวิชาการ ซึ่งเปนรายงานการศึกษา คนควา วิจัย รายงานการนิเทศการศึกษา รายงานโครงการ หรือผลงานทางวิชาการในลักษณะอ่ืนที่มีจุดมุงหมาย ในการแกปญหาการจัดการเรียนการสอนของครูและบุคลากรในสถานศึกษา มีการศึกษาแนวคิด ทฤษฎีและองคความรูตาง ๆ เพ่ือแกไขปญหาและนําไปสูการสรุปองคความรูเพ่ือพัฒนาการนิเทศ การศึกษา จํานวนไมนอยกวา 1 รายการ ทั้งนี้ การประเมินผลงานทางวิชาการใหพิจารณาจาก ผลงานทางวิชาการท่ีผูขอรับการประเมินเสนอ และอาจใหผูขอรับการประเมินนําเสนอและ ตอบขอ ซักถามดว ยกไ็ ด 3. ใหมีคณะกรรมการประเมิน ดังน้ี 3.1 คณะกรรมการชดุ ที่ 1 ประเมนิ ดานที่ 1 คอื ดานวินัย คุณธรรม จริยธรรม และ จรรยาบรรณวชิ าชีพ และดา นท่ี 2 คอื ดานความรูความสามารถ 3.2 คณะกรรมการชุดที่ 2 ประเมินดา นที่ 3 คอื ดานผลการปฏบิ ตั ิงาน 4. เกณฑก ารตดั สนิ ผูที่ผานเกณฑการประเมินตอ งไดคะแนนแตล ะดาน ดังนี้ 4.1 ดานท่ี 1 ดานวินัย คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ ตองไดคะแนนจาก กรรมการทั้ง 3 คนเฉล่ยี ไมต ํา่ กวารอยละ 70 4.2 ดานที่ 2 ดานความรูความสามารถ ตองไดคะแนนจากกรรมการทั้งสามคนเฉลี่ย ไมต ํา่ กวารอ ยละ 70

- 12 - 4.3 ดานที่ 3 ดานผลการปฏบิ ัตงิ าน ตอ งไดคะแนนจากกรรมการแตละคน ดังนี้ 4.3.1 สวนที่ 1 ผลการพฒั นาคุณภาพการนิเทศการศกึ ษา ตองไดค ะแนน ไมต าํ่ กวา รอ ยละ65 4.3.2 สว นท่ี 2 ผลงานทางวชิ าการ ตอ งไดคะแนนไมต ํ่ากวา รอยละ 65 4.3.3 คะแนนรวมเฉลีย่ สว นท่ี 1และสว นที่ 2 ตอ งไดคะแนนไมตา่ํ กวา รอยละ70 กรณีที่การประเมินดานท่ี 1 และหรือดานที่ 2 ไมผานเกณฑ และคณะกรรมการชุดที่ 1 มีความเห็นวา ผลการประเมินอยูในวิสัยที่สามารถพัฒนาใหผานเกณฑได ใหผูขอรับการประเมิน พัฒนาไดไ มเกนิ 2 คร้ัง คร้งั ละไมเ กิน 3 เดอื น กรณีท่ีการประเมินดานที่ 3 ไมผานเกณฑ และคณะกรรมการชุดที่ 2 มีความเห็นวา ผลการปฏิบัติงาน ซึ่งประกอบดวย ผลการพัฒนาคุณภาพการนิเทศการศึกษา และผลงาน ทางวิชาการอยูในวิสัยที่สามารถปรับปรุงได และ อ.ก.ค.ศ.เขตพื้นที่การศึกษามีมติใหปรับปรุงได ไมเ กนิ 2 ครั้ง ครง้ั ท่ี 1 ไมเกิน 6 เดือน และครง้ั ท่ี 2 ไมเกนิ 3 เดอื น 5. การพิจารณาอนุมัติผลการประเมินเพื่อเล่ือนเปนวิทยฐานะศึกษานิเทศกชํานาญการพิเศษ ให อ.ก.ค.ศ.เขตพื้นที่การศึกษาเปนผูอนุมัติ มีผลไมกอนวันท่ีสํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาไดรับ คาํ ขอและเอกสารครบถวน กรณีที่มีการพัฒนาดานที่ 1 และหรือดานที่ 2 หรือปรับปรุงดานที่ 3ใหอนุมัติได ไมกอนวันท่ีสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาไดรับหนังสือท่ีสงรายละเอียดในการพัฒนาหรือปรับปรุง ครบถวนสมบรู ณค รง้ั หลงั สุด 6. ผูที่จะไดรับการแตงตั้งใหเล่ือนเปนวิทยฐานะศึกษานิเทศกชํานาญการพิเศษ จะตองผา นการพัฒนากอ นแตงตัง้ ตามหลกั เกณฑและวธิ กี ารท่ี ก.ค.ศ.กําหนด 7. เม่ือ อ.ก.ค.ศ. เขตพ้ืนที่การศึกษาพิจารณาผลการประเมินและมีมติเปนประการใดแลว ใหถ อื เปน อันส้นิ สุด 8. สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ใหหมายความรวมถึงสวนราชการดวย และ อ.ก.ค.ศ. เขตพ้นื ที่การศกึ ษา ใหห มายความรวมถึง อ.ก.ค.ศ. ท่ี ก.ค.ศ. ต้ังดว ย

- 13 - วิธกี าร 1. ใหผูประสงคขอรับการประเมินย่ืนคําขอไดตลอดป รอบปละ 1 คร้ัง โดยสงคําขอ พรอมท้ังผลการปฏิบัติงาน (ดานท่ี 3) ซ่ึงเปนเอกสารผลการพัฒนาคุณภาพการนิเทศการศึกษา และผลงานทางวิชาการ จํานวน 4 ชุด ตอผูบังคับบัญชาช้ันตน เพื่อตรวจสอบและรับรอง แลวเสนอผูบงั คบั บญั ชาตามลําดับ ถึงสํานักงานเขตพ้นื ท่กี ารศึกษา กรณีผูที่จะเกษียณอายุราชการใหยื่นคําขอพรอมทั้งผลการปฏิบัติงาน (ดานที่ 3) ซ่ึงเปนเอกสารผลการพัฒนาคุณภาพการนิเทศการศึกษา และผลงานทางวิชาการ จํานวน 4 ชุด ตอผูบังคับบัญชาช้ันตน เพื่อตรวจสอบและรับรองแลวเสนอผูบังคับบัญชาตามลําดับ ถึงสํานกั งานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษา กอ นทีจ่ ะเกษียณอายรุ าชการไมนอยกวา 6 เดอื น 2. ใหสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาตรวจสอบคุณสมบัติและเอกสารหลักฐาน ตามหลักเกณฑและวิธีการที่ ก.ค.ศ. กําหนด และนาํ เสนอ อ.ก.ค.ศ.เขตพื้นท่ีการศึกษาพจิ ารณา 3. การต้งั คณะกรรมการประเมิน 3.1 คณะกรรมการชุดที่ 1 ประเมินดานท่ี 1 คือ ดานวินัย คุณธรรม จริยธรรม และ จรรยาบรรณวชิ าชีพ และดานที่ 2 คอื ดานความรคู วามสามารถ ให อ.ก.ค.ศ.เขตพ้ืนที่การศึกษาต้ังคณะกรรมการ จํานวน 3 คน ประกอบดวย ผูบริหารการศึกษาในสํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาของผูขอรับการประเมิน ผูทรงคุณวุฒิ นอกสํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาน้ันที่มีความรูความสามารถเหมาะสม จํานวน 1 คน และศึกษานิเทศก นอกสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาน้ันที่มีวิทยฐานะไมตํ่ากวาวิทยฐานะศึกษานิเทศกชํานาญการพิเศษ และเปนผูมีความรูความสามารถ ประสบการณสอดคลองกับความรับผิดชอบของผูขอรับการประเมิน จํานวน 1 คน เปนกรรมการ โดยใหต ง้ั กรรมการคนหน่ึงเปน ประธานกรรมการ 3.2 คณะกรรมการชุดที่ 2 ประเมนิ ดานที่ 3 คอื ดา นผลการปฏิบัตงิ าน ให อ.ก.ค.ศ.เขตพื้นท่ีการศึกษา ตั้งผูทรงคุณวุฒิซ่ึงมีความรูความสามารถ และ เช่ียวชาญในสาขาวิชาท่ีจะตรวจและประเมิน จากบัญชีรายช่ือผูทรงคุณวุฒิที่ ก.ค.ศ. กําหนด ตามความเหมาะสมเปนคณะกรรมการประเมิน การประเมินผูขอหน่ึงรายใหมีกรรมการประเมินสามคน

- 14 - 4. การประเมินดา นที่ 1 และดานที่ 2 4.1 ใหคณะกรรมการท้ัง 3 คน ประเมินดานท่ี 1 และดานที่ 2 พรอมกันทั้ง 2 ดาน ใหแลวเสร็จภายในเวลา 3 เดอื น นบั แตว นั ทีส่ าํ นกั งานเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษาไดร ับคาํ ขอ โดยใหค ณะกรรมการ บันทึกขอสังเกตเก่ียวกับจุดเดน จุดท่ีควรพัฒนาในเร่ืองที่ประเมินของผูขอรับการประเมินไวใน แบบประเมินดว ย 4.2 กรณีผลการประเมินท้ัง 2 ดาน ผานเกณฑท่ี ก.ค.ศ.กําหนด และ อ.ก.ค.ศ.เขตพ้ืนที่ การศึกษาพิจารณาแลวมีมติใหผานการประเมินท้ัง 2 ดาน ใหสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา สงผลการปฏิบัติงาน (ดานที่ 3) ซึ่งประกอบดวย เอกสารผลการพัฒนาคุณภาพการนิเทศการศึกษา และ ผลงานทางวิชาการ พรอ มท้งั ผลการประเมินดา นที่ 1 และดานที่ 2 และความเหน็ ของคณะกรรมการ ชดุ ที่ 1 ใหคณะกรรมการชดุ ที่ 2 เพอ่ื ดาํ เนินการตอ ไป 4.3 กรณีผลการประเมินดานท่ี 1 และหรือดานที่ 2 ไมผานเกณฑ และคณะกรรมการ ชุดที่ 1 มีความเห็นวา ผลการประเมินอยูในวิสัยที่สามารถพัฒนาใหผานเกณฑได ใหคณะกรรมการ ชุดท่ี 1 แจงสํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา เพื่อแจงผูขอรับการประเมิน ภายในเวลา 15 วัน นับแต วันที่คณะกรรมการชุดที่ 1 ประเมินแลวเสร็จ ใหผูขอรับการประเมินพัฒนาตามขอสังเกตของ คณะกรรมการชดุ ท่ี 1 ภายในเวลา 3 เดอื น นับแตว นั ท่ไี ดรับแจง เมื่อผูขอรับการประเมินพัฒนาดานท่ี 1 และหรือดานที่ 2 แลว ใหผูขอรับ การประเมินสงหนังสือแจงรายละเอียดที่พัฒนาถึงสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา เพื่อเสนอ คณะกรรมการชดุ เดมิ ตรวจและประเมินตอ ไป 4.4 กรณีที่คณะกรรมการชุดท่ี 1 พิจารณารายละเอียดที่พัฒนาแลวเห็นควรใหมี การพัฒนาเพิ่มเติม ใหแจงสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาเพ่ือแจงผูขอรับการประเมิน ภายในเวลา 15 วัน นับแตวันท่ีคณะกรรมการชุดท่ี 1 ประเมินแลวเสร็จ ใหผูขอรับการประเมินพัฒนาตามขอสังเกต ของคณะกรรมการชดุ ท่ี 1 ภายในเวลา 3 เดอื น นบั แตว ันท่ไี ดรับแจง เมื่อผูขอรับการประเมินพัฒนาดานที่ 1 และหรือดานท่ี 2 แลว ใหผูขอรับการ ประเมินสงหนังสือแจงรายละเอียดท่ีพัฒนาถึงสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา เพ่ือเสนอ คณะกรรมการชุดเดมิ ตรวจและประเมนิ ตอไป 4.5 กรณีท่ีกรรมการประเมินคนเดิมไมสามารถประเมินไดดวยเหตุผลใดก็ตาม ให อ.ก.ค.ศ.เขตพ้นื ทก่ี ารศกึ ษาต้งั กรรมการแทนไดต ามทีก่ ําหนดในวธิ กี ารขอ 3.1

- 15 - 4.6 กรณีผูขอรับการประเมินไมสงรายละเอียดการพัฒนาตามขอสังเกต ภายในเวลาทกี่ ําหนด หรอื สงเกินเวลาทก่ี าํ หนด ถอื วา สละสิทธิ์ 4.7 กรณผี ูข อรบั การประเมนิ ไดพฒั นาดา นท่ี 1 และหรอื ดา นท่ี 2 แลว และมีผลการประเมนิ ไมผานเกณฑท่ี ก.ค.ศ.กําหนด ถือวาไมผานการประเมิน ใหเสนอ อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่การศึกษา พจิ ารณาไมอนมุ ตั ิ และใหส ํานักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาแจงผลการพิจารณาใหผูขอรับการประเมินทราบ 5.การประเมนิ ดานที่ 3 ดา นผลการปฏบิ ัตงิ าน ใหสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาสงผลการปฏิบัติงาน (ดานท่ี 3) ซึ่งประกอบดวย เอกสารผลการพัฒนาคุณภาพการนิเทศการศึกษา และผลงานทางวิชาการ พรอมทั้งผลการประเมิน ดานท่ี 1 และดานท่ี 2 และขอสังเกตของคณะกรรมการชุดที่ 1 ใหคณะกรรมการชุดที่ 2 เพื่อประกอบ การพจิ ารณาดวย 5.1 กรณีคณะกรรมการชุดท่ี 2 พิจารณาแลวเห็นสมควรใหปรับปรุงดานที่ 3 ผูขอรับการประเมินตองมีผลการประเมินดานที่ 3 ผานเกณฑท่ี ก.ค.ศ. กําหนด จากกรรมการ ชุดท่ี 2 ไมนอยกวา 2 ใน 3 คน โดยในสวนผลการพัฒนาคุณภาพการนิเทศการศึกษา ใหปรับปรุง โดยการช้ีแจงและหรือเสนอเอกสารเพิ่มเติมเทาน้ัน สวนผลงานทางวิชาการใหปรับปรุง ตามขอสังเกตของกรรมการ ทั้งนี้ ผลงานทางวิชาการตองอยูในวิสัยที่สามารถปรับปรุงได และ อ.ก.ค.ศ.เขตพื้นท่ีการศึกษามีมติใหปรับปรุง ใหปรับปรุงไดภายในเวลา 6 เดือน นับแตวันที่ สาํ นักงานเขตพื้นทก่ี ารศึกษาแจง มตใิ หผูขอรบั การประเมนิ ทราบ เม่ือผูรับการประเมินปรับปรุงดานที่ 3 แลว ใหสํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา เสนอคณะกรรมการประเมนิ ชุดเดิมตรวจและประเมนิ ตอ ไป 5.2กรณีท่ีคณะกรรมการชุดที่ 2พิจารณารายละเอียดท่ีปรับปรุงแลวแตผูขอรับการประเมิน ยังปรับปรงุ ไมครบถวนตามขอสงั เกต และเหน็ ควรใหมีการปรบั ปรุงอกี ครง้ั หนึง่ และ อ.ก.ค.ศ.เขตพ้ืนท่ี การศกึ ษามีมตใิ หป รับปรงุ ใหป รับปรงุ ภายในเวลา 3 เดือน นับแตวันที่สํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา แจง มตใิ หผขู อรับการประเมนิ ทราบ เมื่อผูขอรับการประเมินปรับปรุงดานท่ี 3 แลว ใหสํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา เสนอคณะกรรมการประเมนิ ชดุ เดิมตรวจและประเมินตอไป 5.3 กรณีที่กรรมการประเมินคนเดิมไมสามารถประเมินไดดวยเหตุผลใดก็ตาม ใหค ณะกรรมการชุดท่ี 2 มอบกรรมการคนอ่ืนในคณะนัน้ ประเมินได

- 16 - 5.4 กรณีผูขอรับการประเมินไมสงผลการพัฒนาคุณภาพการนิเทศการศึกษาและหรือ ผลงานทางวิชาการท่ีปรับปรุงตามขอสังเกตภายในเวลาทกี่ าํ หนด หรือสง เกนิ เวลาทีก่ าํ หนด ถือวา สละสิทธ์ิ 5.5 กรณีผลการประเมินดานท่ี 3 ผานเกณฑท่ี ก.ค.ศ.กําหนด ใหเสนอ อ.ก.ค.ศ. เขตพนื้ ที่การศึกษาพจิ ารณาอนมุ ตั ิ 5.6 กรณีผลการประเมินดานท่ี 3 ไมผานเกณฑที่ ก.ค.ศ.กําหนด ใหเสนอ อ.ก.ค.ศ. เขตพ้ืนท่ีการศึกษาพิจารณาไมอนุมัติ และใหสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาแจงผลการพิจารณา และขอสงั เกตของคณะกรรมการใหผ ขู อรับการประเมนิ ทราบ 6. การแตง ต้ังเพ่ือเล่อื นเปนวิทยฐานะศึกษานเิ ทศกช ํานาญการพเิ ศษ กรณี อ.ก.ค.ศ.เขตพื้นที่การศึกษามีมติอนุมัติ และผูขอรับการประเมิน ผานการพัฒนากอนแตงต้ังแลว ใหผูมีอํานาจตามมาตรา 53 ส่ังแตงต้ังเปนวิทยฐานะศึกษานิเทศก ชํานาญการพิเศษ และใหไดรับเงินเดือนอันดับ คศ. 3 สําหรับผูท่ีรับเงินเดือนต่ํากวาข้ันตํ่า ของอันดับ คศ. 3 จะแตงต้ังไดเม่ือไดรับเงินเดือนต่ํากวาขั้นตํ่าของอันดับ คศ. 3 ไมเกิน 1 ขั้น และ สงสาํ เนาคาํ สัง่ จํานวน 1 ชุด ใหสาํ นักงาน ก.ค.ศ. ภายในเวลา 7 วัน นับแตว ันออกคาํ ส่งั 7. ใหดําเนินการประเมินใหแลวเสร็จภายในรอบระยะเวลา 1 ป นับแตวันที่สํานักงาน เขตพื้นท่ีการศึกษาไดรับคําขอและเอกสารผลการปฏิบัติงาน (ดานท่ี 3) หากดําเนินการ ไมแลวเสร็จ ใหสํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาแจงผูขอรับการประเมินทราบ และเรงรัดการดําเนินการ ใหแลว เสร็จโดยเรว็

- 17 - หลักเกณฑแ ละวิธกี าร ใหขาราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษาเลอ่ื นเปนวิทยฐานะศกึ ษานิเทศกเช่ยี วชาญ หลกั เกณฑ 1. ผขู อเลื่อนเปน วทิ ยฐานะศกึ ษานเิ ทศกเ ชีย่ วชาญ ตอ งมีคณุ สมบัติ ตอไปน้ี 1.1 ดํารงตาํ แหนง ศกึ ษานเิ ทศกท ม่ี ีวทิ ยฐานะศึกษานิเทศกชาํ นาญการพเิ ศษ หรือดํารงตําแหนง อื่นที่ ก.ค.ศ. เทยี บเทา อยา งใดอยา งหน่งึ หรอื รวมกันมาแลว ไมน อ ยกวา 3 ป หรือดํารงตําแหนงศึกษานเิ ทศกทม่ี วี ทิ ยฐานะศกึ ษานเิ ทศกช าํ นาญการมาแลว ไมน อยกวา 5 ป นับถงึ วนั ที่ย่นื คําขอ 1.2 มภี าระงานนิเทศการศกึ ษาเตม็ เวลา 1.3 ไดปฏบิ ัตงิ านตามหนาที่ความรบั ผดิ ชอบดา นการนเิ ทศการศึกษาและ การพฒั นาการนเิ ทศการศึกษา ยอ นหลัง 2 ปตดิ ตอ กัน นบั ถงึ วันทย่ี ่ืนคําขอ 2. ผูขอตองผานการประเมนิ 3 ดาน ดังนี้ ดา นท่ี 1 ดานวินัย คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ พิจารณาจากขอมูล ของบคุ คลและหรือหนว ยงานทีเ่ กยี่ วของ และเอกสารหลักฐาน ดังน้ี สวนท่ี 1 ประวัตกิ ารรบั ราชการ (ก.พ.7) สวนท่ี 2 คํารับรองของผูบังคับบญั ชา และคณะกรรมการเขตพืน้ ท่ีการศึกษา สวนที่ 3 เอกสารหลักฐานที่แสดงการมีสวนรวมในการเสริมสรางวินัย คุณธรรม จรยิ ธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ ดานที่ 2 ดานความรูความสามารถ พิจารณาจากการพัฒนางานในหนาที่ และการพัฒนาตนเอง ดังน้ี สวนท่ี 1 การเปนผูมีความสามารถในการนิเทศการศึกษา พิจารณาจาก ความรูความสามารถในการนิเทศการศึกษา ความรูความสามารถท่ีเกี่ยวของกับการศึกษา การจัดทํา การใช และการนําเสนอส่ือ นวัตกรรม และเทคโนโลยีสารสนเทศ การวิเคราะห สังเคราะห และการวิจยั ทางการศึกษา และการตดิ ตาม ตรวจสอบและประเมนิ ผลการนิเทศการศึกษา

- 18 - สว นที่ 2 การพัฒนาตนเองเพื่อเพิ่มพูนความรูและทักษะในการนิเทศ การศึกษา พิจารณาจาก การศึกษาคนควาหาความรูดวยวิธีการตาง ๆ ผลการทดสอบความรูจาก หนวยงานหรือสถาบันทางวิชาการที่ ก.ค.ศ.ใหการรับรอง การประมวลความรูเก่ียวกับ การพัฒนาวิชาการและวิชาชีพ และการนําไปใชในการนิเทศการศึกษา และการใหบริการ ทางวชิ าการและวิชาชีพ ท้ังนี้ การประเมินดานท่ี 1 และดานท่ี 2 ใหคณะกรรมการประเมินจาก เอกสารหลกั ฐานรวมท้ังการปฏิบตั งิ านจริง ดา นที่ 3 ดา นผลการปฏิบตั งิ าน ประกอบดวย 2 สวน คอื สวนท่ี 1 ผลการพัฒนาคุณภาพการนิเทศการศึกษา พิจารณาจาก ผลท่ีเกิดกับครู ผูเรียน สถานศึกษา และระบบการจัดการศึกษาของสถานศึกษา และอาจพิจารณา จากการปฏิบัตงิ านจรงิ ดวยกไ็ ด สวนท่ี 2 ผลงานทางวิชาการ ซ่ึงเปนรายงานการศึกษา คนควา วิจัย รายงานการนิเทศการศึกษา รายงานโครงการ หรือผลงานทางวิชาการในลักษณะอื่นที่มีจุดมุงหมาย ในการแกปญหาการจัดการเรียนการสอนของครูและบุคลากรในสถานศึกษา มีการศึกษาแนวคิด ทฤษฎีและองคความรูตาง ๆ เพื่อแกไขปญหาและนําไปสูการสรุปองคความรูเพื่อพัฒนาการนิเทศ การศึกษา จํานวนไมนอยกวา 2 รายการ โดยตองเปนงานวิจัยอยางนอย 1 รายการ ท้ังน้ี การประเมิน ผลงานทางวิชาการใหพิจารณาจากผลงานทางวิชาการที่ผูขอรับการประเมินเสนอ และอาจใหผูขอรับ การประเมินนาํ เสนอและตอบขอ ซักถามดว ยกไ็ ด 3. ใหมคี ณะกรรมการประเมนิ ดงั น้ี 3.1 คณะกรรมการชุดที่ 1 ประเมินดานที่ 1 คอื ดานวินยั คุณธรรม จริยธรรม และ จรรยาบรรณวชิ าชพี และดานท่ี 2 คือ ดานความรูความสามารถ 3.2 คณะกรรมการชุดท่ี 2 ประเมนิ ดานท่ี 3 คือ ดา นผลการปฏิบัติงาน 4. เกณฑการตดั สนิ ผูทีผ่ า นเกณฑการประเมนิ ตอ งไดค ะแนนแตละดา น ดงั นี้ 4.1 ดานท่ี 1 ดานวินัย คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ ตองไดคะแนนจาก กรรมการทงั้ 3 คนเฉลย่ี ไมต ่ํากวารอยละ 75

- 19 - 4.2 ดานท่ี 2 ดานความรูความสามารถ ตองไดคะแนนจากกรรมการท้ัง 3 คนเฉลี่ย ไมต ํา่ กวา รอยละ 75 4.3 ดานท่ี 3 ดา นผลการปฏิบัตงิ าน ตองไดค ะแนนจากกรรมการแตละคน ดงั น้ี 4.3.1 สวนที่ 1 ผลการพัฒนาคุณภาพการนิเทศการศึกษา ตองไดคะแนน ไมต่ํากวารอ ยละ70 4.3.2 สวนท่ี 2 ผลงานทางวิชาการ ตองไดคะแนนไมต า่ํ กวา รอ ยละ 70 4.3.3 คะแนนรวมเฉล่ียสวนท่ี 1 และสวนที่ 2 ตองไดคะแนนไมตํ่ากวา รอ ยละ 75 กรณีที่การประเมินดานท่ี 1 และหรือดานท่ี 2 ไมผานเกณฑ และคณะกรรมการ ชุดที่ 1 มีความเห็นวา ผลการประเมินอยูในวิสัยที่สามารถพัฒนาใหผานเกณฑได ใหผูขอรับ การประเมนิ พัฒนาไดไมเ กนิ 2 ครั้ง ครั้งละไมเกนิ 3 เดอื น กรณีท่ีการประเมินดานท่ี 3 ไมผานเกณฑ และคณะกรรมการชุดที่ 2 มีความเห็นวา ผลการปฏิบัติงาน ซึ่งประกอบดวย ผลการพัฒนาคุณภาพการนิเทศการศึกษา และผลงาน ทางวิชาการอยูในวิสัยที่สามารถปรับปรุงได และ ก.ค.ศ. มีมติใหปรับปรุงไดไมเกิน 2 ครั้ง คร้ังที่ 1 ไมเกนิ 6 เดือน และคร้งั ท่ี 2 ไมเกิน 3 เดอื น 5. การพิจารณาอนุมัติผลการประเมินเพื่อเล่ือนเปนวิทยฐานะศึกษานิเทศกเชี่ยวชาญ ให ก.ค.ศ. เปน ผอู นุมัติ มีผลไมก อ นวันที่สาํ นกั งาน ก.ค.ศ.ไดร บั คําขอและเอกสารครบถวน กรณีทม่ี กี ารพฒั นาดานที่ 1 และหรือดา นที่ 2 หรอื ปรบั ปรงุ ดานที่ 3ใหอ นมุ ตั ิได ไมก อ นวันทส่ี าํ นกั งาน ก.ค.ศ.ไดร ับหนังสอื ทสี่ งรายละเอียดในการพฒั นาหรือปรับปรงุ ครบถวน สมบูรณคร้ังหลังสดุ 6. ผูท่ีจะไดรับการแตงตั้งใหเลื่อนเปนวิทยฐานะศึกษานิเทศกเช่ียวชาญ จะตองผาน การพฒั นากอนแตงตัง้ ตามหลักเกณฑและวิธกี ารท่ี ก.ค.ศ.กําหนด 7. เมอ่ื ก.ค.ศ.พจิ ารณาผลการประเมินและมีมติเปนประการใดแลวใหถอื เปนอนั สิน้ สุด 8. สํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา ใหหมายความรวมถึงสวนราชการดวย และ อ.ก.ค.ศ. เขตพนื้ ที่การศึกษา ใหห มายความรวมถึง อ.ก.ค.ศ. ที่ ก.ค.ศ. ต้ังดว ย

- 20 - วธิ กี าร 1. ใหผูประสงคขอรับการประเมินย่ืนคําขอไดตลอดป รอบปละ 1 คร้ัง โดยสงคําขอพรอมท้ัง ผลการปฏิบัติงาน (ดานที่ 3) ซึ่งเปนเอกสารผลการพัฒนาคุณภาพการนิเทศการศึกษา และผลงานทางวิชาการ จาํ นวน 4 ชุด ตอ ผูบ งั คบั บญั ชาชัน้ ตน เพ่อื ตรวจสอบและรับรองแลวเสนอ ผูบงั คบั บญั ชาตามลําดับถึงสาํ นกั งานเขตพน้ื ท่กี ารศึกษา กรณีผูท่ีจะเกษียณอายุราชการใหย่ืนคําขอพรอมท้ังผลการปฏิบัติงาน (ดานท่ี 3) ซ่ึงเปนเอกสารผลการพัฒนาคุณภาพการนิเทศการศึกษา และผลงานทางวิชาการ จํานวน 4 ชุด ตอผูบังคับบัญชาช้ันตน เพ่ือตรวจสอบและรับรองแลวเสนอผูบังคับบัญชาตามลําดับ ถึงสาํ นกั งานเขตพื้นทีก่ ารศึกษา กอ นทีจ่ ะเกษียณอายรุ าชการไมนอยกวา 6 เดอื น 2. ใหสํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา ตรวจสอบคุณสมบัติและเอกสารหลักฐาน ตามหลกั เกณฑและวิธีการที่ ก.ค.ศ. กาํ หนด และนาํ เสนอ อ.ก.ค.ศ.เขตพ้นื ทก่ี ารศึกษาพิจารณา 3. ให อ.ก.ค.ศ.เขตพ้ืนท่ีการศึกษาพิจารณาเอกสารหลักฐานและกล่ันกรองผลงาน ทางวิชาการกอ นนําเสนอ ก.ค.ศ. ท้งั น้ีในการกลั่นกรองดังกลาว อาจต้งั กรรมการข้นึ เพ่ือชว ยกลั่นกรองกไ็ ด 4. การต้งั คณะกรรมการประเมิน 4.1 คณะกรรมการชุดท่ี 1 ประเมินดานท่ี 1 คือ ดานวินัย คุณธรรม จริยธรรม และ จรรยาบรรณวชิ าชพี และดานท่ี 2 คือ ดานความรคู วามสามารถ ให อ.ก.ค.ศ.เขตพ้ืนที่การศึกษาต้ังคณะกรรมการ จํานวน 3 คน ประกอบดวย ผูบริหารการศึกษาในสํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาของผูขอรับการประเมิน ผูทรงคุณวุฒิ นอกสํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาน้ันที่มีความรูความสามารถเหมาะสม จํานวน 1 คน และ ศึกษานิเทศกนอกสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาน้ันที่มีวิทยฐานะไมตํ่ากวาวิทยฐานะศึกษานิเทศก เชี่ยวชาญ และเปนผูมีความรูความสามารถ ประสบการณสอดคลองกับความรับผิดชอบของ ผูขอรับการประเมิน จํานวน 1 คน เปนกรรมการ โดยใหต้ังกรรมการคนหนึ่งเปนประธาน กรรมการ 4.2 คณะกรรมการชดุ ที่ 2 ประเมินดานที่ 3 คือ ดานผลการปฏิบัติงาน ให ก.ค.ศ. ตั้งผูทรงคุณวุฒิซ่ึงมีความรูความสามารถและเชี่ยวชาญในสาขาวิชา ท่จี ะตรวจและประเมนิ เปน คณะกรรมการประเมิน การประเมินผูขอหน่ึงราย ใหมีกรรมการประเมินสามคน

- 21 - 5. การประเมินดานที่ 1 และดา นที่ 2 5.1 ใหคณะกรรมการท้ัง 3 คน ประเมินดานท่ี 1 และดานที่ 2 พรอมกันท้ัง 2 ดาน ใหแลวเสร็จภายในเวลา3เดือนนับแตวันท่ีสํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาไดรับคําขอ โดยใหคณะกรรมการ บันทึกขอสังเกตเกี่ยวกับจุดเดน จุดท่ีควรพัฒนาในเร่ืองที่ประเมินของผูขอรับการประเมิน ไวในแบบประเมนิ ดวย 5.2 กรณีผลการประเมินท้ัง 2 ดาน ผานเกณฑท่ี ก.ค.ศ.กําหนด และ อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นท่ีการศึกษาพิจารณาแลว มีมติใหผานการประเมินท้ัง 2 ดาน ใหสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา สงผลการปฏิบัติงาน (ดานที่ 3) ซึ่งประกอบดวย เอกสารผลการพัฒนาคุณภาพการนิเทศการศึกษา และ ผลงานทางวิชาการ พรอ มท้ังผลการประเมินดานท่ี 1 และดานที่ 2 และความเหน็ ของคณะกรรมการ ชุดท่ี 1 ใหส าํ นกั งาน ก.ค.ศ. เพอื่ ดําเนินการตอไป 5.3 กรณีผลการประเมินดานท่ี 1 และหรือดานที่ 2 ไมผานเกณฑ และคณะกรรมการ ชุดท่ี 1 มีความเหน็ วา ผลการประเมินอยูในวิสัยท่ีสามารถพัฒนาใหผานเกณฑได ใหคณะกรรมการ ชุดท่ี 1 แจงสํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา เพ่ือแจงผูขอรับการประเมินภายในเวลา 15 วัน นับแต วันท่ีคณะกรรมการชุดที่ 1 ประเมินแลวเสร็จ ใหผูขอรับการประเมินพัฒนาตามขอสังเกตของ คณะกรรมการชุดที่ 1 ภายในเวลา 3 เดอื น นับแตวันทไี่ ดร บั แจง เม่ือผูขอรับการประเมินพัฒนาดานท่ี 1 และหรือดานที่ 2 แลว ใหผูขอรับ การประเมินสงหนังสือแจงรายละเอียดที่พัฒนาถึงสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา เพื่อเสนอ คณะกรรมการชดุ เดมิ ตรวจและประเมินตอ ไป 5.4 กรณีท่ีคณะกรรมการชุดที่ 1 พิจารณารายละเอียดท่ีพัฒนาแลวเห็นควรให มีการพัฒนาเพิ่มเติม ใหแจง สํานักงานเขตพน้ื ทีก่ ารศึกษาเพื่อแจงผูขอรับการประเมิน ภายในเวลา 15 วัน นับแตวันที่คณะกรรมการชุดท่ี 1 ประเมินแลวเสร็จ ใหผูขอรับการประเมินพัฒนาตามขอสังเกต ของคณะกรรมการชุดท่ี 1 ภายในเวลา 3 เดอื น นบั แตว ันท่ไี ดร บั แจง เมื่อผูขอรับการประเมินพัฒนาดานท่ี 1 และหรือดานท่ี 2 แลว ใหผูขอ รับการประเมินสงหนังสือแจงรายละเอียดที่พัฒนาถึงสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา เพ่ือเสนอ คณะกรรมการชุดเดมิ ตรวจและประเมินตอ ไป 5.5 กรณีที่กรรมการประเมินคนเดิมไมสามารถประเมินไดดวยเหตุผลใดก็ตาม ให อ.ก.ค.ศ.เขตพ้ืนที่การศึกษาต้งั กรรมการแทนไดตามที่กาํ หนดในวิธกี ารขอ 4.1

- 22 - 5.6 กรณีผูขอรับการประเมินไมสงรายละเอียดการพัฒนาตามขอสังเกต ภายในเวลาทก่ี ําหนด หรอื สง เกินเวลาทีก่ าํ หนด ถอื วาสละสทิ ธิ์ 5.7 กรณีผูขอรับการประเมินไดพัฒนาดานท่ี 1 และหรือดานที่ 2 แลว และ มีผลการประเมินไมผานเกณฑที่ ก.ค.ศ.กําหนด ถือวาไมผานการประเมิน ใหเสนอ อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่การศึกษาพิจารณาไมอนุมัติ และใหสํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาแจงผลการพิจารณา ใหผขู อรบั การประเมนิ ทราบ 6. การประเมินดานท่ี 3 ดานผลการปฏบิ ตั งิ าน ใหสํานักงาน ก.ค.ศ. สงผลการปฏิบัติงาน (ดานที่ 3) ซึ่งประกอบดวย เอกสาร ผลการพัฒนาคุณภาพการนิเทศการศึกษาและผลงานทางวิชาการ พรอมทั้งผลการประเมินดานท่ี 1 และดานที่ 2 และขอสังเกตของคณะกรรมการชุดที่ 1 ใหคณะกรรมการชุดที่ 2 เพ่ือประกอบการ พจิ ารณาดว ย 6.1 กรณีคณะกรรมการชุดที่ 2 พิจารณาแลวเห็นสมควรใหปรับปรุงดานท่ี 3 ผูขอรับการประเมินตองมีผลการประเมินดานท่ี 3 ผานเกณฑท่ี ก.ค.ศ. กําหนด จากกรรมการ ชุดท่ี 2 ไมนอยกวา 2 ใน 3 คน โดยในสวนผลการพัฒนาคุณภาพการนิเทศการศึกษาใหปรับปรุง โดยการช้ีแจงและหรือเสนอเอกสารเพิ่มเติมเทาน้ัน สวนผลงานทางวิชาการใหปรับปรุงตามขอสังเกต ของกรรมการ ทงั้ น้ี ผลงานทางวิชาการตองอยูในวิสัยที่สามารถปรับปรุงได และ ก.ค.ศ. มีมติใหปรับปรุง ใหปรับปรุงไดภายในเวลา 6 เดือน นับแตวันท่ีสํานักงาน ก.ค.ศ. แจงมติใหสํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา ทราบ เม่ือผูรับการประเมินปรับปรุงดานที่ 3 แลว ใหสํานักงาน ก.ค.ศ. เสนอคณะกรรมการ ประเมินชดุ เดมิ ตรวจและประเมนิ ตอไป 6.2 กรณีท่ีคณะกรรมการชุดที่ 2 พิจารณารายละเอียดที่ปรับปรุงแลว แตผูขอรับ การประเมินยังปรับปรุงไมครบถวนตามขอสังเกต และเห็นควรใหมีการปรับปรุงอีกคร้ังหน่ึง และ ก.ค.ศ. มีมติใหปรับปรุง ใหปรับปรุงภายในเวลา 3 เดือน นับแตวันที่สํานักงาน ก.ค.ศ. แจงมติ ใหส าํ นักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษาทราบ เม่ือผูขอรับการประเมินปรับปรุงดานท่ี 3 แลว ใหสํานักงาน ก.ค.ศ. เสนอ คณะกรรมการประเมนิ ชดุ เดมิ ตรวจและประเมนิ ตอไป 6.3 กรณีท่ีกรรมการประเมินคนเดิมไมสามารถประเมินไดดวยเหตุผลใดก็ตาม ใหค ณะกรรมการชดุ ท่ี 2 มอบกรรมการคนอืน่ ในคณะนน้ั ประเมนิ ได

- 23 - 6.4 กรณีผูขอรับการประเมินไมสงผลการพัฒนาคุณภาพการนิเทศการศึกษาและ หรือผลงานทางวิชาการท่ีปรับปรุงตามขอสังเกตภายในเวลาที่กําหนด หรือสงเกินเวลาที่กําหนด ถือวาสละสทิ ธ์ิ 6.5 กรณี ก.ค.ศ. มีมติอนุมัติ ใหสํานักงาน ก.ค.ศ. แจงมติดังกลาวใหสํานักงาน เขตพน้ื ทก่ี ารศึกษาเพอ่ื ดําเนินการแตง ต้ังตอ ไป 6.6 กรณี ก.ค.ศ. มีมติไมอนุมัติ ใหสํานักงาน ก.ค.ศ. แจงมติดังกลาวใหสํานักงาน เขตพน้ื ท่ีการศึกษาเพ่อื ดําเนินการแจงผขู อรบั การประเมินทราบตอไป 7. การแตง ต้ังเพื่อเลอ่ื นเปน วิทยฐานะศึกษานิเทศกเชยี่ วชาญ กรณี ก.ค.ศ. มีมติอนุมัติ และผูขอรับการประเมินผานการพัฒนากอนแตงตั้งแลว ใหผูมีอํานาจตามมาตรา 53 ส่ังแตงตั้งเพ่ือเล่ือนเปนวิทยฐานะศึกษานิเทศกเช่ียวชาญ และใหไดรับ เงินเดือนอันดับ คศ. 4 สําหรับผูท่ีรับเงินเดือนต่ํากวาข้ันตํ่าของอันดับ คศ. 4 จะแตงตั้งได เมื่อไดรับเงินเดือนต่ํากวาขั้นตํ่าของอันดับ คศ. 4 ไมเกิน 1 ข้ัน และสงสําเนาคําส่ัง จํานวน 1 ชุด ใหสํานกั งาน ก.ค.ศ. ภายในเวลา 7 วนั นับแตวันออกคําสัง่ 8. ใหดําเนินการประเมินใหแลวเสร็จภายในรอบระยะเวลา 1 ป นับแตวันที่สํานักงาน ก.ค.ศ.ไดรับคําขอและเอกสารผลการปฏิบัติงาน (ดานที่ 3) หากดําเนินการไมแลวเสร็จ ใหแจงผูขอ รบั การประเมินทราบ และเรง รดั การดําเนินการใหแ ลวเสร็จโดยเรว็

- 24 - หลกั เกณฑและวธิ กี าร ใหขา ราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษาเลอ่ื นเปน วิทยฐานะศึกษานิเทศกเชย่ี วชาญพิเศษ หลักเกณฑ 1. ผทู ีข่ อเลอื่ นเปน วทิ ยฐานะศกึ ษานเิ ทศกเ ช่ยี วชาญพิเศษ ตองมีคณุ สมบัติ ตอไปน้ี 1.1 ดาํ รงตาํ แหนง ศึกษานิเทศกทม่ี วี ทิ ยฐานะศกึ ษานิเทศกเชย่ี วชาญ หรือ ดํารงตาํ แหนงอื่นท่ี ก.ค.ศ. เทยี บเทา อยา งใดอยา งหน่งึ หรอื รวมกนั มาแลวไมน อ ยกวา 2 ป นบั ถงึ วนั ทย่ี น่ื คาํ ขอ 1.2 มภี าระงานนเิ ทศการศกึ ษาเตม็ เวลา 1.3 ไดปฏบิ ตั งิ านตามหนาทีค่ วามรับผิดชอบดา นการนิเทศการศกึ ษา และการพฒั นาการนเิ ทศการศกึ ษา ยอนหลัง 2 ปตดิ ตอกัน นับถึงวันทยี่ นื่ คําขอ 2. ผูขอตอ งผานการประเมิน 3 ดาน ดงั นี้ ดานที่ 1 ดานวินัย คณุ ธรรม จรยิ ธรรม และจรรยาบรรณวชิ าชีพ พิจารณาจากขอ มูล ของบุคคลและหรือหนวยงานท่ีเกี่ยวขอ ง และเอกสารหลักฐาน ดงั นี้ สว นที่ 1 ประวัตกิ ารรบั ราชการ (ก.พ.7) สว นท่ี 2 คาํ รบั รองของผูบังคับบญั ชา และคณะกรรมการเขตพื้นท่กี ารศึกษา สวนท่ี 3 เอกสารหลักฐานท่ีแสดงการมีสวนรวมในการเสริมสรางวินัย คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ ดา นท่ี 2 ดานความรูความสามารถ พิจารณาจากการพัฒนางานในหนาท่ี และการพัฒนาตนเอง ดังน้ี สวนที่ 1 การเปนผูมีความสามารถในการนิเทศการศึกษา พิจารณาจาก ความรูความสามารถในการนิเทศการศึกษา ความรูความสามารถท่ีเก่ียวของกับการศึกษา การจัดทํา การใช และการนําเสนอส่ือ นวัตกรรม และเทคโนโลยีสารสนเทศ การวิเคราะห สังเคราะหและการวิจัยทางการศึกษา และการติดตาม ตรวจสอบและประเมินผลการนิเทศการศึกษา สว นท่ี 2 การพัฒนาตนเองเพ่ือเพิ่มพูนความรูและทักษะในการนิเทศ การศึกษา พิจารณาจาก การศึกษาคนควาหาความรูดวยวิธีการตาง ๆ ผลการทดสอบความรูจาก หนวยงานหรือสถาบันทางวิชาการที่ ก.ค.ศ.ใหการรับรอง การประมวลความรูเก่ียวกับ การพัฒนาวิชาการและวิชาชีพ และการนําไปใชในการนิเทศการศึกษา และการใหบริการ ทางวิชาการและวิชาชีพ ทั้งน้ี การประเมินดานที่ 1 และดานที่ 2 ใหคณะกรรมการประเมินจาก เอกสารหลกั ฐาน รวมท้ังการปฏิบตั งิ านจริง

- 25 - ดานที่ 3 ดานผลการปฏิบตั งิ าน ประกอบดวย 2 สวน คือ สวนท่ี 1 ผลการพัฒนาคุณภาพการนิเทศการศึกษา พิจารณาจาก ผลท่เี กดิ กับครู ผูเรียน สถานศึกษา และระบบการจัดการศึกษาของสถานศึกษา และอาจพิจารณาจากการ ปฏิบัติงานจรงิ ดวยกไ็ ด สวนท่ี 2 ผลงานทางวิชาการ ซึ่งเปนรายงานการศึกษา คนควา วิจัย รายงานการนิเทศการศึกษา รายงานโครงการ หรือผลงานทางวิชาการในลักษณะอื่นท่ีมีจุดมุงหมาย ในการแกปญหาการจัดการเรียนการสอนของครูและบุคลากรในสถานศึกษา มีการศึกษาแนวคิด ทฤษฎีและองคความรูตาง ๆ เพื่อแกไขปญหาและนําไปสูการสรุปองคความรูเพ่ือพัฒนาการนิเทศ การศึกษา จํานวนไมนอยกวา 2 รายการ โดยตองเปนงานวิจัยและพัฒนาอยางนอย 1 รายการ ทั้งน้ี การประเมินผลงานทางวิชาการใหพิจารณาจากผลงานทางวิชาการที่ผูขอรับการประเมินเสนอ และ อาจใหผ ขู อรับการประเมนิ นาํ เสนอและตอบขอซกั ถามดวยก็ได 3. ใหมีคณะกรรมการประเมิน ดังน้ี 3.1 คณะกรรมการชุดที่ 1 ประเมินดานที่ 1 คือ ดานวินยั คณุ ธรรม จรยิ ธรรม และจรรยาบรรณวิชาชพี และดา นที่ 2 คอื ดา นความรูค วามสามารถ 3.2 คณะกรรมการชุดที่ 2 ประเมนิ ดา นท่ี 3 คือ ดา นผลการปฏิบัตงิ าน 4. เกณฑการตัดสิน ผทู ่ีผา นเกณฑการประเมนิ ตองไดคะแนนแตละดาน ดังน้ี 4.1 ดานที่ 1 ดานวินัย คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ ตองไดคะแนนจาก กรรมการทั้ง 3 คนเฉล่ียไมตาํ่ กวา รอยละ 80 4.2 ดานท่ี 2 ดานความรูความสามารถ ตองไดคะแนนจากกรรมการทั้ง 3 คนเฉล่ีย ไมตํา่ กวารอ ยละ 80 4.3 ดานท่ี 3 ดานผลการปฏิบัติงาน ตองไดคะแนนจากกรรมการแตละคน ดังน้ี 4.3.1 สว นท่ี 1 ผลการพฒั นาคุณภาพการนิเทศการศึกษา ตอ งไดคะแนน ไมต ํา่ กวา รอยละ75 4.3.2 สว นที่ 2 ผลงานทางวิชาการ ตอ งไดค ะแนนไมต ่ํากวา รอยละ 75 4.3.3 คะแนนรวมเฉลย่ี สวนที่ 1และสว นท่ี 2 ตองไดคะแนนไมต ่าํ กวา รอยละ80

- 26 - กรณีที่การประเมินดานที่ 1 และหรือดานที่ 2 ไมผานเกณฑ และคณะกรรมการ ชุดที่ 1 มีความเห็นวา ผลการประเมินอยูในวิสัยที่สามารถพัฒนาใหผานเกณฑได ใหผูขอรับการประเมิน พัฒนาไดไมเ กิน 2 ครัง้ ครงั้ ละไมเกนิ 3 เดือน กรณีท่ีการประเมินดานท่ี 3 ไมผานเกณฑ และคณะกรรมการชุดท่ี 2 มีความเห็นวา ผลการปฏิบัติงาน ซึ่งประกอบดวย ผลการพัฒนาคุณภาพการนิเทศการศึกษา และผลงาน ทางวิชาการอยูในวิสัยที่สามารถปรับปรุงได และ ก.ค.ศ. มีมติใหปรับปรุงไดไมเกิน 2 คร้ัง คร้ังท่ี 1 ไมเกิน 6 เดือน และครัง้ ท่ี 2 ไมเ กนิ 3 เดอื น 5. การพิจารณาอนุมัตผิ ลการประเมินเพื่อเล่ือนเปน วิทยฐานะศึกษานเิ ทศกเชยี่ วชาญพเิ ศษ ให ก.ค.ศ. เปน ผูอนุมตั ิ มผี ลไมกอ นวนั ท่ีสาํ นักงาน ก.ค.ศ.ไดรบั คําขอและเอกสารครบถว น กรณีที่มีการพัฒนาดานท่ี 1 และหรือดานท่ี 2 หรือปรับปรุงดานที่ 3 ใหอนุมัติได ไมกอนวันท่ีสํานักงาน ก.ค.ศ.ไดรับหนังสือท่ีสงรายละเอียดในการพัฒนาหรือปรับปรุงครบถวน สมบรู ณค รัง้ หลงั สุด 6. เมือ่ ก.ค.ศ. พจิ ารณาผลการประเมินและมีมตเิ ปนประการใดแลว ใหถ อื เปนอนั สน้ิ สุด 7.สํานกั งานเขตพืน้ ท่กี ารศกึ ษาใหหมายความรวมถงึ สวนราชการดว ยและอ.ก.ค.ศ.เขตพ้นื ท่ี การศึกษา ใหห มายความรวมถึง อ.ก.ค.ศ. ท่ี ก.ค.ศ. ต้ังดว ย วิธกี าร 1. ใหผูประสงคขอรับการประเมินย่ืนคําขอไดตลอดป รอบปละ 1 ครั้ง โดยสงคําขอพรอม ทั้งผลการปฏิบัติงาน (ดานท่ี 3) ซึ่งเปนเอกสารผลการพัฒนาคุณภาพการนิเทศการศึกษา และผลงานทางวิชาการ จํานวน 4 ชุด ตอผูบังคับบัญชาชั้นตน เพ่ือตรวจสอบและรับรองแลวเสนอ ผบู ังคับบญั ชาตามลาํ ดับถึงสาํ นักงาน ก.ค.ศ. กรณีผูท่ีจะเกษียณอายุราชการใหย่ืนคําขอพรอมท้ังผลการปฏิบัติงาน (ดานที่ 3) ซ่ึงเปนเอกสารผลการพัฒนาคุณภาพการนิเทศการศึกษา และผลงานทางวิชาการ จํานวน 4 ชุด ต อ ผู บั ง คั บ บั ญ ช า ช้ั น ต น เ พื่ อ ต ร ว จ ส อ บ แ ล ะ รั บ ร อ ง แ ล ว เ ส น อ ผู บั ง คั บ บั ญ ช า ต า ม ลํ า ดั บ ถึงสาํ นักงาน ก.ค.ศ. กอนที่จะเกษยี ณอายุราชการไมนอ ยกวา 6 เดือน 2. ใหสํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา ตรวจสอบคุณสมบัติและเอกสารหลักฐาน ตามหลักเกณฑและวิธีการที่ ก.ค.ศ. กําหนด กอ นสง สาํ นกั งาน ก.ค.ศ.

- 27 - 3. การต้ังคณะกรรมการประเมนิ 3.1 คณะกรรมการชดุ ที่ 1 ประเมินดานท่ี 1 คือ ดานวินัย คณุ ธรรม จรยิ ธรรม และ จรรยาบรรณวชิ าชีพ และดานท่ี 2 คือ ดานความรคู วามสามารถ ให ก.ค.ศ. ตั้งผูทรงคุณวุฒิที่มีความรูความสามารถ จํานวน 3 คน เปนคณะกรรมการ ประเมนิ 3.2 คณะกรรมการชุดที่ 2 ประเมนิ ดานที่ 3 คือ ดานผลการปฏิบัติงาน ให ก.ค.ศ. ตงั้ ผทู รงคุณวุฒทิ ี่มคี วามรูความสามารถ และเชย่ี วชาญในสาขาวิชาทจ่ี ะ ตรวจและประเมินเปนคณะกรรมการประเมิน การประเมินผูขอหนง่ึ รายใหมีกรรมการประเมินสามคน 4. การประเมินดานที่ 1 และดา นที่ 2 4.1 ใหคณะกรรมการท้ัง 3 คน ประเมินดานที่ 1 และดานท่ี 2 พรอมกันทั้ง 2 ดาน โดยใหคณะกรรมการบันทึกขอสังเกตเก่ียวกับจุดเดน จุดที่ควรพัฒนา ในเรื่องท่ีประเมินของ ผขู อรับการประเมินไวใ นแบบประเมนิ ดวย 4.2 กรณีผลการประเมินท้ัง 2 ดาน ผานเกณฑท่ี ก.ค.ศ.กําหนด และ ก.ค.ศ. พิจารณาแลวมีมติใหผานการประเมินทั้ง 2 ดาน ใหสํานักงาน ก.ค.ศ. สงผลการปฏิบัติงาน (ดานที่3) ซึ่งประกอบดวย เอกสารผลการพัฒนาคุณภาพการนิเทศการศึกษา และผลงานทางวิชาการ พรอมทั้ง ผลการประเมินดานท่ี 1 ดานที่ 2 และความเห็นของคณะกรรมการชุดที่ 1 ใหคณะกรรมการชุดที่ 2 เพอื่ ดําเนนิ การตอ ไป 4.3 กรณีผลการประเมนิ ดานที่ 1 และหรือดานท่ี 2 ไมผานเกณฑ และคณะกรรมการ ชดุ ที่ 1 มคี วามเหน็ วา ผลการประเมินอยูในวสิ ัยทีส่ ามารถพัฒนาใหผ า นเกณฑได ใหสํานักงาน ก.ค.ศ. แจงสํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาใหผูขอรับการประเมินพัฒนาตามขอสังเกตของคณะกรรมการชุดที่ 1 ภายในเวลา 3 เดอื น นบั แตวนั ทีไ่ ดรับแจง เม่ือผูขอรับการประเมินพัฒนาดานที่ 1 และหรือดานที่ 2 แลว ใหสํานักงาน เขตพ้นื ทีก่ ารศกึ ษาสง หนังสือแจงรายละเอียดที่พัฒนาถึงสํานักงาน ก.ค.ศ. เพื่อเสนอคณะกรรมการ ชุดเดิมตรวจและประเมินตอไป 4.4 กรณีท่ีคณะกรรมการชุดที่ 1 พิจารณารายละเอียดที่พัฒนาแลวเห็นควรใหมี การพัฒนาเพิ่มเติม ใหสํานักงาน ก.ค.ศ. แจงสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาใหผูขอรับการประเมิน พฒั นาตามขอ สงั เกตของคณะกรรมการชดุ ท่ี 1 ภายในเวลา 3 เดอื น นับแตวันที่ไดร บั แจง

- 28 - เมื่อผูขอรับการประเมินพัฒนาดานที่ 1 และหรือดานท่ี 2 แลวใหสํานักงาน เขตพ้นื ทีก่ ารศกึ ษาสงหนังสือแจงรายละเอียดท่ีพัฒนาถึงสํานักงาน ก.ค.ศ. เพื่อเสนอคณะกรรมการ ชุดเดิมตรวจและประเมนิ ตอไป 4.5 กรณีท่ีกรรมการประเมินคนเดิมไมสามารถประเมินไดดวยเหตุผลใดก็ตาม ให ก.ค.ศ. ต้ังกรรมการแทนไดต ามทกี่ าํ หนดในวธิ ีการขอ 3.1 4.6 กรณผี ขู อรบั การประเมินไมสง รายละเอยี ดการพัฒนาตามขอสังเกตภายในเวลา ทีก่ ําหนด หรือสงเกนิ เวลาท่ีกาํ หนด ถือวาสละสทิ ธ์ิ 4.7กรณีผูขอรับการประเมินไดพัฒนาดานที่ 1 และหรือดานท่ี 2 แลว และมีผลการประเมิน ไมผานเกณฑที่ ก.ค.ศ.กําหนด ถือวาไมผานการประเมิน ใหเสนอ ก.ค.ศ. พิจารณาไมอนุมัติ และ ใหสํานักงาน ก.ค.ศ. แจงผลการพิจารณาใหส าํ นักงานเขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษาเพอื่ แจงผูขอรับการประเมนิ ทราบ 5. การประเมินดานท่ี 3 ดา นผลการปฏบิ ัตงิ าน ใหสํานักงาน ก.ค.ศ. สงผลการปฏิบัติงาน (ดานที่ 3) ซ่ึงประกอบดวย เอกสาร ผลการพัฒนาคุณภาพการนิเทศการศึกษาและผลงานทางวิชาการ พรอมทั้งผลการประเมินดานที่ 1 และ ดานที่ 2 และขอสงั เกตของคณะกรรมการชุดท่ี 1 ใหคณะกรรมการชดุ ท่ี 2 เพ่ือประกอบการพิจารณาดวย 5.1 กรณีคณะกรรมการชุดท่ี 2 พิจารณาแลวเห็นสมควรใหปรับปรุงดานที่ 3 ผูขอรับการประเมินตองมีผลการประเมินดานท่ี 3 ผานเกณฑที่ ก.ค.ศ. กําหนด จากกรรมการ ชุดที่ 2 ไมนอยกวา 2 ใน 3 คน โดยในสวนผลการพัฒนาคุณภาพการนิเทศการศึกษาใหปรับปรุง โดยการช้ีแจงและหรือเสนอเอกสารเพิ่มเติมเทาน้ัน สวนผลงานทางวิชาการใหปรับปรุงตามขอสังเกต ของกรรมการ ทั้งนี้ ผลงานทางวิชาการตองอยูในวิสัยท่ีสามารถปรับปรุงได และ ก.ค.ศ.มีมติใหปรับปรุง ใหป รับปรุงไดภ ายในเวลา6เดอื นนับแตวันท่ีสํานกั งานก.ค.ศ.แจง มติใหสํานกั งานเขตพื้นท่ีการศึกษาทราบ เม่ือผูขอรับการประเมินปรับปรุงดานท่ี 3 แลว ใหสํานักงาน ก.ค.ศ. เสนอ คณะกรรมการประเมนิ ชุดเดิมตรวจและประเมินตอ ไป 5.2 กรณีที่คณะกรรมการชุดท่ี 2 พิจารณารายละเอียดที่ปรับปรุงแลว แตผูขอรับ การประเมินยังปรับปรุงไมครบถวนตามขอสังเกต และเห็นควรใหมีการปรับปรุงอีกครั้งหนึ่ง และ ก.ค.ศ. มีมติใหปรับปรุง ใหปรับปรุงภายในเวลา 3 เดือน นับแตวันที่สํานักงาน ก.ค.ศ. แจงมติ ใหส าํ นกั งานเขตพื้นทีก่ ารศึกษาทราบ เม่ือผูขอรับการประเมินปรับปรุงดานท่ี 3 แลว ใหสํานักงาน ก.ค.ศ. เสนอ คณะกรรมการประเมนิ ชุดเดิมตรวจและประเมินตอ ไป

- 29 - 5.3 กรณีท่ีกรรมการประเมินคนเดิมไมสามารถประเมินไดดวยเหตุผลใดก็ตาม ใหค ณะกรรมการชดุ ท่ี 2 มอบกรรมการคนอ่นื ในคณะนน้ั ประเมนิ ได 5.4 กรณีผูขอรับการประเมินไมสงผลการพัฒนาคุณภาพการนิเทศการศึกษา และหรือผลงานทางวิชาการที่ปรับปรุงตามขอสังเกตภายในเวลาท่ีกําหนด หรือสงเกินเวลาท่ีกําหนด ถอื วาสละสิทธิ์ 5.5 กรณี ก.ค.ศ. มีมตอิ นุมตั ิ ใหผ บู งั คับบญั ชาสงู สุดของสวนราชการที่ผูนั้นสังกัดอยู เปนผมู ีอํานาจส่ังบรรจุ และใหรัฐมนตรีเจาสังกัดนําเสนอนายกรัฐมนตรี เพ่ือนําความกราบบังคมทูล เพื่อทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ แตงตั้งเพื่อเล่ือนเปนวิทยฐานะศึกษานิเทศกเช่ียวชาญพิเศษ และ ใหไดรับเงินเดือนอันดับ คศ. 5 สําหรับผูท่ีรับเงินเดือนต่ํากวาขั้นตํ่าของอันดับ คศ. 5 จะแตงตั้งเปน วิทยฐานะศึกษานิเทศกเช่ียวชาญพิเศษ และใหไดรับเงินเดือนอันดับ คศ. 5 ได ตองเปนผูท่ีไดรับ เงินเดือนตํา่ กวาข้นั ต่ําของอนั ดับ คศ. 5 ไมเ กนิ 1 ข้ัน เม่ือดําเนินการแตงตั้งแลว ใหสงสําเนาคําส่ัง จํานวน 1 ชุด ใหสํานักงาน ก.ค.ศ. ภายในเวลา 7 วัน นับแตวันออกคําสง่ั 5.6 กรณี ก.ค.ศ. มีมติไมอนุมัติ ใหสํานักงาน ก.ค.ศ.แจงมติดังกลาวใหสํานักงาน เขตพ้ืนทกี่ ารศึกษาเพอื่ ดาํ เนนิ การแจง ผูข อรับการประเมนิ ทราบ 6. ใหดําเนินการประเมินใหแลวเสร็จภายในรอบระยะเวลา 1 ป นับแตวันที่สํานักงาน ก.ค.ศ.ไดรับคําขอและเอกสารผลการปฏิบัติงาน (ดานที่ 3) หากดําเนินการไมแลวเสร็จ ใหแจงผูขอรับ การประเมนิ ทราบ และเรงรดั การดาํ เนนิ การใหแ ลวเสรจ็ โดยเรว็

- 30 - ก.ค.ศ. 1 แบบเสนอขอรบั การประเมิน ของขาราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษาในการขอมวี ทิ ยฐานะชํานาญการ ทุกตาํ แหนง วทิ ยฐานะทขี่ อ.................................................................................... สาขา/สาขาวชิ า/กลมุ สาระการเรียนร.ู ................................................ 1. ขอมลู ผขู อรบั การประเมนิ ชอื่ ...................................................... นามสกลุ ............................................................ อายุ............ป อายรุ าชการ............ป คณุ วุฒทิ างการศึกษา 1. วฒุ ิต่าํ กวาปริญญาตร.ี ......................วิชาเอก....................จากสถาบันการศึกษา.................. 2. วฒุ ิปริญญาตรี..................................วิชาเอก....................จากสถาบนั การศึกษา................. 3.วุฒิสูงกวา ปรญิ ญาตรี........................วิชาเอก....................จากสถาบนั การศกึ ษา................. ตาํ แหนง....................................................... ตําแหนง เลขท.่ี .......................... สถานศึกษา/หนวยงาน..................................................อําเภอ/เขต........................................... สํานกั งานเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษา...........................................สว นราชการ...................................... รบั เงินเดอื นอนั ดบั คศ. ..........................ข้นั ..............................บาท 2. การรับราชการ 2.1 เริ่มรับราชการในตําแหนง .............................เม่อื วนั ท่.ี ..........เดอื น..................พ.ศ. ......... 2.2 เคยดาํ รงตาํ แหนง ทีส่ ําคญั ดงั น้ี วัน เดือน ป ตาํ แหนง รับเงินเดอื น ระดบั /อันดับ ขั้น (บาท) ...................... ...................................................................... ...................... ...................... ...................... ...................................................................... ...................... ...................... ...................... ...................................................................... ...................... ...................... ...................... ...................................................................... ....................... ....................... ....................... ...................................................................... ....................... ....................... 2.3 ไดรบั แตงตั้งใหดํารงตาํ แหนง ปจ จบุ นั เม่อื วันที.่ ..............เดือน...........................พ.ศ. ......... 2.4 เคยขอมีวทิ ยฐานะเดยี วกันนี้ คร้งั สุดทา ย เมือ่ วนั ท.่ี ..........เดอื น..........................พ.ศ.........

- 31 - 3. การปฏบิ ตั งิ านในปท ขี่ อรบั การประเมนิ (ระบรุ ายการท่ีปฏิบัตจิ รงิ ) สายงานการสอน 1) การปฏบิ ัตกิ ารสอน (ช้นั /ระดับ กลุมสาระการเรยี นรู/สาขา หรอื รายวิชาตามที่สอน) 2) จาํ นวนชั่วโมงทส่ี อน/สัปดาห 3) ปฏิบตั หิ นาทคี่ รทู ี่ปรึกษา / ครปู ระจาํ ชนั้ /ครูประจํากลมุ ฯ 4) กจิ กรรมพัฒนาผูเรียนท่รี บั ผดิ ชอบ 5) หนาท่ที ไี่ ดร ับมอบหมายเปนพเิ ศษ (ถามี) สายงานบริหารสถานศึกษาและสายงานนิเทศการศกึ ษา 1) ปฏบิ ัตงิ านบริหาร/นิเทศการศกึ ษา เตม็ เวลา 2) ปฏิบตั งิ านบรหิ าร/ นเิ ทศการศึกษา ไมเตม็ เวลา โดยไปชว ยราชการหรือปฏิบัตหิ นาทอี่ ่นื บางสว น ดงั นี้ งานทปี่ ฏิบตั ิ สถานทปี่ ฏิบตั งิ าน ตง้ั แตว นั ที่/เดอื น/พ.ศ. จาํ นวนชว่ั โมง/สัปดาห ถงึ วนั ที่ /เดอื น/พ.ศ. 3) หนาทีท่ ไี่ ดร ับมอบหมายเปนพเิ ศษ (ถามี) 4. การรายงานดา นท่ี 1 คอื ดานวนิ ยั คณุ ธรรม จรยิ ธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ (ใหผูขอรับการประเมินรายงานโดยใชแบบ ก.ค.ศ. 2 จํานวน4ชุดพรอมท้ังรวบรวมเอกสารหลักฐาน อางอิง จาํ นวน 1 ชุด ไวทีส่ ถานที่ปฏิบัตงิ านเพื่อรอรบั การประเมินจากคณะกรรมการ) 5. ดา นท่ี 2 ดา นความรูความสามารถ (ใหผูขอรับการประเมินรวบรวมเอกสารหลักฐานเกี่ยวกับการพัฒนางานในหนาที่และการพัฒนา ตนเองตามหลักเกณฑที่ ก.ค.ศ. กําหนด เชน ตําแหนงครู ใหรวบรวมหลักฐานเอกสารเก่ียวกับแผนการจัดการเรียนรู/ แผนการจัดประสบการณ/แผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล (Individualized Education Program : IEP) ส่ือ/ นวัตกรรม แฟมสะสมผลงานคัดสรร วุฒิบัตร เกียรติบัตรผานการอบรม ใบรับรองหรือหลักฐานการศึกษาตอ เปน ตน โดยเกบ็ ไวท ีส่ ถานท่ีปฏบิ ตั ิงานเพื่อรอรับการประเมนิ จากคณะกรรมการ) 6. การรายงานดา นที่ 3 คอื ดา นผลการปฏบิ ตั ิงาน ใหร ายงานผลการปฏบิ ัตงิ านใหชดั เจน โดยใชแบบ ก.ค.ศ. 3 และจัดทาํ เปนเอกสาร จาํ นวน 4 ชุด พรอ มทง้ั แนบเอกสารหลักฐานอางองิ เพ่ือประกอบการพิจารณาในแตล ะหวั ขอ ดังนี้

- 32 - สายงานการสอน 1) ผลการพัฒนาคุณภาพผูเรียน ไดแก ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ผลการประเมิน และหรือ ผลการทดสอบของวชิ าท่ีสอนในระดับเขตหรอื ระดับประเทศ และผลการพฒั นาผเู รียนดา นอ่ืน ๆ ผูขอรับการประเมินท่ีสอนระดับปฐมวัย ใหรายงานผลการประเมินมาตรฐานคุณลักษณะ อนั พึงประสงคในหลกั สตู รการศึกษาปฐมวัย พทุ ธศักราช 2546 ทคี่ รอบคลมุ พฒั นาการดา นรางกาย อารมณและ จิตใจ สังคม และสติปญญา แทนผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน ผลการประเมิน และหรือผลการทดสอบของวิชา ท่สี อนในระดบั เขตหรือระดบั ประเทศ และผลการพฒั นาผูเรียนดา นอ่นื ๆ ผูขอรับการประเมินท่ีสอนการศึกษาพิเศษ ซ่ึงไมมีการวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน ใหรายงานผล การพัฒนาผูเรียนรายบุคคลท่ีครอบคลุมพัฒนาการดานสุขภาพรางกาย สติปญญา อารมณและสังคม แทน โดยเปรยี บเทยี บผลกอนและหลังการพัฒนา วาผูเรียนแตละคนมีความกาวหนาในดานใด ระดับใด และอยางไร ตามที่กําหนดไวใ นแผนการจดั การศกึ ษาเฉพาะบคุ คล (Individualized Education Program : IEP) 2) รายงานการสงั เคราะหผลการแกป ญหาและพฒั นาผเู รยี น 3) ขอมูลอื่น ๆ ไดแก ปรมิ าณ คณุ ภาพ และสภาพของงาน ท่ีผขู อรับการประเมินปฏบิ ตั อิ ยู สายงานบรหิ ารสถานศึกษา 1) ผลการพฒั นาท่เี กิดกับผูเรยี น ครู สถานศกึ ษา และชุมชน หรือทองถิ่น 2) รายงานการสังเคราะหผ ลการแกปญหาและพฒั นาคณุ ภาพในการบรหิ ารจดั การสถานศึกษา 3) ขอมูลอน่ื ๆ ไดแก ปรมิ าณ คุณภาพ และสภาพของงาน ทีผ่ ขู อรับการประเมินปฏิบตั ิอยู สายงานนเิ ทศการศกึ ษา 1) ผลที่เกดิ กบั ครู ผูเ รียน สถานศึกษา และระบบการจดั การศกึ ษาของสถานศกึ ษา 2) รายงานการสงั เคราะหผ ลการแกป ญหาและพฒั นาการจัดการศึกษา ขอรบั รองวาขอ มลู ดงั กลา วขา งตน ถกู ตอ ง และเปน ความจริง (ลงชือ่ ).................................................ผขู อรบั การประเมนิ (.....................................................) ตําแหนง................................................. วนั ที่ .........เดอื น....................พ.ศ. ........

- 33 - การตรวจสอบและรบั รอง การตรวจสอบและรบั รองของผูบงั คับบญั ชาชัน้ ตน ไดต รวจสอบแลว รับรองวา ขอ มลู ถกู ตอง และเปน ความจริง (ลงชื่อ)................................................ผบู งั คับบัญชาชั้นตน (.....................................................) ตาํ แหนง................................................. วนั ท่ี .........เดอื น....................พ.ศ. ................... การตรวจสอบคุณสมบัตขิ องสํานักงานเขตพนื้ ท่กี ารศกึ ษา หรือสวนราชการ ไดตรวจสอบแลว มีคุณสมบตั ิตามท่ี ก.ค.ศ. กําหนด ขาดคุณสมบัติ (ระบุ)................................................................. (ลงชือ่ )................................................ผูต รวจสอบคณุ สมบัติ (.....................................................) ตาํ แหนง ................................................. วันท่ี .........เดือน....................พ.ศ. ........ (ลงชือ่ ).................................................. (.............................................) (ผูอ าํ นวยการสํานักงานเขตพนื้ ทกี่ ารศึกษา/หวั หนาสว นราชการหรือผทู ่ไี ดร บั มอบหมาย) วันท่ี .........เดอื น....................พ.ศ. ........

- 34 - ก.ค.ศ. 1/1 แบบเสนอขอรับการประเมิน ของขาราชการครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษาในการขอมหี รือเลอ่ื นวิทยฐานะ ชาํ นาญการพิเศษ เช่ยี วชาญ หรือเชย่ี วชาญพิเศษ (ทกุ ตําแหนง) ขอมหี รอื เล่อื นเปนวิทยฐานะ.............................................................. สาขา/สาขาวิชา/กลมุ สาระการเรียนรู. ................................................ 1. ขอ มลู ผูขอรบั การประเมิน ชอ่ื ...................................................... นามสกุล........................................................ อาย.ุ ...........ป อายุราชการ............ป คุณวฒุ ทิ างการศึกษา 1. วุฒิตาํ่ กวา ปรญิ ญาตร.ี .........................วิชาเอก....................จากสถาบันการศกึ ษา................... 2. วุฒิปรญิ ญาตรี....................................วิชาเอก....................จากสถาบนั การศกึ ษา.................... 3. วฒุ ิสงู กวา ปริญญาตร.ี .........................วชิ าเอก....................จากสถาบนั การศึกษา.................. ตําแหนง................................. วิทยฐานะ...........................................ตาํ แหนง เลขท่ี.......................... สถานศึกษา/หนวยงาน........................................................... อาํ เภอ/เขต........................................... สาํ นักงานเขตพื้นท่กี ารศึกษา....................................................สว นราชการ...................................... รบั เงินเดือนอนั ดบั คศ. ..........................ขน้ั ..............................บาท 2. การรับราชการ 2.1 เริ่มรับราชการในตาํ แหนง .............................เม่ือวนั ท.่ี ..........เดือน...................พ.ศ. ......... 2.2 เคยดํารงตาํ แหนง/วทิ ยฐานะ ท่สี าํ คัญ ดงั นี้ วัน เดอื น ป ตําแหนง /วทิ ยฐานะ รบั เงินเดอื น ระดับ/อนั ดบั ขัน้ (บาท) ......................... ........................................................................... ....................... ....................... ......................... ........................................................................... ....................... ....................... ......................... ........................................................................... ....................... ....................... ......................... ........................................................................... ....................... ....................... ......................... ........................................................................... ....................... ....................... 2.3 ไดรับแตง ตัง้ ใหดาํ รงตําแหนงปจ จุบนั เมือ่ วันท.ี่ ..............เดือน.................................พ.ศ. ......... ไดร บั แตงตง้ั เปนวทิ ยฐานะปจ จุบัน เม่อื วนั ท.่ี ..............เดอื น.................................พ.ศ. ......... 2.4 เคยขอมหี รือเล่ือนเปนวทิ ยฐานะเดยี วกนั น้ี ครั้งสดุ ทา ย เม่ือวนั ท่.ี ......เดอื น................พ.ศ..........

- 35 - 3. การปฏิบตั ิงานในปท ขี่ อรบั การประเมนิ (ระบุรายการทป่ี ฏิบัติจรงิ ) สายงานการสอน 1) การปฏบิ ัติการสอน (ช้ัน/ระดับ กลุมสาระการเรยี นร/ู สาขา หรือรายวชิ าตามทีส่ อน) 2) จาํ นวนช่วั โมงท่สี อน/สัปดาห 3) ปฏบิ ัตหิ นา ทีค่ รทู ีป่ รึกษา / ครปู ระจําชน้ั /ครปู ระจํากลมุ ฯ 4) กิจกรรมพัฒนาผูเรยี นท่รี บั ผดิ ชอบ 5) หนา ทท่ี ไ่ี ดร ับมอบหมายเปน พิเศษ (ถา ม)ี สายงานบริหารสถานศึกษา สายงานบริหารการศกึ ษา และสายงานนเิ ทศการศึกษา 1) ปฏบิ ตั ิงานบริหาร/นเิ ทศการศกึ ษา เต็มเวลา 2) ปฏิบัตงิ านบริหาร/ นเิ ทศการศึกษา ไมเ ตม็ เวลา โดยไปชว ยราชการหรอื ปฏบิ ัตหิ นา ทอ่ี ืน่ บางสวน ดังนี้ งานทปี่ ฏบิ ตั ิ สถานท่ปี ฏบิ ตั งิ าน ต้งั แตว นั ท่/ี เดอื น/พ.ศ. จาํ นวนชั่วโมง/สปั ดาห ถงึ วันท่ี /เดอื น/พ.ศ. 3) หนาท่ที ไี่ ดร ับมอบหมายเปน พิเศษ (ถา ม)ี 4. การรายงานดานท่ี 1 คือ ดานวนิ ยั คณุ ธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชพี (ใหผ ขู อรับการประเมนิ รายงานโดยใชแ บบ ก.ค.ศ. 2 จํานวน4ชุดพรอมทัง้ รวบรวมเอกสารหลกั ฐาน อางอิงจาํ นวน1ชุดไวทสี่ ถานที่ปฏบิ ตั ิงานเพ่ือรอรบั การประเมินจากคณะกรรมการ) 5. ดา นที่ 2 ดา นความรคู วามสามารถ (ใหผูข อรบั การประเมินรวบรวมเอกสารหลกั ฐานเกีย่ วกบั การพฒั นางานในหนาท่แี ละการพัฒนาตนเอง ตามหลักเกณฑที่ ก.ค.ศ. กําหนด เชน ตําแหนงครู ใหรวบรวมหลักฐานเอกสารเกี่ยวกับแผนการจัดการเรียนรู/ แผนการจัดประสบการณ/แผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล (Individualized Education Program : IEP) ส่ือ/ นวัตกรรม แฟมสะสมผลงานคัดสรร วุฒิบัตร เกียรติบัตรผานการอบรม ใบรับรองหรือหลักฐานการศึกษาตอ เปน ตน โดยเกบ็ ไวทสี่ ถานทปี่ ฏิบตั งิ านเพอ่ื รอรบั การประเมนิ จากคณะกรรมการ) 6. การรายงานดานท่ี 3 คอื ดา นผลการปฏบิ ัตงิ าน ใหรายงานผลการปฏิบัติงานใหชัดเจน และจัดทําเปนเอกสาร จํานวน 4 ชุด พรอมทั้งแนบ เอกสารหลกั ฐานอา งองิ เพื่อประกอบการพจิ ารณาในแตละหัวขอ ดงั น้ี

- 36 - สายงานการสอน รายงานโดยใชแ บบ ก.ค.ศ. 3/1 สวนที่ 1 ผลการพัฒนาคุณภาพผูเรียน ไดแก ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน ผลการประเมิน และหรือ ผลการทดสอบของวิชาท่ีสอนในระดับเขตหรือระดับประเทศ ผลการพัฒนาผูเรียนดานอื่นๆ และขอมูลเก่ียวกับ ปริมาณ คุณภาพ และสภาพของงาน ทผี่ ขู อรบั การประเมินปฏิบัตอิ ยู ผูขอรับการประเมินท่ีสอนในระดับปฐมวัย ใหรายงานผลการประเมินมาตรฐานคุณลักษณะ อันพึงประสงคในหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2546 ท่ีครอบคลุมพัฒนาการดานรางกาย อารมณ และจติ ใจ สังคม และสติปญญา แทนผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน ผลการประเมิน และหรือผลการทดสอบของวิชา ท่สี อนในระดับเขตหรือระดับประเทศ ผลการพฒั นาผเู รียนดานอ่นื ๆ ผูขอรับการประเมินท่ีสอนการศึกษาพิเศษ ซ่ึงไมมีการวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน ใหรายงาน ผลการพัฒนาผูเรียนรายบุคคลท่ีครอบคลุมพัฒนาการดานสุขภาพรางกาย สติปญญา อารมณและสังคม แทน โดยเปรียบเทียบผลกอนและหลังการพัฒนา วาผูเรียนแตละคนมีความกาวหนาในดานใด ระดับใด และอยางไร ตามทกี่ าํ หนดไวในแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบคุ คล (Individualized Education Program : IEP) สวนท่ี 2 ผลงานทางวชิ าการ 1. ชื่อผลงาน(งานวิจยั /งานวจิ ยั และพัฒนา)............................................................... 2. ชือ่ ผลงานทางวชิ าการอ่นื ..................................................................................... 3. ............................................................................................................................. สายงานบริหารสถานศกึ ษา รายงานโดยใชแ บบ ก.ค.ศ. 3/2 สว นท่ี 1 ผลการพัฒนาที่เกิดกับผูเ รยี น ครู สถานศกึ ษา และชมุ ชน หรอื ทอ งถิน่ และขอ มลู เก่ยี วกบั ปรมิ าณ คณุ ภาพ และสภาพของงาน ทผี่ ขู อรบั การประเมินปฏิบตั อิ ยู สว นท่ี 2 ผลงานทางวชิ าการ 1. ชอ่ื ผลงาน(งานวิจยั /งานวจิ ัยและพฒั นา)............................................................. 2. ช่อื ผลงานทางวชิ าการอืน่ ................................................................................... 3. .......................................................................................................................... สายงานบรหิ ารการศึกษา รายงานโดยใชแบบ ก.ค.ศ. 3/3 (สําหรับสํานกั งานเขตพ้นื ที่การศกึ ษา) และแบบ ก.ค.ศ. 3/5 (สําหรบั สาํ นกั งาน กศน.) สว นท่ี 1 ผลการพัฒนาทีเ่ กิดกบั ผเู รียน บุคลากรทางการศึกษา สถานศกึ ษา และหนว ยงาน สวนที่ 2 ผลงานทางวิชาการ 1. ชอื่ ผลงาน(งานวิจยั /งานวจิ ัยและพฒั นา)........................................................... 2. ชือ่ ผลงานทางวชิ าการอ่ืน................................................................................. 3. ..........................................................................................................................

- 37 - สายงานนิเทศการศึกษา รายงานโดยใชแ บบ ก.ค.ศ. 3/4 สวนท่ี 1 ผลท่เี กิดกบั ครู ผูเ รียน สถานศึกษา และระบบการจดั การศึกษาของสถานศึกษา สว นที่ 2 ผลงานทางวชิ าการ 1. ช่ือผลงาน(งานวจิ ยั /งานวจิ ยั และพัฒนา)........................................................... 2. ชอ่ื ผลงานทางวิชาการอ่นื .................................................................................. 3. .......................................................................................................................... ขอรับรองวา ขอ มลู ดังกลาวขา งตน ถกู ตอ ง และเปน ความจรงิ (ลงชือ่ ).................................................ผขู อรบั การประเมนิ (.....................................................) ตาํ แหนง................................................. วันท่ี .........เดือน....................พ.ศ. ........ การตรวจสอบและรับรอง การตรวจสอบและรบั รองของผูบงั คับบญั ชาชนั้ ตน ไดต รวจสอบแลว รบั รองวาขอมูลถกู ตอ ง และเปน ความจรงิ (ลงช่ือ)................................................ผูบงั คับบญั ชาชน้ั ตน (.....................................................) ตําแหนง................................................. วันที่ .........เดอื น....................พ.ศ. ........ การตรวจสอบคุณสมบตั ขิ องสํานกั งานเขตพ้นื ที่การศกึ ษา หรือสว นราชการ ไดต รวจสอบแลว มีคุณสมบัตติ ามที่ ก.ค.ศ. กําหนด ขาดคณุ สมบตั ิ (ระบ)ุ ................................................................. (ลงชอ่ื )................................................ผตู รวจสอบคุณสมบตั ิ (.................................................) ตําแหนง ................................................. วันที่ .........เดอื น....................พ.ศ. ........ (ลงชื่อ).................................................. (.............................................) (ผูอํานวยการสาํ นกั งานเขตพน้ื ที่การศึกษา/หวั หนาสว นราชการหรอื ผูทไ่ี ดร ับมอบหมาย) วันที่ .........เดอื น....................พ.ศ. ..............

- 38 - ก.ค.ศ. 2 แบบรายงานดา นท่ี 1 ดา นวินยั คณุ ธรรม จรยิ ธรรม และจรรยาบรรณวชิ าชีพ ของขาราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษาในการขอมหี รือเลอื่ นวทิ ยฐานะ (ทกุ ตําแหนง และทกุ วทิ ยฐานะ) ขอมีหรือเลื่อนเปน วิทยฐานะ....................................................... 1. ขอมูลผูข อรบั การประเมิน ชือ่ ................................................................นามสกุล............................................................................. ตาํ แหนง ..................................วทิ ยฐานะ........................................................ตาํ แหนงเลขท.่ี ................ สถานศึกษา/หนวยงาน................................อาํ เภอ/เขต........................................................................... สาํ นักงานเขตพน้ื ที่การศกึ ษา.......................................สว นราชการ........................................................ รับเงนิ เดือนอนั ดับ คศ. ..........................ข้นั ..............................บาท 2. ใหร ายงานพฤติกรรมท่ีแสดงถงึ ความเปนผูม ีวนิ ัย คณุ ธรรม จรยิ ธรรม และจรรยาบรรณวิชาชพี และรวบรวมเอกสารหลักฐานอางองิ ไวทีส่ ถานท่ปี ฏบิ ตั ิงานเพอื่ รอรับการประเมินจากคณะกรรมการ ดังน้ี 1. การมวี นิ ยั 1.1 การมีวินัยในตนเอง ยอมรับและถือปฏิบัติตามกฎ กติกา มารยาท ขนบธรรมเนียม และแบบแผน อันดงี ามของสงั คม (ใหอธบิ ายการมวี นิ ัยในตนเอง การยอมรบั และถือปฏิบัติตามกฎ กติกา มารยาท ขนบธรรมเนียม และแบบแผนอนั ดงี ามของสังคม การเปน แบบอยา งทีด่ ี และการเปนผูนาํ ในการเสริมสรางการพัฒนาผูอืน่ ) 1.2 การรักษาและเสริมสรา งวินยั ในตําแหนง หนาทร่ี าชการ การปฏบิ ตั ิตามกฎหมาย ระเบยี บ แบบแผน ของทางราชการ (ใหอธิบายพฤติกรรมท่ีแสดงถึงการรักษาและเสริมสรางวินัยในตําแหนงหนาที่ราชการ การปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบแบบแผนของทางราชการ การมีสวนรวมเสริมสรางวินัยแกผูอ่ืนและผลงาน เปน ท่ีปรากฏ เปนแบบอยางทด่ี ี) 1.3 การตรงตอ เวลา การอุทศิ เวลาใหแกทางราชการและผเู รยี นอยางตอเนื่อง (ใหอธิบายพฤติกรรมท่ีแสดงถึงการตรงตอเวลา ปฏิบัติงานตามท่ีไดรับมอบหมายไดสําเร็จและ อุทศิ เวลาอยา งตอเนือ่ ง) 1.4 ความซ่ือสัตย สจุ รติ ในการปฏบิ ตั หิ นา ที่ การรกั ษาผลประโยชนข องทางราชการ และไมมี ผลประโยชนท ับซอน (ใหอธิบายพฤติกรรมท่ีแสดงถึงความซ่ือสัตย สุจริต การรักษาผลประโยชนของทางราชการ และไมมี ผลประโยชนทับซอน การไดร บั การยกยอง ชมเชย)

- 39 - 1.5 การรกั ษาความสามคั คี มนี ้าํ ใจ เอือ้ เฟอ เผ่ือแผต อเพอ่ื นรวมงาน องคกร และชมุ ชน (ใหอธิบายพฤติกรรมท่ีแสดงถึงการมีน้ําใจ เสียสละ ทํางานรวมกับผูอื่นไดอยางราบรื่นและ ประสบความสาํ เรจ็ จนไดร ับการยอมรบั จากหนวยงาน หรือองคกรทเี่ กี่ยวของ ) 2. การประพฤตปิ ฏบิ ัตติ นเปน แบบอยา งทด่ี ี 2.1 ความอุตสาหะ ขยัน อดทน มุงมั่นและรับผิดชอบตอผลสัมฤทธ์ิของงาน โดยยึดหลักประหยัด คมุ คา มีประสิทธิภาพ (ใหอธิบายการปฏิบัติงานท่ีประสบความสําเร็จ เปนท่ียอมรับ มีผลงานปรากฏชัดเจน และนําไป เปน ตนแบบพฒั นาผูอื่นได) 2.2 การยึดมัน่ ในคณุ ธรรม จรยิ ธรรม มีความศรทั ธาและปฏบิ ัตติ นตามหลกั ศาสนา (ใหอธิบายพฤติกรรมท่ีแสดงถึงการยึดมั่นในคุณธรรม จริยธรรม มีความศรัทธาและปฏิบัติตน ตามหลักศาสนา เปน แบบอยา งท่ีดไี ดรับการยกยอง ชมเชย และมสี ว นรวมเสรมิ สรางพัฒนาผูอ นื่ ) 2.3 การยึดมัน่ ในหลกั นติ ิธรรม ยนื หยดั กระทําในส่ิงทถ่ี ูกตอง เปน ธรรมและชอบดวยกฎหมาย (ใหอธิบายพฤติกรรมที่แสดงถึงการยึดม่ันปฏิบัติหนาท่ีตามหลักนิติธรรม ไดรับการยกยอง ชมเชย และมกี ารรณรงคแ ละเสรมิ สรา งผอู ่ืน) 2.4 การยดึ มัน่ ในการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข และวางตัว เปนกลางทางการเมอื ง (ใหอธิบายพฤติกรรมที่แสดงถึงการใชสิทธิและหนาท่ีตามระบอบประชาธิปไตย การมีสวนรวม สงเสริม สนับสนุนกิจกรรมที่เก่ียวของกับการเลือกตั้ง การวางตัวเปนกลางทางการเมือง และการวางรากฐาน ระบอบประชาธิปไตย) 2.5 การมสี ว นรวมอนรุ กั ษวฒั นธรรมไทยและส่งิ แวดลอม (ใหร ะบจุ าํ นวนกจิ กรรมท่ีไดจ ดั หรอื มีสว นรวมเกย่ี วกบั การอนรุ ักษว ัฒนธรรมไทยและสง่ิ แวดลอม) 3. การดํารงชีวติ อยางเหมาะสม 3.1 การดํารงชีวิตตามแนวทางหลักปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง (ใหอธบิ ายพฤตกิ รรม/กิจกรรม ท่แี สดงถึงการดํารงชวี ิตตามแนวทางหลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง) 3.2 การละเวนอบายมขุ และส่งิ เสพติด (ใหอธิบายพฤติกรรมที่แสดงถึงการเปนผูละเวนอบายมุขและส่ิงเสพติด และเปนผูนํารณรงค และเสริมสรา งผอู น่ื อยา งตอ เนื่อง) 3.3 การใชห รือใหข อมลู ขาวสารสวนบคุ คลและของทางราชการใหเ ปนไปดวยความถูกตอ ง (ใหอธิบายพฤติกรรมท่ีแสดงถึงการใชหรือใหขอมูลขาวสารสวนบุคคลและของทางราชการ ไดถูกตอ งเหมาะสม และสามารถพฒั นาผูอ ืน่ จนไดผ ลงานเปนท่ปี ระจักษอ ยางตอเน่ืองในเรอื่ งดงั กลา วได) 3.4 การดํารงตนเปนแบบอยางท่ีดี เหมาะสมกับสถานภาพและตาํ แหนงหนาที่ (ใหอธิบายพฤติกรรมท่ีแสดงถึงการดํารงตนเปนแบบอยางที่ดี เหมาะสมกับสถานภาพและ ตาํ แหนง หนาท่ี การไดรับการยกยอ ง ชมเชย และการมีสว นรว มเสรมิ สรา งพัฒนาผูอ่ืน)

- 40 - 3.5 การประหยดั มธั ยสั ถ อดออม (ใหอธิบายพฤติกรรม/โครงการ/กิจกรรมที่แสดงถึงการประหยัด มัธยัสถ อดออม ซ่ึงมีผล ตอการดาํ รงชีวติ เปน ท่ปี รากฏ การไดร ับการยกยอง ชมเชย และการมสี วนรวมรณรงคและเสรมิ สรา งผูอ่นื ) 4. ความรักและศรทั ธาในวชิ าชพี 4.1 การเปน สมาชกิ ท่ีดี สนบั สนุนหรือรวมกจิ กรรมของวชิ าชีพและทางวิชาการอยา งสรา งสรรค (ใหอธิบายการมีพฤติกรรมการเปนสมาชิกที่ดีขององคกรวิชาชีพและวิชาการ การนํามาปรับใช ใหเกิดประโยชน การไดรับการยกยอง ชมเชย และการมีสวนรวมรณรงคและเสริมสรางผูอ่ืน โดยระบุชื่อ กิจกรรมดงั กลาวดวย ) 4.2 การศึกษา คน ควา ริเร่ิม สรา งสรรคค วามรใู หม ๆ มาใชพัฒนางานในวชิ าชพี (ใหอธิบายถึงการศึกษา คนควา ริเริ่ม สรางสรรค ความรูใหม ๆ นวัตกรรมในการพัฒนางาน ในวชิ าชีพจนสาํ เรจ็ และเปน ตัวอยางได ) 4.3 การมีบทบาทเปนผูน ําทางวิชาการในวงการวิชาชพี (ใหอ ธิบายถึงการมบี ทบาทการเปนผูนําทางวิชาการในวงการวิชาชีพในระดับจังหวัด/เขตพื้นท่ีการศึกษา การมีสวนรวมในการพฒั นาเสรมิ สรางภาวะผนู าํ ทางวชิ าการแกผูอ ื่น และมีผลงานปรากฏ ) 4.4 การรกั ษาชอื่ เสยี ง ปกปองศกั ดศ์ิ รีแหงวชิ าชีพและการยกยอ งเชิดชเู กียรติ (ใหอธิบายพฤติกรรม/โครงการ/กิจกรรม ที่แสดงถึงการรักษาชื่อเสียง ปกปองศักด์ิศรีแหงวิชาชีพ และการยกยองเชิดชูเกียรติท่ีดําเนินการอยางตอเน่ืองเกิดผลดีเปนที่ยอมรับ และการมีสวนรวมรณรงค และเสรมิ สรา งผูอน่ื ) 4.5 การเสรมิ สรา งปลูกจิตสาํ นึกทด่ี ี แกผเู รียน ชมุ ชน สังคม (ใหอธิบายพฤติกรรมที่แสดงถึงการเปนผูนําในการเสริมสรางปลูกจิตสํานึกที่ดีแกผูเรียน ชุมชน สงั คม ผลงานทีป่ รากฏ และการไดรบั การยกยอง ชมเชย) 5. ความรบั ผดิ ชอบในวิชาชีพ 5.1 การเอาใจใส ถายทอด ความรู หรือสงเสริมการแสวงหาความรู โดยไมบ ิดเบอื น ปดบัง หวงั ส่ิงตอบแทน (ใหอธิบายพฤติกรรมท่ีแสดงถึงการเอาใจใส ถายทอดความรูหรือสงเสริมการแสวงหาความรู โดยไมบิดเบือน ปดบัง หวังส่ิงตอบแทน และเกิดผลดีตองานในหนาที่และไดรับการยกยอง โดยมีผลงาน ปรากฏอยางตอ เนื่อง) 5.2 การเอาใจใสชวยเหลือผูเรียนและผูรับบริการเต็มความสามารถตามหลักวิชาชีพอยางสมํ่าเสมอ เทา เทยี มกัน (ใหอธิบายพฤตกิ รรม/โครงการ/กิจกรรมที่แสดงถึงการเอาใจใสชวยเหลือผูเรียนและผูรับบริการ เต็มความสามารถตามหลกั วชิ าชพี อยา งสมํ่าเสมอ เทาเทยี มกนั โดยระบชุ ่ือกิจกรรมดงั กลา วดวย)

- 41 - 5.3 การศึกษา คนควา ริเร่ิม สรา งสรรคความรูใหม นวตั กรรมในการพัฒนางานในหนาท่ี (ใหอธิบายเก่ียวกับการศึกษา คนควา ริเริ่ม สรางสรรคความรูใหมๆ นวัตกรรมในการพัฒนางาน ในหนา ท่ีจนสาํ เร็จและเปนตวั อยางได ) 5.4 การประพฤติตนตามจรรยาบรรณของวิชาชีพและแบบแผนพฤติกรรมตามจรรยาบรรณ ของวิชาชีพ (ใหอธิบายการประพฤติตนตามจรรยาบรรณของวิชาชีพและแบบแผน พฤติกรรมตามจรรยาบรรณของ วชิ าชีพ การไดรับการยกยอง ชมเชย ในระดบั จังหวัด/เขตพืน้ ท่กี ารศึกษา/คุรุสภา/องคกรภายนอก/หนว ยงานอน่ื ) 5.5 การมีจติ อาสา จิตสาธารณะ และมุง ประโยชนส วนรวม (ใหอธิบายพฤติกรรมที่แสดงถึงการใหการชวยเหลือ หรือใหความรวมมือแกสวนรวมอยางทุมเท และเสียสละจนสําเรจ็ เกดิ ประโยชนต อสว นรวม และไดร บั การยกยอ ง) ขอรับรองวาขอมลู ดงั กลา วขางตน ถกู ตอง และเปนความจรงิ (ลงชอ่ื )............................................ผขู อรบั การประเมนิ (.............................................) ตาํ แหนง.................................................. วนั ท่ี .........เดอื น....................พ.ศ. ...................... (ลงช่ือ).....................................................ผรู ับรอง (.............................................) ตาํ แหนง................................................................. วันท่ี .........เดอื น....................พ.ศ. ........................ ผบู ังคบั บญั ชา (ลงช่ือ).....................................................ผรู บั รอง (.............................................) ตําแหนง................................................................. วนั ที่ .........เดือน....................พ.ศ. ........................ ประธานคณะกรรมการสถานศกึ ษา/เขตพน้ื ท่ีการศกึ ษา/สํานกั งาน กศน.

- 42 - ก.ค.ศ. 3 แบบรายงานผลการปฏิบตั ิงาน ของขาราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษาในการขอมีวิทยฐานะชํานาญการ สายงานนิเทศการศึกษา 1. ขอ มูลผูขอรบั การประเมิน ชอื่ ...................................................... นามสกุล.................................................................. ตําแหนง ............................................ ตาํ แหนงเลขท่.ี ......................................................... สถานศึกษา/หนวยงาน................................................. อาํ เภอ/เขต........................................... สาํ นกั งานเขตพน้ื ท่กี ารศึกษา........................................สว นราชการ......................................... รบั เงินเดือนอนั ดับ คศ. ..........................ขัน้ ..............................บาท 2. ผลการปฏบิ ตั ิงาน (ดานที่ 3) ใหร ายงานขอ มลู ตามหวั ขอ ทีก่ าํ หนดและแนบเอกสารหลกั ฐานอางองิ แตล ะขอ เพือ่ ประกอบการพจิ ารณา ดังน้ี 1. ผลการพฒั นาคณุ ภาพการนเิ ทศการศึกษา 1.1 ผลทเี่ กิดกบั ครู 1.1.1 คุณภาพในการจัดการเรยี นรูของครู (ใหร ายงานวา ครูสามารถนําผลทเ่ี กดิ จากการนิเทศการศึกษาของผขู อรบั การประเมนิ ไปพัฒนาการจดั การเรยี นรู ไดผลสอดคลอ งกับมาตรฐานการศกึ ษาชาตแิ ละมาตรฐานการเรียนรูอยา งไร และเปน ไปอยา งตอเนือ่ งจนเปนท่ปี ระจกั ษ หรือไม อยา งไร) 1.1.2 ความพงึ พอใจของครู สํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา/สวนราชการสํารวจความพึงพอใจของครูกลุมเปาหมาย ท้ังหมดท่ีมีตอกระบวนการนิเทศการศึกษาของผูขอรับการประเมิน จํานวน......................คน โดยมี ผลการประเมินความพึงพอใจในปป จ จุบนั ดงั น้ี มีความพึงพอใจในระดับมากทส่ี ดุ จาํ นวน..........คน คดิ เปนรอยละ....................... มคี วามพงึ พอใจในระดับมาก จํานวน..........คน คดิ เปน รอ ยละ....................... มีความพึงพอใจในระดับปานกลาง จํานวน..........คน คิดเปน รอ ยละ....................... มคี วามพึงพอใจในระดับนอย จํานวน..........คน คิดเปนรอยละ....................... มีความพึงพอใจในระดบั นอ ยทีส่ ดุ จํานวน..........คน คดิ เปนรอ ยละ....................... สรุป รวมความพึงพอใจในระดบั มากและระดบั มากที่สดุ จํานวน........................ คน คดิ เปนรอ ยละ.................................. 1.2 ผลทเ่ี กิดกับผูเ รยี น ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี นของผูเรียน สถานศึกษาที่เปน กลมุ เปาหมายจาํ นวน...................................................สถานศึกษา มีผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนสงู ข้ึนกวาปทผ่ี านมาจํานวน............................สถานศกึ ษา

- 43 - 1.3 ผลทีเ่ กดิ กับสถานศกึ ษา 1.3.1 สถานศกึ ษามกี ารพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา ใหรายงานวาสถานศึกษาที่เปนกลุมเปาหมายไดนําผลการนิเทศการศึกษาไปพัฒนา คุณภาพสถานศึกษาอยางมีประสิทธิภาพ จนเกิดผลการปฏิบัติที่ดีเลิศอยางไร และในปปจจุบันสถานศึกษา ท่ีเปนกลุมเปาหมายจํานวน.........................................สถานศึกษา นําผลการนิเทศการศึกษาไปพัฒนา คุณภาพสถานศึกษาอยางมีประสิทธิภาพ จนเกิดผลการปฏิบัติที่ดีเลิศ จํานวน......................สถานศึกษา คิดเปน รอยละ................... 1.3.2 สถานศึกษาไดร บั การยอมรบั ใหร ายงานวาสถานศกึ ษานาํ ผลการนเิ ทศการศกึ ษาไปพฒั นาจนมีผลงานเปน ทีย่ อมรับอยา งไร และในปป จจบุ ันสถานศึกษานําผลการนเิ ทศการศกึ ษาไปพัฒนาจนมผี ลงานเปนทย่ี อมรบั ในระดบั ประเทศหรือระดับสากล จํานวน ................. สถานศึกษา ในระดบั เขตตรวจราชการหรือในระดบั ภาคจํานวน ..................สถานศึกษา ในระดับเขตพนื้ ท่กี ารศึกษาหรือสถาบันการอาชวี ศึกษา หรอื ระดบั จงั หวดั จาํ นวน ..................สถานศกึ ษา ในระดบั สถานศกึ ษา จาํ นวน ...................สถานศึกษา 1.4 ผลทเี่ กดิ กบั ระบบการจัดการศกึ ษาของสถานศึกษา 1.4.1 การจดั การศกึ ษาของสถานศึกษามคี วามสอดคลองกับบรบิ ทของชมุ ชนและสังคม (ใหรายงานวาสถานศึกษาสามารถนําผลการนิเทศการศึกษาไปพัฒนาการจัดการศึกษา ใหสอดคลองกับสภาพปญหาความตองการของชุมชนและสังคม จนเปนท่ียอมรับของชุมชนและสังคม อยางกวางขวางและเปน แบบอยา งไดโดยปรากฏรองรอยคุณภาพอยางชัดเจนอยางไร) 1.4.2 ความพงึ พอใจของผูปกครอง และชมุ ชน สํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาสํารวจความพึงพอใจของผูปกครอง และชุมชนท่ีมีตอ กระบวนการนิเทศการศึกษาของผูขอรับการประเมิน จํานวน......................คน โดยมีผลการประเมิน ความพงึ พอใจในปปจจุบนั ดงั นี้ มีความพงึ พอใจในระดบั มากทีส่ ุด จํานวน..........คน คิดเปนรอ ยละ....................... มีความพึงพอใจในระดบั มาก จํานวน..........คน คดิ เปน รอยละ....................... มีความพงึ พอใจในระดบั ปานกลาง จํานวน..........คน คิดเปน รอ ยละ....................... มคี วามพึงพอใจในระดบั นอ ย จาํ นวน..........คน คดิ เปน รอยละ....................... มีความพงึ พอใจในระดับนอยทส่ี ุด จํานวน..........คน คดิ เปน รอยละ....................... สรุป รวมความพงึ พอใจในระดับมากและระดบั มากทส่ี ุด จํานวน..........................คน คิดเปน รอ ยละ..................................

- 44 - 2. รายงานการสงั เคราะหผลการแกป ญ หาและพัฒนาการจดั การศกึ ษา ตามหวั ขอ ดงั นี้ 2.1 ปญ หาและขอบเขตของปญ หา 2.2 รูปแบบ เทคนิค วธิ ีการแกป ญหาหรือพัฒนา 2.3 การนํารปู แบบเทคนคิ วธิ ีการแกปญหาหรอื พัฒนาไปใชใ นการแกป ญหาหรือพฒั นา และผลทีเ่ กิดขึ้น 2.4 ขอเสนอเชิงนโยบายในการแกป ญหาและพฒั นาในอนาคต ขอรบั รองวาขอ มูลดงั กลา วขา งตน ถกู ตอง และเปนความจรงิ (ลงชอ่ื ).....................................................ผขู อรับการประเมนิ (.....................................................) ตําแหนง................................................. วนั ท่ี .........เดอื น....................พ.ศ. ......................... การตรวจสอบและรบั รองของผูบงั คับบญั ชา ไดตรวจสอบแลวรบั รองวาขอมูลถกู ตอ ง และเปนความจรงิ ลงชอื่ ...................................................ผูบังคับบญั ชา (.....................................................) ตําแหนง ................................................. วนั ที่ .........เดือน....................พ.ศ. ........

- 45 - ก.ค.ศ. 3/4 แบบรายงานผลการปฏิบตั ิงาน ของขา ราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษาในการขอมหี รือเลอ่ื นวิทยฐานะ ชาํ นาญการพิเศษ เชย่ี วชาญ หรอื เชยี่ วชาญพิเศษ (สายงานนิเทศการศกึ ษา) 1. ขอมลู ผขู อรบั การประเมิน ช่อื ...................................................... นามสกลุ ................................................................................. ตาํ แหนง .............................................ตาํ แหนง เลขท่.ี ....................................................................... วทิ ยฐานะ.......................................................................................................................................... หนวยงานการศกึ ษา/หนว ยงาน.................................................อาํ เภอ/เขต....................................... สํานกั งานเขตพื้นทีก่ ารศกึ ษา....................................................สว นราชการ...................................... รบั เงินเดอื นอนั ดบั คศ. ..........................ข้ัน..............................บาท ขอมหี รอื เลอ่ื นเปน วทิ ยฐานะ............................................................................................................ 2. ผลการปฏิบตั ิงาน (ดานที่ 3) มีดงั นี้ (ใหรายงานขอมลู ตามหวั ขอทก่ี าํ หนดและแนบเอกสารหลกั ฐานอางองิ แตล ะขอ เพื่อประกอบการพิจารณาดว ย) สวนที่ 1 ผลการพัฒนาคณุ ภาพการนิเทศการศึกษา 1. ผลที่เกิดกบั ครู 1.1 คณุ ภาพในการจดั การเรยี นรูข องครู (ใหรายงานวา ครสู ามารถนําผลที่เกดิ จากการนิเทศการศกึ ษาของผขู อรบั การประเมนิ ไปพัฒนาการจัดการเรียนรู ไดผลสอดคลอ งกบั มาตรฐานการศกึ ษาชาตแิ ละมาตรฐานการเรยี นรอู ยางไร และ เปน ไปอยางตอ เนอื่ งจนเปน ท่ปี ระจักษ หรอื ไม อยา งไร) 1.2 ความพึงพอใจของครู สํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา/สวนราชการสํารวจความพึงพอใจของครูกลุมเปาหมาย ทั้งหมดท่ีมีตอกระบวนการนิเทศการศึกษาของผูขอรับการประเมิน จํานวน......................คน โดยมีผล การประเมนิ ความพงึ พอใจในปป จจุบัน ดงั นี้ มีความพงึ พอใจในระดับมากท่ีสุด จาํ นวน..........คน คดิ เปน รอ ยละ....................... มีความพงึ พอใจในระดบั มาก จาํ นวน..........คน คดิ เปนรอยละ....................... มีความพงึ พอใจในระดับปานกลาง จํานวน..........คน คิดเปนรอ ยละ....................... มีความพึงพอใจในระดับนอย จํานวน..........คน คดิ เปน รอยละ....................... มคี วามพึงพอใจในระดบั นอยทส่ี ดุ จํานวน..........คน คิดเปนรอ ยละ....................... สรุป รวมความพึงพอใจในระดบั มากและระดบั มากท่สี ุด จาํ นวน...........................คน คิดเปนรอยละ..................................

- 46 - 2. ผลท่เี กดิ กบั ผเู รยี น ผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี นของผเู รียน สถานศกึ ษาทเ่ี ปน กลุมเปา หมายจาํ นวน...................................................สถานศกึ ษา มผี ลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนสงู ข้นึ กวาปที่ผา นมาจาํ นวน............................สถานศึกษา 3. ผลท่เี กิดกับสถานศึกษา 3.1 สถานศึกษามกี ารพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา ใหรายงานวาสถานศึกษาท่ีเปนกลุมเปาหมายไดนําผลการนิเทศการศึกษาไปพัฒนา คุณภาพสถานศึกษาอยางมีประสิทธิภาพ จนเกิดผลการปฏิบัติที่ดีเลิศอยางไร และในปปจจุบันสถานศึกษา ที่เปนกลุมเปาหมายจํานวน.........................................สถานศึกษา นําผลการนิเทศการศึกษาไปพัฒนา คุณภาพสถานศึกษาอยางมีประสิทธิภาพ จนเกิดผลการปฏิบัติที่ดีเลิศจํานวน......................สถานศึกษา คิดเปนรอยละ................... 3.2 สถานศึกษาไดร ับการยอมรบั ใหรายงานวาสถานศกึ ษานําผลการนิเทศการศึกษาไปพฒั นาจนมผี ลงานเปน ทย่ี อมรับ อยา งไร และในปปจจบุ นั สถานศึกษานําผลการนเิ ทศการศกึ ษาไปพัฒนาจนมผี ลงานเปนท่ียอมรับ ในระดบั ประเทศหรือระดบั สากล จาํ นวน ................. สถานศกึ ษา ในระดบั เขตตรวจราชการหรือในระดบั ภาค จํานวน ..................สถานศึกษา ในระดบั เขตพนื้ ทกี่ ารศึกษาหรือสถาบนั การอาชวี ศกึ ษา หรือระดบั จังหวดั จาํ นวน ..................สถานศกึ ษา ในระดบั สถานศึกษา จํานวน ...................สถานศึกษา 4. ผลทเ่ี กิดกบั ระบบการจดั การศึกษาของสถานศึกษา 4.1 การจดั การศกึ ษาของสถานศกึ ษามีความสอดคลอ งกบั บริบทของชุมชนและสงั คม (ใหรายงานวาสถานศึกษาสามารถนําผลการนิเทศการศึกษาไปพัฒนาการจัดการศึกษา ใหสอดคลองกับสภาพปญหาความตองการของชุมชนและสังคม จนเปนท่ียอมรับของชุมชนและสังคม อยางกวางขวางและเปนแบบอยา งไดโ ดยปรากฏรอ งรอยคุณภาพอยางชัดเจนอยา งไร) 4.2 ความพงึ พอใจของผปู กครอง และชุมชน สํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา/สวนราชการ สํารวจความพึงพอใจของผูปกครอง และชุมชนท่ีมีตอกระบวนการนิเทศการศึกษาของผูขอรับการประเมิน จํานวน......................คน โดยมีผล การประเมินความพึงพอใจในปปจจุบัน ดงั น้ี มีความพงึ พอใจในระดับมากท่สี ุด จํานวน..........คน คิดเปน รอ ยละ....................... มคี วามพึงพอใจในระดับมาก จํานวน..........คน คิดเปนรอ ยละ....................... มีความพึงพอใจในระดับปานกลาง จํานวน..........คน คิดเปนรอ ยละ....................... มคี วามพงึ พอใจในระดบั นอ ย จาํ นวน..........คน คดิ เปน รอ ยละ....................... มคี วามพงึ พอใจในระดับนอยท่ีสดุ จาํ นวน..........คน คดิ เปน รอ ยละ....................... สรปุ รวมความพงึ พอใจในระดับมากและระดบั มากท่ีสดุ จาํ นวน............................คน คดิ เปน รอยละ..................................