Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore BD21252F-ED21-49B8-B15A-79116F2E8280

BD21252F-ED21-49B8-B15A-79116F2E8280

Published by thitima25251983, 2021-07-20 07:39:22

Description: BD21252F-ED21-49B8-B15A-79116F2E8280

Search

Read the Text Version

ต ร า สั ญ ลั ก ษ ณ ภ า ค เ ห นื อ

จงั หวัดตาก รปู สมเด็จพระนเรศวรมหาราชทรง หลงั่ ทกั ษิโณทกเหนอื คอชาง เมือ่ สมเด็จพระนเรศวรมหาราช ทรงยกกองทพั ไปชวยพระเจาหงสาวดรี บ องั วะนั้น พระมหาอุปราชเมืองพมา ส่ังใหทหารคูใ จคอยตี ขนาบ และ ปลงพระชนมเ สียใหได ความแตกรถู ึงพระกรรณสมเด็จพระนเรศวรที่ เมืองแครง จงึ ทรงประชมุ ชาวเมือง และบรรดาแมท ัพนายกอง เมื่อเดือน 2 ปวอก พ.ศ. 2127 ทรงหลัง่ นาํ้ ทกั ษโิ ณฑกเหนือแผน ดิน ประกาศอิสระ ภาพไมย อมขน้ึ กับเมอื งองั วะ อกี ตอไป จงั หวดั ตากเปนดา นแรก ท่ี สมเดจ็ พระนเรศวรทรงชา ง ยกกองทัพกลบั เขามาถงึ ราชอาณาจกั รไทย เชนเดยี วกับท่ีเมอื งนเ้ี คยเปน ทางผาน ทชี่ าวอินเดียเดนิ ทางเขาเมอื งไทยใน สมยั โบราณ

จงั หวดั นาน รปู พระธาตแุ ชแ หงบนหลัง โคอสุ ภุ ราช ดวงตราแบบใหมน้ี นาน ยังคงไวซ ่งึ สญั ลกั ษณแ ละความหมาย ของตราเมอื งทเี่ คยใชอยเู ดิม ไดป รับปรงุ โดยเปลย่ี น รูปโคอุศภุ ราช เสยี ใหม ใหแลดสู งา งามและเพ่มิ พระบรมธาตุเจดยี  อันเปน ปชู นีย สถานเกา แกท ่ีสาํ คญั และเปน ศนู ยร วมจิตใจ คบู า นคเู มืองของนา น คอื เจดยี พ ระธาตุแชแ หง และปรับปรุงลายชอกนกประกอบพน้ื ชองไฟใหแลดูเปนระเบยี บมากยง่ิ ข้ึน สว นการใหสี กําหนดใชต าม ความเหมาะสมสวยงามทางดานศิลปะ

จังหวดั พะเยา รปู พระเจา ตนหลวงวัดศรโี คมคํา ประทับเหนือกวา นพะเยา มชี อ รวงขา ว ประดบั อยสู องขา ง เบือ้ งบนมีลาย กนกเปลว 7 ลายลอยอยู ความรุงเรอื งของ 7 อาํ เภอ(เดมิ ) ไดแก อําเภอ เมือง ดอกคาํ ใต แมใ จ เชียงคาํ เชียงมวน ปง และ จนุ เบื้องลา งรมิ ของดวงตราเปนกวานพะเยาซึ่งมชี ื่อ เสียง เปน รจู ักกนั ดี และมี ชอรวงขา ว ประกอบอยู ท้งั สองขาง ซ่ึงหมายถึง ลกั ษณะของความเปน อขู าว อูนํ้า

จังหวดั พษิ ณโุ ลก รูปพระพทุ ธชินราช พระคบู า นคู เมืองพษิ ณโุ ลก ซง่ึ เปนพระพุทธรปู ท่ีมีลักษณะงดงามท่สี ุดของ ประเทศไทย สรางขึน้ เมอ่ื พ.ศ. 1900 ปจ จบุ ัน ประดษิ ฐานอยู ณ พระวหิ าร วัดพระศรีรัตน มหาธาตวุ รมหาวิหาร ในเมอื งพิษณุโลกเปน พระพุทธรูปศกั ดิส์ ิทธคิ์ ูบา นคูเมอื ง จึงนํามาเปน สัญลกั ษณข องจังหวดั จังหวัดพษิ ณโุ ลก

จงั หวดั ลาํ ปาง รูปไก ยืนอยูใ นประตูมณฑป วัดพระธาตุลําปางหลวง ไกเ ผือก เปน สญั ลักษณทม่ี ีมาต้ังแตสมยั เมอื งกุกุตตนคร (ตํานานเมือง ลาํ ปาง) และไดกลายเปน สญั ลกั ษณส ําคญั โดยปรากฏเคร่ืองหมายไก เผอื ก คกู บั ดวงตราแผน ดนิ ในศาลากลางเมืองลาํ ปาง ต้งั แตส มยั เร่มิ เปลยี่ นทที่ ําการเมืองจาก \"เคาสนามหลวง\" เปน ศาลากลางเมอื งนคร ลาํ ปางข้นึ ในสมยั เร่มิ สรา งศาลากลางหลงั แรก เม่ือ พ.ศ. 2452 ซมุ มณฑปท่ีวดั พระธาตลุ ําปางหลวง เปนศลิ ปกรรมลานนาท่ี งดงามมาก วัดพระธาตลุ ําปางหลวง เปนวัดคบู า นคูเมืองลําปาง มอี งค พระเจดียทีบ่ รรจพุ ระบรมเกษาธาตุของพระพทุ ธเจา เปนที่เคารพสักกา ระของพุทธศาสนิกชนทว่ั โลก

จังหวัดลาํ พูน รูปพระบรมธาตุหริภุญไชยา พระบรมธาตุหรภิ ญุ ชัยตามตํานานกอ สรา งข้ึน ราว พุทธศตวรรษที่ ๑๗ ในสมยั พญาอาทติ ย ราช กษัตริยแ หงราชวงศ จามเทวีวงศ เพือ่ ประดษิ ฐานพระบรมสารรี ิกธาตทุ ป่ี รากฏขน้ึ บน ท่ดี นิ ในเขตพระราชฐานเดิม ลักษณะของพระ บรมธาตุฯ

จงั หวดั กาํ แพงเพชร รปู กําแพงเมืองมใี บเสมาประดับเพชร ความสวยงาม ความแข็งแกรงมคี ณุ คา เยย่ี ง เพชรของกาํ แพงเมือง ประกายเพชรแสดงถงึ ความรุงโรจนข องบานเมอื งมาแตโบราณกาล - รปู วงกลม หมายถึง ความกลมเกลียว สมัครสมานสามัคครี กั ใครม ีนํ้าใจเปนอันหน่งึ อันเดียวกันของผคู นชาวกําแพงเพชรท้งั มวล

จังหวัดเชยี งราย รูปชางสขี าวกบั เมฆ ลายทข่ี อบตรามี รปู นาคเกีย้ ว นิมติ ของความรงุ เรอื งในอดีต เพราะพญามงั ราย เคยใชช างเปน กาํ ลังสาํ คญั ในการทําศกึ ปราบศตั รจู น ไดชยั ชนะ นอกจากน้ี ชางยงั เปนชนวนใหพ ญามัง รายมากอ รา งสรา งเมอื งน้ขี นึ้ อีกดวย โดยวากนั วา หายไปจากหลักที่ผูกไว พญามงั รายติดตามไปจนถึง ภูมิประเทศอนั บรบิ ูรณร มิ นํา้ กก

จงั หวดั เชียงใหม รูปชางเผอื กยืนอยูใน เรือนแกว ชา งทเ่ี จาผูครองนครเชียงใหม นําทลู เกลาถวาย แด พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธเลิศหลา นภาลยั และไดข ึ้นระวางเปนชา งเผือกเอก ในรชั กาล พระองค เรอื นแกว หมายถึง ดนิ แดนที่พระพุทธ ศาสนาไดมาต้ังมนั่ เจรญิ รงุ เรอื ง จนเคยเปน สถานที่สาํ หรับทําสงั คายนา

จังหวัดแพร รูปพระธาตชุ อแฮบนหลังมา นามเมือง และคณะกรรมการ จงั หวดั แพร ไดเ สนอรูปมา ยืน เปน ดวงตรา ประจําจงั หวัด และไดนาํ ภาพโบราณ สถาน ทส่ี ําคัญของจงั หวดั กค็ อื พระ ธาตชุ อแฮ มาประกอบอยูบ นหลงั มา ดวย

จังหวัดแมฮอ งสอน รูปชางเลน นํ้า การฝก ชางปาใหรจู ักการบงั คับบัญชาในการรบและงานดานตาง ๆ สาเหตทุ ี่ใชรูปชางในทอ งนา้ํ เปน ตราประจําจงั หวดั นน้ั ก็เพราะเปนทีม่ า ของการตัง้ เมอื งแมฮ อ งสอน โดยเร่ิมจากการที่เจา แกวเมืองมาออกจับชาง ใหเจา เมืองเชยี งใหม (พ.ศ. ๒๓๖๘ – ๒๓๘๙) และไดร วบรวมชายไทยใหญ ใหม าตั้งบา นเมืองเปน หลักแหลงขนึ้ ๒ แหง มหี วั หนาเปน ผูปกครอง คอื ท่บี านปางหมู และบานแมฮ อ งสอน สาเหตทุ เ่ี รยี กวา แมฮองสอนกเ็ พราะวา ไดมาตัง้ คอกฝกชาง ณ บริเวณลําหวยแหง นี้นัน่ เอง

จงั หวัดสุโขทยั รปู พอขุนรามคาํ แหงมหาราช ประทับบนพระแทน มนงั คศลิ าอาสน ภาพพระบรมรูปพอขุนรามคาํ แหงมหาราช พระ มหากษตั รยิ แ หงราชวงศพ ระรวง ประทบั บนพระ แทน มนงั คศิลา ปกครองไพรฟาขา แผน ดนิ ใหไดรับ ความ รม เย็นเปนสุข และทรงบริหารราช อาณาจักรแหงน้ใี หเ จรญิ รุง เรอื งที่สุด

จงั หวดั อุตรดิตถ รปู มณฑปประดษิ ฐานพระแทนศิลาอาสน มีลวดลายกนกประกอบ ศลิ าอาสน ซ่งึ ชาวเมอื งในสมยั น้ันไดสรางไว เปนพุทธ บูชา เพ่อื ระลึกถึง พระพทุ ธคณุ พระธรรมคณุ พระสงั ฆคณุ

จดั ทาํ โดย น.สฐติ มิ า สมุดความ เลขท1่ี 2 ปวช1/1 การทองเทยี่ ว เสนอ คุณครู พรชนก มหาวรรณตัน


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook