Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore โครงสร้าง-วิชาภาษีเงินได้บุคคลธรรมดากับการบัญชี _1_

โครงสร้าง-วิชาภาษีเงินได้บุคคลธรรมดากับการบัญชี _1_

Published by patthama.noom, 2018-11-12 07:13:48

Description: โครงสร้าง-วิชาภาษีเงินได้บุคคลธรรมดากับการบัญชี _1_

Keywords: โครงสร้าง-วิชาภาษีเงินได้บุคคลธรรมดากับการบัญชี _1_

Search

Read the Text Version

การจัดทาํ โครงสรางรายวิชา รายวิชาภาษเี งินไดบ ุคคลธรรมดากบั การบัญชี รหัสวชิ า 2201-2005 ระดบั ชั้นมัธยมศกึ ษาปท ่ี 5 กลมุ สาระการเรียนรกู ารงานอาชพี และเทคโนโลยี จัดทาํ โดย นางสาวปท มา ปลง่ั เปลื่อง ตาํ แหนง ครผู ชู ว ย โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห 31 ตําบลชา งเคิง่ อาํ เภอแมแ จม จงั หวัดเชียงใหม สาํ นักบริหารงานการศกึ ษาพเิ ศษสาํ นักงานการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

รายวิชาภาษีเงินไดบ คุ คลธรรมดากับการบญั ชีรหัสวิชา 2201-2005 ระดบั ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที่ 5 ภาคเรียนท่ี 1/2561 จาํ นวน 60 ชัว่ โมง จาํ นวน 1.5 หนว ยกติคําอธบิ ายรายวิชา ศึกษาและปฏิบัติเก่ียวกับผูมีหนา ทีเ่ สียภาษีเงนิ ไดบคุ คลธรรมดา เงินไดพงึ ประเมนิ เงนิ ไดพ ึงประเมินทีไ่ ดรับการยกเวน การหักคาใชจาย คา ลดหยอน เงินบรจิ าค การคํานวณภาษี วธิ ีการกรอกแบบและกาํ หนดเวลาในการยน่ื แบบแสดงรายการภาษีเงนิ ไดบคุ คลธรรมดา ภาษหี กั ณ ทจี่ า ย ภาษมี ลู คา เพ่ิม และการบนั ทกึ บุญชีตามประมวลรษั ฎากรผลการเรียนรู 1. มคี วามเขาใจหลักการบนั ทึกบัญชี วิธีการคํานวณ และข้ันตอนการยื่นแบบแสดงรายการเสยี ภาษีเงนิ ไดบ ุคคลธรรมดา 2. มที ักษะปฏบิ ตั งิ านบัญชีเกี่ยวกับภาษีเงนิ ไดบุคคลธรรมดา ตามทก่ี ฎหมายกําหนด 3. มีกจิ นิสยั มรี ะเบียบ ละเอียดรอบคอบ ซื่อสตั ย มีวินยั ตรงตอเวลา และมเี จตคติที่ดีตอวชิ าชพี บญั ชีรวมท้งั หมด 3 ผลการเรียนรู

ผงั มโนทัศน รายวิชา ภาษีเงินไดบ ุคคลธรรมดากบั การบญั ชีรหสั วิชา 2201-2005 ระดบั ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปท ี่ 5 ภาคเรียนท่ี 1 ปการศกึ ษา 2561 ชื่อหนวยที่ 2 การหักคา ใชจ าย คาลดหยอน และเงนิ บริจาค จํานวน 6 ชวั่ โมง : 5 คะแนนชือ่ หนวยที่ 1 ผูมีหนาทเ่ี สียภาษเี งินไดบุคคล ชอื่ หนวยท่ี 3 วิธีคาํ นวณภาษี เงนิ ไดบ คุ คล ธรรมดา และเงนิ ไดพงึ ประเมิน ธรรมดา และการออกแบบแสดงรายการ จาํ นวน 10 ช่ัวโมง : 5 คะแนน จํานวน 15 ชั่วโมง : 10 คะแนนสอบปลายภาค รายวชิ าภาษีเงินไดบ ุคคล 20 คะแนน ธรรมดากบั การบญั ชี ชอื่ หนวยที่ 4 ภาษีเงินไดห กั ณ ท่ีจาย ชัน้ มัธยมศกึ ษาปท ่ี 4 และการบันทึกบญั ชี สอบกลางภาค 20 คะแนน จํานวน 60 ชว่ั โมง จาํ นวน 15 ชัว่ โมง : 20 คะแนน ช่อื หนวยท่ี 5 ภาษีมลู คา เพม่ิ และการ บันทกึ บญั ชี จํานวน 12 ชั่วโมง : 10 คะแนน

โครงสรา งรายวชิ ารายวชิ าภาษเี งินไดบ คุ คลธรรมดากับการบญั ชีชือ่ หนวยการเรยี นรูท ่ี 1 เรอ่ื ง ผูมหี นา ท่เี สียภาษเี งนิ ไดบุคคลธรรมดาและเงินไดพ งึ ประเมิน ช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 5 ภาคเรียนท่ี 1 ปการศกึ ษา 2561ท่ี ชอ่ื หนวย รหสั มฐ.ตวั ชี้วดั /ผลการเรียนรู สาระสําคัญ เวลา นาํ้ หนกั คะแนน คะแนน + สถานศกึ ษา (ช.ม.) รวม1. ผูมีหนาท่ีเสีย 1. มคี วามเขา ใจหลักการบนั ทึกบญั ชี + หลกั ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง K PA ภาษีเงนิ ได วิธีการคาํ นวณ และขนั้ ตอนการยืน่ แบบ + สวนพฤกษศาสตรโรงเรยี น 12 10 บคุ คลธรรมดา แสดงรายการเสียภาษเี งนิ ไดบ คุ คล พุทธิพสิ ัย ทักษะ เจตพสิ ัย และเงินไดพึง ธรรมดา ภาษี (องั กฤษ: tax, มาจากภาษาละตนิ taxo, \"ขา (ความร)ู พิสยั (เจตคติ) ประเมนิ ประเมนิ \") เปนเงินหรอื สิ่งของอ่นื ท่ีรฐั หรอื สถาบนั ปฏิบัติหนา ทเี่ ทียบเทารฐั เรียกเก็บจากผเู สยี ภาษซี ่ึง (ทักษะ) อาจเปน ปจเจกบุคคลหรือนติ ิบคุ คลกไ็ ดกฎหมายมี บทลงโทษผทู ่ไี มเ สียภาษรี ะบอบต่ํากวา รฐั 541 (subnational entity) จํานวนมากยงั มีการเรยี กเกบ็ ภาษเี ชนกันภาษีประกอบดว ยภาษีทางตรงและภาษี ทางออ มและอาจจา ยเปน รูปตวั เงินหรือการใชแรงงาน ทีเ่ ทยี บเทา ประวัติการจดั เก็บภาษอี ากร ตามหลกั ฐานในประวัตศิ าสตรท่อี างอิงไดเกย่ี วกับ ประวัตกิ ารจดั เก็บภาษีอากรของชาติไทยคือศลิ าจารึก สมยั พอ ขนุ รามคาํ แหงมหาราชซ่ึงอยูใ นยุคสมัยกรงุ สุโขทัยแตค วามเปนมากอ นยุคสโุ ขทยั ไดเ คยมีการ วิเคราะหโดยพิจารณาถึงลักษณะประวัตศิ าสตรก าร ปกครองของชาติไทยซ่ึงคาดวาการจัดเก็บภาษอี ากร นาจะเปนววิ ฒั นาการมาจากผลของการกอสราง ราชอาณาจักรในยคุ แรกๆของชนชาติไทยทต่ี องมีการ

รบพุงเปน สงครามกบั เพ่ือนบานใกลเ คยี งเมอื่ มีการรบชนะกจ็ ะมีการกวาดตอนผคู นและทรพั ยส นิ หลงัจากนนั้ กจ็ ะใหประเทศผแู พท ี่อยูภายใตการปกครองจดั สง เครอ่ื งบรรณาการมามอบใหซ่ึงลกั ษณะการไดมาซึง่ รายไดและทรัพยส นิ ขา งตน เปนการนํารายไดจ ากนอกราชอาณาจักรเขามาในราชอาณาจักรซ่งึ อาจถือวาเปนรูปแบบการจัดเกบ็ ภาษีประเภทหนงึ่ภาษีเงนิ ไดบ ุคคลธรรมดาความหมายภาษีเงินไดบุคคลธรรมดาคือภาษีที่จัดเก็บจากบุคคลท่ัวไปหรือจากหนวยภาษีท่ีมีลักษณะพิเศษตามท่ีกฎหมายกําหนดโดยปกติจัดเก็บเปนปรายไดท่ีเกิดข้ึนในปใดๆผูมีรายไดมีหนาท่ีตองนําไปแสดงรายการตนเองตามแบบแสดงรายการภาษีท่ีกําหนดภายในเดือนมกราคมถึงมีนาคมของปถัดไปสําหรับผูมีเงินไดบางกรณีกฎหมายยังกําหนดใหย่ืนแบบฯเสียภาษีตอนคร่ึงปสําหรับรายไดท่ีเกิดขึ้นจริงในชวงครึ่งปแรก เพอื่ เปนการบรรเทาภาระภาษีทต่ี องชําระและเงนิไดบางกรณีกฎหมายกําหนดใหผูจายทําหนาท่ีหักภาษีณ ท่ีจายจากเงินไดที่จายบางสวนเพื่อใหมีการทยอยชําระภาษีขณะท่มี เี งนิ ไดเกดิ ขึ้นอกี ดวยผมู หี นา ที่เสยี ภาษเี งินไดบ ุคคลธรรมดา1. บุคคลธรรมดาคือมนุษยท่ีมีสภาพเปนบุคคลตามกฎหมาย2. หางหุนสามญั และคณะบคุ คลทม่ี ใิ ชนติ บิ ุคคล3. ผูท ถ่ี งึ แกค วามตาย

4. กองมรดกทย่ี งั ไมไดแ บงเงินไดพึงประเมินคือเงินไดที่กฎหมายบังคับใหเราตองเอามาเสียภาษีซ่ึงโดยทั่วไปแลวเงินไดที่เราไดรับจะเปนเงินไดพึงประเมินแทบทั้งส้ินเวนแตจะมีกฎหมายจะเขียนเอาไวอยางชัดเจนวาเงินไดกอนนั้นเปนเงินไดทีไ่ ดรับยกเวน ภาษีความหมายของเงินไดพึงประเมินมีบัญญัติไวในมาตรา39 แหงประมวลรัษฎากรหมายความวา \"เงินไดอันเขาลักษณะพึงเสียภาษีในหมวดนี้เงินไดที่กลาวนี้ใหหมายความรวมตลอดถึงทรัพยสินหรือประโยชนอยางอื่นที่ไดรับซึ่งอาจคํานวณไดเปนเงินเงินคา ภาษีอากรท่ีผูจายเงินหรือผูอ่ืนออกแทนใหสําหรับเงินไดประเภทตางๆตามมาตรา 40 และเครดิตภาษีตามมาตรา 47ทวดิ วยแนวทางปฏิบัติเก่ียวกับการจัดเก็บภาษีเงินไดบุคคลธรรมดาจากสามแี ละภริยาลงวันท่ี 19 กนั ยายน 2555ขอ 2 การยืน่ รายการเงินไดพึงประเมิน 2.1 การยื่นรายการและเสียภาษีแยกตา งหากจากกัน 2.1.1 สามีและภริยาตางฝายตางมีหนาท่ียืน่ รายการและเสยี ภาษใี นนามตนเอง 2.1.2 สําหรับเงินไดพึงประเมินที่ไมอาจแยกไดวา เปนของสามีหรือภริยาแตละฝายจํานวนเทาใด 2.2 การเลือกย่ืนรายการและเสียภาษี

รวมกันสามีและภริยาอาจเลือกย่ืนรายการและเสียภาษีโดยเลือกเอาเงินไดทุกรายการไปรวมกันและยื่นเสียภาษีในนามของฝายใดฝายหนึ่งหรือจะเลือกแยกเฉพาะเงินไดตามมาตรา 40 (1)ขอ 3 การหักคา ใชจ า ยและคา ลดหยอน 3.1 การหักคาใชจายใหสามีและภริยาตางฝายตางหักคาใชจายไดตามอัตราท่ีกําหนดไวสําหรับเงนิ ไดแ ตล ะประเภท (ตามมาตรา 42 ทวิถึงมาตรา 46แหง ประมวลรัษฎากร) 3.2 การหักลดหยอนตามมาตรา 47 แหงประมวลรัษฎากร 3.2.1 การหกั ลดหยอนสาํ หรับผมู ีเงนิ ไดและสามีหรอื ภรยิ าของผมู เี งนิ ไดตามมาตรา 47 (1) (ก)และ (ข) แหงประมวลรษั ฎากร(1) กรณีมีเงินไดฝายเดียวใหผูมีเงินไดหักลดหยอนสวนตัวได 30,000 บาทและหักลดหยอนสามีหรือภริยาของผมู ีเงนิ ไดอกี 30,000 บาท(2) กรณมี ีเงนิ ไดท้งั สองฝา ย 3.2.2 การหกั ลดหยอนบุตรและการหักลดหยอนการศึกษาบุตรตามมาตรา 47 (1) (ค) (ฉ)แหง ประมวลรษั ฎากร

โครงสรางรายวิชา รายวชิ าภาษีเงนิ ไดบุคคลธรรมดากับการบญั ชชี ่อื หนว ยการเรียนรทู ี่ 2 เรอ่ื งการหักคาใชจา ยคา ลดหยอนและเงินบรจิ าค ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที่ 5 ภาคเรียนที่ 1 ปก ารศกึ ษา 2561 สาระสําคญั น้ําหนกั คะแนนท่ี ช่ือหนวย รหสั มฐ.ตัวช้ีวดั /ผลการเรยี นรู + สถานศึกษา เวลา K P A คะแนน + หลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง (ช.ม.) รวม2. การหักคา ใชจ าย พทุ ธพิ สิ ยั ทกั ษะพสิ ยั เจตพสิ ัย คา ลดหยอนและ + สวนพฤกษศาสตรโ รงเรยี น (ความรู) (ทักษะ) (เจตคติ) 5 เงนิ บรจิ าค 1. มคี วามเขาใจหลกั การบันทึกบัญชี วธิ กี าร วิธีการหกั คาใชจา ยภาษีเงนิ ไดบ คุ คลธรรมดา 6 131 คํานวณ และข้ันตอนการยนื่ แบบแสดง มาตรา 40 (1)-(4) สามารถหกั เปน การเหมาไดอ ยางเดยี วซง่ึ รายการเสียภาษีเงินไดบุคคลธรรมดา เปน แบบมเี พดานการหักและมีอัตราเดยี วคอื 40% แตไ มเกิน 60,000 บาท 1. เงนิ ไดต ามมาตรา 40 (1) + (2) รวมกนั หักได 40% แตไมเ กิน 60,000 บาท 2. เงินไดต ามมาตรา 40 (3) เงนิ ลขิ สิทธ์ิ (เชน การ เขียนนิยาย) ตัวเดยี วเทานัน้ ใน (3) ท่หี ักได 40% แตไมเ กนิ 60,000 บาทสว นเงนิ สทิ ธิบัตรเคร่อื งหมายการคา หรืออะไรก็ แลว แตห ักไมไดเลยซง่ึ จะเหน็ วากฎหมายไมส นบั สนุนใหหัก เร่อื งทรพั ยส นิ ทางปญ ญา 3. เงินไดต ามมาตรา 40 (4) หกั อะไรไมไดเลยไมว า จะเปนประเภทใดกต็ าม มาตรา 40 (5)-(8) เปนเงินประเภทที่หกั ได 2 รูปแบบซงึ่ ผูเ สยี ภาษีเลือกไดว า จะหักแบบไหน 1. หกั เปน การเหมาแบบไมม เี พดาน (ควรเลอื กถา ไม ตองการวุน วาย) 2. หกั ตามความจาํ เปน และตามสมควร

การหักลดหยอ นหมายถึงรายการตางๆท่ีกฎหมายไดกําหนดใหหักไดเ พ่ิมขึ้นหลงั จากไดห ักคาใชจ า ยแลวเพ่ือเปนการบรรเทาภาระภาษีใหแกผ ูเสียภาษีกอ นนําเงนิ ไดท ี่เหลือซึ่งเรียกวาเงนิ ไดส ทุ ธิไปคาํ นวณภาษตี ามบัญชอี ัตราภาษีเงนิ ไดบุคคลธรรมดารายการลดหยอนภาษีเงินไดบ คุ คลธรรมดา1. ลดหยอ นสว นบคุ คล2. ลดหยอนจากคสู มรสทไี่ มมีเงินได3. ลดหยอนคาเล้ียงดบู ุตรและการศกึ ษาบุตร4. ลดหยอ นจากดอกเบ้ยี เงินกูยมื5. ลดหยอนจากคาเล้ยี งดบู ิดา-มารดา6. ลดหยอ นจากประกนั ชีวติ7. ลดหยอ นจากเบ้ยี ประกันสุขภาพของบดิ า-มารดา8. ลดหยอ นจากกองทนุ รวมหุนระยะยาวหรอื Long termequity fund (LTF)9. ลดหยอนจากกองทนุ รวมเพอื่ การเล้ียงชีพ (RetirementMutual Fund หรือRMF)10. ลดหยอ นจากกองทนุ บําเหนจ็ บํานาญขาราชการ11. กองทุนสาํ รองเลยี้ งชีพ12. ลดหยอ นจากกองทุนการออมแหงชาติ13. ลดหยอ นจากการจายประกนั สงั คม14. ลดหยอ นจากมาตรการกระตนุ อสังหาริมทรพั ย15. ลดหยอ นจากคาเลยี้ งดคู นพกิ ารหรือคนทุพพลภาพ16. ลดหยอนจากเงนิ บริจาค17. ลดหยอนจากการทอ งเที่ยวภายในประเทศ

18. ลดหยอนจากการซือ้ สนิ คาและบรกิ ารในชว งวันสงกรานต19. ลดหยอ นจากการซื้อสนิ คาโอทอป (OTOP)20. ลดหยอนจากการทองเที่ยวภายในประเทศชว งเดือนธันวาคม21. ลดหยอ นจากมาตรการชอปชว ยชาติ 2559

โครงสรางรายวชิ ารายวิชาภาษเี งินไดบ ุคคลธรรมดากับการบญั ชชี ่อื หนวยการเรียนรทู ี่ 3 เรื่องวธิ คี ํานวณภาษีเงินไดบ ุคคลธรรมดาและการออกแบบแสดงรายการ ชัน้ มัธยมศกึ ษาปท ี่ 5 ภาคเรียนท่ี 1 ปก ารศึกษา 2561 สาระสําคญั น้าํ หนักคะแนน KPAท่ี ชือ่ หนวย รหสั มฐ.ตวั ชว้ี ัด/ผลการเรยี นรู + สถานศกึ ษา เวลา คะแนน พทุ ธพิ สิ ยั ทกั ษะพิสัย เจตพสิ ัย รวม + หลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง (ช.ม.) (ความร)ู (ทกั ษะ) (เจตคติ) 15 + สวนพฤกษศาสตรโรงเรียน 5553. วธิ ีคาํ นวณภาษี 1. มีความเขาใจหลักการบนั ทึกบญั ชี วธิ ีการ การยื่นแบบแสดงรายการภาษีเงินไดบ ุคคลธรรมดามี 2 15 เงินไดบคุ คล คาํ นวณ และขน้ั ตอนการยนื่ แบบแสดง ธรรมดาและ รายการเสยี ภาษเี งนิ ไดบ คุ คลธรรมดา ระยะคือ การออกแบบ แสดงรายการ 1. \"ภาษีเงนิ ไดบ คุ คลธรรมดาคร่ึงป\" เปน การย่นื แบบแสดงรายการเงินไดเ ฉพาะเงินไดพ งึ ประเมนิ ประเภทท่ี 5,6,7 หรือ 8 ท่ีไดรบั ตง้ั แตเ ดือนมกราคมถึง เดอื นมิถุนายนไมวา จะมีเงนิ ไดป ระเภทอน่ื รวมอยูดวย หรือไมกต็ ามโดยยนื่ ภายในเดือนกันยายนของปภ าษี นน้ั และภาษีทเ่ี สยี นนี้ าํ ไปเปน เครดติ หักออกจากภาษี ส้ินปได 2. \"ภาษีเงินไดบ คุ คลธรรมดาสนิ้ ป\" เปน การยน่ื แบบแสดงรายการเงินไดพ งึ ประเมินท่ไี ดร ับแลว ใน ระหวางปภาษโี ดยยนื่ ภายในเดอื นมนี าคมของปถัดไป การคาํ นวณภาษตี ามวิธที ี่ 1 เงนิ ไดพ ึงประเมินทุกประเภทรวมกันตลอดปภาษxี xxx (1) หักคาใชจ ายตามท่กี ฎหมายกําหนดxxxx (2) (1)-(2) เหลือเงินไดหลงั จากหักคาใชจ ายxxxx (3)

หกั คาลดหยอ นตางๆ (ไมร วมคาลดหยอ นเงินบริจาค)ตามทีก่ ฎหมายกําหนด xxxx (4)(3)-(4) เหลือเงินไดหลังจากหักคา ลดหยอ นตางๆxxxx(5)หักคา ลดหยอ นเงนิ บริจาคไมเกินจาํ นวนท่กี ฎหมายกําหนด xxxx (6)(5-6) เหลอื เงนิ ไดสุทธิxxxx (7)นาํ เงินไดส ทุ ธติ าม (7) ไปคาํ นวณภาษีตามอตั ราภาษีเงินไดบุคคลธรรมดาจาํ นวนภาษีตามการคํานวณภาษีวธิ ีที่ 1 xxxx (8)ผมู ีหนา ที่เสียภาษเี งนิ ไดบุคคลธรรมดา1. ผูมเี งนิ ไดเ ปนผมู ีความสามารถ หรอื ผูท่บี รรลุนิติภาวะ2. กรณีผูมีเงินไดเ ปน ผมู ีคูสมรสโดยสามีหรือภรยิ าเปนผมู เี งนิ ได3. กรณผี ูมีเงินไดเ ปน ผมู คี สู มรสและตางฝา ยตา งมีเงินได 4. กรณผี มู ีเงนิ ไดเปน ผูเยาวใ หผแู ทนโดยชอบธรรมเปน ผูมหี นา ท่ยี นื่ รายการและเสยี ภาษเี งนิ ไดแทนผูเยาว 5. กรณผี มู ีเงนิ ไดเ ปน ผูที่ศาลสั่งใหเปนคนไรความสามารถใหผ อู นบุ าลเปนผูมีหนา ทยี่ ื่นรายการและเสยี ภาษเี งินไดแทนผูม เี งินไดดังกลา ว 6. กรณีผูมเี งินไดเปนผทู ศ่ี าลสั่งใหเปนคนเสมอื นไรค วามสามารถ

7. กรณีผมู เี งินไดเ ปน ผอู ยใู นตางประเทศ 8. กรณีผมู ีเงนิ ไดเปน บุคคลทตี่ ัง้ ตวั แทนจัดการทรพั ยส ินหรอื ผูรบั ประโยชนจากทรัสต 9. กรณีผูมีเงนิ ไดดงั กลาวขา งตนซง่ึ มชี วี ิตอยูตลอดปภ าษแี ตไ ดถงึ แกความตายกอ นท่ีจะไดมกี ารยื่นรายการและเสยี ภาษีเงินไดวธิ ีการชําระภาษี1.ชําระดว ยเงนิ สด2.ชาํ ระดวยบัตรอิเล็กทรอนกิ ส3.ชาํ ระดวยเชค็ หรอื ดราฟตการขอผอ นชาํ ระภาษีงวดที่ 1 ชาํ ระพรอ มกับการยืน่ แบบแสดงรายการภายในวนั ที่ 30 กันยายนหรอื วันที่ 31 มนี าคมงวดท่ี 2 ชาํ ระภายใน 1 เดอื นนับแตวันทีต่ องชาํ ระงวดที่ 1งวดท่ี 3 ชาํ ระภายใน 1 เดอื นนับแตวันทต่ี อ งชําระงวดท่ี 2ถา ภาษงี วดใดงวดหนง่ึ มไิ ดช าํ ระภายในกําหนดเวลาดงั กลา วผเู สยี ภาษีหมดสิทธทิ ี่จะชาํ ระภาษเี ปนรายงวดและตอ งเสียเงนิ เพิ่มในอตั รารอยละ 1.5 ตอเดอื นหรือเศษของเดือนของเงินภาษงี วดทเี่ หลือ

โครงสรา งรายวชิ า รายวิชาภาษีเงินไดบุคคลธรรมดากับการบญั ชชี อ่ื หนว ยการเรียนรูที่ 4 เรือ่ งภาษีเงนิ ไดห ัก ณ ที่จายและการบนั ทกึ บญั ชี ชน้ั มัธยมศกึ ษาปท ี่ 5 ภาคเรียนที่ 1 ปการศกึ ษา 2561 สาระสําคญั น้ําหนกั คะแนนที่ ชอื่ หนวย รหสั มฐ.ตัวชว้ี ดั /ผลการเรยี นรู + สถานศึกษา เวลา K P A คะแน + หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง (ช.ม.) นรวม4. ภาษีเงนิ ไดหัก พุทธิพิสยั ทักษะพิสัย เจตพิสัย ณ ที่จา ย และ + สวนพฤกษศาสตรโ รงเรยี น (ความรู) (ทักษะ) (เจตคติ) 20 การบันทึก บัญชี 2. มีทักษะปฏบิ ตั งิ านบัญชีเก่ียวกับ ภาษเี งินไดห ัก ณ ทจี่ าย คอื 15 5 10 5 ภาษีเงินไดบ คุ คลธรรมดา ตามท่ี จาํ นวนเงินท่กี ฎหมายกําหนดใหผ จู ายเงนิ ไดพ ึง กฎหมายกาํ หนด ประเมินจะตอ งหักออกจากเงินไดกอนจา ยใหแ กผูรบั ทุก คราว วัตถุประสงคข องการหกั ภาษเี งินได ณ ทีจ่ าย การหักภาษีเงนิ ได ณ ท่ีจา ยมวี ตั ถุประสงคด ังนี้ (กลมุ นกั วชิ าการภาษีอากร, 2547: 58) 1.1 เพือ่ บรรเทาภาระการเสียภาษีใหแกผ ูรบั เงนิ ได ซ่ึง ไมตองเสียภาษีเงนิ ไดในคราวเดียวกันเปนจํานวนมากเมือ่ ถงึ กาํ หนดเวลายื่นรายการเสียภาษี แตใหเสยี ภาษีเปน คราว ๆ ไปตามจาํ นวนเงินที่ไดร บั แตล ะคราว 1.2 เพื่อใหรัฐบาลมีรายไดเขาคลงั อยางสมํ่าเสมอ ทาํ ให รฐั บาลสามารถใชจ า ยเงินใน การดําเนินงานเพอื่ ใหบ รรลุ เปา หมายตามแผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ อนั จะกอใหเกดิ สภาพคลองและลดภาระเงินตงึ ตวั ในระบบ เศรษฐกจิ ของประเทศ 1.3 เพ่ือลดแรงกดดันในการหลีกเลี่ยงหรือพยายาม หลีกเล่ยี งการเสยี ภาษอี ากร และลดภาระหนา ท่ใี นการ

ตรวจสอบภาษีหรือการติดตามจดั เก็บภาษใี นภายหลงักฎหมายท่ีเก่ยี วขอ งกับการหกั ภาษเี งนิ ได หกั ณ ท่ีจาย กฎกระทรวงฉบบั ท่ี 144 (พ.ศ. 2522)ออกตามความในประมวลรษั ฎากรวา ดว ยภาษีเงินได กฎกระทรวงฉบบั ท่ี 229 (พ.ศ. 2544)ออกตามความในประมวลรษั ฎากรวา ดวยภาษีเงนิ ได กฎกระทรวงฉบับที่ 234 (พ.ศ. 2544)ออกตามความในประมวลรัษฎากรวา ดว ยภาษีเงินได คําสัง่ กรมสรรพากร ท่ี ท.ป. 4/2528 เรอ่ื ง ส่ังใหผ ูจายเงินไดพ ึงประเมินตามมาตรา 40 แหงประมวลรัษฎากร มีหนา ท่ี หักภาษีเงนิ ได ณ ที่จาย คาํ สัง่ กรมสรรพากรท่ี ท.ป. 105/2545เรื่อง กาํ หนดสถานที่รับแบบแสดงรายการ และรับชาํ ระเงินภาษีอากรตามประมวลรษั ฎากรการคาํ นวณภาษเี งินไดห ัก ณ ทีจ่ า ยตวั อยางที่ 3 กรณมี ีการจา ยเงนิ พเิ ศษเปน คร้งั คราวในระหวางปภาษี ถา ในเดือนมนี าคม นาย ก ไดรบั เงนิ โบนสัเปน เงิน 90,000 บาท ผจู า ยเงินไดจ ะตองหักภาษี ณ ที่จา ยสาํ หรบั เดอื นมนี าคมดงั นี้วธิ คี ํานวณ1. การคํานวณภาษหี กั ณ ทจ่ี ายเดอื นมกราคมถึงกมุ ภาพนั ธ และเมษายนถึงพฤศจิกายน คาํ นวณตามตวั อยางท่ี 12. สวนการคํานวณภาษหี กั ณ ที่จา ยเดือนมีนาคมใหคาํ นวณดงั น้ี

เงินเดอื นเสมือนหนง่ึ วาไดจา ยทง้ั ป (30,000×12) =360,000บวก โบนัส (90,000×1) = 90,000รวมเงินไดพงึ ประเมิน = 450,000หกั คาใชจาย (40% ไมเกนิ 60,000 บาท) = 60,000คงเหลอื เงินไดหลังจากหักคาใชจา ย = 390,000การบันทกึ รายการเกีย่ วกับภาษีเงนิ ไดหัก ณ ที่จา ยในการนาํ สงภาษหี กั ณ ทีจ่ า ย ชนดิ ใดน้นั ขึ้นอยูกบัลกั ษณะของรายไดและประเภทของนติ บิ คุ คลของกิจการเชนภ.ง.ด.1 มีไวเพ่อื ยนื่ รายการภาษีเงินไดห กั ณ ทจ่ี า ยของเงินเดือน คา จาง แรงงาน ฯลฯภ.ง.ด.3 หรอื ภ.ง.ด.53 มไี วเ พอ่ื ยน่ื รายการภาษเี งนิ ไดหกัณ ทจ่ี ายของเงนิ ไดประเภทคาบริการ คาเชา คา ขนสงคาโฆษณา ฯลฯภ.ง.ด.50 มไี วเ พื่อยืน่ รายการภาษเี งินไดส าํ หรับบรษิ ัทหรอื หา งหุนสวนนิติบคุ คลของเงนิ ไดท ั้งป ภ.ง.ด.51 มไี วเพอ่ื ยื่นรายการภาษเี งินไดสาํ หรบั บริษัทหรอื หางหุน สวนนติ ิบุคคลของเงินไดคร่ึงป“รายได” ในทางบัญชี ภาษเี งนิ ไดหัก ณ ท่ีจายไมถือวาเปนรายไดข องกิจการ แตเ ปนรายไดของกรมสรรพากรการบนั ทึกบัญชี เมอ่ื กิจการใหบรกิ ารแกลูกคา เปนจํานวน1,000 บาท ภาษมี ลู คา เพิ่มอัตรา 7% ภาษหี กั ณ ที่จายมีอัตรา 3% กิจการจะไดร บั เงนิ จากลกู คา(1,000 x 7%) – (1,000 x 3%) = 1,040 บาท

Dr. เงินสด/ธนาคาร 1,040ภาษีหัก ณ ที่จา ยใชส ทิ ธไิ์ ด 30Cr. ลกู หนกี้ ารคา 1,070

โครงสรางรายวิชา รายวิชาภาษเี งนิ ไดบคุ คลธรรมดากบั การบัญชีชื่อหนว ยการเรียนรทู ่ี 5เร่อื งภาษมี ูลคา เพมิ่ และการบนั ทกึ บญั ชี ช้นั มัธยมศกึ ษาปท ี่ 5 ภาคเรียนที่ 1 ปก ารศึกษา 2561ท่ี ช่ือหนวย รหสั มฐ.ตวั ช้วี ดั /ผลการเรยี นรู สาระสําคัญ เวลา นํ้าหนักคะแนน คะแนน + สถานศกึ ษา (ช.ม.) รวม5. ภาษีมูลคาเพ่ิม + หลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง KPA และการบันทกึ + สวนพฤกษศาสตรโ รงเรยี น 10 บญั ชี พทุ ธพิ ิสัย ทักษะพสิ ยั เจตพิสัย (ความรู) (ทักษะ) (เจตคต)ิ 2. มที กั ษะปฏบิ ัติงานบญั ชเี ก่ียวกับ ความหมายของภาษมี ลู คาเพิม่ 12 5 5 2 ภาษีเงินไดบ ุคคลธรรมดา ตามท่ี ภาษีมลู คาเพ่มิ (Value Added Tax หรือใชตวั ยอวาVAT) คอื กฎหมายกําหนด ภาษที ร่ี ัฐบาลเรยี กเก็บจากมลู คาสว นที่เพิม่ ข้นึ ในแตล ะขัน้ ตอน การผลิตสนิ คา หรือบริการและการจาํ หนายสินคาหรอื บรกิ าร ชนิดตางๆโดยผปู ระกอบการเปน ผมู หี นาทเ่ี กบ็ จากลกู คาแลวนํา ภาษมี ูลคา เพ่มิ ไปชาํ ระใหแกรัฐบาล ผูมีหนาทีเ่ สยี ภาษีมูลคา เพิม่ 1. ผปู ระกอบกิจการท่ีมีรายรับจากการขายสนิ คาหรือใหบ ริการ เปนปกติธุระเกินกวา 1.8 ลา นบาทตอปกําหนดเวลาการจด ทะเบยี นใหยื่นคําขอจดทะเบียนภายใน 30 วนั นับแตวันที่มี รายรับเกนิ 2. ผปู ระกอบกิจการขายสนิ คาหรือใหบริการซึ่งมีแผนงานท่ี สามารถพสิ จู นไ ดว า ไดมีการดาํ เนนิ การและเตรียมการประกอบ กจิ การอนั เปน เหตใุ หต องมีการซ้อื สินคาหรือรับ บริการทอี่ ยูในบังคับตองเสียภาษมี ูลคา เพ่มิ เชนการกอ สรา ง โรงงานกอ สรางอาคารสาํ นกั งานหรอื การตดิ ตงั้ เครื่องจักร กําหนดเวลาการจดทะเบียนใหยน่ื คาํ ขอจดทะเบยี นภายใน กาํ หนด 6 เดือนกอนวนั เริ่มประกอบกจิ การเวน แตมสี ญั ญาหรอื

หลกั ฐานจะดาํ เนินการกอสรา งภายในเวลาทีเ่ หมาะสม3. ผปู ระกอบการอยูนอกราชอาณาจักรและไดข ายสินคา หรอืใหบรกิ ารในราชอาณาจักรเปนปกตธิ ุระโดยมตี วั แทนอยูในราชอาณาจักรใหต ัวแทนเปน ผูม หี นา ทร่ี ับผิดชอบการจดทะเบยี นผปู ระกอบกิจการทไี่ ดรบั ยกเวนภาษมี ูลคา เพ่ิมตามกฎหมายแตมสี ทิ ธแิ จง ขอจดทะเบยี นภาษมี ูลคาเพิ่มไดแ ก1. ผปู ระกอบกจิ การขายสินคาพชื ผลทางการเกษตรสัตวไ มว า มีชีวติ หรอื ไมม ีชีวิตปยุ ปลาปน อาหารสตั วยาหรอื เคมีภณั ฑท่ีใชสาํ หรบั พืชหรอื สัตวห นงั สือพิมพนติ ยสารหรือตาํ ราเรยี น2. ผูประกอบกิจการขายสนิ คา หรอื ใหบริการซึ่งไมไดร บั ยกเวนภาษีมลู คา เพมิ่ ตามกฎหมายและมรี ายรับไมเกิน 1.8 ลา นบาทตอ ป3. การใหบ ริการขนสง ในราชอาณาจกั รโดยทา อากาศยาน4. การสงออกของผปู ระกอบการในเขตอุตสาหกรรมสง ออกตามกฎหมายวา ดว ยการนคิ มอตุ สาหกรรมแหง ประเทศไทย5. การใหบริการขนสง น้าํ มนั เชือ้ เพลงิ ทางทอในราชอาณาจกั รใหผ ปู ระกอบการยืน่ คําขอแจงใชสิทธิเพื่อขอจดทะเบียนภาษมี ลู คา เพิ่ม ภ.พ. 01 จํานวน 1 ชดุ 3 ฉบบั พรอ มกับคาํ ขอจดทะเบยี นภาษมี ลู คา เพิ่ม ภ.พ. 01ผูประกอบการที่ไมตอ งจดทะเบียนภาษมี ูลคา เพ่ิม1. ผูประกอบการทม่ี รี ายรบั จากการขายสนิ คา หรอื ใหบรกิ ารไมเกนิ 1.8 ลานบาทตอ ป2. ผูประกอบการที่ขายสินคา หรือใหบริการท่ีไดรับยกเวนภาษีมูลคาเพ่มิ ตามกฎหมาย

3. ผูประกอบการทใี่ หบ ริการจากตางประเทศและไดม กี ารใชบรกิ ารนั้นในราชอาณาจกั ร4. ผปู ระกอบการที่อยูน อกราชอาณาจกั รและเขา มาประกอบกิจการขายสนิ คา หรือใหบริการในราชอาณาจกั รเปน ครง้ั คราวท้ังนตี้ องเปนไปตามหลกั เกณฑวธิ ีการและเงือ่ นไขท่ีกําหนดไวใ นประกาศอธบิ ดกี รมสรรพากรเกี่ยวกบั ภาษีมูลคาเพิ่ม ( ฉบับท่ี43) ฯลงวนั ท่ี 29 มกราคม พ.ศ. 25365. ผูประกอบการอื่นตามทีอ่ ธิบดีจะประกาศกําหนดเม่ือมเี หตุอนั สมควรการจดทะเบียนภาษีมลู คาเพิ่มสามารถกระทําได 2 ชอ งทางดังนี้1. ย่นื แบบคําขอผานทางอินเทอรเ น็ตท่ีwww.rd.go.th2. ย่ืนแบบคาํ ขอดว ยกระดาษ ณ หนวยจดทะเบียนทีต่ ัง้ สถานประกอบการสถานทจ่ี ดทะเบียนภาษีมลู คาเพ่ิมการจดทะเบียนภาษมี ลู คาเพมิ่ ของผปู ระกอบการใหย่ืนคําขอจดทะเบียนภาษีมูลคา เพิ่มณ สถานทด่ี ังตอไปนี้1. กรณีสถานประกอบการตง้ั อยใู นเขตกรงุ เทพมหานครใหยน่ืณ สาํ นักงานสรรพากรพน้ื ท่ีท่ีสถานประกอบการต้งั อยู2. กรณสี ถานประกอบการตง้ั อยนู อกเขตกรงุ เทพมหานครใหยน่ืณ สํานักงานสรรพากรพ้ืนท่ีสาขาที่สถานประกอบการต้งั อยแู ละกรณสี ถานประกอบการตง้ั อยูในทองทอ่ี าํ เภอหรอื กิ่งอําเภอที่กรมสรรพากรมิไดจดั อัตรากําลงั ไวใหย ืน่ ณ สํานักงานสรรพากร

พนื้ ท่ีสาขาเดมิ ทีเ่ คยควบคุมพน้ื ทีน่ น้ักรณมี ีสถานประกอบการหลายแหง ใหย นื่ คาํ ขอจดทะเบียนไดที่สานักงานสรรพากรพน้ื ทหี่ รือสานักงานสรรพากรพ้นื ทสี่ าขาในทอ งท่ีทส่ี ถานประกอบการอนัเปนท่ีตง้ั ของสานกั งานใหญเ พียงแหงเดยี ว3. กรณสี ถานประกอบการทอี่ ยใู นความดูแลของสํานักบริหารภาษีธรุ กจิ ขนาดใหญใหย นื่ ณ สํานกั งานบรหิ ารภาษธี ุรกิจขนาดใหญหรือจะยื่นผานสาํ นักงานสรรพากรพน้ื ท่ีหรอื สาํ นกั งานสรรพากรพื้นท่ีสาขาท่สี ถานประกอบการต้งั อยูกไ็ ดการขอใบแทนใบทะเบียนภาษีมลู คา เพม่ิกรณที ี่ใบทะเบยี นภาษมี ลู คาเพมิ่ สูญหายถูกทําลายหรอื ชารดุ ในสาระสาํ คญั ใหผปู ระกอบการจดทะเบยี นย่นื คําขอรับใบแทนใบทะเบยี นภาษมี ลู คา เพ่มิ ณ สาํ นกั งานสรรพากรพืน้ ที่สาขาหรือสํานกั งานสรรพากรพน้ื ทีท่ ่สี ถานประกอบการตั้งอยูหรอื สํานักบริหารภาษีธรุ กจิ ขนาดใหญแลวแตก รณีภายใน 15 วนั นบั แตว นั ทท่ี ราบถงึ การชํารุดสญู หายหรือถูกทําลายเอกสารท่ีใชใ นการยื่นขอใบแทนใบทะเบียนภาษมี ูลคาเพ่ิม1. แบบคําขอรบั ใบแทนใบทะเบียนภาษมี ูลคาเพม่ิ (ภ.พ.04)จํานวน 3 ฉบับ2. ใบทะเบียนภาษมี ูลคาเพ่ิม (ภ.พ.20) ทช่ี ํารดุ3. ใบแจง ความกรณีสูญหาย4. หนังสือมอบอาํ นาจกรณใี หผูอืน่ ทําการแทนปดอากรแสตมป

10 บาท 60 20 5. บัตรประจําตัวประชาชนของผูมอบอาํ นาจและผูรับมอบ 20 อํานาจพรอ มภาพถา ยเอกสารดงั กลา ว 100 หนา ทขี่ องผปู ระกอบการจดทะเบยี นภาษีมลู คาเพิม่ 1. เรยี กเกบ็ ภาษมี ูลคา เพิ่มจากผูซอื้ สนิ คาหรอื ผรู ับบรกิ ารและออกใบกํากบั ภาษีเพ่อื เปนหลักฐานในการเรียก เก็บภาษมี ลู คา เพมิ่ 2. จัดทาํ รายงานตามทก่ี ฎหมายกาํ หนดซ่ึงไดแก (1) รายงานภาษีซอื้ (2) รายงานภาษีขาย (3) รายงานสินคา และวตั ถุดบิ 3. ยืน่ แบบแสดงรายการเพอื่ เสยี ภาษตี ามแบบ ภ.พ.30สอบกลางภาคสอบปลายภาค รวมคะแนน


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook