Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือฐานการเรียนรู้ เรื่อง เครื่องร่อนดี ร่อนไกล

คู่มือฐานการเรียนรู้ เรื่อง เครื่องร่อนดี ร่อนไกล

Published by Sakaeosci_E-book, 2019-06-13 09:22:04

Description: คู่มือการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ค่ายบูรณาการสนุกจัดเต็มกับสะเต็มศึกษา ฉบับนี้จัดทำขึ้นเพื่อใช้เป็นแนวทางในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ค่ายบูรณาการสนุกจัดเต็มกับสะเต็มศึกษา ของศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษาสระแก้ว รายละเอียดของค่ายสนุกจัดเต็มกับสะเต็มศึกษานั้น ประกอบด้วยฐานการเรียนรู้ และแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ซึ่งแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้พัฒนาขึ้นโดยใช้รูปแบบการจัดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ กศน. (ONIE SCI ACTIVITY MODEL) ที่เน้นการเรียนรู้อย่างมีส่วนร่วม ความรับผิดชอบ ความคิดสร้างสรรค์ และคำนึงถึงผู้รับบริการเป็นสำคัญ

Search

Read the Text Version

คมู่ อื การจดั กจิ กรรมการเรยี นรคู้ า่ ยบรู ณาการ สนกุ จัดเตม็ กบั สะเตม็ ศกึ ษา เรอ่ื ง เครอ่ื งรอ่ นดี รอ่ นไกล สแกนเพอ่ื อา่ น E-Book ศนู ยว์ ทิ ยาศาสตรเ์ พอื่ การศกึ ษาสระแกว้ สานกั งานสง่ เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั สานักงานปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร กระทรวงศกึ ษาธกิ าร จัดทาโดย นางสาวเยาวลกั ษณ์ กลว้ ยนอ้ ย

ก คำนำ คู่มือการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ค่ายบูรณาการสนุกจัดเต็มกับสะเต็มศึกษา ฉบับน้ีจัดทาข้ึนเพ่ือใช้เป็น แนวทางในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ค่ายบูรณาการสนุกจัดเต็มกับสะเต็มศึกษา ของศูนย์วิทยาศาสตร์ เพื่อการศึกษาสระแก้ว รายละเอียดของค่ายสนุกจัดเต็มกับสะเต็มศึกษานั้น ประกอบด้วยฐานการเรียนรู้ และ แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ซึ่งแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้พัฒนาข้ึนโดยใช้รูปแบบการจัดกิจกรรม วิทยาศาสตร์ กศน. (ONIE SCI ACTIVITY MODEL) ท่ีเน้นการเรียนรู้อย่างมีส่วนร่วม ความรับผิดชอบ ความคิด สร้างสรรค์ และคานึงถงึ ผู้รับบริการเปน็ สาคญั ศูนย์วิทยาศาสตร์เพ่ือการศึกษาสระแก้วขอขอบคุณผู้ท่ีมีส่วนเกี่ยวข้องในการจัดทาคู่มือการจัดกิจกรรม การเรียนรู้ค่ายบูรณาการสนุกจัดเต็มกับสะเต็มศึกษา ฉบับนี้ และหวังเป็นอย่างย่ิงว่า นอกจากประโยชน์ของ ผู้ปฏิบัติงานของศูนย์วทิ ยาศาสตร์เพ่ือการศึกษาสระแก้วโดยตรงแล้ว จะเป็นประโยขนต์ ่อผู้ที่สนใจ ให้เกิดความรู้ ความเขา้ ใจกิจกรรมการเรยี นร้คู ่ายทบี่ ูรณาการองคค์ วามร้ทู างดา้ นวิทยาศาสตรแ์ ละศาสตร์ที่เกี่ยวข้องเป็นอย่างดี (นางยุวดี แจง้ กร) ผู้อานวยการศนู ยว์ ทิ ยาศาสตรเ์ พื่อการศกึ ษาจงั หวดั สระแก้ว มกราคม 2561

สำรบญั ข คำนำ หน้ำ สำรบญั ก ข ฐำนกำรเรยี นรู้ เรื่อง เครอ่ื งร่อนดี รอ่ นไกล 1 แผนกำรจดั กจิ กรรมกำรเรยี นรู้ เรื่อง เครอ่ื งร่อนดี ร่อนไกล 2 8 ใบความรสู้ าหรับผู้จัดกิจกรรม เร่อื ง เคร่ืองร่อนดี ร่อนไกล 9 ใบความรสู้ าหรับผรู้ บั บริการ เรือ่ ง เครื่องร่อนดี รอ่ นไกล 16 ใบกจิ กรรม เรอ่ื ง เครอื่ งรอ่ นดี ร่อนไกล

หน้า |1 ฐานการเรียนรู้ เรือ่ ง เครื่องร่อนดี รอ่ นไกล

หน้า |2 แผนการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ เร่อื ง เครื่องร่อนดี รอ่ นไกล จานวน 2 ชว่ั โมง

หน้า |3 แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เรอ่ื ง เคร่อื งรอ่ นดี รอ่ นไกล เวลา 2 ชัว่ โมง แนวคดิ เคร่ืองร่อนดี ร่อนไกล เป็นการเรียนรู้วิทยาศาสตร์เกี่ยวกับแรงและการเคล่ือนที่ และหลักการของ เบอรน์ ลู ล่ี ในปัจจบุ นั เครือ่ งบนิ เป็นยานพาหนะที่ช่วยอานวยความสะดวกในการเดินทางและการขนส่งไปยงั พ้นื ที่ ต่างๆ ซ่ึงพ้ืนฐานของการออกแบบเคร่อื งบิน ที่ชว่ ยใหเ้ ครื่องบินสามารถลอยตัวอย่ใู นอากาศได้น้ัน สว่ นสาคัญมา จากการออกแบบโครงสร้างตวั เคร่ืองบนิ และปกี การสร้างเคร่ืองร่อนจะชว่ ยให้ผู้เรียนเขา้ ใจหลักการพ้ืนฐานของ การออกแบบเคร่อื งบนิ ได้เป็นอย่างดี วตั ถุประสงค์ เม่ือสิน้ สุดแผนการจัดกิจกรรมการเรียนร้นู ีแ้ ล้ว ผรู้ บั บรกิ ารสามารถ 1. อธิบายหลกั การลอยตัวของเคร่ืองบนิ ได้ 2. อธิบายหลักการพฒั นาเครื่องรอ่ นได้ 3. อภิปรายคุณสมบตั ิของวสั ดุทเี่ หมาะสมในการสร้างเครอื่ งรอ่ นได้ 4. ถา่ ยทอดความคดิ เป็นเป็นภาพร่างสองมติ ิได้ 5. การใช้อุปกรณ์วัด ตดั และตดิ ยดึ ได้อย่างถูกต้องปลอดภยั 6. กาหนดขนาด อตั ราส่วน วดั และบอกความยาวของส่ิงต่าง ๆ ได้ 7. สรา้ งสง่ิ ประดิษฐ์เคร่ืองร่อนดี ร่อนไกล ทดลองและสรปุ ผลได้ เนอ้ื หา 1. วิทยาศาสตร์ 1. หลักการของเบอรน์ ลู ล่ี 2. แรงและการเคลือ่ นที่ 2. คณิตศาสตร์ 1. อัตราสว่ น 2. การหาพน้ื ที่ 3. การวัด 4. การแปลงหนว่ ย 3. เทคโนโลยี การสืบคน้ ขอ้ มูล เรอื่ งการออกแบบ เครอื่ งรอ่ น 4. วิศวกรรมศาสตร์ 1. การออกแบบเคร่ืองรอ่ น 2. การออกแบบเชงิ วศิ วกรรม 5. การประดษิ ฐ์เคร่ืองร่อนดี ร่อนไกล

หน้า |4 ขัน้ ตอนการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ ข้นั ตอนท่ี 1 กิจกรรมการเรียนรู้ประสบการณ์ทางวทิ ยาศาสตร์ (S : Science Experience Activity) 1. ผจู้ ัดกจิ กรรมทักทายและแนะนาตนเองกับผูร้ บั บรกิ าร รวมทั้งชี้แจงวัตถปุ ระสงคข์ องฐานการเรยี นรู้ท่ี 2 เรอ่ื ง เคร่ืองร่อนดี รอ่ นไกล ไดแ้ ก่ (1) อธิบายหลักการลอยตวั ของเคร่ืองบนิ ได้ (2) อธบิ ายหลักการพฒั นาเคร่ืองร่อนได้ (3) อภปิ รายคณุ สมบัติของวัสดุทเี่ หมาะสมในการสร้างเครอ่ื งร่อนได้ (4) ถา่ ยทอดความคดิ เป็นเป็นภาพร่างสองมติ ไิ ด้ (5) การใช้อปุ กรณ์วัด ตัด และติดยึดได้อยา่ งถกู ต้องปลอดภัย (6) กาหนดขนาด อัตราสว่ น วดั และบอกความยาวของสิง่ ต่าง ๆ ได้ (7) สรา้ งส่ิงประดิษฐ์เคร่ืองรอ่ นดี ร่อนไกล ทดลองและสรปุ ผลได้ 2. ผู้จดั กจิ กรรมซักถามประสบการณเ์ ดิมของผู้รบั บรกิ ารเกี่ยวกับเรอ่ื งท่ีจะเรยี นรู้ โดยส่มุ ผ้รู บั บริการ จานวน 3 - 5 คน ตามความสมัครใจ ให้ตอบคาถาม จานวน 3 ประเดน็ ดังนี้ ประเด็นที่ 1 “ท่านคิดวา่ เครื่องบิน จะบนิ ไดต้ ้องมอี งค์ประกอบอะไรบ้าง” ประเด็นที่ 2 “ท่านคิดว่า วสั ดุที่เหมาะสมในการนามาประดิษฐเ์ ครอ่ื งร่อนคืออะไร” ประเดน็ ที่ 3 “ท่านคิดวา่ การทาเคร่อื งรอ่ นดี รอ่ นไกล สามารถนาไปใชป้ ระโยชน์ ในชวี ติ ประจาวันได้อย่างไร” 3. ผู้จัดกจิ กรรมและผู้รับบริการแลกเปล่ียนความคิดเหน็ และสรปุ ส่งิ ทไ่ี ด้เรยี นรู้ร่วมกนั ขน้ั ตอนที่ 2 กิจกรรมการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ทท่ี ้าทาย (C : Challenge Learning Activity) 1. ผู้จัดกจิ กรรมเช่ือมโยงเนอื้ หาในขน้ั ตอนท่ี 1 เร่ือง เคร่ืองรอ่ นดี รอ่ นไกล โดยให้ผ้รู ับบรกิ ารศึกษา ใบความรู้สาหรบั ผ้รู บั บรกิ าร เรอื่ ง เครือ่ งร่อนดี ร่อนไกล หลงั จากน้นั ให้ตวั แทนผู้รับบริการ จานวน 2 คน ทสี่ มัครใจ นาเสนอ และสรุปผลการเรยี นรรู้ ว่ มกัน 2. ผูจ้ ัดกิจกรรมบรรยายวธิ กี ารสรา้ งสง่ิ ประดิษฐ์เครื่องรอ่ นดี ร่อนไกล จากน้นั ใหแ้ ต่ละกลุม่ สรา้ งสงิ่ ประดิษฐ์ ตามใบกจิ กรรม เร่ือง เครอ่ื งร่อนดี รอ่ นไกล โดยมีรายละเอียด ดงั น้ี 2.1 แบง่ กล่มุ ผรู้ ับบริการออกเปน็ กล่มุ ๆ ละ 5 - 10 คน 2.2 แจกอปุ กรณใ์ หก้ บั ผ้รู ับบรกิ าร 2.3 ใหแ้ ต่ละกล่มุ สรา้ งสิง่ ประดษิ ฐ์ เครือ่ งรอ่ นดี ร่อนไกล ตามเงื่อนไขท่กี าหนดดังน้ี 1. ใหผ้ ู้รับบรกิ ารแต่ละกลุม่ สรา้ งสง่ิ ประดษิ ฐ์เครื่องรอ่ นดี รอ่ นไกล กาหนดปกี เครื่องรอ่ นวัด จากด้านหนง่ึ ถงึ อีกด้านหน่งึ ยาวไม่เกนิ 25 ซม. 2. ให้ใชว้ ัสดุท่ีมีอยู่จากดั ให้เกดิ ประโยชน์สูงสุด 3. ให้เวลาในสรา้ งสิง่ ประดษิ ฐ์เครื่องรอ่ นดี ร่อนไกล จานวน 30 นาที

หน้า |5 4. ให้แต่ละกลุ่มวเิ คราะหห์ าความเชื่อมโยง STEM เขยี นลงในกระดาษบรุ๊ฟ 1. เขยี นชือ่ กจิ กรรม 2. วาดรปู ภาพสิง่ ประดิษฐ์ 3. หาความเชอื่ มโยง STEM (ใช้หลักการใดเข้ามาเก่ียวขอ้ ง) • S = .................................................................. • T = .................................................................. • E = .................................................................. • M= .................................................................. 4. ให้นาเครอื่ งรอ่ นของแตล่ ะกลุ่มมาทดสอบ จากนั้นให้ทุกกล่มุ นากลบั ไปแกไ้ ขเพิม่ เตมิ ให้ เวลา 10 นาที เม่ือครบเวลาทกี่ าหนดให้ทกุ กลุ่มนามาแขง่ ขนั กนั โดยเริ่มรอ่ นจากจดุ เดยี วกนั 5. ผู้จัดกิจกรรมคดั เลือกเครือ่ งรอ่ นของกล่มุ ทร่ี อ่ นไดไ้ กลท่ีสุด ออกมานาเสนอ 6. ผจู้ ดั กิจกรรมและผรู้ ับบริการแลกเปลี่ยนความคดิ เหน็ และสรุปสงิ่ ที่ได้เรียนรรู้ ว่ มกัน ข้นั ตอนท่ี 3 กิจกรรมการสรุปผลการนาวิทยาศาสตร์ไปใช้ในชีวติ ประจาวนั (I : Implementation Conclusion Activity) 1. ใหผ้ รู้ บั บรกิ ารตอบคาถามโดยสุม่ ผ้รู ับบริการ จานวน 3 – 5 คน ตามความสมัครใจ ใหต้ อบคาถามในประเดน็ “ทา่ นจะนาความรู้ เร่ือง เครอ่ื งร่อนดี รอ่ นไกล ไปใช้ประโยชนใ์ นชีวิตประจาวันได้อย่างไร” 2. ผจู้ ดั กิจกรรมและผูร้ บั บริการสรุปสิ่งทไ่ี ดเ้ รียนรรู้ ่วมกนั สอื่ วสั ดอุ ปุ กรณ์และแหล่งเรียนรู้ 1. ใบความรู้สาหรบั ผู้จดั กิจกรรม เรอ่ื ง เครื่องรอ่ นดี ร่อนไกล 2. ใบความรสู้ าหรบั ผูร้ ับบรกิ าร เรอื่ ง เคร่ืองร่อนดี รอ่ นไกล 3. ใบกจิ กรรม เร่อื ง เครื่องรอ่ นดี รอ่ นไกล 4. วสั ดุอปุ กรณม์ ดี งั น้ี 1. หลอดดูดยาว 2. เท็ปใสหน้ากวา้ ง 1 นิ้ว 3. โฟมอดั 3ม.ม. กวา้ ง xยาว 45x45 cm. 4. โฟมหนา 1.5 น้ิว กวา้ ง xยาว 45x45 cm. 5. กรรไกร 6. คัตเตอร์ 7. ไมบ้ รรทัดขนาด 1 ฟตุ 8. ปืนกาว

หน้า |6 9. แลค็ ซีน หนา้ กว้าง 2 นว้ิ 10. ตะปู 1.25 นิ้ว 11. กา้ นลูกโปง่ ขนาด 6 นว้ิ 12. ยางรัดของ 13. กระดาษบรฟุ๊ 14. ปากกาเคมี การวัดและประเมินผล 1. สงั เกตกระบวนการมีสว่ นรว่ ม ไดแ้ ก่ อภปิ ราย ตอบคาถาม 2. ตรวจใบกจิ กรรม 3. ช้ินงาน/ผลงาน

หน้า |7 บนั ทกึ ผลหลงั การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ ผลการใช้แผนการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ 1. จานวนเนือ้ หากบั จานวนเวลา เหมาะสม ไมเ่ หมาะสม ระบุเหตผุ ล .................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................ 2. การเรียงลาดบั เน้ือหากบั ความเข้าใจของผูร้ บั บริการ เหมาะสม ไมเ่ หมาะสม ระบุเหตผุ ล .................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... 3. การนาเข้าสบู่ ทเรยี นกับเนอื้ หาแต่ละหวั ข้อ เหมาะสม ไมเ่ หมาะสม ระบุเหตผุ ล .................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... 4. วธิ ีการจัดกิจกรรมการเรียนรกู้ บั เนื้อหาในแตล่ ะข้อ เหมาะสม ไมเ่ หมาะสม ระบุเหตุผล .................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... 5. การประเมินผลกับวัตถปุ ระสงค์ในแต่ละเน้อื หา เหมาะสม ไมเ่ หมาะสม ระบเุ หตุผล .................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ผลการเรียนร้ขู องผู้รับบริการ ........................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ผลการจัดกจิ กรรมการเรยี นรูข้ องผจู้ ดั กจิ กรรม ........................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ข้อเสนอแนะ ................................................................................................................................................................................... ...........................................................................................................................................................

หน้า |8 ใบความร้สู าหรบั ผูจ้ ดั กิจกรรม เรอื่ ง เครื่องรอ่ นดี ร่อนไกล วตั ถุประสงค์ เม่ือสิ้นสุดแผนการจัดกิจกรรมการเรยี นรนู้ แี้ ลว้ ผูร้ ับบริการสามารถ 1.อธิบายหลกั การลอยตวั ของเคร่ืองบินได้ 2.อธบิ ายหลักการพฒั นาเครอ่ื งรอ่ นได้ 3.อภปิ รายคุณสมบตั ขิ องวสั ดุทีเ่ หมาะสมในการสร้างเครือ่ งร่อนได้ 4.ถ่ายทอดความคิดเปน็ เปน็ ภาพรา่ งสองมิติได้ 5.การใชอ้ ุปกรณ์วดั ตัด และตดิ ยึดได้อยา่ งถูกต้องปลอดภยั 6.กาหนดขนาด อตั ราสว่ น วดั และบอกความยาวของส่ิงต่าง ๆ ได้ 7.สรา้ งสิง่ ประดิษฐเ์ ครอ่ื งร่อนดี รอ่ นไกล ทดลองและสรปุ ผลได้ เนื้อหา 1. วทิ ยาศาสตร์ 1. หลักการของเบอร์นลู ลี่ 2. แรงและการเคล่ือนท่ี 2. คณติ ศาสตร์ 1. อัตราสว่ น 2. การหาพ้นื ท่ี 3. การวดั 4. การแปลงหน่วย 3. เทคโนโลยี การสืบคน้ ข้อมลู เร่อื งการออกแบบ เครอ่ื งร่อน

หน้า |9 ใบความรู้สาหรับผรู้ ับบรกิ าร เรื่อง เครอื่ งร่อนดี รอ่ นไกล วัตถุประสงค์ เมอ่ื ส้นิ สุดแผนการจดั กิจกรรมการเรียนรนู้ ี้แลว้ ผรู้ บั บรกิ ารสามารถ 1. อธิบายหลักการลอยตัวของเคร่ืองบนิ ได้ 2. อธิบายหลกั การพัฒนาเคร่ืองรอ่ นได้ 3. อภปิ รายคณุ สมบตั ิของวสั ดทุ ี่เหมาะสมในการสร้างเครอื่ งรอ่ นได้ 4. ถ่ายทอดความคิดเป็นเปน็ ภาพรา่ งสองมิตไิ ด้ 5. การใช้อุปกรณ์วัด ตดั และติดยดึ ได้อยา่ งถกู ตอ้ งปลอดภัย 6. กาหนดขนาด อตั ราสว่ น วัด และบอกความยาวของส่งิ ต่าง ๆ ได้ 7. สร้างสงิ่ ประดษิ ฐเ์ ครื่องรอ่ นดี รอ่ นไกล ทดลองและสรุปผลได้ เน้อื หา 1. วิทยาศาสตร์ 1. หลักการของเบอร์นลู ล่ี 2. แรงและการเคลอื่ นที่ 2. คณติ ศาสตร์ 1. อัตราส่วน 2. การหาพืน้ ที่ 3. การวัด 4. การแปลงหน่วย 3. เทคโนโลยี การสืบคน้ ข้อมูล เรือ่ งการออกแบบ เครอ่ื งร่อน 4. วศิ วกรรมศาสตร์ 1. การออกแบบเครื่องร่อน 2. การออกแบบเชงิ วิศวกรรม 5. การประดษิ ฐ์เคร่อื งรอ่ นดี รอ่ นไกล

ห น ้ า | 10 1. วทิ ยาศาสตร์ 1. หลักการของเบอรน์ ูลล่ี หลักการของเบอร์นูลล่ี คือ ความเร็ว ของอากาศเพิ่มขึ้น ความกดดัน จะลดลง และในทานองเดียวกัน ถ้าความเร็วลมลดลง ความกดดันของอากาศ ก็จะเพ่ิมข้ึน หลักการน้ีใช้กับเคร่ืองบินและเครื่องร่อน แต่การจะ สร้างเคร่ืองร่อนให้มีกระแสอากาศผ่านปีกเพ่ือให้เกิดแรงพยุง ตามหลักของเบอร์นูลลี่ ต้องอาศัยแรงฉุดตัว เครื่องบินหรือเครือ่ งร่อนให้ไปข้างหน้า ถ้าเป็นเครื่องบินก็ใช้แรงฉุด(หรือแรงดัน)ที่ได้มาจากกาลังเครื่องยนต์ใน ตัวเคร่ือง ถ้าเป็นเครื่องร่อนแรงฉุดน้ีอาจได้จากแรงสง่ จากภายนอกเพ่ือเอาชนะแรงโน้มถ่วงของโลก ซึ่งเป็นแรง เดียวกันจะทาให้เครื่องร่อนอยู่ในอากาศได้นานขึ้น และต้องหาแรงยกตัวอื่นมาช่วยเสริม เช่นลมท่ีตีขึ้นด้านบน จากการปะทะกับเนินหรือผา หรอื การออกแบบปีกท่ีทาให้เกิดแรงกดอากาศด้านบนน้อยกวา่ ดา้ นล่าง นอกจากนี้ ถ้าจะทาเครื่องร่อนให้พุ่งไปได้ไกล กต็ ้องเป็นแบบรปู ร่างเพรียวพ้นื ท่ีปกี น้อย ถ้าจะทาให้อยใู่ นอากาศได้นาน ๆ ก็ ต้องมีพื้นท่ีปีกมากๆ ถา้ จะทาใหด้ ีกต็ ้องหาจุดเหมาะสมของตาแหนง่ ปีก สรปุ คือถา้ ตอ้ งการให้ไปได้ไกลและอยู่ใน อากาศนาน ๆ กต็ ้องมีรูปร่างเพรียวพร้อมกับมีพน้ื ท่ีปกี มากทสี่ ุดด้วย นอกจากการออกแบบรปู รา่ งเพรียวและมพี ้นื ทีป่ กี กว้างแล้ว การจัดตาแหน่งจดุ ศนู ยถ์ ว่ งให้สมดลุ เพอ่ื หา ตาแหนง่ แรงยกทเี่ หมาะสม สามารถทาไดโ้ ดยจัดตาแหน่งและรูปร่างปีกก็มีผลต่อลักษณะการรอ่ น ถ้าจุดศนู ยถ์ ว่ ง อยู่ด้านหน้ามากเกินไป เม่ือเทียบกับจุดศูนย์กลางแรงยก กจ็ ะทาให้เคร่ืองร่อนหัวทมิ่ ถา้ อยู่ด้านหลังมากเกนิ ไปก็ หน้าเชิดพุ่งไม่ไป จึงต้องมีการทดสอบการบินหลายคร้ังเพื่อหาตาแหน่งท่ีเหมาะสมเพื่อให้เครื่องร่อนมี ประสทิ ธิภาพสูงสุดตามท่อี อกแบบไว้ 2. แรงและการเคล่ือนที่ ในแต่ละวนั มนษุ ย์ตอ้ งใช้แรงเพื่อทากิจกรรมต่างๆ มากมาย เช่น การเคลอื่ นยา้ ยวตั ถุ ส่งิ จอง เครอ่ื งใช้ตา่ ง ๆ เป็นตน้ ถา้ ส่งิ ของนน้ั หนักและมขี นาดใหญ่มาก กต็ ้องออกแรงมากหรอื อาจใช้แรงจากแหล่งต่างๆ มาช่วยในการผ่อนแรง การออกแรงกรณีใด ๆจะมผี ลทาให้วัตถุทถ่ี ูกแรงกระทา มีลักษณะดังต่อไปนี้ 1. ทาใหว้ ตั ถุทอ่ี ยนู่ ่ิงเกิดการเคลือ่ นที่ แช่นการออกแรงเตะลูกฟุตบอล การเคลอ่ื นยา้ ยสิง่ ของ เครอ่ื งใช้ต่างๆ เป็นตน้ 2. ทาใหว้ ตั ถุท่กี าลงั เคลื่อนท่อี ยู่เปลีย่ นทิศทางในการเคลอื่ นที่หรือหยุดนงิ่ เชน่ ผ้รู กั ษาประตู ปัดหรือรับลกู ฟตุ บอลทีถ่ ูกเตะมา เป็นตน้ 3. ทาใหว้ ตั ถุเปลีย่ นรูปรา่ งไปจากเดิม เชน่ การปน้ั ดินเหนียวใหเ้ ป็นรปู ร่างตา่ ง ๆ เปน็ ตน้ 2.1 เวกเตอร์ของแรง ปริมาณทางฟิสกิ ส์ มี 2 ชนิด คือ 1. ปริมาณเวกเตอร์ หมายถงึ ปริมาณที่มีท้งั ขนาดและทิศทาง เชน่ แรง ความเรว็ นา้ หนัก 2. ปริมาณสเกลาร์ หมายถงึ ปริมาณท่มี ีแตข่ นาดอยา่ งเดยี ว ไม่มีทศิ ทาง เช่น พลังงาน อุณหภมู ิ เวลา พน้ื ท่ี ปรมิ าตร อตั ราเรว็

ห น ้ า | 11 2.2 การเคลื่อนที่ในหนึง่ มติ ิ การเคลอ่ื นท่ใี นแนวเสน้ ตรง แบ่งเปน็ 2 แบบ คือ 1. การเคลือ่ นที่ในแนวเสน้ ตรงที่ไปทศิ ทางเดียวกันตลอด เช่น โยน วัตถขุ นึ้ ไปตรงๆ รถยนต์ กาลังเคลอ่ื นทไ่ี ปข้างหน้าในแนวเส้นตรง 2. การเคล่อื นท่ีในแนวเสน้ เส้นตรง แตม่ กี ารเคล่ือนท่กี ลบั ทิศด้วย เชน่ รถแล่นไปข้างหนา้ ในแนวเสน้ ตรง เมอื่ รถมีการเลี้ยวกลบั ทิศทาง ทาให้ทิศทางในการ เคล่ือนท่ีตรงขา้ มกัน 2.3 อัตราเร็ว ความเร่ง และความหน่วงในการเคล่ือนท่ีของวัตถุ 1. อัตราเรว็ ในการเคลอ่ื นท่ีของวัตถุ คือระยะทางท่ีวตั ถเุ คลอ่ื นที่ ใน 1 หนว่ ยเวลา 2. ความเร่งในการเคลื่อนที่ หมายถงึ ความเรว็ ทีเ่ พ่มิ ขึ้นใน 1 หนว่ ยเวลา เชน่ วัตถุตกลงมาจากที่สูงในแนวด่งิ 3. ความหนว่ งในการเคล่อื นทข่ี องวัตถุ หมายถึง ความเร็วท่ลี ดลงใน 1 หน่วย เวลา เชน่ โยนวัตถขุ ึ้นตรงๆ ไปในท้องฟ้า 2.4 การเคลื่อนทแี่ บบต่างๆ ในชวี ิตประจาวัน การเคลื่อนท่แี บบวงกลม หมายถึง การเคลอื่ นท่ขี องวัตถเุ ป็นวงกลมรอบ ศนู ย์กลาง เกดิ ขน้ึ เนอ่ื งจากวัตถทุ ี่กาลงั เคลื่อนท่ีจะเดินทางเปน็ เสน้ ตรงเสมอ แตข่ ณะนนั้ มีแรงดงึ วัตถุเขา้ สู่ ศูนย์กลางของวงกลม เรยี กวา่ แรงเขา้ ส่ศู ูนยก์ ลางการเคลอ่ื นท่ี จึงทาใหว้ ัตถุเคล่อื นที่เปน็ วงกลมรอบ ศูนยก์ ลาง เชน่ การโคจรของดวงจนั ทร์รอบโลก การเคลื่อนที่ของวตั ถุในแนวราบ เป็นการเคลอื่ นที่ของวตั ถุขนานกบั พนื้ โลก เช่น รถยนต์ท่กี าลังแล่นอยูบ่ นถนน การเคลอื่ นทแี่ นววถิ โี ค้ง เป็นการเคล่ือนท่ีผสมระหวา่ งการเคล่อื นทใ่ี น แนวดง่ิ และในแนวราบ 2.5 ชนดิ ของแรง แรงย่อย คอื แรงทีเ่ ปน็ ส่วนประกอบของแรงลัพธ์ แรงลัพธ์ คอื แรงรวมซงึ่ เป็นผลรวมของแรงย่อย ซง่ึ จะต้องเป็นการรวมกันแบบ ปรมิ าณเวกเตอร์ แรงขนาน คือ แรงท่ที ม่ี ีทิศทางขนานกนั ซึ่งอาจกระทาท่ีจุดเดยี วกันหรอื ต่างจุดกนั กไ็ ด้ มีอยู่ 2 ชนิด - แรงขนานพวกเดียวกนั หมายถึง แรงขนานท่ีมที ศิ ทางไปทางเดียวกนั - แรงขนานตา่ งพวกกัน หมายถึง แรงขนานทีม่ ที ิศทางตรงข้ามกัน แรงหมนุ หมายถึง แรงทกี่ ระทาตอ่ วตั ถุ ทาให้วัตถุเคลื่อนทโี่ ดยหมุนรอบจดุ หมนุ ผล ของการหมนุ ของ เรยี กวา่ โมเมนต์ เช่น การปิด-เปดิ ประตหู นา้ ตา่ ง

ห น ้ า | 12 แรงค่คู วบ คือ แรงขนานตา่ งพวกกันคู่หนง่ึ ที่มีขนาดเท่ากนั แรงลพั ธ์มีค่าเป็นศูนย์ และวัตถทุ ่ีถูกแรงคู่ควบกระทา 1 คูก่ ระทา จะไม่อย่นู ง่ิ แตจ่ ะเกดิ แรงหมนุ แรงดงึ คือ แรงท่ีเกิดจากการเกร็งตวั เพื่อต่อตา้ นแรงกระทาของวตั ถุ เปน็ แรงทีเ่ กิด ในวัตถทุ ่ลี กั ษณะยาวๆ เชน่ เสน้ เชือก เสน้ ลวด แรงสู่ศนู ยก์ ลาง หมายถงึ แรงท่มี ที ิศเข้าสู่ศูนยก์ ลางของวงกลมหรือทรงกลมอันหนง่ึ ๆ เสมอ แรงตา้ น คือ แรงทมี่ ที ิศทางตอ่ ตา้ นการเคลอื่ นท่ีหรอื ทิศทางตรงขา้ มกบั แรงที่ พยายามจะทาให้วัตถุเกิดการเคลือ่ นท่ี เชน่ แรงต้านของอากาศ แรงเสยี ดทาน แรงโน้มถ่วงของโลก คือ แรงดึงดดู ที่มวลของโลกกระทากับมวลของวัตถุ เพอ่ื ดึงดูด วตั ถุนัน้ เขา้ สู่ศูนย์กลางของโลก - น้าหนกั ของวัตถุ เกิดจากความเร่งเน่ืองจากความโนม้ ถ่วงของโลกมาก กระทาต่อวัตถุ แรงกิริยาและแรงปฏิกริ ยิ า - แรงกิรยิ า คอื แรงทกี่ ระทาตอ่ วตั ถทุ ่ีจุดจุดหนงึ่ อาจเปน็ แรงเพยี งแรง เดยี วหรือแรงลัพธ์ของแรงย่อยกไ็ ด้ - แรงปฏิกริ ิยา คือ แรงที่กระทาตอบโตต้ ่อแรงกริ ยิ าที่จุดเดยี วกัน โดยมี ขนาดเท่ากบั แรงกิริยา แต่ทศิ ทางของแรงทง้ั สองจะตรงขา้ มกัน 2.6 แรงเสียดทาน แรงเสียดทาน คือ แรงท่ีต้านการเคลื่อนที่ของวตั ถุซ่ึงเกดิ ข้นึ ระหวา่ งผิวสมั ผัสของ วตั ถุ เกดิ ขนึ้ ทง้ั วตั ถุที่เคลอื่ นท่แี ละไม่เคล่ือนที่ และจะมที ิศทางตรงกันข้ามกับการเคล่อื นท่ขี องวตั ถุ แรงเสยี ด ทานมี 2 ประเภท คือ 1. แรงเสยี ดทานสถติ คอื แรงเสียดทานท่ีเกดิ ข้ึนระหว่างผิวสัมผสั ของวตั ถุใน สภาวะที่วัตถุไดร้ ับแรงกระทาแล้วอยนู่ ่ิง 2. แรงเสียดทานจลน์ คือ แรงเสียดทานท่ีเกิดขนึ้ ระหวา่ งผิวสมั ผสั ของวัตถุใน สภาวะที่วัตถไุ ดร้ ับแรงกระทาแลว้ เกิดการเคล่อื นทีด่ ้วยความเร็วคงท่ี 2. คณิตศาสตร์ 1. อตั ราส่วน อัตราส่วน คือ ปริมาณอย่างหนึ่งที่แสดงถึงจานวนหรือขนาดตามสัดส่วนเมื่อเปรียบเทียบกับอีกปริมาณ หนึ่งที่เก่ียวข้องกัน อัตราส่วนจะเป็นปริมาณที่ไม่มีหน่วย หากอัตราส่วนน้ันเก่ียวข้องกับปริมาณท่ีอยู่ใน มิติ เดียวกัน และเม่ือปริมาณสองอย่างที่เปรียบเทียบกันเป็นคนละชนิดกัน หน่วยของอัตราส่วนจะเป็นหน่วยแรก \"ต่อ\" หน่วยที่สอง ตัวอย่างเช่น ความเร็วสามารถแสดงได้ในหน่วย \"กิโลเมตรต่อช่ัวโมง\" เป็นต้น ถ้าหน่วยท่ีสอง เป็นหนว่ ยวดั เวลา เราจะเรียกอตั ราสว่ นชนดิ นี้ว่า อัตรา (rate)

ห น ้ า | 13 ทั้งเศษส่วนและอตั ราร้อยละเป็นอัตราส่วนทีน่ าเอาไปใช้เฉพาะทาง เศษส่วนเป็นปริมาณสว่ นหนึ่งที่เทียบ กับปริมาณท้ังหมด ในขณะทอี่ ัตราร้อยละจะแบ่งปริมาณทง้ั หมดออกเป็น 100 ส่วน นอกจากนนั้ อัตราส่วนอาจ สามารถเปรยี บเทียบปริมาณไดม้ ากกวา่ สองอยา่ งซ่ึงพบไดน้ อ้ ยกวา่ เชน่ สูตรอาหาร หรอื การผสมสารเคมี เปน็ ตน้ อัตราส่วน 2:3 สิบยังแจ๋วแว๋ว (สองต่อสาม) หมายความว่าปริมาณทั้งหมดประกอบขึ้นจากวัตถุแรก 2 ส่วนและวัตถุหลังอีก 3 ส่วน ดังน้ันปรมิ าณวัตถุจะมีท้ังหมด 5 ส่วน หรืออธิบายให้เจาะจงกว่าน้ี ถ้าในตะกร้ามี แอปเปิล 2 ผลและส้ม 3 ผล เรากล่าวว่าอัตราส่วนระหว่างแอปเปิลกับสม้ คือ 2:3 ถ้าหากเพ่ิมแอปเปิลอีก 2 ผล และส้มอีก 3 ผลลงในตะกร้าใบเดิม ทาให้ในตะกร้ามีแอปเปิล 4 ผลกับส้ม 6 ผล เป็นอัตราส่วน 4:6 ซ่ึงก็ยัง ไเขทมอีย่ไงดบผม้ เลทคี ไ่าวมกา้ทมนั งั้ หกหมบัมาด2ยค:เ3หอื แม(แอือสปนดเกปงบั ใิลหเศ้เแหษล็นสะวว่ ่าน35อห32ตั รรอืาส6่ว0น%ก็สขาอมงาผรลถไลมด้ทท้ังอหนมไดดค้เหือมสือ้มนหกรับอื เศกษล่าสว่วอนีก)นซัยง่ึ หในนก่ึงรคณอื ีนอ้ี ัต25รหาสรือ่วน402%:3 ในทางวิทยาศาสตร์ อัตราส่วนของปริมาณทางกายภาพมักจะถูกทาให้เป็นจานวนจริงจานวนหน่ึง เช่น อัตราส่วนของ เมตรต่อ 1 เมตร (อัตราส่วนระหว่างเส้นรอบวงกับรัศมีของรูปวงกลม) เท่ากับจานวนจริง ด้วย เหตุจากนิยามของการวัดที่มีมาแต่เดิม ซ่ึงเป็นการประมาณอัตราส่วนระหว่างปริมาณหน่ึงกับอีกปริมาณหน่ึงที่ เป็นชนิดเดยี วกัน 2. การหาพ้นื ที่ สตู รการหาพ้นื ทต่ี า่ งๆ สูตรในการหาพนื้ ที่เปน็ วชิ าหนึ่งในวชิ าคณิตศาสตร์ ทห่ี ลาย ๆ คนไม่ ชอบหรือไมถ่ นดั แต่การหาพนื้ ท่ีน้กี ็ไมไ่ ด้ยากอย่างทีค่ ดิ เพียงแคเ่ ราจาสูตรให้ไดแ้ คน่ ้ีเอง สูตรในการหาพ้ืนที่ก็ไมไ่ ด้มเี ยอะและคงไม่ยากท่ีจะทอ่ งจาเพราะเรานาเอาสตู รในการหาพ้ืนที่ ทั้งหมดมารวมกันไว้หมดแล้วลงมาดสู ูตรการหาพื้นทีแ่ ละตัวอย่างกนั เถอะ อาจทาใหห้ ลาย ๆ คนเปลี่ยนความคิด ที่วา่ สตู รการหาพ้นื ทเี่ ป็นเรอ่ื งยากอาจจะง่ายกวา่ สูตรการหาพื้นทีต่ า่ งๆ สตู รการหาพน้ื ที่ ส่เี หลีย่ มจัตุรสั = ดา้ น x ด้าน สเ่ี หลี่ยมผนื ผ้า = กว้าง x ยาว ส่ีเหลีย่ มขนมเปยี กปนู = ความยาวของฐาน x ความสูง ส่ีเหลย่ี มดา้ นขนาน = ความยาวของฐาน x ความสูง สเ่ี หลี่ยมคางหมู = เศษหนง่ึ สว่ นสอง x ผลบวกดา้ นคู่ขนาน x ความสงู สเี่ หล่ียมรูปวา่ ว = เศษหน่งึ สว่ นสอง x ผลคูณของเส้นทแยงมุม รปู สามเหลยี่ ม = เศษหนึ่งส่วนสอง x ความยาวของฐาน x ความสูง วงกลม = พาย x r ยกกาลังสอง = π������2

ห น ้ า | 14 3. การวัด การวัดและหน่วยวัด ขั้นตอนหน่ึงของการที่จะได้มาซ่ึงความรู้ทางวิทยาศาสตร์ต้องอาศัยการบันทึก การทดลอง โดยทารบนั ทกึ และการทดลองจะให้ผลทเ่ี ท่ยี งแท้ แม่นยา ต้องอาศัย การวัด นอกจากนีแ้ ล้วการวัดยัง กยี่ วขอ้ งกบั การดาเนนิ ชีวติ ของคนเราต้งั แต่เกิดจนลาโลกไปส่ิงสาคญั ในการวดั มีดว้ ยกนั 2 ประการ คอื 1. เครือ่ งมือเครื่องมือวัด หมายถึงปรมิ าณมาตรฐาน (Standard) ซ่ึงเป็นตัวแทนของหน่วยวัด โดยที่ การวัดเป็นปฏิบัติการทางเทคนิคท่ีต้องปฏิบัติตามวิธีการวัดที่กาหนดขั้นตอนไว้แล้ว เพื่อการเปรียบเทียบกัน ระหว่างปริมาณทางกายภาพใด ๆ ทถี่ กู วัดและปรมิ าณมาตรฐาน โดยผลวัดจะบอกทง้ั ขนาดและมิติ 2. วธิ ีการ วิธีการในการวัดต้องเหมาะสมกับเคร่ืองมือน้ันๆ เพื่อได้ข้อมูลที่ทุกคนยอมรับ สาหรับงาน เก็บข้อมูลทางวิทยาศาตร์มาตรฐานของเคร่ืองมือและวิธีการของการวัดเป็นส่ิงสาคัญม ากเพ่ือความเชื่อถือของ ข้อมูลทีไ่ ด้มา การกาหนดมาตราวัดปริมาณต่างๆ มีการพัฒนาต้ังแต่อดีตจนถึงปัจจุบันมีด้วยกันหลายระบบทั้งของ ไทยและต่างประเทศปัจจุบันมาตราวัดความยาวของไทยในอดีตยังใช้อยู่บ้างเช่น การวัดความยาวเป็นวา โดย 1 วามีค่าเท่ากับ 2 เมตร หรือพ้ืนท่ีก็ยังใช้เป็นตารางวา โดย 1 ตารางวาเทา่ กับ 4 ตารางเมตร หรือ พ้ืนที่ 1 ไร่ มี 400 ตารางวา เป็นตน้ ในต่างประเทศก็มีเหมือนกัน มีการใช้มาตรการวัดหลายๆ ระบบ ซ่ึงทาให้เกิดความ ยุ่งยากในการเปรียบเทียบของระบบต่างๆ เนื่องจากหน่วยของมาตราวัดแต่ละระบบจะแตกต่างกันในปี พ.ศ. 2503 ไดม้ ีการประชุมร่วมกันของนักวทิ ยาสาตร์ จากหลายๆ ประเทศเพ่ือตกลงให้มีระบบการวัด ปริมาณต่างๆ เป็นระบบมาตรฐานระหว่างชาติ ที่เรียกว่า หน่วยระหว่างชาติ (International System of Units หรือ Systeme-International d’ Unites) และกาหนดให้ใช้อักษรย่อแทนชื่อระบบนี้ว่า “SI” หรือ หน่วยเอสไอ (SI unit) เพือ่ ใช้ในการวดั ทางวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ระบบหนว่ ยระหวา่ งชาติ หรือ เอสไอ ประกอบดว้ ย หนว่ ยฐาน หนว่ ยอนุพทั ธ์ และคาอุปสรรค ซงึ่ มี รายละเอียดดงั นี้ หน่วยฐาน (Base Units)เป็นหน่วยหลักของเอสไอ มีทง้ั หมด 7 หนว่ ย ดังตาราง

ห น ้ า | 15 4. การแปลงหน่วย 3. เทคโนโลยี การสืบค้นข้อมลู เรื่อง การออกแบบ เครอื่ งรอ่ น การร่อนเคร่ืองร่อนบินอิสระเป็นศาสตร์ ที่สาคัญอย่างหน่ึงในการศึกษาวิชาอากาศพลศาตร์ เหมาะสาหรับผู้ท่ีมีใจรักกีฬาทางด้านการบินหรือผู้ท่ี สนใจจะเป็นนักบินไม่ว่าจะเป็นนักบินเคร่ืองบินจาลอง บังคับดว้ ยวทิ ยทุ ก่ี าลังเป็นทีน่ ยิ มกันอย่างแพร่หลาย หรือนกั บนิ เครอ่ื งบนิ จริงในอนาคต การร่อนเคร่อื งร่อน จะให้ ท้ังความรู้พ้ืนฐานทางการบินและด้านวิศวกรรม นอกจากน้ียังให้พลานามัยและความสนุกสนานแกผ่ ู้เล่นอีกด้วย ก่อนอ่ืนเรามาทาความรู้จักกับส่วนประกอบที่สาคัญของ เครื่องร่อนที่เป็นส่วนประกอบหลักและเป็นตัวสร้าง ความแตกต่างและมิติต่างๆทางดา้ นการบิน ส่วนประกอบทสี่ าคญั ของเคร่ืองรอ่ น - ลาตัว (Fuselage) เป็นช้นิ ส่วนท่ีกาหนดตาแหน่งตดิ ต้ังของปกี ชดุ หางและสว่ นประกอบอืน่ ๆ - ปีก (Wing) เปน็ ชิ้นสว่ นหลักทใี่ ชใ้ นการสรา้ งแรงยก (Lift) ให้กับเครอื่ งบิน - แพนหางดงิ่ (Fin/ Vertical Stabilizer) เป็นสว่ นประกอบทใ่ี ห้เสถียรภาพในแนวด่ิง (Yaw) กับเครือ่ งบิน - แพนหางระดับ (Stabilizer/ Horizontal Stabilizer) เป็นส่วนประกอบท่ีให้เสถียรภาพในแนวระดับ (Pitch) กับเครื่องบนิ เทคนคิ การร่อนเคร่ืองรอ่ น สถานท่ีท่จี ะใช้รอ่ นควรเป็นสนามท่ีเปิดกว้างและ เพื่อเป็นการรักษาเครอ่ื งรอ่ นของเราให้อยใู่ น สภาพดีเพื่อท่ีจะได ้สามารถเก็บไว้ได้นานๆ ควรเลือกสนามหญ้าเป็นสนามร่อนเคร่ืองร่อน ก่อนอ่ืนเราจะต้อง ตรวจสอบทิศทางลมเสียก่อน ทาได้โดยเก็บเศษหญ้าจากพ้ืนสนามขึ้นมาแล้วโยนขึ้นไปในอากาศ สังเกตทิศทาง ของกระแสลม ถ้าหากพื้นท่ีท่ีเราต้องการร่อนเคร่ืองร่อนมีขนาดจากัด วิธีการร่อนที่ดีที่สุดคือการร่อนตามลม แต่ต้อง ตรวจสอบทิศทางของกระแสลมใหแ้ น่ใจทกุ ครงั้ และในการรอ่ นเคร่ืองร่อนแต่ละครั้งจาไว้เสมอว่า ใหร้ ่อนเครื่อง รอ่ นตามลมเพ่อื เครือ่ งรอ่ น จะไดไ้ ม่บนิ ไปไกลจนออกนอกเขตพนื้ ทีข่ องเรา การร่อนเครื่องร่อนในวันท่ีกระแสลมแรงมากจะให้ ผลการบินที่ไม่ดี เมื่อกระแสลมแรงขึ้นอากาศก็จะเริ่ม ป่นั ป่วน โดยเฉพาะบริเวณใกล้กับสง่ิ ก่อสร้าง เช่น ตึก อาคารบ้านเรือน หรือโรงเรียน เราไม่สามารถร่อนเคร่ือง รอ่ นให้ประสบความสาเร็จ ตามสถานที่ที่กล่าวมาแล้วในวันที่ลมแรง เพราะฉะนั้นทางที่ดีท่ีสุดเราควร จะรอให้ กระแสลมอ่อนกาลงั ลงกอ่ นทาการบิน วธิ กี ารจบั เครอื่ งร่อน ดภู าพประกอบ ไม่ว่าจะด้วยวิธีการจบั เคร่ืองร่อนดว้ ยปลายนว้ิ หรอื ใชน้ ิ้วชี้กับนิ้วกลางจับ เครือ่ งร่อนทีด่ ้านหลังของปกี ใช้วธิ ีใดก็ไดท้ ี่เรารู้สึกว่าจบั งา่ ยและถนดั ทสี่ ดุ 4. วศิ วกรรมศาสตร์ 1. การออกแบบเคร่ืองรอ่ น 2. การออกแบบเชงิ วศิ วกรรม

ห น ้ า | 16 ใบกจิ กรรมสาหรบั ผู้รบั บริการ เร่อื ง เครอื่ งร่อนดี ร่อนไกล 1. วตั ถปุ ระสงค์ เมอ่ื ส้นิ สุดแผนการจดั กจิ กรรมการเรยี นร้นู ้แี ลว้ ผ้รู ับบรกิ ารสามารถ 1.1 อธบิ ายหลกั การลอยตัวของเครื่องบนิ ได้ 1.2 อธบิ ายหลกั การพฒั นาเครือ่ งร่อนได้ 1.3 อภิปรายคุณสมบตั ิของวัสดุทเี่ หมาะสมในการสร้างเครื่องร่อนได้ 1.4 ถ่ายทอดความคิดเปน็ เป็นภาพร่างสองมิติได้ 1.5 การใชอ้ ปุ กรณ์วดั ตดั และติดยดึ ไดอ้ ย่างถูกต้องปลอดภยั 1.6 กาหนดขนาด อัตราส่วน วัด และบอกความยาวของสิง่ ต่าง ๆ ได้ 1.7 สร้างสง่ิ ประดษิ ฐเ์ คร่อื งรอ่ นดี รอ่ นไกล ทดลองและสรุปผลได้ 2. เนือ้ หา 1. วทิ ยาศาสตร์ 1. หลักการของเบอร์นลู ล่ี 2. แรงและการเคล่อื นท่ี 2. คณติ ศาสตร์ 1. อตั ราส่วน 2. การหาพนื้ ท่ี 3. การวัด 4. การแปลงหน่วย 3. เทคโนโลยี การสบื คน้ ข้อมลู เรอื่ งการออกแบบ เครือ่ งรอ่ น 4. วิศวกรรมศาสตร์ 1. การออกแบบเคร่ืองร่อน 2. การออกแบบเชงิ วิศวกรรม 5. การประดษิ ฐ์เครือ่ งรอ่ นดี ร่อนไกล

ห น ้ า | 17 คาชีแ้ จงรายละเอียดกิจกรรมการประดิษฐ์เคร่ืองรอ่ นดี รอ่ นไกล 1. แบง่ กลุ่มผรู้ บั บรกิ ารออกเปน็ กลมุ่ ๆ ละ 5 - 10 คน 2. แจกอปุ กรณใ์ หก้ ับผู้รบั บรกิ าร 3. ให้แต่ละกลุ่มสร้างส่งิ ประดิษฐ์ เครอื่ งรอ่ นดี รอ่ นไกล ตามเงอ่ื นไขท่กี าหนดดงั นี้ 3.1 ใหผ้ ู้รบั บรกิ ารแต่ละกล่มุ สร้างสิง่ ประดิษฐ์เคร่ืองร่อนดี รอ่ นไกล กาหนดปกี เคร่อื งรอ่ นวดั จากด้านหนงึ่ ถึงอกี ดา้ นหนึง่ ยาวไมเ่ กิน 25 ซม. 3.2 ใหใ้ ชว้ สั ดุท่ีมีอยจู่ ากดั ให้เกดิ ประโยชนส์ งู สุด 3.3 ให้เวลาในการสรา้ งส่ิงประดิษฐ์เครื่องร่อนดี รอ่ นไกล จานวน 30 นาที 3.4 ให้แต่ละกลุ่มวิเคราะห์หาความเชือ่ มโยง STEM เขียนลงในกระดาษบรุ๊ฟ 1. เขยี นชื่อกิจกรรม 2. วาดรูปภาพสิ่งประดษิ ฐ์ 3. หาความเชอื่ มโยง STEM (ใชห้ ลกั การใดเข้ามาเกย่ี วขอ้ ง) • S = .................................................................. • T = .................................................................. • E = .................................................................. • M= .................................................................. 4. ให้นาเครอ่ื งรอ่ นของแต่ละกลุ่มมาทดสอบ จากน้นั ให้ทกุ กลุ่มนากลับไปแกไ้ ขเพ่มิ เตมิ ใหเ้ วลา 10 นาที เม่ือครบเวลาทก่ี าหนดให้ทกุ กลมุ่ นามาแขง่ ขนั กัน โดยเริม่ รอ่ นจากจดุ เดยี วกัน 5. ผูจ้ ัดกิจกรรมคดั เลือกเครอ่ื งร่อนของกลุม่ ทร่ี อ่ นไดไ้ กลท่สี ดุ ออกมานาเสนอ 6. ผูจ้ ัดกิจกรรมและผรู้ บั บริการแลกเปล่ียนความคิดเห็น และสรุปส่ิงท่ีไดเ้ รียนรูร้ ว่ มกัน


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook