Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือวิชาแผนที่

คู่มือวิชาแผนที่

Published by teacher.aavns, 2022-11-08 02:36:36

Description: คู่มือวิชาแผนที่สำหรับหลักสูตร
- ศิษย์การบินทหารบก
- ช่างอากาศยานทหารบก
- ชั้นนายพันทหารการบิน
- ช่างอากาศยานทหารบก

Search

Read the Text Version

๓ – ๑๙ เฉียงใต้ ระยะทางประมาณ ๑๐ กม. ถึง อ.อัลลองเวง จว.อุดรมีชัย ประเทศกัมพูชา ปัจจุบันเปิดเป็นจุดผ่าน แดนถาวร ใชไ้ ปมาหาสู่ ซ้ือเครื่องอปุ โภค - บรโิ ภค ยารกั ษาโรคและท่องเที่ยว เปิด - ปิดเวลา ๐๗๐๐ - ๒๐๐๐ ของทุกวนั ๓๗.๒ ช่องสาโรง อยใู่ นพ้ืนท่บี า้ นโอวป์ งั โกร์ ต.ไพรพฒั นา อ.ภูสิงห์ ลกั ษณะช่องทางเปน็ ทางเดินเท้า กวา้ งประมาณ ๒ ม. ลักษณะภมู ปิ ระเทศทั่วไปเปน็ ที่ภูเขา ลักษณะพชื พนั ธเ์ุ ปน็ ป่าโปร่ง จากช่องสาโรง ไปทาง ทิศตะวันตกเฉียงใต้ ระยะทางประมาณ ๑๕ กม. ถงึ อ.อัลลองเวง จว.อดุ รมีชยั ประเทศกัมพชู า ๓๗.๓ ช่องเปร๊ียะจาบ๊อก อยู่ในพ้ืนท่ีบ้านคู่ส่ีแจ ต.ดงรัก อ.ภูสิงห์ ลักษณะช่องทางเป็นทางเดินเท้า กว้างประมาณ ๑ ม. ลกั ษณะภูมิประเทศท่วั ไปเปน็ ที่ภเู ขา ลกั ษณะพืชพันธเุ์ ปน็ ป่าโปร่ง จากช่องเปร๊ียะจาบ๊อก ไปทางทิศตะวนั ตกเฉียงใต้ ระยะทางประมาณ ๒๒ กม. ถึง อ.อัลลองเวง จว.อดุ รมชี ยั ประเทศกมั พูชา ๓๗.๔ ช่องโดนโป อยู่ในพ้ืนท่ีบ้านห้วยจันทร์ ต.ห้วยจันทร์ อ.ขุนหาญ ลักษณะช่องทางเป็นทางเดิน เท้า กว้างประมาณ ๑ ม. ลกั ษณะภมู ปิ ระเทศท่ัวไปเป็นท่ภี ูเขา ลักษณะพืชพนั ธุ์เป็นป่าโปรง่ จากช่องโดนโป ไป ทางทิศตะวนั ตกเฉียงใต้ ระยะทางประมาณ ๓๒ กม. ถึง อ.ตระเบ่ียงปราสาท จว.อุดรมชี ยั ประเทศกมั พชู า ๓๗.๕ ช่องพระพะลัย อยู่ในพ้ืนที่บา้ นสามเส้า ต.ละลาย อ.กันทรลักษ์ ลักษณะช่องทางเป็นทางเดนิ เท้า กว้างประมาณ ๑ ม. ลกั ษณะภมู ปิ ระเทศท่วั ไปเป็นที่ภูเขา ลักษณะพืชพนั ธุ์เปน็ ปา่ โปร่ง จากชอ่ งพระพะลยั ไปทางทศิ ตะวันออกเฉียงใต้ ระยะทางประมาณ ๕๓.๗ กม. ถึง อ.จอมกระสาน จว.พระวิหาร ประเทศกัมพูชา ๓๗.๖ ช่องพลาญหินแปดก้อน อยู่ในพื้นท่ีบ้านโดนเอาว์ ต.รุง อ.กันทรลักษ์ ลักษณะช่องทางเป็น ทางเดินเท้า กว้างประมาณ ๑ ม. ลักษณะภูมิประเทศทั่วไปเป็นพลาญหิน ลักษณะพืชพันธ์ุเป็นป่าโปร่ง จาก พลาญหินแปดก้อน ไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ ระยะทางประมาณ ๔๓.๓ กม. ถึง อ.จอมกระสาน จว.พระ วหิ าร ประเทศกมั พชู า ๓๗.๗ ช่องภมู ะเขือ อย่ใู นพื้นท่ีบ้านซาเมง็ ต.เสาธงชยั อ.กันทรลักษ์ ลักษณะชอ่ งทางเปน็ ทางเดินเท้า กว้างประมาณ ๑ ม. ลักษณะภมู ปิ ระเทศทว่ั ไปเป็นภเู ขา ลกั ษณะพืชพนั ธเ์ุ ปน็ ป่าโปร่ง จากช่องภูมะเขือ ไปทาง ทศิ ตะวนั ออกเฉยี งใต้ ระยะทางประมาณ ๔๒.๒ กม. ถงึ อ.จอมกระสาน จว.พระวิหาร ประเทศกัมพูชา ๓๗.๘ ช่องบนั ไดหกั อยใู่ นพื้นท่บี า้ นภูมิซรอล ต.เสาธงชัย อ.กันทรลักษ์ ลกั ษณะชอ่ งทางเป็นทางเดิน เทา้ กว้างประมาณ ๑ ม. ลกั ษณะภมู ปิ ระเทศท่ัวไปเป็นภูเขา ลกั ษณะพืชพนั ธ์เุ ป็นป่าโปรง่ ปัจจบุ นั ปิดช่องทาง จากช่องบนั ไดหกั ไปทางทศิ ตะวนั ออกเฉยี งใต้ ระยะทางประมาณ ๓๗.๖ กม. ถงึ อ.จอมกระสาน จว.พระวหิ าร ประเทศกมั พชู า ๓๗.๙ ช่องตาเฒ่า อยู่ในพ้ืนที่บ้านภูมิซรอล ต.เสาธงชัย อ.กันทรลักษ์ ลักษณะช่องทางเป็นทางเดนิ เท้า กว้างประมาณ ๒ ม. ลักษณะภูมิประเทศท่ัวไปเป็นภเู ขา ลักษณะพืชพันธเุ์ ป็นปา่ โปร่ง จากช่องตาเฒา่ ไป ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ ระยะทางประมาณ ๓๖.๕ กม. ถึง อ.จอมกระสาน จว.พระวิหาร ประเทศกมั พูชา ๓๗.๑๐ ช่องปราสาทโดนตวล อยู่ในพื้นท่ีบ้านภูมิซรอล ต.เสาธงชัย อ.กันทรลักษ์ ลักษณะช่องทาง เป็นทางเดินเท้า กว้างประมาณ ๑ ม. ลักษณะภูมิประเทศทั่วไปเป็นภูเขา ลักษณะพืชพันธ์ุเป็นป่าโปร่ง จาก ช่องปราสาทโดนตวล ไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ ระยะทางประมาณ ๓๔ กม. ถึง อ.จอมกระสาน จว.พระ วหิ าร ประเทศกัมพชู า ๓๗.๑๑ ช่องป่ามัน อยู่ในพื้นที่บ้านหนองหว้า ต.ภูผาหมอก อ.กันทรลักษ์ ลักษณะช่องทางเป็น ทางเดินเท้า กวา้ งประมาณ ๒ ม. ลักษณะภูมปิ ระเทศท่ัวไปเป็นภูเขา ลักษณะพืชพันธเ์ุ ป็นป่าโปรง่ จากชอ่ งป่า มัน ไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ ระยะทางประมาณ ๓๐.๗ กม. ถึง อ.จอมกระสาน จว.พระวิหาร ประเทศ กัมพชู า

๓ – ๒๐ ๓๗.๑๒ ชอ่ งโพย ๒ อยู่ในพ้นื ทบี่ ้านดา่ นใต้ ต.ภผู าหมอก อ.กันทรลักษ์ ลักษณะช่องทางเป็นทางเดิน เท้า กว้างประมาณ ๒ ม. ลักษณะภูมิประเทศทั่วไปเป็นภูเขา ลักษณะพืชพันธ์ุเปน็ ปา่ โปรง่ จากช่องโพย ๒ ไป ทางทศิ ตะวนั ออกเฉียงใต้ ระยะทางประมาณ ๒๕ กม. ถงึ อ.จอมกระสาน จว.พระวิหาร ประเทศกมั พชู า ๓๘. จว.สรุ นิ ทร์ มแี นวพรมแดนติดต่อกับประเทศกัมพูชา ทางทศิ ใตข้ องจงั หวัดในพนื้ ท่ี อ.บัวเชด, อ.สังขะ, อ.กาบเชิง และ อ.พนมดงรัก มแี นวสนั เขาของทวิ เขาพนมดงรกั เป็นแนวกน้ั เขตแดน มีระยะทางประมาณ ๑๒๕ กม. มีหลักเขตแดนท่ี ๒ ถึงหลักเขตแดนที่ ๒๓ จานวน ๒๓ หลัก ๓๙. ชอ่ งทางทส่ี าคัญ ในพน้ื ท่ี จว.สุรนิ ทร์ มีช่องทางทีส่ าคญั ๘ ช่องทาง คอื ๓๙.๑ ช่องปราสาทตาเมือน อยู่ในพ้ืนท่ีบ้านหนองคันนาสามัคคี ต.ตาเมียง อ.พนมดงรัก ลักษณะ ชอ่ งทางเป็นทางเดนิ เทา้ กว้างประมาณ ๑ ม. ลักษณะภมู ิประเทศทัว่ ไปเปน็ ภเู ขา ลักษณะพชื พันธ์ุเป็นป่าโปร่ง จากชอ่ งปราสาทตาเมอื น ไปทางทศิ ใต้ ระยะทางประมาณ ๓ กม. ถงึ บ้านตาเมือน อ.บันเตยี อาปลึ จว.อุดรมชี ยั ประเทศกัมพชู า ๓๙.๒ ช่องกร่าง อยู่ในพ้ืนที่บ้านหนองตาเลิ๊บ ต.บักได อ.พนมดงรัก ลักษณะช่องทางเป็นถนนดิน กวา้ งประมาณ ๓ ม. ลักษณะภูมปิ ระเทศทวั่ ไปเปน็ ภูเขา ลักษณะพชื พันธุ์เปน็ ป่าโปร่ง จากชอ่ งกรา่ ง ไปทางทิศ ตะวนั ออกเฉียงใต้ ระยะทางประมาณ ๑ กม. ถงึ บา้ นทมอโดน อ.บันเตียอาปลึ จว.อดุ รมีชัย ประเทศกมั พชู า ใน ฝง่ั ไทยจากปากช่องท ระยะทางประมาณ ๗ กม. บรรจบกับเสน้ ทางยทุ ธศาสตร์ อ.กาบเชงิ จว.สุรนิ ทร์ - อ.บา้ น กรวด จว.บรุ รี มั ย์ ๓๙.๓ ชอ่ งปราสาทตาควาย อยู่ในพ้ืนท่ีบ้านไทยสันติสุข ต.บกั ได อ.พนมดงรกั ลกั ษณะช่องทางเป็น ถนนดนิ กว้างประมาณ ๑ ม. ลักษณะภูมิประเทศทั่วไปเป็นภเู ขา ลกั ษณะพชื พนั ธเ์ุ ปน็ ปา่ โปร่งและเป็นทตี่ ง้ั ของ ปราสาทตาควาย จากช่องปราสาทตาควาย ไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ ระยะทางประมาณ ๓ กม. ถึงบ้าน เบา๊ ะทุม อ.บนั เตยี อาปึล จว.อดุ รมชี ยั ประเทศกัมพชู า ๓๙.๔ ชอ่ งปลดตา่ ง (๑) อยใู่ นพ้นื ท่บี า้ นสกลพฒั นา ต.ตะเคยี น อ.กาบเชิง ลกั ษณะชอ่ งทางเป็นถนน ลูกรัง กว้างประมาณ ๔ ม. ไม่สามารถเข้าถงึ แนวเขตแดนไดเ้ นอื่ งจากมีรวั้ ลวดหนามก้นั และเปน็ สนามทนุ่ ระเบิด ลักษณะภูมิประเทศทั่วไปเป็นภูเขา ลักษณะพืชพันธ์ุเป็นป่าโปร่ง จากช่องปลดต่าง (๑) ไปทางทิศตะวันออก เฉยี งใต้ ระยะทางประมาณ ๓ กม. ถงึ บ้านโอโปก ต.โอร์เสม็ด อ.บันเตยี อาปึล จว.อุดรมชี ยั ประเทศกัมพชู า ๓๙.๕ จุดผ่านแดนถาวรช่องจอม อยใู่ นพนื้ ทบี่ ้านดา่ นพัฒนา ต.ด่าน อ.กาบเชงิ ลกั ษณะชอ่ งทางเป็น ถนนลาดยาง กว้างประมาณ ๑๐ ม. ลักษณะภูมิประเทศท่ัวไปเป็นท่ีราบ ลักษณะพืชพนั ธ์ุเป็นปา่ โปร่ง จากจุด ผ่านแดนถาวรช่องจอม ไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ ระยะทางประมาณ ๓ กม. ถึงบ้านโอโปก ต.โอร์เสม็ด อ. สาโรง จว.อดุ รมชี ยั ประเทศกัมพูชา ปจั จบุ นั เปดิ เป็นจดุ ผ่านแดนถาวร ใช้ไปมาหาสู่ ซื้อเคร่อื งอปุ โภค - บริโภค ยารักษาโรคและท่องเท่ียว เปิด - ปิดเวลา ๐๖๐๐ - ๒๐๐๐ ของทุกวัน ในส่วนของกัมพูชาบรรจบกับถนน หมายเลข ๒๑๔ เขตกมั พชู า เป็นถนนหมายเลข ๖๘ บรเิ วณปากชอ่ งเปน็ ถนนคอนกรตี ระยะทาง ๒ กวา้ ง สอง ทางวง่ิ แต่ละทางวง่ิ กว้าง ๘ ม. ๓๙.๖ ช่องสวายจู อยู่ในพื้นท่ีบ้านคะนา ต.ตาตุม อ.สังขะ ลักษณะช่องทางเป็นทางเดินเท้า กว้าง ประมาณ ๑ ม. ลักษณะภูมิประเทศท่ัวไปเป็นภูเขา ลักษณะพืชพันธ์ุเป็นป่าโปร่ง จากช่องสวายจู ไปทางทิศ ตะวันออกเฉยี งใต้ ระยะทางประมาณ ๙.๕ กม. ถงึ บ้านอาปลึ อ.สาโรง จว.อดุ รมชี ยั ประเทศกมั พชู า ๓๙.๗ ช่องหลักเขตแดนหมายเลข ๓ อยู่ในพ้ืนที่บ้านตระเวง ต.จรัส อ.บัวเชด ลักษณะช่องทางเปน็ ทางเดนิ เท้า กว้างประมาณ ๑ ม. ลกั ษณะภูมปิ ระเทศทัว่ ไปเป็นภเู ขา ลกั ษณะพชื พนั ธุเ์ ป็นป่าโปรง่ จากหลักเขต แดนหมายเลข ๓ ไปทางทิศใต้ ระยะทางประมาณ ๗ กม. ถึงบ้านเกรียมโรเมี๊ยะ อ.อัลลองเวง จว.อุดรมีชัย ประเทศกัมพชู า

๓ – ๒๑ ๓๙.๘ ช่องอันเลย์ อยู่ในพ้ืนท่ีบ้านตระเวง ต.จรัส อ.บัวเชด ลักษณะช่องทางเป็นทางเดินเท้า กว้าง ประมาณ ๑ ม. ลักษณะภูมิประเทศท่ัวไปเปน็ ภูเขา ลักษณะพืชพันธุเ์ ป็นป่าโปร่ง จากช่องอันเลย์ ไปทางทศิ ใต้ ระยะทางประมาณ ๗ กม. ถึงบา้ นเกรียมโรเม๊ียะ อ.อัลลองเวง จว.อดุ รมชี ัย ประเทศกัมพชู า ๔๐. สภาพเส้นเขตแดนไทย -กัมพชู า ในพ้นื ท่ี จว.บุรีรมั ย์ จะอยู่ในพื้นท่ี อ.บ้านกรวด และ อ.ละหานทราย ห่างจากตัว จว.บรุ ีรัมย์ เป็นระยะทางประมาณ ๕๐ กม. เปน็ แนวเขตแดนตามแนวสันเขาพนมดงรกั มลี ักษณะ ค่อนขา้ งลาดเกอื บราบฝงั่ ไทย และเป็นหน้าผาสูงชันฝ่ังกัมพูชา ๔๑. ช่องทางท่ีสาคัญ ในพืน้ ท่ี จว.บุรรี ัมย์ มชี อ่ งทางทส่ี าคัญ ๓ ช่องทาง คอื ๔๑.๑ ช่องบาระแนะ (หลักเขตแดนที่ ๒๗) อยู่ในพ้ืนที่บ้านราษฎร์รักแดน ต.หนองแวง อ.ละหาน ลกั ษณะช่องทางเปน็ ถนนดิน กวา้ งประมาณ ๔ ม. ลักษณะภูมปิ ระเทศทั่วไปเป็นท่รี าบเชิงเขา ลักษณะพืชพันธุ์ เป็นป่าโปรง่ และบรเิ วณช่องทางเป็นท่ีต้งั ของหลักเขตแดนที่ ๒๗ จากช่องบาราแนะ ไปทางทิศตะวันออกเฉียง ใต้ ระยะทางประมาณ ๒ กม. ถึงบา้ นตาโลก ต.เตียชมา อ.ทมอพวก จว.บันเตยี เมยี นเจย ประเทศกัมพชู า ๔๑.๒ ชอ่ งโอบก อยใู่ นพ้นื ท่ีบ้านสายโท ๑ ใต้ ต.ปราสาท อ.บ้านกรวด ลกั ษณะชอ่ งทางเปน็ บนั ไดหนิ ตัดสลับกับคอนกรีต กว้างประมาณ ๑ ม. ลาดลงเขาชันประมาณ ๔๕ องศา ลักษณะภูมิประเทศท่ัวไปเป็นท่ี ราบเชิงเขา ลักษณะพืชพันธุ์เป็นป่าโปร่งปัจจุบันใช้เป็นจุดชมวิว จากช่องโอบก ไปทางทิศใต้ ระยะทาง ประมาณ ๓ กม. ถึงบ้านอาปลึ อ.บันเตียอาปลึ จว.บันเตยี เมยี นเจย ประเทศกมั พูชา ๔๑.๓ จุดผ่อนปรนช่องสายตะกู อยู่ในพ้ืนที่บ้านสายโท ๖ ใต้ ต.จันทบเพชร อ.บ้านกรวด ลักษณะ ช่องทางเป็นถนนลาดยาง กว้างประมาณ ๑๐ ม. ลักษณะภูมิประเทศทั่วไปเป็นท่ีราบเชิงเขา ลักษณะพืชพนั ธ์ุ เป็นป่าโปร่งยานพาหนะทุกชนดิ สามารถผ่านได้ทุกฤดูกาล จากจุดผ่อนปรนช่องสายตะกู ไปทางทิศตะวันออก ใต้ ระยะทางประมาณ ๑ กม. ถึงบา้ นจุบ๊ โกกี อ.บนั เตียอาปึล จว.บนั เตียเมยี นเจย ประเทศกมั พูชา ปัจจุบันเปิด เป็นจุดผ่อนปรน ใช้ไปมาหาสู่ ซ้ือเครื่องอุปโภค - บริโภค ยารักษาโรค ขนส่งบริการและท่องเที่ยว เปิด - ปิด เวลา ๐๘๐๐ - ๑๕๐๐ ของทุกวัน ๔๒. ลานา้ ที่สาคญั ในเขตพ้ืนท่ภี าคตะวันออกเฉยี งเหนอื ไดแ้ ก่ ๔๒.๑ ลาน้าโขง มีความยาวประมาณ ๔,๔๐๐ กม. เกิดจากทิวเขา ทางตะวันออกเฉียงใต้ของทีร่ าบ สงู ธิเบต เปน็ แนวพรมแดนไทย - ลาว ผา่ นลาว กมั พชู า ออกส่ทู ะเลจีน ๔๒.๒ ลานา้ เหือง เป็นลานา้ ขนาดเลก็ ก้นั เขตแดนไทย - ลาว ลาน้านี้ไหลลงส่ลู านา้ โขง ๔๒.๓ ลาน้ามูล ต้นน้าเกิดจากภูเขาวงและภเู ขาละม่งั ในทิวเขาสันกาแพงไหลผ่านพื้นท่ีหลายจว.ใน เขตพ้ืนท่ีภาคตะวันออกเฉียงเหนอื และไหลลงสู่แม่น้าโขงฝั่งขวาที่ อ.โขงเจียม จว.อุบลราชธานี บริเวณสุดทิว เขาพนมดงรกั ๔๒.๔ ลาน้าชี ต้นน้าเกิดจากภูเขาพญาฝ่อในทิวเขาเพชรบูรณ์ไหลผ่านจังหวัดต่าง ๆ ใน พ้ืนที่ภาค ตะวันออกเฉยี งเหนอื แล้วลงส่ฝู งั่ ซา้ ยของแม่น้ามูลท่ี อ.เมือง จว.อุบลราชธานี ๔๓. พ้นื ทีภ่ าคตะวันออกเฉียงเหนอื มีทร่ี าบสงู ที่สาคญั ได้แก่ ๔๓.๑ ที่ราบสูงนครราชสีมา - อุบลราชธานี เป็นที่ราบสูงใจกลางของภาคมีพ้ืนที่ในเขตจังหวัดรวม ๑๐ จังหวัดบริเวณลุ่มแม่น้ามลู ๔๓.๒ ทร่ี าบสูงอดุ ร - นครพนม เป็นที่ราบสงู ส่วนหนึง่ ของภาคในแถบลุ่มนา้ โขง อยใู่ นเขต ๔ จงั หวดั ๔๓.๓ ท่ีราบสูงเลยเปน็ ทรี่ าบบริเวณลุ่มน้าเลยอยู่ระหว่างทิวเขาเพชรบรู ณ์ ๔๔. ปัญหาแนวชายแดนทส่ี าคญั ๔๔.๑ หว้ ยดอน อ.โขงเจียม จว.อบุ ลราชธานี ไทย - ลาว อา้ งแนวเขตแดนตา่ งกนั ๔๔.๒ ช่องเม็ก - วังเต่า อ.สิรินธร จว.อุบลราชธานี ไทย - ลาว มีความเห็นต่างในการพิจารณาแนว สนั ปันนา้

๓ – ๒๒ ๔๔.๓ ทงุ่ หนองบวั อ.สริ ินธร จว.อุบลราชธานี ไทย – ลาว การอา้ งแนวสนั ปนั น้าทีเ่ ป็นแนวเขตแดน ต่างกนั เนอ่ื งจากมกี ารดัดแปลงพืน้ ทตี่ ามแนวสนั ปนั นา้ ๔๔.๔ ปราสาทพระวหิ าร อ.กนั ทรลักษ์ จว.ศรสี ะเกษ ไทย - กัมพูชา ยึดถือเส้นเขตแดนตามหลกั ฐาน ทาง กฎหมายต่างกัน ๔๔.๕ ชอ่ งจอม อ.กาบเชิง จว.สุรินทร์ ไทย – กมั พูชา มีการกอ่ สร้างหรอื ดัดแปลงสภาพภมู ิประเทศ บรเิ วณจดุ ผา่ นแดนถาวรชอ่ งจอม ๔๔.๖ ปราสาทตาเมอื น อ.พนมดงรกั จว.สุรินทร์ ไทย – กมั พูชา มีความเห็นตา่ งกนั บรเิ วณหลกั เขต แดนท่ี ๒๓ และกรรมสิทธ์ขิ องกล่มุ ปราสาทตาเมอื น

๓ – ๒๓ กองทพั ภาคที่ ๓ กลา่ วท่ัวไป กองทัพภาคที่ ๓ รับผิดชอบพ้ืนที่ในเขต ๑๗ จว.ทางตอนเหนือของประเทศไทยได้แก่ จว.อุทัยธานี, นครสวรรค์, กาแพงเพชร, ตาก, สุโขทัย, พิษณุโลก, พิจิตร, เพชรบูรณ์, อุตรดิตถ์, แพร่, น่าน, ลาปาง, พะเยา, ลาพนู , เชียงใหม่, แมฮ่ ่องสอน และเชยี งราย ภมู ปิ ระเทศทวั่ ไป ลักษณะภูมิประเทศทางภาคเหนือในพ้ืนที่รับผิดชอบของ ทภ.๓ ซึ่งเป็นส่วนใต้ของท่ีราบสูงยูนนาน เป็นพื้นท่ีตอนที่แม่น้าสาละวินกับแม่น้าโขง ไหลห่างออกจากกันเป็นภูมิภาคท่ีนับได้ว่าเป็นย่านภูเขาของ ประเทศที่มีเทือกเขาสลับซับซ้อนประกอบด้วยทิวเขาสูงกว้างใหญ่ติดต่อกันเป็นพืด ที่ราบระหว่างทิวเขามี ลักษณะเป็นห้องภมู ิประเทศท่ีทอดตัวยาวตามแนวในทิศทางเหนอื -ใต้เปน็ สว่ นมาก ลกั ษณะพืน้ ทีส่ ว่ นใหญ่ลาด เอียงลงมาทางทิศใต้ ซ่ึงเป็นพื้นที่ติดต่อกับภาคกลางเว้นแถบเหนือสุด คือ อ.ฝาง, อ.แม่อาย จว.เชียงใหม่ ซ่ึง ลาดเอยี งไปทางทิศเหนือและจว.เชยี งรายลาดอียงไปทางทิศตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ความรทู้ ่ัวไป ๔๕. ทิวเขาทส่ี าคญั ทางภาคเหนือในเขต ทภ.๓ มี ๗ ทวิ แบง่ ได้ตามลกั ษณะท่ที อดตัวในทศิ ทางดังนี้ ๔๕.๑ ทิวเขาท่ีทอดตัวตามแนวเหนือใต้ ได้แก่ ทิวเขาถนนธงชัย, ทิวเขาขุนตาล, ทิวเขาผีปันน้า, ทิว เขาหลวงพระบาง, ทวิ เขาเพชรบรู ณ์ ๔๕.๒ ทวิ เขาทีท่ อดตัวตามแนวตะวันออก-ตก ไดแ้ ก่ ทวิ เขาแดนลาว, ทิวเขาพลึง ๔๖. แม่น้าและลานา้ ทสี่ าคัญในพืน้ ที่ทางภาคเหนอื แบ่งการไหลลงสแู่ มน่ ้าท่ีสาคญั ได้ ๓ ประเภท ดงั น้ี ๔๖.๑ ประเภทที่ไหลลงสู่แม่น้าโขง ได้แก่ ลาน้ากก, ลาน้าฝาง, ลาน้าแม่ลาว, ลาน้ารวก, ลาน้าแม่ จัน และลาน้าแมอ่ งิ ๔๖.๒ ประเภทที่ไหลลงสู่แม่น้าสาละวนิ ได้แก่ ลาน้าปาย และลาน้าเมย โดยเฉพาะลาน้าเมย มีทิศ ทางการไหลจากใตไ้ ปเหนือ ๔๖.๓ ประเภทท่ไี หลลงสูแ่ ม่น้าเจ้าพระยา ไดแ้ ก่ ลาน้าปงิ , ลานา้ แมว่ งั , ลาน้ายม และลานา้ นา่ น ๔๗. แนวชายแดนไทยตลอดทั้งภาคในเขต ทภ.๓ มีความยาวประมาณ ๑,๘๐๐ กม. เป็นแนวชายแดนที่ ติดตอ่ กับ สมม. ประมาณ ๑,๒๐๐ กม. และติดตอ่ กับ สปป.ลาว ประมาณ ๖๐๐ กม. ๔๘. จงั หวัดในเขต ทภ.๓ ทมี่ ีชายแดนตดิ ต่อกบั ประเทศเมยี นมา คือ จว.เชยี งราย (อ.เชยี งแสน), เชียงใหม่ , แมฮ่ ่องสอน และตาก ๔๙. ยอดเขาสูงทส่ี าคญั ในพนื้ ทีภ่ าคเหนอื คอื ๔๙.๑ ดอยอินทนนท์ (ดอยอ่างกา) สูงจากระดับทะเลปานกลาง ๒,๕๖๗ ม. เป็นยอดเขาสูงสุดใน ประเทศไทยอยูบ่ นทวิ เขาถนนธงชยั ในเขต อ.จอมทอง จว.เชยี งใหม่ ๔๙.๒ ดอยผ้าห่มปก สงู จากระดับทะเลปานกลาง ๒,๒๙๗ ม. อยู่บนทิวเขาแดนลาว ในเขต อ.แมอ่ าย จว.เชียงใหม่ ๔๙.๓ ดอยหลวง สงู จากระดับทะเลปานกลาง ๒,๑๗๕ ม. บนยอดเขาอยบู่ นเขาดอยหลวง ในเขต อ. เชยี งดาว จว.เชยี งใหม่ ๔๙.๔ ดอยตุง สูงจากระดับทะเลปานกลาง ๑,๙๒๘ ม.อยู่บนทิวเขาแดนลาว ในเขต อ.แม่สาย จว. เชียงราย ๔๙.๕ ดอยอ่างขาง สูงจากระดับทะเลปานกลาง ๑,๙๑๘ ม. อยู่บนทิวเขาแดนลาว ในเขต อ.ฝาง จว. เชยี งใหม่

๓ – ๒๔ ๔๙.๖ ดอยสเุ ทพ สงู จากระดบั ทะเลปานกลาง ๑,๖๗๖ ม. บนยอดดอยเป็นทปี่ ระดิษฐานพระธาตุอยู่ บนทวิ เขาถนนธงชัยในเขต อ.เมอื ง จว.เชียงใหม่ ๔๙.๗ ภสู อยดาว สงู จากระดับทะเลปานกลาง ๑,๖๐๐ ม. อยู่บนทิวเขาหลวงพระบาง ในเขต อ.ชาติ ตระการ จว.พษิ ณุโลก ๔๙.๘ ภูเมี่ยง สูงจากระดับทะเลปานกลาง ๑,๕๖๔ ม. อยู่บนทิวเขาหลวงพระบาง ในเขต จว. อุตรดติ ถ์ ๕๐. แนวพรมแดนไทย-เมยี นมา ในเขต จว.เชยี งราย ใช้ลกั ษณะภมู ปิ ระเทศเปน็ แนวแบ่งเขตดังน้ี ๕๐.๑ แมน่ า้ รวกจากสบรวก (แมน่ า้ รวก ออกสูแ่ มน่ ้าโขง) ถงึ สบสาย (แม่น้าไหลลงแม่น้ารวก) แมน่ า้ สาย จากสบสาย ถึงแนวสันเขาดอยคา ซ่ึงเป็นส่วนหนึ่งของทิวเขาแดนลาว แนวเขตแดนในช่วงนี้ เจ้าหน้าที่ สารวจไทย-เมียนมา ได้ดาเนินการสารวจปักปันเขตแดนระหวา่ ง ๙ ก.ค. ๒๕๓๐ ถึง ๓๑ ก.ค. ๒๕๓๑ ได้สร้าง หลักอ้างอิงเขตแดนเป็นคู่กันฝ่ังละ ๔๙๒ หลัก ฝ่ังไทยสร้างตามแบบของไทย ส่วนฝ่ังเมียนมาสร้างตามแบบ เมียนมา ๕๐.๒ สันเขาทิวเขาแดนลาว นับต้ังแต่แนวสันเขาดอยคาบรรจบกับแม่น้าสายมาตามสันเขา จนถึง ดอยสามเสา้ ในเขต อ.แมจ่ ัน จว.เชยี งราย ๕๑. ทา่ ขา้ มและชอ่ งทางท่ีสาคญั ตามแนวพรมแดนในเขต จว.เชยี งราย มีดังนี้ ๕๑.๑ จุดผ่านแดนถาวรสามเหลี่ยมทองคา อยู่ในพ้ืนท่ีบ้านสบรวก ต.เวียง อ.เชียงแสน ลักษณะ ช่องทางเป็นท่าข้าม ทางข้ึน - ลง เป็นบันไดคอนกรีต กว้างประมาณ ๓ ม. ยาวประมาณ ๑๕ ม. เป็นตล่ิง ธรรมชาติ สูงประมาณ ๑๐ ม. มีความลาดชันประมาณ ๔๕ องศา ข้ามแม่น้ารวก กว้างประมาณ ๓๐ ม. ลักษณะภูมิประเทศท่ัวไปเป็นท่ีราบ ท่ีอยู่อาศัยและย่านธุรกิจการค้า ใช้เรือยนต์หางยาวขนาดเล็กในการ เดินทาง สามารถใช้ได้ทุกฤดูกาล จากท่าจุดผ่านแดนถาวรสามเหลี่ยมทองคา ไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ระยะทางประมาณ ๗ กม. ถงึ บ้านทุ่ง เมืองทา่ ขีเ้ หล็ก รฐั ฉาน สหภาพเมียนมา และจากจุดน้ีสามารถข้ามแม่น้า โขงไปยัง เมอื งต้นผ้ึง สปป.ลาว ไดด้ ว้ ย ปจั จบุ นั เปดิ เป็นจดุ ผ่านแดนถาวร ใชไ้ ปมาหาสู่ ค้าขาย ซอ้ื ยารกั ษาโรค ขนส่งบรกิ ารและท่องเท่ยี ว เปิด - ปิดเวลา ๐๖๐๐ - ๑๘๐๐ ของทกุ วนั ๕๑.๒ จุดผ่อนปรนบ้านสบรวก อยู่ในพ้ืนท่ีบ้านสบรวก ต.เวียง อ.เชียงแสน ลักษณะช่องทางเป็นทา่ ขา้ ม ทางขึ้น - ลง เป็นบนั ไดคอนกรีต กว้างประมาณ ๒ ม. ยาวประมาณ ๑๕ ม. เปน็ ตล่ิงธรรมชาติ สูงประมาณ ๑๐ ม. มีความลาดชันประมาณ ๔๕ องศา ขา้ มแมน่ ้ารวก กวา้ งประมาณ ๓๐ ม. ลกั ษณะภูมปิ ระเทศทว่ั ไปเป็น ที่ราบ ที่อยู่อาศัยและย่านธุรกิจการค้า ใช้เรือยนต์หางยาวขนาดเล็กในการเดินทาง สามารถใช้ได้ทุกฤดูกาล จากทา่ จุดผ่อนปรนบ้านสบรวก ไปทางทิศตะวนั ตกเฉียงเหนือ ระยะทางประมาณ ๘ กม. ถึงบ้านเมอื งพง เมอื ง ท่าข้ีเหล็ก รัฐฉาน สหภาพเมียนมา ปัจจุบันเปิดเป็นจุดผ่อนปรน ใช้ไปมาหาสู่ ค้าขายซ้ือยารักษาโรค ขนส่ง บรกิ ารและท่องเที่ยว เปดิ - ปดิ เวลา ๐๖๐๐ - ๑๘๐๐ ของทุกวนั ๕๑.๓ จุดผอ่ นปรนบ้านปางห้า อย่ใู นพนื้ ที่บา้ นปางห้า ต.เกาะชา้ ง อ.แม่สาย ลักษณะช่องทางเป็นท่า ข้าม เป็นตล่ิงธรรมชาติ สูงประมาณ ๓ ม. มีความลาดชันประมาณ ๔๕ องศา ข้ามแม่น้ารวก กว้างประมาณ ๓๐ ม. ใช้เรือยนตห์ างยาวขนาดเล็กในการเดินทาง สามารถใชไ้ ดท้ กุ ฤดูกาล จากทา่ จุดผ่อนปรนบ้านปางห้า ไป ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ระยะทางประมาณ ๐.๗ กม. ถงึ บา้ นป้ากกุ๊ เมืองท่าขเี้ หล็ก รฐั ฉาน สหภาพเมียน มา ปัจจุบันเปิดเป็นจุดผ่อนปรน ใช้ไปมาหาสู่ ค้าขายซ้ือยารักษาโรคและท่องเท่ียว เปิด - ปิดเวลา ๐๖๐๐ - ๑๘๐๐ ของทุกวนั ๕๑.๔ จดุ ผ่อนปรนทา่ ดินดา อยใู่ นพ้ืนทบ่ี า้ นศรีชัยภูมิ ต.เกาะชา้ ง อ.แมส่ าย ลักษณะชอ่ งทางเป็นท่า ข้าม เป็นตลิ่งธรรมชาติ สูงประมาณ ๓ ม. มีความลาดชันประมาณ ๔๕ องศา ข้ามแม่น้ารวก กว้างประมาณ ๓๐ ม. ใช้เรือยนต์หางยาวขนาดเล็กในการเดินทาง สามารถใช้ได้ทุกฤดูกาล จากท่าจุดผ่อนปรนท่าดินดา ไป

๓ – ๒๕ ทางทศิ ตะวันออกเฉียงเหนือ ระยะทางประมาณ ๑.๕ กม. ถึงบา้ นดนิ ดา เมืองทา่ ข้ีเหล็ก รัฐฉาน สหภาพเมียน มา ปัจจุบันเปิดเป็นจุดผ่อนปรน ใช้ไปมาหาสู่ ค้าขายซ้ือยารักษาโรคและท่องเท่ียว เปิด - ปิดเวลา ๐๖๐๐ - ๑๘๐๐ ของทกุ วนั ๕๑.๕ จุดผ่านแดนถาวรสะพานข้ามแม่น้าสายแห่งที่ ๒ อยู่ในพ้ืนท่ีบ้านสันผักฮี้ ต.แม่สาย อ.แม่สาย ลกั ษณะชอ่ งทางเปน็ สะพานคอนกรตี เสริมเหล็กรวมราวสะพาน กว้างประมาณ ๑๔.๗๐ ม. ประกอบดว้ ยทางรถ ขนาด ๒ ช่องจราจร กว้าง ๙ ม. และทางเท้าข้างละ ๑.๗๕ ม. ยาวประมาณ ๙๐ ม. ลักษณะตล่ิงเป็นตล่ิง ธรรมชาติ สูงประมาณ ๓ ม. มีความลาดชันประมาณ ๔๕ องศา สร้างข้ามแม่น้าสาย กว้างประมาณ ๓๐ ม. จากจุดผ่านแดนถาวรสะพานข้ามแม่นา้ สายแห่งที่ ๒ ไปทางทิศตะตกเฉียงเหนือ ระยะทางประมาณ ๐.๓ กม. ถงึ บา้ นแม่ขาว เมอื งท่าขเ้ี หล็ก รฐั ฉาน สหภาพเมียนมา ปจั จุบนั เปดิ เปน็ จุดผ่านแดนถาวร ใช้ไปมาหาสู่ ค้าขาย และท่องเทย่ี ว เปดิ - ปิดเวลา ๐๖๓๐-๑๘๓๐ ของทุกวัน ๕๑.๖ จุดผ่านแดนถาวรสะพานข้ามแม่น้าสาย อยู่ในพน้ื ที่เทศบาลตาบลแม่สาย ต.เวยี งผางคา อ.แม่ สาย ลักษณะชอ่ งทางเปน็ สะพานคอนกรตี เสรมิ เหลก็ กวา้ งประมาณ ๗ ม. ยาวประมาณ ๑๑๐ ม. มที างเดนิ เท้า ทงั้ สองฝัง่ กวา้ งประมาณฝ่งั ละ ๑.๕ ม. ความสงู จากจากสะพานถึงพื้นทอ้ งนา้ ประมาณ ๑๐ ม. ลกั ษณะตลิ่งเปน็ ตลิ่งธรรมชาติ สูงประมาณ ๓ ม. มีความลาดชันประมาณ ๔๕ องศา สร้างข้ามแมน่ า้ สาย กว้างประมาณ ๓๐ ม. เช่อื มต่อระหว่างทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๑๑๐ ของไทย กับถนนสายหมายเลข ๔ ของเมยี นมา จากจดุ ผ่าน แดนถาวรสะพานข้ามแม่น้าสาย ไปทางทิศเหนือ ระยะทางประมาณ ๐.๕ กม. ถึงเมืองท่าข้ีเหล็ก รัฐฉาน สหภาพเมยี นมา ปจั จบุ ันเปิดเป็นจุดผา่ นแดนถาวร ใช้ไปมาหาสู่ ค้าขายและทอ่ งเท่ียว เปิด - ปิดเวลา ๐๖๓๐- ๒๑๐๐ ของทกุ วนั ๕๑.๗ ท่าข้ามสายลมจอย อยู่ในพ้ืนที่บ้านแม่สาย ต.เวียงผางคา อ.แม่สาย ลักษณะช่องทางเป็นท่า ขา้ ม ทางขึ้นลงเปน็ บันไดคอนกรีต กวา้ งประมาณ ๓ ม. ยาวประมาณ ๔ ม. ลักษณะตลง่ิ เป็นตลง่ิ ธรรมชาติ สงู ประมาณ ๓ ม. มีความลาดชันประมาณ ๔๕ องศา ข้ามแม่น้าสาย กว้างประมาณ ๓๐ ม. ลักษณะภูมิประเทศ ทั่วไปเป็นท่ีราบและที่อยู่อาศัย จากท่าข้ามสายลมจอย ไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ระยะทางประมาณ ๑ กม. ถึง เมอื งท่าข้ีเหลก็ รฐั ฉาน สหภาพเมียนมา ปจั จบุ ันเปดิ เป็นจุดผอ่ นปรน ใช้ไปมาหาสู่ ค้าขายซ้อื ยารักษา โรคและทอ่ งเที่ยว เปิด - ปดิ เวลา ๐๖๐๐ - ๑๘๐๐ ของทุกวนั ๕๑.๘ จุดผ่อนปรนหัวฝาย อยู่ในพ้ืนท่ีบ้านแม่สาย ต.เวียงผางคา อ.แม่สาย จว.เชียงราย ลักษณะ ช่องทางเปน็ ตลิง่ ธรรมชาติ สูงประมาณ ๓ ม. มคี วามลาดชันประมาณ ๔๕ องศา ข้ามแมน่ า้ สาย กวา้ งประมาณ ๓๐ ม. ลักษณะภูมิประเทศท่วั ไปเปน็ ท่ีราบและท่ีอยู่อาศยั จากจุดผ่อนหวั ฝาย ไปทางทศิ ตะวนั ออกเฉียงเหนือ ระยะทางประมาณ ๑ กม. ถึง เมืองทา่ ขี้เหลก็ รัฐฉาน สหภาพเมียนมา ปัจจบุ นั เปดิ เปน็ จดุ ผอ่ นปรน ใชไ้ ปมาหา สู่ ซื้อเคร่อื งอปุ โภค - บรโิ ภค ยารกั ษาโรค ขนสง่ บริการและท่องเท่ยี ว ๕๑.๙ ช่องศูนย์ฝึกอบรมผาหมี ๑ อยู่ในพื้นท่ีบ้านผาหมี ต.เวียงผางคา อ.แม่สาย ลักษณะช่องทาง เป็นทางเดนิ เท้า กว้างประมาณ ๑ ม. ลกั ษณะภูมปิ ระเทศทวั่ ไปเป็นท่ีราบระหว่างหุบเขา ลักษณะพชื พันธุ์เป็น ป่าเบญจพรรณจากช่องศูนย์ฝึกอบรมผาหมี ๑ ไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ ระยะทางประมาณ ๒ กม. ถึงบ้าน มูเซอร์นาแก เมืองท่าขีเ้ หลก็ รัฐฉาน สหภาพเมียนมา ปจั จุบันมีการนาแผงเหล็กและแทง่ เสาปูนมาปักไว้กันคน เข้า - ออก ๕๑.๑๐ ชอ่ งศนู ยฝ์ ึกอบรมผาหมี ๒ อยู่ในพืน้ ที่บ้านผาหมี ต.เวยี งผางคา อ.แม่สาย ลกั ษณะชอ่ งทางเปน็ ทางเดินเทา้ กวา้ งประมาณ ๑ ม. ลกั ษณะภมู ปิ ระเทศท่ัวไปเปน็ ทร่ี าบระหวา่ งหุบเขา ลกั ษณะพชื พนั ธเุ์ ปน็ ป่าเบญจ พรรณ จากช่องศูนย์ฝึกอบรมผาหมี ๒ ไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ ระยะทางประมาณ ๑.๕ กม. ถึงบ้านมูเซอร์นา แก เมืองท่าข้เี หลก็ รัฐฉาน สหภาพเมยี นมา ปัจจบุ นั มีการนารั้วลวดหนามแบบหีบเพลงมาก้นั ไวก้ นั คนเขา้ -ออก

๓ – ๒๖ ๕๑.๑๑ ชอ่ งอาเคอะ อยใู่ นพนื้ ท่ีบา้ นป่าซางนาเงิน ต.แมฟ่ า้ หลวง อ.แม่ฟ้าหลวง ลกั ษณะชอ่ งทางเป็น ทางเดินเท้า กว้างประมาณ ๑ ม. ลักษณะภูมิประเทศท่ัวไปเป็นท่ีราบระหว่างหุบเขา ลักษณะพืชพันธ์ุเป็นป่า เบญจพรรณ จากชอ่ งอาเคอะ ไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ระยะทางประมาณ ๕ กม. ถึงบา้ นผาขาว เมืองท่า ขเี้ หล็ก รัฐฉาน สหภาพเมียนมา ปจั จบุ ันมีการแท่งปูนส่ีเหลี่ยมขนาดยาวประมาณ ๒ ม. สงู ประมาณ ๑ ม.มากั้น ไว้กันคนเขา้ -ออก ๕๑.๑๒ ช่องลิซี อยู่ในพื้นที่บ้านลิซี ต.เทอดไทย อ.แม่ฟ้าหลวง ลักษณะช่องทางเป็นถนนดิน กว้าง ประมาณ ๒ ม. ลักษณะภูมิประเทศทั่วไปเป็นที่ราบระหว่างหุบเขา ลักษณะพืชพันธ์ุเป็นป่าเบญจพรรณ จาก ช่องลิซี ไปทางทิศตะวนั ตกเฉยี งเหนอื ระยะทางประมาณ ๑๐ กม. ถึงเมืองกาน รฐั ฉาน สหภาพเมียนมา ๕๑.๑๓ ช่องสันมะเค็ด อยใู่ นพ้นื ทบ่ี ้านสันมะเคด็ ต.แมส่ ลองใน อ.แม่ฟ้าหลวง จว.เชยี งราย ลักษณะ ชอ่ งทางเปน็ ถนนดิน กว้างประมาณ ๓ ม. ลักษณะภมู ปิ ระเทศท่ัวไปเปน็ ที่ราบระหว่างหุบเขา ลกั ษณะพืชพันธุ์ เป็นป่าเบญจพรรณ จากช่องสันมะเค็ด ไปทางทิศตะวันตก ระยะทางประมาณ ๑๕ กม. ถึงเมืองยอน รัฐฉาน สหภาพเมียนมา ปจั จบุ นั มีการสรา้ งแนวรัว้ ลวดหนามกัน้ ไว้กนั คนเขา้ -ออก ๕๑.๑๔ ช่องดอยสามเส้าใหญ่ อยู่ในพ้ืนที่บ้านแม่จันหลวง ต.แม่สลองนอก อ.แม่ฟ้าหลวง ลักษณะ ช่องทางเป็นทางเดินเท้า กว้างประมาณ ๑ ม. ลักษณะภูมิประเทศท่ัวไปเป็นท่ีราบระหว่างหุบเขา ลักษณะพืชพันธ์ุ เป็นป่าเบญจพรรณ จากช่องดอยสามเส้าใหญ่ ไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ระยะทางประมาณ ๑๕ กม. ถึง เมอื งยอน เมืองทา่ ขเี้ หลก็ รัฐฉาน สหภาพเมียนมา ปัจจุบนั มกี ารสร้างแนวรว้ั ลวดหนามกั้นไวก้ นั คนเขา้ - ออก ๕๒. แนวพรมแดนไทย - เมียนมา ในเขต จว.เชยี งใหม่ ใชแ้ นวสันเขาของทิวเขาแดนลาวเป็นเส้นแบ่งเขต รวมความยาวประมาณ ๑๙๒ กม. ๕๓. ชอ่ งทางผ่านพรมแดนที่สาคญั ในเขต จว.เชยี งใหม่ มดี งั นี้ ๕๓.๑ ช่องทางสันต้นดู่ อยู่ในพ้ืนท่ีบ้านสันต้นดู่ ต.ท่าตอน อ.แม่อาย ลักษณะช่องทางเป็นทางเดิน เท้า กว้างประมาณ ๑ ม. ลักษณะภูมิประเทศทั่วไปเป็นท่ีราบระหว่างหุบเขา ลักษณะพืชพันธ์ุเป็นป่าเบญจ พรรณ จากชอ่ งทางสันตน้ ดู่ ไปทางทิศเหนือ ระยะทางประมาณ ๑๕ กม. ถงึ เมอื งยอน เมืองท่าข้เี หลก็ รัฐฉาน สหภาพเมียนมา ๕๓.๒ ช่องทางลาน้ากก อยู่ในพ้ืนที่บ้านแก๋งตุ๋ม ต.ท่าตอน อ.แม่อาย ลักษณะช่องทางเป็นทางเดิน เท้าไปชนลาน้ากก ซึ่งไหลผ่านพ้ืนท่ีพิพาทดอยลาง-ดอยห้วยฮะ ท่ีเป็นพื้นท่ีทับซ้อนระหว่างไทยและเมียนมา เข้ามาในประเทศไทย ลักษณะภูมิประเทศทั่วไปเป็นท่ีราบระหว่างหุบเขา ลักษณะพืชพันธุ์เป็นป่าเบญจพรรณ ใช้แพ และเรือเป็นพาหนะในการเดินทาง จากช่องทางลาน้ากก ไปทางทิศเหนือ ผ่านพื้นท่ีทับซ้อน ระยะทาง ประมาณ ๕ กม. ถึงบา้ นเปียงคา เมืองยอน รฐั ฉาน สหภาพเมียนมา ๕๓.๓ ชอ่ งประตผู ี อย่ใู นพื้นที่บา้ นปางใน ต.มะลกิ า อ.แม่อาย ลักษณะช่องทางเป็นทางเดินเท้า กว้าง ประมาณ ๒ ม. ซ่ึงผ่านพ้นื ทพี่ ิพาทดอยลาง-ดอยห้วยฮะ ที่เป็นพ้ืนท่ีทับซ้อนระหว่างไทยและเมียนมา ลักษณะ ภมู ิประเทศท่วั ไปเปน็ ท่ีราบระหว่างหุบเขา พนื้ ท่ีลกั ษณะพชื พนั ธเุ์ ปน็ ป่าเบญจพรรณ จากช่องประตผู ี ไปทางทศิ ตะวันออกเฉียงเหนอื ผ่านพื้นท่ีทับซ้อน ระยะทางประมาณ ๘ กม. ถึงบ้านเปียงคา เมืองยอน รัฐฉาน สหภาพ เมียนมา ปัจจุบันมีการใชไ้ ม้ไผส่ ูงประมาณ ๓ ม. ปักเปน็ แนวยาวขวา้ งเสน้ ทางกันคนเข้า-ออก ๕๓.๔ ช่องนามะอื้น อยู่ในพื้นที่บ้านปางต้นเดื่อ ต.แม่อาย อ.แม่อาย ลักษณะช่องทางเป็นทางเดิน เทา้ กวา้ งประมาณ ๒ ม. ลกั ษณะภมู ปิ ระเทศท่ัวไปเปน็ ภูเขา พืน้ ทลี่ กั ษณะพชื พนั ธเุ์ ปน็ ป่าโปร่ง จากชอ่ งนามะ อื้น ไปทางทิศเหนือ ระยะทางประมาณ ๑๐ กม. ถึงบ้านหัวยอด เมืองสาด รัฐฉาน สหภาพเมียนมา ปัจจุบันมี การใช้ไมท้ าเป็นร้วั กั้นบริเวณช่องทางและมปี ระตูเปิด - ปดิ ทาดว้ ยไมไ้ ผก่ นั คนเข้า-ออก ๕๓.๕ ช่องดอยผ้าห่มปก อยู่ในพ้ืนท่ีบ้านปางต้นเดื่อ ต.แม่อาย อ.แม่อาย ลักษณะช่องทางเป็น ทางเดินเท้า กว้างประมาณ ๑ ม. ลักษณะภูมิประเทศทั่วไปเป็นภูเขา พื้นท่ีลักษณะพืชพันธ์ุเป็นป่าโปร่ง จาก

๓ – ๒๗ ช่องดอยผ้าห่มปก ไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ลัดเลาะไปตามเชิงเขา หุบเขาค่อนข้างสูงและลาดชัน ระยะทางประมาณ ๕ กม. ถงึ บา้ นหัวปา่ ง เมืองสาด รัฐฉาน สหภาพเมยี นมา ๕๓.๖ ช่องดอยสันจุ๊ อยู่ในพื้นท่ีบ้านลาน ต.ม่อนปิ่น อ.ฝาง ลักษณะช่องทางเป็นถนนดิน กว้าง ประมาณ ๓ ม. ลักษณะภูมิประเทศทั่วไปเป็นท่ีราบระหว่างหุบเขา สภาพสองข้างทางเป็นพื้นที่การเกษตร ลักษณะพืชพันธเ์ุ ป็นป่าโปรง่ จากช่องดอยสันจุ๊ ไปทางทิศเหนือ ระยะทางประมาณ ๑๐ กม. ถึงบ้านห้วยยอด เมอื งสาด รฐั ฉาน สหภาพเมยี นมา ปจั จบุ ันมกี ารตงั้ ฐานปฏิบตั กิ ารดอยสันจุ๊ บรเิ วณใกล้ช่องทางผา่ นพรมแดน ๕๓.๗ ช่องปางตอง อยู่ในพื้นท่ีบ้านหนองเต่า ต.ม่อนป่ิน อ.ฝาง ลักษณะช่องทางเป็นทางเดินเท้า กว้างประมาณ ๑.๕ ม. ลักษณะภูมิประเทศทั่วไปเป็นภูเขา ลักษณะพืชพันธุ์เป็นป่าโปร่ง จากช่องปางตอง ไป ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ระยะทางประมาณ ๘ กม. ถึงบ้านนากองมู เมืองหาง รัฐฉาน สหภาพเมียนมา ปัจจบุ นั มีการนาทอ่ นซุงขนาดใหญม่ าวางขวางเสน้ ทางไว้ ๕๓.๘ ช่องนอแล อยู่ในพื้นที่บ้านนอแล ต.ม่อนป่ิน อ.ฝาง ลักษณะช่องทางเป็นทางเดินเท้า กว้าง ประมาณ ๑ ม. มีประตูร้วั ไม้ กว้างประมาณ ๑ ม. สงู ประมาณ ๒ ม. ก้นั บรเิ วณชอ่ งทาง ลกั ษณะภูมปิ ระเทศทั่วไป เป็นที่ราบระหว่างหุบเขา สภาพสองข้างทางเป็นพ้ืนที่การเกษตร ลักษณะพืชพันธเุ์ ป็นป่าโปร่ง จากช่องนอแล ไป ทางทิศตะวนั ตกเฉยี งเหนอื ระยะทางประมาณ ๘ กม. ถงึ บา้ นนากองมู เมอื งหาง รัฐฉาน สหภาพเมียนมา ๕๓.๙ ช่องผาหิน อยู่ในพื้นท่ีบ้านหลวง ต.แม่งอน อ.ฝาง ลักษณะช่องทางเป็นทางเดินเท้า กว้าง ประมาณ ๑ ม. ลกั ษณะภมู ปิ ระเทศท่วั ไปเป็นท่รี าบระหว่างหุบเขา ลกั ษณะพืชพันธเ์ุ ปน็ ป่าโปร่ง จากช่องผาหิน ไปทางทิศตะวนั ตกเฉียงเหนือ ระยะทางประมาณ ๘ กม. ถงึ บา้ นนากองมู เมืองหาง รัฐฉาน สหภาพเมยี นมา ๕๓.๑๐ จุดผ่อนปรนช่องหลักแต่ง อยู่ในพ้ืนท่ีบ้านหลักแต่ง ต.เปียงหลวง อ.เวียงแหง ลักษณะ ช่องทางเปน็ ถนนลาดยาง กวา้ งประมาณ ๗ ม. มีประตูรัว้ เหลก็ กว้างประมาณ ๗ ม. สงู ประมาณ ๒ ม. ลักษณะ ภูมปิ ระเทศทว่ั ไปเปน็ ที่ราบระหว่างหุบเขา ลกั ษณะพชื พันธ์เุ ป็นป่าโปรง่ จากจดุ ผอ่ นปรนช่องหลกั แตง่ ไปทาง ทิศเหนอื ระยะทางประมาณ ๔ กม. ถงึ เมอื งเต๊าะ รัฐฉาน สหภาพเมยี นมา ปจั จบุ ันได้ปิดจดุ ผ่อนปรนช่องหลัก แต่ง ไม่มกี ารเดินทางผ่านเขา้ -ออก ของราษฎรทงั้ สองฝง่ั ๕๓.๑๑ ช่องหัวนา้ เต๊าะ อยูใ่ นพนื้ ทบ่ี ้านนามน ต.เมอื งแหง อ.เวยี งแหง ลกั ษณะช่องทางเป็นถนนดิน กว้างประมาณ ๓ ม. ลักษณะภูมิประเทศทั่วไปเป็นภูเขา ลักษณะพืชพันธุ์เป็นป่าโปร่ง จากช่องหัวน้าเต๊าะ ไป ทางทิศเหนือ ระยะทางประมาณ ๑ กม. ถงึ บา้ นพา้ ยเพ เมอื งเตา๊ ะ รฐั ฉาน สหภาพเมียนมา ๕๓.๑๒ จดุ ผอ่ นปรนชอ่ งกิ่วผาวอก อยูใ่ นพ้ืนที่บ้านอรุโณทัย ต.เมอื งนะ อ.เชียงดาว ลกั ษณะช่องทาง เปน็ ถนนดนิ กว้างประมาณ ๖ ม. มรี ั้วประตูเหล็ก กว้างประมาณ ๖ ม. สงู ประมาณ ๓ ม. ลกั ษณะภูมปิ ระเทศ ทว่ั ไปเป็นที่ราบระหว่างหบุ เขา ลักษณะพชื พนั ธ์เุ ปน็ ป่าโปรง่ จากจดุ ผ่อนปรนชอ่ งกวิ่ ผาวอก ไปทางทิศตะวันตก เฉยี งเหนอื ระยะทางประมาณ ๑๖ กม. ถึงบ้านโปง่ ปา่ แขม เมืองสาด รัฐฉาน สหภาพเมยี นมา ปจั จบุ นั ไดป้ ิดจุด ผอ่ นปรนช่องกว่ิ ผาวอก ไมม่ กี ารเดนิ ทางผา่ นเข้า-ออก ของราษฎรท้ังสองฝงั่ ๕๓.๑๓ ช่องหนองเขียว อยู่ในพื้นที่บ้านอรุโณทัย ต.เมืองนะ อ.เชียงดาว ลักษณะช่องทางเป็นถนน ดนิ กว้างประมาณ ๓ ม. มีรว้ั ไมเ้ ป็นแนวยาวและมีประตไู ม้ กว้างประมาณ ๑.๕ ม. สูงประมาณ ๒ ม. ลกั ษณะ ภูมิประเทศท่ัวไปเป็นที่ราบระหว่างหุบเขา ลักษณะพืชพันธุ์เป็นป่าโปร่ง จากช่องหนองเขียว ไปทางทิศเหนอื ระยะทางประมาณ ๑๗ กม. ถึงบา้ นโปง่ ป่าแขม เมืองสาด รฐั ฉาน สหภาพเมยี นมา ๕๓.๑๔ ช่องเมืองนะ อยู่ในพื้นที่บ้านเมืองนะ ต.เมืองนะ อ.เชียงดาว ลักษณะช่องทางเป็นทางเดิน เทา้ กวา้ งประมาณ ๔ ม. ลกั ษณะภูมปิ ระเทศท่ัวไปเป็นทีร่ าบระหว่างหบุ เขา ลักษณะพืชพันธ์ุเปน็ ปา่ โปรง่ จาก ชอ่ งเมืองนะ ไปทางทศิ ตะวันออกเฉยี งเหนือ ระยะทางประมาณ ๑๖ กม. ถงึ บา้ นโป่งป่าแขม เมืองสาด รัฐฉาน สหภาพเมียนมา ปจั จุบนั มีการสร้างร้วั ไมแ้ ละก้ันดว้ ยลวดหนามบรเิ วณช่องทาง ๕๔. ลกั ษณะแนวพรมแดนไทย - เมียนมา ในเขต จว.แมฮ่ ่องสอน มีดังน้ี

๓ – ๒๘ ๕๔.๑ เสน้ เขตแดนตามแนวสันเขา ต้ังแต่ดอยสกั ทอ (ดอยหลวง) ทางตะวันตก ตามแนวสันเขาแดน ลาวและถนนธงชัยจนถงึ ผาจองตอ่ แมน่ ้าสาละวนิ มคี วามยาว ๓๑๗.๖ กม. ๕๔.๒ เส้นเขตแดนตามแนวแมน่ า้ สาละวนิ จากผาจอง ถงึ บ.สบเมย อ.สบเมย มีความยาว ๑๑๘ กม. ๕๔.๓ เสน้ เขตแดนตามแนวแม่น้าเมย จาก บ.สบเมย จนถงึ รอยต่อ อ.สบเมย จว.แมฮ่ อ่ งสอน กบั อ. ท่าสองยาง จว.ตาก มีความยาว ๙ กม. ๕๕. ชอ่ งทางผ่านพรมแดนทีส่ าคัญในเขต จว.แมฮ่ ่องสอน มีดงั นี้ ๕๕.๑ ชอ่ งไมล้ ัน อย่ใู นพ้นื ทีบ่ า้ นไม้ลนั ต.ปางมะผ้า อ.ปางมะผา้ ลักษณะช่องทางเปน็ ถนนดนิ กว้าง ประมาณ ๓ ม. มีร้ัวไม้เป็นแนวยาว และมีประตูเป็นช่องทางผ่านเข้า - ออก ลักษณะภูมิประเทศทั่วไปเป็นที่ ราบระหว่างหุบเขา พืชพันธุ์ไม้เป็นป่าโปร่ง จากช่องไม้ลัน ไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ระยะทางประมาณ ๓.๘ กม. ถงึ บ้านตากแดด เมอื งปัน รฐั ฉาน สหภาพเมียนมา ปจั จุบนั เปดิ ให้ราษฎรทัง้ ชาวไทยและพม่า ใช้เป็น เสน้ ทางไปมาหาสู่ ซ้อื เครื่องอุปโภค - บรโิ ภค และยารักษาโรค ๕๕.๒ ช่องหารเด็ด อยู่ในพ้ืนท่ีบ้านโท้งนา ต.นาปู่ป้อม อ.ปางมะผ้า ลักษณะช่องทางเป็นถนนดิน กวา้ งประมาณ ๓ ม. ลักษณะภูมิประเทศทั่วไปเป็นทร่ี าบระหวา่ งหบุ เขา ลกั ษณะพชื พันธุ์เป็นป่าโปรง่ จากชอ่ ง หารเด็ด ไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ ระยะทางประมาณ ๒ กม. ถึงบ้านนาอ่อน เมืองปัน รัฐฉาน สหภาพเมยี น มา ปัจจุบันไมส่ ามารถเขา้ ถงึ บริเวณชอ่ งทางไดเ้ นอื่ งจากเป็นสนามทนุ่ ระเบดิ ๕๕.๓ จุดผ่อนปรนห้วยผ้ึงนามน อยู่ในพื้นท่ีบ้านห้วยผ้ึง ต.ห้วยผา อ.เมืองแม่ฮ่องสอน ลักษณะ ชอ่ งทางเป็นถนนคอนกรตี กวา้ งประมาณ ๕ ม. ลกั ษณะภมู ิประเทศท่วั ไปเป็นทร่ี าบระหวา่ งหบุ เขา ลกั ษณะพชื พันธุ์เป็นป่าโปรง่ รถยนต์ทุกชนิดสามารถผ่านได้ทุกฤดกู าล จากจุดผ่อนปรนห้วยผ้ึงนามน ไปทางทิศตะวันตก เฉียงเหนือ ระยะทางประมาณ ๑ กม. ถึงบ้านหัวเมือง จว.ตองจี รัฐฉาน สหภาพเมียนมา ปัจจุบันเปิดเป็นจุด ผอ่ นปรนทางการค้า ให้ราษฎรทั้งชาวไทยและพมา่ ใชเ้ ปน็ เส้นทางไปมาหาสู่ ซ้ือเครื่องอุปโภค - บริโภค และยา รกั ษาโรค ขนส่งสนิ ค้าบรกิ ารและทอ่ งเท่ยี ว เปิด - ปดิ เวลา ๐๖๐๐ - ๑๘๐๐ ของทกุ วนั ๕๕.๔ ช่องนาป่าแปก อยูใ่ นพื้นท่บี ้านรกั ไทย ต.หมอกจาแป๋ อ.เมอื งแมฮ่ ่องสอน ลักษณะช่องทางเปน็ ถนนดิน กว้างประมาณ ๔ ม. ลักษณะภูมิประเทศทั่วไปเป็นที่ราบระหว่างหุบเขา พืชพันธุ์ไม้เป็นป่าโปรง่ จาก ช่องนาป่าแปก ไปทางทิศเหนือ ระยะทางประมาณ ๐.๕ กม. ถึงบ้านกองมุงเมือง จว.ตองจี รัฐฉาน สหภาพ เมียนมา ปัจจุบันอนุโลมให้ราษฎรทั้งชาวไทยและพม่า ใช้เป็นเส้นทางไปมาหาสู่ ซ้ือเครื่องอุปโภค - บริโภค และยารักษาโรค ๕๕.๕ ชอ่ งแม่ออ-รักไทย อยู่ในพื้นท่ีบา้ นรักไทย ต.หมอกจาแป๋ อ.เมืองแม่ฮอ่ งสอน ลกั ษณะช่องทาง เป็นทางเดินเท้า กว้างประมาณ ๑ ม. ลักษณะภูมิประเทศทั่วไปเป็นท่ีราบระหว่างหุบเขา พืชพันธุ์ไม้เป็นป่า โปร่ง จากช่องแม่ออ-รักไทย ไปทางทิศตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ระยะทางประมาณ ๑ กม. ถึงกองกาลังทหารวา้ จว.ตองจี รัฐฉาน สหภาพเมียนมา ปัจจุบันอนุโลมให้ราษฎรทั้งชาวไทยและพม่า ใช้เป็นเส้นทางไปมาหาสู่ ซื้อ เคร่อื งอุปโภค - บรโิ ภค และยารกั ษาโรค ๕๕.๖ จุดผ่อนปรนช่องนา้ เพียงดนิ อย่ใู นพื้นทบี่ า้ นนา้ เพยี งดิน ต.ผาบ่อง อ.เมืองแม่ฮ่องสอน ลกั ษณะ ช่องทางเป็นทา่ ขา้ มเชือ่ มต่อจากถนนลูกรัง กว้างประมาณ ๔ ม. รมิ ฝง่ั แม่น้าปาย ซงึ่ มีความกว้างประมาณ ๑๐๐ ม. ลักษณะภูมิประเทศทั่วไปเป็นท่ีราบระหว่างหุบเขา สภาพสองข้างทางเป็นท่ีอยู่อาศัยสลับพื้นท่ีทาง การเกษตร จากจดุ ผ่อนปรนช่องน้าเพยี งดิน ไปทางทศิ ตะวันตกเฉยี งใต้ตามแม้น้าปาย ระยะทางประมาณ ๐.๑ กม. ถึงกองกาลังทหารพม่า จว.ลอยก่อ รัฐคะยา สหภาพเมียนมา ปัจจุบันเปิดเป็นจุดผ่อนปรน ให้ราษฎรทั้ง ชาวไทยและพม่า ใช้เป็นเส้นทางไปมาหาสู่ ซื้อเครื่องอุปโภค - บริโภค และยารักษาโรคและท่องเที่ยว เปิด - ปดิ เวลา ๐๘๐๐ - ๑๖๐๐ ของทุกวัน

๓ – ๒๙ ๕๕.๗ จุดผ่อนปรนบ้านห้วยต้นนุ่น อยู่ในพ้ืนท่ีบ้านห้วยต้นนุ่น ต.แม่เงา อ.ขุนยวม ลักษณะช่องทาง เป็นถนนดิน กว้างประมาณ ๓ ม. ลักษณะภูมิประเทศทว่ั ไปเปน็ ที่ราบระหว่างหุบเขา สภาพสองข้างทางเป็นที่อยู่ อาศัยสลับพ้ืนที่ทางการเกษตร จากจุดผ่อนปรนบ้านห้วยต้นนุ่น ไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ ระยะทางประมาณ ๑๐ กม. ถึงบ้านน้ามาง อ.แม่แจะ๊ จว.ดอยก่อ รัฐคะยา สหภาพเมียนมา ปจั จบุ นั เปิดเปน็ จุดผ่อนปรน ให้ราษฎร ท้ังชาวไทยและพม่า ใช้เป็นเส้นทางไปมาหาสู่ ซ้ือเคร่ืองอุปโภค - บริโภค และยารักษาโรคและท่องเท่ียว เปิด - ปดิ เวลา ๐๘๐๐ - ๑๖๐๐ ของทกุ วนั ๕๕.๘ จดุ ผ่อนปรนการคา้ ช่องเสาหนิ อยใู่ นพ้ืนทีบ่ า้ นเสาหนิ ต.เสาหิน อ.แมส่ ะเรียง ลักษณะชอ่ งทาง เป็นถนนดนิ กว้างประมาณ ๓ ม. ลักษณะภูมิประเทศทั่วไปเป็นที่ราบระหว่างหุบเขา สภาพสองข้างทางเปน็ ท่ี อยู่อาศัยสลับพื้นท่ีทางการเกษตร จากจุดผ่อนปรนการค้าช่องเสาหิน ไปทางทิศตะวันตกเฉยี งเหนือ ระยะทาง ประมาณ ๓ กม. ถึงบ้านห้วยทราย อ.แม่แจ๊ะ จว.ดอยก่อ รัฐคะยา สหภาพเมียนมา ปัจจุบันเปิดเป็นจุดผ่อน ปรน ให้ราษฎรทั้งชาวไทยและพม่า ใช้เป็นเสน้ ทางไปมาหาสู่ ซอ้ื เคร่ืองอุปโภค - บริโภค และยารกั ษาโรคและ ทอ่ งเทีย่ ว เปิด - ปดิ เวลา ๐๘๐๐ - ๑๖๐๐ ของทุกวนั ๕๕.๙ ท่าข้ามผาต้ัง อยู่ในพื้นท่ีบ้านปอหมื่อ ต.แม่คง อ.แม่สะเรียง ลักษณะช่องทางเป็นท่าจอดเรือ ของราษฎรทัง้ ชาวไทยและชาวพม่า ริมแม่นา้ สาละวิน ซ่ึงมคี วามกวา้ งประมาณ ๑๐๐ ม. เปน็ ตลง่ิ ธรรมชาติ สงู ประมาณ ๕ ม. มีความลาดชันประมาณ ๑๐ - ๑๕ องศา ลักษณะภูมิประเทศทั่วไปเป็นท่ีราบ สภาพสองข้าง ทางเป็นที่อยู่อาศัยสลับพ้ืนที่ทางการเกษตร จากท่าข้ามผาต้ัง ไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ตามแม่น้าสาละวิน ระยะทางประมาณ ๔ กม. ถึงบ้านตะกอท่า รัฐกะเหร่ียง สหภาพเมียนมา ใช้เป็นเส้นทางไปมาหาสู่ ซ้ือเครื่อง อุปโภค - บรโิ ภค และยารกั ษาโรค ๕๕.๑๐ ท่าข้ามแมส่ ะเกิบ อยใู่ นพนื้ ทบี่ า้ นห้วยกองแป ต.แมค่ ง อ.แมส่ ะเรียง ลักษณะชอ่ งทางเป็นท่า จอดเรือของราษฎรทั้งชาวไทยและชาวพม่า ริมแม่น้าสาละวิน ซ่ึงมีความกว้างประมาณ ๑๐๐ ม. เป็นตล่ิง ธรรมชาติ สูงประมาณ ๕ ม. มีความลาดชันประมาณ ๑๐ - ๑๕ องศา ลักษณะภูมิประเทศทั่วไปเป็นท่ีราบ สภาพสองขา้ งทางเป็นท่ีอยอู่ าศยั สลบั พ้ืนท่ีทางการเกษตร จากท่าข้ามแม่สะเกิบ ไปทางทิศตะวนั ตกตามแม่น้า สาละวิน ระยะทางประมาณ ๐.๓ กม. ถึงศูนย์อบยพอิตูท่า รัฐกะเหรย่ี ง สหภาพเมียนมา ใช้เป็นเส้นทางไปมา หาสู่ ซื้อเครอ่ื งอปุ โภค - บรโิ ภค และยารกั ษาโรค ๕๕.๑๑ จุดผ่อนปรนบา้ นแม่สามแลบ อยใู่ นพนื้ ท่ีบา้ นแมส่ ามแลบ ต.แม่สามแลบ อ.สบเมย ลกั ษณะ ช่องทางเป็นทา่ จอดเรอื ของราษฎรทัง้ ชาวไทยและชาวพม่า รมิ แมน่ า้ สาละวนิ ซ่ึงมคี วามกวา้ งประมาณ ๑๐๐ ม. เปน็ ตล่งิ ธรรมชาติ สูงประมาณ ๒๐ ม. มคี วามลาดชนั ประมาณ ๑๐ - ๒๕ องศา ลักษณะภูมิประเทศทว่ั ไปเป็น ท่ีราบ สภาพสองข้างทางเป็นที่อยูอ่ าศัยสลับพนื้ ท่ีทางการเกษตร จากจุดผ่อนปรนบา้ นแม่สามแลบ ไปทางทิศ ตะวันตก ระยะทางประมาณ ๐.๕ กม. ถึงกองกาลงั ทหารพม่า บา้ นผาปูน รัฐกะเหรี่ยง สหภาพเมยี นมา ปจั จุบัน เปิดเปน็ จดุ ผอ่ นปรน ใหร้ าษฎรทงั้ ชาวไทยและพม่า ใชเ้ ปน็ เส้นทางไปมาหาสู่ ซ้ือเครื่องอุปโภค - บรโิ ภค และยา รกั ษาโรคและทอ่ งเที่ยว เปิด - ปดิ เวลา ๐๘๐๐ - ๑๖๐๐ ของทกุ วัน ๕๕.๑๒ จดุ ผอ่ นปรนบา้ นสบเมย อยู่ในพนื้ ทีบ่ ้านสบเมย ต.แมส่ ามแลบ อ.สบเมย ลกั ษณะช่องทางเป็น ท่าจอดเรือของราษฎรท้ังชาวไทยและชาวพม่า ริมแม่น้าสาละวิน ซึ่งมีความกว้างประมาณ ๑๐๐ ม. เป็นตลิ่ง ธรรมชาติ สูงประมาณ ๒๐ ม. มีความลาดชันประมาณ ๑๐ - ๒๕ องศา ลักษณะภูมิประเทศทั่วไปเป็นที่ราบ สภาพสองข้างทางเป็นที่อยู่อาศัยสลับพ้ืนท่ีทางการเกษตร จากจุดผ่อนปรนบ้านสบเมย ไปทางทิศตะวันตก ระยะทางประมาณ ๐.๕ กม. ถึงกองกาลังทหารพม่า รัฐกะเหรี่ยง สหภาพเมียนมา ปัจจุบันเปิดเป็นจุดผ่อนปรน ให้ราษฎรท้ังชาวไทยและพม่า ใช้เป็นเส้นทางไปมาหาสู่ ซื้อเครื่องอุปโภค - บริโภค และยารักษาโรคและ ทอ่ งเท่ยี ว เปิด - ปดิ เวลา ๐๘๐๐ - ๑๖๐๐ ของทุกวนั

๓ – ๓๐ ๕๕.๑๓ ทา่ ข้ามสบยวม อย่ใู นพ้นื ทบ่ี ้านสบเมย ต.แมส่ ามแลบ อ.สบเมย ลักษณะช่องทางเป็นท่าจอด เรือของราษฎรทั้งชาวไทยและชาวพม่า ริมแม่น้าเมย ซึ่งมีความกว้างประมาณ ๑๐๐ ม. เป็นตล่ิงธรรมชาติ สูง ประมาณ ๑๐ ม. มีความลาดชันประมาณ ๑๐-๒๕ องศา ลักษณะภูมิประเทศทั่วไปเป็นท่ีราบ สภาพสองข้าง ทางเป็นที่อยู่อาศัยสลับพ้ืนที่ทางการเกษตร จากจุดผ่อนปรนบ้านสบยวม ไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือตาม แม่น้าเมย ระยะทางประมาณ ๓ กม. ถึงกองกาลงั ทหารกะเหรี่ยง รัฐกะเหรยี่ ง สหภาพเมียนมา ใชเ้ ป็นเสน้ ทาง ไปมาหาสู่ ซ้ือเครื่องอปุ โภค - บริโภค และยารกั ษาโรค ๕๖. แนวพรมแดนไทย-เมียนมา ในเขต จว.ตาก ใช้ลกั ษณะภูมปิ ระเทศมี ๒ ลักษณะ ดังนี้ ๕๖.๑ ตามแนวแม่น้าเมย และห้วยวาเล่ย์ ใช้เป็นลาน้ากลาง เขตแดนไทยถือฝ่ังไทย เขตเมียนมาถือ ฝง่ั เมยี นมา รวมความยาว ๓๔๕ กม. ๕๖.๒ ใชแ้ นวสนั เขาถนนธงชยั รวมความยาวประมาณ ๑๙๗ กม. ๕๗. ท่าข้ามตามแนวชายแดนในเขตพื้นท่ี อ.ท่าสองยาง, อ.แม่ระมาด, อ.แม่สอด, อ.พบพระ ซ่ึงมีแม่น้า เมย และห้วยวาเล่ย์ อยู่ในเขต มีท่าข้ามหลักที่ได้ดาเนินการสารวจเมื่อปี พ.ศ. ๒๕๕๖ โดย ผท.ทหาร มีทั้งส้ิน ๑๐๐ ทา่ ข้าม เปน็ ท่าขา้ มที่ลานา้ มีความกวา้ งระหว่าง ๘๐ – ๑๐๐ ม. ในชว่ งฤดแู ล้งสามารถลยุ ข้ามได้ ทอ้ งน้า เปน็ กรวด, หิน และทราย ฤดูฝนมีเรอื หางยาวเปน็ พาหนะรับจ้าง มรี าษฎรทัง้ ๒ ประเทศ ไปมาหาสูแ่ ละติดต่อ คา้ ขายกันเป็นประจา ๕๘. ตามแนวชายแดนในพื้นที่ จว.ตาก ท่ีใช้สันเขาของทิวเขาถนนธงชัยเป็นเส้นแบ่งเขต มีช่องทางผ่าน แดนท่สี าคญั ดงั นี้ ๕๘.๑ จุดผ่านแดนชั่วคราวเพื่อการก่อสร้างสะพานมิตรภาพไทย-เมียนมา ข้ามแม่น้าเมย แห่งท่ี ๒ อยู่ในพ้ืนที่บ้านวังตะเคียน ต.ท่าสายลวด อ.แม่สอด เชื่อมสู่บ้านเยปู หมู่ที่ 5 เมืองเมียวดี จว.เมียวดี สหภาพ เมียนมา และมีจุดสิ้นสุด บรรจบถนนหมายเลข ๘๕ สายเมียวดี-กอกะเร็ก เมื่อแล้วเสร็จจะเป็นส่วนหน่ึงของ ทางหลวงเอเชียหมายเลข ๑ โดยก่อสร้างเป็นสะพานคอนกรตี อัดแรงรปู กล่อง มีความยาวของสะพานทงั้ หมด ๗๖๐ ม. แบง่ เป็นฝั่งไทย ๕๑๕ ม. และฝ่งั เมยี นมา ๒๔๕ ม. ไม่มเี สาตอมอ่ อยูก่ ลางแมน่ า้ สะพานมีขนาด ๒ ช่อง จราจรไป-กลับ แยกช่องจราจรด้วยเกาะคอนกรีตแบบต่า ช่องผิวจราจรกว้างช่องละ ๓.๕๐ ม. ไหล่ทางกว้าง ขา้ งละ ๒.๕๐ ม. และทางเดนิ เท้ากว้างข้างละ ๑.๕๐ ม. ปัจจุบันอยู่ระหวา่ งการดาเนนิ การก่อสรา้ ง ๕๘.๒ จุดผ่านแดนถาวรบ้านริมเมย (แม่สอด - เมียวดี) อยู่ในพื้นท่ีบ้านริมเมย ต.ท่าสายลวด อ.แม่ สอด ลักษณะช่องทางเป็นสะพานคอนกรีต ขนาด ๒ ช่องจราจร กว้างประมาณ ๘ ม. ยาวประมาณ ๒๐๐ ม. ขา้ มแมน่ า้ เมย ซ่งึ กว้างประมาณ ๑๐๐ ม. ลกั ษณะภูมปิ ระเทศโดยท่วั ไปเป็นท่ีราบ สภาพสองข้างทางเป็นท่ีอยู่ อาศัยและย่านธุรกิจการค้า จากจุดผ่านแดนถาวรบ้านริมเมย ไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ ระยะทางประมาณ ๐.๕ กม. ถึง จว.เมียวดี สหภาพเมียนมา ปัจจุบันเปิดเป็นจุดผ่านแดนถาวร ให้ราษฎรทั้งชาวไทยและพม่า ใช้ เปน็ เสน้ ทางไปมาหาสู่ ซอ้ื เคร่ืองอุปโภค - บริโภค และยารักษาโรค ขนส่งสนิ คา้ บริการและท่องเที่ยว เปดิ - ปดิ เวลา ๐๕๓๐ - ๒๐๓๐ ของทุกวนั ๕๘.๓ ช่องน้าดั้น ๑ อยู่ในพ้ืนที่บ้านเก้ารวมไทย ต.รวมไทยพัฒนา อ.พบพระ จว.ตาก ลักษณะ ช่องทางเปน็ ถนนดิน กว้างประมาณ ๓ ม. ลักษณะภมู ปิ ระเทศโดยทั่วไปเปน็ ที่ราบ สภาพสองข้างทางเป็นพ้ืนท่ี การเกษตร ยานพาหนะสามารถผ่านได้ในฤดูแล้ง จากช่องน้าดั้น ๑ ไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ ระยะทาง ประมาณ ๐.๕ กม. ถึงบ้านคะเนเล จว.เมียวดี สหภาพเมียนมา ใช้เป็นเส้นทางไปมาหาสู่ ซื้อเคร่ืองอุปโภค - บรโิ ภค และยารักษาโรค ๕๘.๔ ชอ่ งน้าดั้น ๒ พิกดั อยใู่ นพ้นื ทบี่ า้ นทหารผา่ นศึก ต.รวมไทยพัฒนา อ.พบพระ จว.ตาก ลกั ษณะ ชอ่ งทางเปน็ ถนนดิน กว้างประมาณ ๓ ม. ลักษณะภมู ปิ ระเทศโดยทวั่ ไปเป็นที่ราบ สภาพสองข้างทางเป็นพ้ืนที่ การเกษตร ยานพาหนะสามารถผ่านได้ในฤดูแล้ง จากช่องน้าด้ัน ๒ ไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ ระยะทาง

๓ – ๓๑ ประมาณ ๔ กม. ถึงบ้านคะเนเล จว.เมียวดี สหภาพเมียนมา ใช้เป็นเส้นทางไปมาหาสู่ ซ้ือเคร่ืองอุปโภค - บรโิ ภค และยารักษาโรค ๕๘.๕ ช่องบ้านแมก่ ลองคี ๑ อยูใ่ นพื้นท่บี ้านแม่กลองคี ต.โมโกร อ.อุ้มผาง ลกั ษณะชอ่ งทางเป็นถนน ลูกรัง กว้างประมาณ ๓ ม. ลักษณะภูมิประเทศโดยทั่วไปเป็นท่ีราบ สภาพสองข้างทางเป็นพื้นท่ีการเกษตร ยานพาหนะสามารถผ่านได้ในทุกฤดู จากชอ่ งบ้านแม่กลองคี ๑ ไปทางทศิ ตะวนั ตกเฉียงใต้ ระยะทางประมาณ ๕ กม. ถึงบ้านมอร์คี จว.เมียวดี สหภาพเมียนมา ใช้เป็นเส้นทางไปมาหาสู่ ซ้ือเคร่ืองอุปโภค - บริโภค และยา รกั ษาโรค ๕๘.๖ ช่องบ้านตะเป่อพู อยู่ในพืน้ ทบี่ ้านตะเปอ่ พู ต.โมโกร อ.อุ้มผาง ลักษณะชอ่ งทางเปน็ ถนนลูกรัง กว้างประมาณ ๓ ม. ลักษณะภูมิประเทศโดยท่ัวไปเป็นท่ีราบ สภาพสองข้างทางเป็นพื้นที่การเกษตร ยานพาหนะสามารถผ่านได้ในทุกฤดู จากช่องบ้านตะเป่อพู ไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ระยะทางประมาณ ๑.๕ กม. ถึงบ้านก้อเซอ จว.เมียวดี สหภาพเมียนมา ใช้เป็นเส้นทางไปมาหาสู่ ซ้ือเคร่ืองอุปโภค - บริโภค และ ยารกั ษาโรค ๕๘.๗ ช่องบ้านหนองหลวง อยู่ในพื้นที่บ้านหนองหลวง ต.หนองหลวง อ.อุ้มผาง จว.ตาก ลักษณะ ชอ่ งทางเป็นถนนลกู รงั กว้างประมาณ ๓ ม. ลักษณะภูมิประเทศโดยทวั่ ไปเปน็ ทร่ี าบ สภาพสองขา้ งทางเป็นพ้ืนที่ การเกษตร ยานพาหนะสามารถผ่านได้ในทุกฤดู จากช่องบ้านหนองหลวง ไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ระยะทางประมาณ ๒ กม. ถึงบ้านทีกะเปอร์ จว.เมียวดี สหภาพเมียนมา ใช้เป็นเส้นทางไปมาหาสู่ ซ้ือเคร่ือง อุปโภค - บริโภค และยารกั ษาโรค ๕๘.๘ ช่องบ้านบ่อแร่ อยู่ในพ้ืนที่บ้านบ่อแร่ ต.แม่จัน อ.อุ้มผาง จว.ตาก ลักษณะช่องทางเป็นถนน ลูกรัง กว้างประมาณ ๓ ม. ลักษณะภูมิประเทศโดยทั่วไปเป็นท่ีราบ สภาพสองข้างทางเป็นพ้ืนท่ีการเกษตร ยานพาหนะสามารถผ่านได้ในทุกฤดู จากช่องบ้านบ่อแร่ ไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนอื ระยะทางประมาณ ๑ กม. ถึงบ้านใหม่สะคานติ๊ด (ตะวอซอ) จว.เมยี วดี สหภาพเมียนมา ใช้เป็นเส้นทางไปมาหาสู่ ซอื้ เคร่ืองอุปโภค - บริโภค และยารักษาโรค ๕๘.๙ ช่องบ้านเลหล่อซอ อยู่ในพื้นท่ีบ้านเปิงเคลิ่ง ต.แม่จัน อ.อุ้มผาง จว.ตาก ลักษณะช่องทางเป็น ถนนลูกรัง กว้างประมาณ ๓ ม. ลักษณะภูมิประเทศโดยทั่วไปเป็นที่ราบ สภาพสองข้างทางเป็นพ้ืนที่การเกษตร ยานพาหนะสามารถผ่านได้ในทุกฤดู จากช่องบ้านเลหลอ่ ซอ ไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ ระยะทางประมาณ ๐.๗ กม. ถงึ บา้ นหว้ ยแดน จว.กอกาเล็ก สหภาพเมียนมา ใช้เป็นเสน้ ทางไปมาหาสู่ ซ้อื เครอ่ื งอุปโภค - บริโภค และยา รกั ษาโรค ๕๘.๑๐ ช่องบ้านเปิงเคล่ิง ๒ อยู่ในพื้นท่ีบ้านเปิงเคล่ิง ต.แม่จัน อ.อุ้มผาง จว.ตาก ลักษณะช่องทาง เป็นถนนดิน กว้างประมาณ ๓ ม. ลักษณะภูมิประเทศโดยท่ัวไปเป็นท่ีราบ สภาพสองข้างทางเป็นพ้ืนที่ การเกษตร ยานพาหนะสามารถผา่ นได้ในฤดูแล้ง จากชอ่ งบ้านเปงิ เคลง่ิ ๒ ไปทางทิศเหนือ ระยะทางประมาณ ๐.๓ กม. ถึงบ้านห้วยแดน จว.กอกาเล็ก สหภาพเมียนมา ใช้เป็นเส้นทางไปมาหาสู่ ซ้ือเคร่ืองอปุ โภค - บริโภค และยารักษาโรค ๕๘.๑๑ ช่องบ้านเรตองคุ อยู่ในพ้ืนท่ีบ้านเรตองคุ ต.แม่จัน อ.อุ้มผาง จว.ตาก ลักษณะช่องทางเปน็ ถนนดิน กว้างประมาณ ๓ ม. ลักษณะภูมิประเทศโดยท่ัวไปเป็นท่ีราบ สภาพสองข้างทางเป็นพืน้ ท่ีการเกษตร ยานพาหนะสามารถผ่านได้ในฤดูแล้ง จากช่องบ้านเรตองคุ ไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ ระยะทางประมาณ ๑ กม. ถึงบา้ นกยุ เลอเตง่ิ จว.กอกาเลก็ สหภาพเมยี นมา ใชเ้ ปน็ เส้นทางไปมาหาสู่ ซอื้ เครื่องอปุ โภค - บริโภค และ ยารักษาโรค ๕๙. สงิ่ กดี ขวางตามธรรมชาติตามแนวชายแดนไทย - เมยี นมา ในเขต จว.ตาก ท่ีสาคญั มี แมน่ า้ เมย, หว้ ย วาเลย่ ์ และทิวเขาถนนธงชยั

๓ – ๓๒ ๖๐. ส่ิงกีดขวางตามธรรมชาติ ในเขต จว.แม่ฮ่องสอน ได้แก่แม่น้าสาละวิน แม่น้าปาย แม่น้ายวม แม่น้า เมย ทวิ เขาแดนลาว และทิวเขาถนนธงชยั ๖๑. จว.ในเขต ทภ.๓ ทีต่ ิดต่อกบั สปป.ลาว ไดแ้ ก่ จว.เชยี งราย, พะเยา, นา่ น, อตุ รดติ ถ,์ พิษณุโลก ๖๒. เส้นเขตแดนระหว่างไทย-ลาว ในเขตของ ทภ.๓ ใช้ร่องน้าลึกของลาน้าโขงเป็นเส้นแบ่งเขตในพน้ื ที่ จว.เชียงรายบางส่วน ตอ่ จากนน้ั จะเปน็ ทิวเขาหลวงพระบางลงมาจาก จว.เชียงราย ผ่าน จว.พะเยา, อตุ รดติ ถ์, น่าน และ พษิ ณโุ ลกบางสว่ น ต่อจากน้ันจะเปน็ ลาน้าเหอื งจนสุดเขต จว.พษิ ณุโลก ๖๓. ท่าข้ามตามแนวชายแดนในเขตพ้ืนท่ี อ.เชียงแสน, อ.เชียงของ, และบางส่วนของ อ.เวียงแก่น จว. เชียงราย ซ่ึงใช้ร่องนา้ ลึกของลาน้าโขงเป็นเส้นแบ่งเขตแดน สารวจล่าสุดเมื่อปี พ.ศ. ๒๕๕๓ โดย ผท.ทหาร มี ทั้งส้ิน ๔๐ ท่าข้าม ลาน้ามีความกว้างระหว่าง ๘๐๐ – ๑,๕๐๐ ม. ใช้เรือเป็นพาหนะหลักในการเดินทางทุก ฤดูกาลไม่สามารถลุยข้ามได้ ส่วนใหญ่เป็นเส้นทางที่ราษฎรทั้ง ๒ ประเทศใช้ไปมาหาสู่ ติดต่อค้าขายและ ทอ่ งเที่ยวกนั เปน็ ประจา ซึ่งมีท่าข้ามและชอ่ งทางผ่านพรมแดนไทย - ลาว ที่สาคญั ในเขต ทภ.๓ ได้แก่ ๖๓.๑ จุดผ่อนปรนบ้านสบรวก (ใหม่) อยู่ในพ้ืนท่ีบ้านสบรวก ต.เวียง อ.เชียงแสน จว.เชียงราย ลกั ษณะชอ่ งทางเป็นท่าขา้ มแม่น้าโขง เปน็ ตลิ่งหนิ ทง้ิ ทางขน้ึ - ลงเป็นบันไดคอนกรีต กวา้ งประมาณ ๒ ม. สงู ประมาณ ๓๐ ม. มีความลาดชันประมาณ ๔๕ องศา ใช้เรือยนต์เป็นพาหนะในการเดินทางข้ามฝาก สามารถ ใช้ได้ทุกฤดูกาล จากจุดผ่อนปรนบ้านสบรวก (ใหม่) ไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ระยะทางประมาณ ๐.๘ กม. ถงึ บ้านกว๊าน เมอื งต้นผงึ้ แขวงบ่อแก้ว สปป.ลาว ใช้ไปมาหาสู่ ติดตอ่ ค้าขาย ซ้อื เคร่อื งอปุ โภค - บริโภค ยา รักษาโรค ขนสง่ สินคา้ บริการและทอ่ งเท่ียว เปิด - ปดิ เวลา ๐๘๐๐ - ๑๘๐๐ ของทุกวนั ๖๓.๒ จุดผ่านแดนถาวร อ.เชียงแสน อยู่ในพื้นที่เขตเทศบาลตาบลเวียงเชียงแสน อ.เชียงแสน จว. เชยี งราย ลักษณะชอ่ งทางเป็นท่าข้ามแมน่ ้าโขง เป็นตล่งิ หนิ ท้ิง ทางขึ้น - ลงเปน็ บนั ไดคอนกรตี กวา้ งประมาณ ๑๐ ม. สูงประมาณ ๑๐ ม. มีความลาดชันประมาณ ๔๕ องศา ใช้เรือยนต์เป็นพาหนะในการเดินทางข้ามฝาก สามารถใช้ได้ทุกฤดูกาล จากจุดผ่านแดนถาวร อ.เชียงแสน ไปทางทิศตะวนั ออก ระยะทางประมาณ ๐.๙ กม. ถึงบ้านเวียงสวรรค์ เมืองต้นผึ้ง แขวงบ่อแก้ว สปป.ลาว ใช้ไปมาหาสู่ ติดต่อค้าขาย ซื้อเคร่ืองอุปโภค - บริโภค ยารกั ษาโรค ขนส่งสนิ คา้ บรกิ ารและท่องเทยี่ ว เปิด - ปดิ เวลา ๐๘๐๐ - ๑๘๐๐ ของทุกวนั ๖๓.๓ จุดผ่อนปรนการค้าบ้านสวนดอก อยู่ในพ้ืนท่ีบ้านสวนดอก ต.บ้านแซว อ.เชียงแสน จว. เชียงราย ลักษณะช่องทางเป็นท่าข้ามแม่น้าโขง เป็นตลิ่งธรรมชาติ ทางข้ึน - ลงเป็นทางดิน กว้างประมาณ ๔ ม. สูงประมาณ ๑๐ ม. มีความลาดชันประมาณ ๒๕ องศา ใช้เรือยนต์เป็นพาหนะในการเดินทางข้ามฝาก สามารถใช้ได้ทุกฤดูกาล จากจุดผ่อนปรนการค้าบ้านสวนดอก ไปทางทิศตะวันออก ระยะทางประมาณ ๐.๖ กม. ถึงบ้านศรีเมืองงาม เมืองต้นผ้ึง แขวงบ่อแก้ว สปป.ลาว ใช้ไปมาหาสู่ ติดต่อค้าขาย ซ้ือเคร่ืองอุปโภค - บริโภค ยารกั ษาโรค ขนสง่ สินค้าบริการและทอ่ งเทีย่ ว เปดิ - ปดิ เวลา ๐๖๐๐ - ๑๘๐๐ ของทุกวัน ๖๓.๔ จุดผ่อนปรนการค้าหาดบ้าย อยู่ในพื้นท่ีบ้านหาดบ้าย ต.ริมโขง อ.เชียงของ จว.เชียงราย ลักษณะช่องทางเป็นท่าข้ามแม่น้าโขง เป็นตล่ิงธรรมชาติ ทางข้ึน - ลงเป็นทางดิน กว้างประมาณ ๔ ม. สูง ประมาณ ๑๐ ม. มีความลาดชันประมาณ ๓๐ องศา ใช้เรือยนต์เป็นพาหนะในการเดินทางข้ามฝาก สามารถ ใช้ได้ทกุ ฤดกู าล จากจุดผ่อนปรนการค้าบ้านหาดบ้าย ไปทางทศิ ตะวันตก ระยะทางประมาณ ๑.๕ กม. ถงึ บา้ น ฉิงคา เมืองห้วยทราย แขวงบ่อแก้ว สปป.ลาว ใช้ไปมาหาสู่ ติดต่อค้าขาย ซื้อเคร่ืองอุปโภค - บริโภค ยารักษา โรค ขนส่งสินค้าบริการและท่องเทยี่ ว เปดิ - ปิดเวลา ๐๖๐๐ - ๑๘๐๐ ของทกุ วัน ๖๓.๕ ท่าเรือดา่ นศลุ กากรเชียงของ อยใู่ นพืน้ ทบี่ ้านในเวียง ต.เวยี ง อ.เชียงของ จว.เชียงราย ลกั ษณะ ช่องทางเป็นท่าข้ามแม่น้าโขง เป็นตล่ิงธรรมชาติ ทางข้ึน - ลงเป็นบันไดคอนกรีต กว้างประมาณ ๕ ม. สูง ประมาณ ๕ ม. ยาวประมาณ ๕๐ ม. มคี วามลาดชันประมาณ ๓๐ องศา ใช้เรือยนตเ์ ปน็ พาหนะในการเดินทาง ข้ามฝากและมีลานพักสินค้า สามารถใช้ได้ทุกฤดูกาล จากท่าเรือด่านศุลกากรเชียงของ ไปทางทิศ

๓ – ๓๓ ตะวนั ออกเฉยี งเหนือ ระยะทางประมาณ ๑ กม. ถงึ ดา่ นศลุ กากรเมืองหว้ ยทราย แขวงบ่อแกว้ สปป.ใช้ไปมาหา สู่ ตดิ ตอ่ คา้ ขาย ซ้ือเครอ่ื งอุปโภค - บริโภค ยารกั ษาโรค ขนสง่ สินค้าบริการและท่องเท่ียว ลาว เปิด - ปิดเวลา ๐๘๐๐-๑๘๐๐ ของทกุ วนั ๖๓.๖ จุดผ่อนปรนทางการค้าแจมป๋อง อยู่ในพ้ืนที่บ้านแจมป๋อง ต.หล่ายงาว อ.เวียงแก่น จว. เชียงราย ลักษณะช่องทางเป็นท่าข้ามแม่น้าโขง เป็นตลิ่งธรรมชาติ ทางข้ึน - ลงเป็นบันไดคอนกรีต กว้าง ประมาณ ๔ ม. สูงประมาณ ๑๐ ม. มีความลาดชันประมาณ ๓๐ องศา ใช้เรือยนต์เป็นพาหนะในการเดินทาง ขา้ มฝาก สามารถใช้ได้ทกุ ฤดกู าล จากจดุ ผ่อนปรนทางการค้าแจมปอ๋ ง ไปทางทิศตะวนั ออก ระยะทางประมาณ ๑ กม. ถึงบ้านด่าน เมืองห้วยทราย แขวงบ่อแก้ว สปป.ลาว ใช้ไปมาหาสู่ ติดต่อค้าขาย ซื้อเคร่ืองอุปโภค - บรโิ ภค ยารักษาโรค ขนสง่ สนิ ค้าบรกิ ารและท่องเทย่ี ว เปดิ - ปิดเวลา ๐๘๐๐ - ๑๘๐๐ ของทกุ วัน ๖๓.๗ จุดผ่อนปรนทางการค้าห้วยลึก อยู่ในพื้นท่ีบ้านห้วยลึก ต.ม่วงยาย อ.เวียงแก่น จว.เชียงราย ลักษณะช่องทางเป็นท่าข้ามแม่น้าโขง เป็นตล่ิงธรรมชาติ ทางขึ้น - ลงเป็นถนนดิน กว้างประมาณ ๔ ม. สูง ประมาณ ๕ ม. มคี วามลาดชันประมาณ ๓๐ องศา ใชเ้ รอื ยนตเ์ ปน็ พาหนะในการเดนิ ทางข้ามฝาก สามารถใช้ได้ ทุกฤดกู าล จากจดุ ผ่อนปรนทางการค้าห้วยลึก ไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ ระยะทางประมาณ ๑.๕ กม. ถงึ บา้ น ด่าน เมืองห้วยทราย แขวงบ่อแก้ว สปป.ลาว ใช้ไปมาหาสู่ ติดต่อค้าขาย ซ้ือเคร่ืองอุปโภค - บริโภค ยารักษา โรค ขนสง่ สินค้าบรกิ ารและท่องเทย่ี ว เปดิ - ปดิ เวลา ๐๖๐๐ - ๑๘๐๐ ของทุกวนั ๖๓.๘ ช่องผาบ่อง อยู่ในพื้นทบ่ี ้านผาตั้ง ต.ปอ อ.เวยี งแก่น จว.เชียงราย ลักษณะช่องทางเปน็ ทางเดิน เท้า กว้างประมาณ ๑ ม. ลัดเลาะไปตามไหล่เขา ลักษณะภูมิประเทศเป็นภูเขาสูงชัน ลักษณะพืชพันธุ์เป็นปา่ โปร่ง จากช่องผาบ่อง ไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ระยะทางประมาณ ๒ กม. ถึงบ้านสอนหลวง เมืองปาก ทา แขวงบ่อแก้ว สปป.ลาว ๖๓.๙ ช่องภูช้ีฟ้า อยู่ในพื้นท่ีบ้านร่มฟ้าไทย ต.ตับเต่า อ.เทิง จว.เชียงราย ลักษณะช่องทางเป็น ทางเดินเท้า กว้างประมาณ ๑ ม. ลัดเลาะไปตามไหล่เขา ลักษณะภูมิประเทศเป็นภูเขาสูงชัน ลักษณะพืชพนั ธ์ุ เป็นป่าโปร่ง จากช่องภูชี้ฟ้า ไปทางทิศตะวันออก ระยะทางประมาณ ๔ กม. ถึงบ้านเชียงตอง เมืองปากทา แขวงบ่อแก้ว สปป.ลาว ๖๓.๑๐ จดุ ผ่อนปรนช่องกว่ิ หก (บา้ นฮวก) อยใู่ นพน้ื ท่ีบา้ นฮวก ต.ภูซาง อ.ภซู าง จว.พะเยา ลกั ษณะ ช่องทางเป็นถนนลาดยาง กว้างประมาณ ๖ ม. ลักษณะภูมิประเทศเป็นที่ราบระหว่างหุบเขา ลักษณะพืชพันธุ์ เปน็ ป่าโปรง่ ยานพาหนะสามารถผ่านได้ทุกฤดกู าล จากจดุ ผ่อนปรนช่องกิ่วหก (บา้ นฮวก) ไปทางทศิ ตะวันออก ตามถนนลกู รงั กวา้ งประมาณ ๕ ม. ระยะทางประมาณ ๒ กม. ถึงบ้านปางมอน เมืองเชียงฮ่อน แขวงไชยะบุลี สปป.ลาว ใชไ้ ปมาหาสู่ ตดิ ตอ่ ค้าขาย ซือ้ เครือ่ งอปุ โภค - บริโภค ยารักษาโรค ขนสง่ สินคา้ บริการและท่องเท่ียว เปดิ - ปดิ เวลา ๐๖๐๐ - ๑๘๐๐ ของทุกวนั ๖๓.๑๑ จุดผ่อนปรนบ้านใหมช่ ายแดน อยู่ในพ้ืนที่บ้านใหม่ชายแดน ต.ชนแดน อ.สองแคว จว.นา่ น ลักษณะชอ่ งทางเปน็ ถนนลูกรัง กว้างประมาณ ๖ ม. ลกั ษณะภมู ิประเทศเป็นท่ีราบระหว่างหุบเขา ลกั ษณะพืช พันธ์ุเป็นป่าโปร่ง ยานพาหนะสามารถผ่านได้ทุกฤดูกาล จากจุดผ่อนปรนบ้านใหม่ชายแดน ไปทางทิศเหนือ ระยะทางประมาณ ๔ กม. ถงึ บา้ นหว้ ยตอง เมืองเชยี งฮอ่ น แขวงไชยะบุลี สปป.ลาว ใชไ้ ปมาหาสู่ ตดิ ตอ่ คา้ ขาย ซอ้ื เครอื่ งอปุ โภค - บรโิ ภค ยารักษาโรค ขนสง่ สนิ ค้าบรกิ ารและทอ่ งเที่ยว เปดิ - ปดิ เวลา ๐๘๐๐ - ๑๖๐๐ ทุก วนั ที่ ๕, ๑๐, ๑๕, ๒๐, ๒๕ และ ๓๐ ของเดอื น ๖๓.๑๒ ช่องทางห้วยสะเตง อยู่ในพื้นท่ีบ้านห้วยสะเตง ต.งอบ อ.ทุ่งช้าง จว.น่าน ลักษณะช่องทาง เป็นถนนดิน กว้างประมาณ ๕ ม. ลักษณะภูมิประเทศเป็นที่ราบระหว่างหุบเขา ลักษณะพืชพันธุ์เป็นป่าโปรง่ ยานพาหนะสามารถผ่านได้ทุกฤดูกาล จากช่องทางห้วยสะเตง ไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ระยะทาง ประมาณ ๕ กม. ถงึ บา้ นดอนไชย เมืองเชยี งฮอ่ น แขวงไชยะบุลี สปป.ลาว ใช้ไปมาหาสู่ ติดต่อค้าขาย ซือ้ เครื่อง

๓ – ๓๔ อปุ โภค - บริโภค ยารักษาโรค ขนส่งสนิ คา้ บริการและท่องเทยี่ ว เปิด - ปดิ เวลา ๐๙๐๐ - ๑๖๐๐ ทกุ วันท่ี ๑๕ และ ๓๐ ของเดอื น ๖๓.๑๓ จุดผ่านแดนถาวรหว้ ยโก๋น อยู่ในพ้ืนที่บ้านห้วยหว้ ยโก๋น ต.ห้วยโก๋น อ.เฉลิมพระเกียรติ จว. น่าน ลักษณะช่องทางเป็นถนนลาดยาง กว้างประมาณ ๗ ม. ไม่มีไหล่ทาง ลักษณะภูมิประเทศเป็นที่ราบ ระหวา่ งหบุ เขา ลักษณะพืชพนั ธเ์ุ ป็นป่าโปร่ง ยานพาหนะสามารถผ่านได้ทุกฤดกู าล ใช้ไปมาหาสู่ ติดตอ่ ค้าขาย ซอ้ื เครื่องอปุ โภค - บริโภค ยารกั ษาโรค ขนสง่ สนิ ค้าบริการและท่องเท่ยี ว จากจดุ ผา่ นแดนถาวรหว้ ยโกน๋ ไปทาง ทิศเหนือ ระยะทางประมาณ ๕ กม. ถงึ บา้ นนา้ เงิน เมืองเงนิ แขวงไชยะบลุ ี สปป.ลาว เปดิ - ปิดเวลา ๐๘๐๐ - ๒๐๐๐ ของทกุ วัน ๖๓.๑๔ ช่องมหาราช (บ่อเบ้ีย) อยู่ในพื้นท่ีบ้านบ่อเบ้ีย ต.บ่อเบ้ีย อ.บ้านโคก จว.อุตรดิตถ์ ลักษณะ ช่องทางเป็นถนนลูกรัง กว้างประมาณ ๔ ม. ลักษณะภูมิประเทศเป็นเนินเขา ลักษณะพืชพันธ์ุเป็นป่าโปร่ง ยานพาหนะสามารถผ่านได้ทกุ ฤดูกาล จากชอ่ งมหาราช (บ่อเบ้ยี ) ไปทางทศิ ตะวันออก ระยะทางประมาณ ๑.๕ กม. ถึงบ้านนาฝาย เมืองทุ่งมไี ช แขวงไชยะบุลี สปป.ลาว ใชไ้ ปมาหาสู่ ตดิ ต่อคา้ ขาย ซื้อเคร่อื งอุปโภค - บรโิ ภค ยารกั ษาโรค ๖๓.๑๕ ช่องบ่อเบี้ย (หมาหลง) อยู่ในพ้ืนท่ีบ้านบ่อเบี้ย ต.บ่อเบี้ย อ.บ้านโคก จว.อุตรดิตถ์ ลักษณะ ช่องทางเป็นถนนลูกรัง กว้างประมาณ ๔ ม. ลัดเลาะไปตามไหลเขาลักษณะภูมิประเทศเป็นหุบเขา ลักษณะพืช พันธเุ์ ปน็ ป่าโปรง่ จากช่องบ่อเบี้ย (หมาหลง) ไปทางทิศเหนือ ระยะทางประมาณ ๑ กม. ถงึ บา้ นนาฝาย เมอื งทุ่ง มีไช แขวงไชยะบลุ ี สปป.ลาว ใช้ไปมาหาสู่ ตดิ ต่อค้าขาย ซอื้ เครอ่ื งอปุ โภค - บรโิ ภค ยารักษาโรค ๖๓.๑๖ ช่องภูดู่ อยู่ในพื้นที่บา้ นม่วงเจ็ดต้น ต.ม่วงเจ็ดต้น อ.บ้านโคก จว.อุตรดิตถ์ ลักษณะช่องทาง เป็นถนนลูกรัง กว้างประมาณ ๖ ม. ลักษณะภูมิประเทศเป็นหุบเขา ลักษณะพืชพันธุ์เป็นป่าโปร่ง จากช่องภูดู่ ไปทางทิศตะวนั ออก ระยะทางประมาณ ๖ กม. ถึงบ้านผาแกว้ เมืองปากลาย แขวงไชยะบุลี สปป.ลาว ใช้ไปมา หาสู่ ตดิ ตอ่ ค้าขาย ซ้อื เคร่อื งอุปโภค - บริโภค ยารกั ษาโรค ๖๓.๑๗ ช่องภูดู่ อยู่ในพ้ืนที่บ้านม่วงเจ็ดตน้ ต.ม่วงเจ็ดต้น อ.บ้านโคก จว.อุตรดิตถ์ ลักษณะช่องทาง เป็นถนนลูกรัง กว้างประมาณ ๖ ม. ลักษณะภูมิประเทศเป็นหุบเขา ลักษณะพืชพันธเ์ุ ป็นป่าโปร่ง จากช่องภูดู่ ไปทางทศิ ตะวนั ออก ระยะทางประมาณ ๖ กม. ถงึ บา้ นผาแกว้ เมืองปากลาย แขวงไชยะบลุ ี สปป.ลาวใช้ไปมา หาสู่ ติดตอ่ ค้าขาย ซื้อเคร่อื งอปุ โภค - บริโภค ยารักษาโรค ๖๓.๑๘ ช่องห้วยต่าง (ภูต่าง) อยู่ในพ้ืนท่บี ้านหนองไผ่ ต.บ้านโคก อ.บ้านโคก จว.อุตรดิตถ์ ลักษณะ ชอ่ งทางเปน็ ถนนลูกรัง กวา้ งประมาณ ๔ ม. ลกั ษณะภูมิประเทศเปน็ เนนิ เขา ลักษณะพชื พนั ธเุ์ ปน็ ปา่ โปรง่ จาก ชอ่ งหว้ ยต่าง (ภูต่าง) ไปทางทศิ ใต้ ระยะทางประมาณ ๖ กม. ถงึ บา้ นน้าอ้น เมอื งบ่อแตน แขวงไชยะบุลี สปป. ลาว ใชไ้ ปมาหาสู่ ติดตอ่ คา้ ขาย ซ้ือเครอ่ื งอุปโภค - บรโิ ภค ยารกั ษาโรค ๖๓.๑๙ ช่องห้วยพร้าว-หนองปลาจืด อยู่ในพ้ืนท่ีบ้านห้วยพร้าว ต.ห้วยมุ่น อ.น้าปาด จว.อุตรดิตถ์ ลักษณะช่องทางเป็นถนนลูกรัง กว้างประมาณ ๔ ม. ลักษณะภูมิประเทศเป็นเนินเขา ลักษณะพืชพันธุ์เป็นป่า โปร่ง จากช่องห้วยพร้าว-หนองปลาจืด ไปทางทิศตะวันออก ระยะทางประมาณ ๓ กม. ถึงบ้านหนองปลาจืด เมอื งบอ่ แตน แขวงไชยะบุลี สปป.ลาว ใช้ไปมาหาสู่ ติดต่อค้าขาย ซอ้ื เครื่องอปุ โภค - บรโิ ภค ยารักษาโรค ๖๔. ที่ราบในพื้นท่ีภาคเหนือเป็นท่ีราบ ซ่ึงอยู่ในระหว่างทิวเขา จึงเป็นท่ีราบท่ีมีระดับสูง มีขนาดไม่สู้ กว้างขวางนัก เป็นห้องเป็นตอน ไมต่ ดิ ตอ่ ถึงกนั พ้ืนท่รี าบท่ีสาคญั ได้แก่ ๖๔.๑ ที่ราบสูงเชียงใหม่ มีลักษณะยาวจากเหนือลงใต้ มีแนวทิวเขากันเป็น ๓ ห้อง คือ ท่ีราบลุ่ม แมน่ ้าโขง, ทีร่ าบล่มุ แมน่ ้าปงิ และทรี่ าบล่มุ แม่นา้ งัด ๖๔.๒ ท่ีราบสูงลาปาง อยู่ระหว่างทิวเขาขุนตาล ทิวเขาผีปันน้า และทิวเขาพลึง มีลาน้าไหลผ่าน ตอนกลาง

๓ – ๓๕ ๖๔.๓ ที่ราบสูงเชียงราย อยู่ระหว่างทิวเขาแดนลาวกับทิวเขาผีปันน้า แบ่งเป็น ๓ ห้องคือ ท่ีราบ อ. แมจ่ นั , ทีร่ าบ อ.เชียงราย และท่รี าบพะเยา ๖๔.๔ ท่ีราบสูงแพร่ เป็นท่ีราบสูงสุ่มแมน่ ้ายม แบ่งเป็น ๒ ห้อง คือ ที่ราบสูง อ.เมืองแพร่ และท่ีราบ สงู อ.ลอง ๖๔.๕ ที่ราบสูงน่าน เปน็ ที่ราบลมุ่ แมน่ ้าน่าน อยรู่ ะหวา่ งดอยขนุ ยวม และทวิ เขาพลึง ๖๕. ปัญหาแนวชายแดนท่ีสาคญั ๖๕.๑ ผาหม่น อ.เวียงแก่น จว.เชยี งราย ไทย – ลาว อ้างแนวสันปนั น้าตา่ งกัน ๖๕.๒ ปญั หาสามหมู่บ้าน อ.บา้ นโคก จว.อุตรดิตถ์ ไทย – ลาว อ้างแนวสนั ปนั นา้ ตา่ งกัน ๖๕.๓ ต้นนา้ เหอื ง (บ้านร่มเกล้า) อ.ชาตติ ระการ จว.พิษณุโลก ไทย – ลาว อา้ งแนวสันปันนา้ บริเวณ ตน้ นา้ เหอื งต่างกนั ๖๕.๔ สานักสงฆ์กเู่ ต่งนาโย่ง อ.แม่สาย จว.เชียงราย ไทย - เมียนมา ยึดถือแผนท่ีแตกต่างกัน ทาให้ เกิดการอา้ งสทิ ธ์เิ หนอื พน้ื ท่ีตามแนวเขตแดนที่ตนยึดถอื ๖๕.๕ ดอยห้วยฮะ - ดอยลาง อ.แมอ่ าย จว.เชียงใหม่ ไทย - เมยี นมา ยึดถอื แนวเขตแดนตา่ งกัน ฝา่ ย ไทยยดึ ถอื ตามดอยหว้ ยฮะ ฝ่ายเมียนมายดึ ถือตามดอยลาง ก่อให้เกดิ ปัญหาการอา้ งสทิ ธิ์เหนือพ้ืนที่ ๖๕.๖ วัดพระธาตุคอกชา้ งเผือก อ.แมส่ อด จว.ตาก ไทย – เมยี นมา ตามอนสุ ญั ญา กาหนดให้แม่น้า เมยใช้ฝัง่ เปน็ แนวเขตแดน เมอ่ื แม่นา้ เมยเปลยี่ นทางเดินอย่างฉับพลนั เมื่อปี พ.ศ.๒๕๓๗ เกดิ ร่องนา้ ใหม่ ทาให้ แนวเขตแดนไทย - เมยี นมา ไมส่ อดคลอ้ งกบั แนวลาน้าปจั จบุ นั ๖๕.๗ พ้ืนท่ีใต้สะพานมิตรภาพไทย - เมียนมา อ.แม่สอด จว.ตาก ตามอนุสัญญา กาหนดให้ใช้ฝ่ัง แม่น้าเมยเป็นแนวเขตแดน เม่ือแม่น้าเมยเปลี่ยนทางเดินทาให้เกิดเกาะกลางลานา้ ซ่ึงอยู่ชิดฝั่งไทย แต่ละฝ่าย จึงอ้างสทิ ธิ์เหนือเกาะดงั กลา่ ว ๖๕.๘ บ้านแม่โกนเกน อ.แม่สอด จว.ตาก ไทย - เมียนมา ตามอนุสัญญา กาหนดให้แม่น้าเมยใช้ฝ่ัง เป็นแนวเขตแดน เม่ือแมน่ า้ เมยเปลยี่ นทางเดินอย่างฉบั พลัน เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๓๗ เกดิ รอ่ งนา้ ใหม่ ทาใหแ้ นวเขต แดนไทย - เมียนมา ไม่สอดคล้องกับแนวลาน้าปจั จบุ นั กองทัพภาคที่ ๔ กล่าวท่ัวไป กองทัพภาคที่ ๔ รับผิดชอบบริเวณตอนใต้ของประเทศไทย ประกอบด้วย ๑๔ จังหวัด ได้แก่ จว.ชุมพร, ระนอง, สุราษฎร์ธานี, นครศรีธรรมราช, พังงา, กระบี่, ภูเก็ต, ตรัง พัทลุง, สงขลา, ยะลา, ปัตตานี, นราธิวาส และสตูล ภมู ปิ ระเทศทวั่ ไป ลักษณะภูมิประเทศของภาคใต้โดยท่ัวไป มลี ักษณะเป็นแหลมย่ืนในทะเล โดยมที ะเลขนาบทงั้ สองข้างคือ ทะเลด้านอ่าวไทยทางฝั่งตะวันออก และทะเลอันดามันทางฝ่ังตะวันตก มีแนวทิวเขาภเู ก็ต ทอดยาวต้ังแต่ จว. ชุมพร ถึง จว.พงั งา ถดั จากนัน้ เป็นภูเขาหนิ ปนู เตีย้ ๆ และทิวเขานครศรีธรรมราช เป็นแนวตอ่ ของทวิ เขาภูเก็ต เร่ิมจากทางทิศใต้ของ จว.สุราษฎร์ธานี และกระบ่ี ผ่าน จว.นครศรีธรรมราช ไปถึง จว.สตูล ทิวเขาท้ังสองนี้ ทอดยาวไปทางตอนกลางของภาคคล้าย ๆ แกนกลางมีพ้ืนลาดไปทางชายฝั่งทะเลท้ัง ๒ ด้าน ทิวเขา นครศรีธรรมราชมเี ขาหลวงเป็นยอดเขาท่ีสูงเด่นในภาคใต้สูง ๑,๘๙๕ ม. จากระดับน้าทะเลทางใต้สุดของภาค

๓ – ๓๖ มีแนวทิวเขาสันกาลาคีรีทอดยาวในแนวตะวันออกตะวันตกและใช้เป็นเส้นพรมแดนระหว่างประเทศไทยกับ สหพันธรฐั มาเลเซยี การเปล่ียนแปลงของภูมิประเทศบริเวณภาคใต้น้ี ทาให้ชายฝ่ังทะเลด้านตะวันออกยกตัวสูงขึ้น ชายฝั่ง ทะเลราบเรียบมีหาดทรายสวยงามหลายแห่ง ซ่ึงแตกต่างจากฝั่งทะเลด้านตะวันตกแผ่นดินยุบตัวลง ทาให้ ชายฝ่ังทะเลขรขุ ระเว้าๆ แหวง่ ๆ และมเี กาะอยู่มากมาย ความรูท้ ว่ั ไป ๖๖. ทิวเขาที่สาคัญทางภาคใต้ในเขตของ ทภ.๔ มี ๔ ทิว คือ ทิวเขาตะนาวศรี, ทิวเขาภูเก็ตหรือระนอง, ทิวเขานครศรธี รรมราช และทิวเขาสันกาลาครี ี ๖๗. พน้ื ทท่ี างตอนใตข้ องประเทศไทยในเขต ทภ.๔ มีแนวชายแดนติดต่อกับสาธารณรัฐแหง่ สหภาพเมียน มา และสหพันธรัฐมาเลเซีย ๖๘. แนวชายแดนไทยดา้ นที่ตดิ กบั สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมา อยูใ่ นเขต จว.ชมุ พร และ จว.ระนอง ๖๙. แนวพรมแดนระหว่าง ไทย - เมียนมา ในเขต จว.ชุมพร กาหนดให้ใช้สันปันน้าของทิวเขาตะนาวศรี ตามอนุสัญญาระหว่างกษัตรยิ ์สยามกับข้าหลวงใหญ่แห่งอินเดีย แต่ไม่มีหลักฐานว่าเคยมีการปักหลักเขตแดน แต่อยา่ งใด ดงั นน้ั เส้นเขตแดนในพนื้ ทขี่ อง จว.ชุมพร จึงไมป่ รากฏเปน็ หลกั ฐานที่แนน่ อน ๗๐. ชอ่ งทางผา่ นพรมแดน ไทย - เมยี นมา ในเขต จว.ชมุ พร ท่ียานยนต์สามารถผ่านได้ มีเพียง ๒ ช่องทางคือ ๗๐.๑ ช่องหินดาด (เขาขาด) อยใู่ นพ้นื ท่ีบ้านระโนด ต.รับรอ่ อ.ทา่ แซะ ลักษณะชอ่ งทางเปน็ ถนนดิน กว้างประมาณ ๔ ม. ในอดตี ใชเ้ ปน็ เสน้ ทางการชกั ลากไม้จากเมยี นมา ยานพาหนะสามารถผา่ นได้ทุกฤดูกาลแต่ ในฤดูฝนค่อนข้างลาบาก สภาพท่ัวไปเป็นภูเขาสลับกับพ้ืนที่เพาะปลูกทางการเกษตร ปกคลุมด้วยป่าเบญจ พรรณรกทึบ จากช่องหินดาด (เขาขาด) ไปทางทิศเหนือ ระยะทางประมาณ ๐.๑ กม. ถึงท่ีต้ังกองกาลังทหาร พมา่ อ.ปกเปีย้ น จว.มะรดิ สหภาพเมียนมา ใชไ้ ปมาหาสู่ ตดิ ต่อค้าขาย ซือ้ เครอื่ งอุปโภค - บรโิ ภคและยารักษา ทุกวันพฤหสั บดี ๗๐.๒ ช่องหินหมู อยู่ในพ้ืนท่ีบ้านพันวาล ๕ ต.รับร่อ อ.ท่าแซะ ลักษณะช่องทางเป็นถนนดิน กว้าง ประมาณ ๓ ม. เป็นพ้นื ท่ีทร่ี าษฎรไทยบุกรุกเพ่ือทาการเกษตร ยานพาหนะสามารถผ่านได้ทุกฤดูกาลแต่ในฤดูฝน ค่อนข้างลาบาก สภาพท่ัวไปเป็นภูเขาสลับกับพ้ืนท่ีเพาะปลูกทางการเกษตร ปกคลุมด้วยป่าเบญจพรรณรกทึบ จากช่องหินหมู ไปทางทศิ ตะวนั ออกเหนอื ระยะทางประมาณ ๗ กม. ถึงท่ตี ง้ั กองกาลงั ทหารพม่า อ.ปกเปย้ี น จว. มะริด สหภาพเมยี นมา ๗๑. แนวพรมแดนระหว่างไทย-เมียนมา ในเขต จว.ระนอง กาหนดให้รอ่ งน้าลกึ ในแมน่ ้าปากจ่ัน (แมน่ า้ กระ บุร)ี เป็นแนวพรมแดน ตามหนงั สอื สนธิสญั ญาวา่ ด้วยเขตแดนระหว่างเมียนมา (ตะนาวศรี) กับประเทศสยาม ลง วันท่ี ๑ มถิ นุ ายน ๒๔๗๗ ซึง่ มผี ลบังคับใช้จนถงึ ปัจจบุ นั ๗๒. ชอ่ งทางผ่านพรมแดนไทย-เมียนมา ในเขต จว.ระนอง เฉพาะในพน้ื ท่ี อ.กระบุรี มที ่าขา้ มซึ่งมีลักษณะ ท่ีคล้ายกันกล่าวคือ ลักษณะช่องทางเป็นตลิ่งธรรมชาติ ตลิ่งท้ังสองฝั่งสูงโดยเฉล่ียประมาณ ๒ - ๕ ม. มีความ ลาดชันประมาณ ๑๐ - ๔๕ องศา ข้ามแมน่ า้ กระบรุ ี ซึง่ กว้างตั้งแต่ ๕๐ - ๑๐๐ ม. ใช้แพหรือเรอื ยนตข์ นาดเล็ก เป็นพาหนะในการเดินทางในฤดูนา้ หลาก และใช้ยานพาหนะลุยข้ามได้ในฤดูแล้ง โดยพ้ืนท้องนา้ ส่วนใหญ่เปน็ กรวดทราย ใชไ้ ปมาหาสู่ ติดต่อค้าขาย ซอื้ เครือ่ งอปุ โภค - บรโิ ภค ยารกั ษาโรค สารวจลา่ สุดเม่อื ปี พ.ศ. ๒๕๕๔ โดย ผท.ทหาร เฉพาะในพ้นื ที่ อ.กระบรุ ี มที งั้ สิน้ ๒๓ ทา่ ข้าม มีท่าข้ามทีส่ าคัญ ๔ ท่าขา้ ม ดงั น้ี ๗๒.๑ ท่าข้ามบ้านน้าทุ่น อยู่ในพ้ืนท่ีบ้านน้าทุ่น ต.ปากจั่น อ.กระบุรี ลักษณะช่องทางเป็นตล่ิง ธรรมชาติ ท้ังสองฝั่งสูงโดยเฉล่ยี ประมาณ ๓ ม. มีความลาดชันประมาณ ๒๕ - ๓๐ องศา ข้ามแม่นา้ กระบุรีซ่ึง กว้างประมาณ ๕๐ ม. ในฤดูน้าหลากใช้แพหรือเรือยนต์ขนาดเล็กเป็นพาหนะในการเดินทาง ในฤดูแล้ง

๓ – ๓๗ ยานพาหนะสามารถลยุ ข้ามได้ พ้ืนทอ้ งน้าเปน็ กรวดทราย จากท่าข้ามบ้านน้าท่นุ ไปทางทศิ ตะวันตก ระยะทาง ประมาณ ๐.๑ กม. ถึงบ้านน้ามะทุ่น อ.เหมาใหญ่ จว.เกาะสอง ใช้ไปมาหาสู่ ติดต่อค้าขาย ซ้ือเครื่องอุปโภค - บรโิ ภค ยารักษาโรค ๗๒.๒ ท่าข้ามท่าตายิ้ม อยู่ในพ้ืนท่ีบ้านหาดจิก ต.ปากจั่น อ.กระบุรี ลักษณะช่องทางเป็นตลิ่ง ธรรมชาติ ท้ังสองฝ่ังสูงโดยเฉลี่ยประมาณ ๓ ม. มีความลาดชันประมาณ ๒๕-๓๐ องศา ข้ามแม่น้ากระบุรีซงึ่ กว้างประมาณ ๕๐ ม. ในฤดูน้าหลากใช้แพหรือเรือยนต์ขนาดเล็กเป็นพาหนะในการเดินทาง ในฤดูแล้ง ยานพาหนะสามารถลุยข้ามได้ พื้นท้องน้าเป็นกรวดทราย จากท่าข้ามบ้านท่าตาย้ิม ไปทางทิศตะวันตก ระยะทางประมาณ ๐.๑ กม. ถึงบ้านหลุมพอ อ.เหมาใหญ่ จว.เกาะสอง ใช้ไปมาหาสู่ ติดต่อค้าขาย ซ้ือเคร่ือง อุปโภค - บรโิ ภค ยารักษาโรค ๗๒.๓ ท่าข้ามบ้านหาดจิก อยู่ในพื้นท่ีบ้านหาดจิก ต.ปากจ่ัน อ.กระบุรี ลักษณะช่องทางเป็นตล่ิง ธรรมชาติ ทั้งสองฝั่งสูงโดยเฉลย่ี ประมาณ ๓ ม. มีความลาดชนั ประมาณ ๒๕ - ๓๐ องศา ขา้ มแม่นา้ กระบุรีซ่ึง กว้างประมาณ ๕๐ ม. ในฤดูน้าหลากใช้แพหรือเรือยนต์ขนาดเล็กเป็นพาหนะในการเดินทาง ในฤดูแล้ง ยานพาหนะสามารถลุยข้ามได้ พ้ืนท้องน้าเป็นกรวดทราย จากท่าข้ามบ้านหาดจิก ไปทางทิศตะวันตกเฉียง เหนือ ระยะทางประมาณ ๐.๓ กม. ถึงบ้านหลุมพอ อ.เหมาใหญ่ จว.เกาะสอง ใช้ไปมาหาสู่ ติดต่อค้าขาย ซื้อ เคร่ืองอปุ โภค - บรโิ ภค ยารกั ษาโรค ๗๒.๔ ท่าข้ามหาดฟ้าผ่า อยู่ในพ้ืนที่บ้านมัดออก ต.ปากจ่ัน อ.กระบุรี ลักษณะช่องทางเป็นตลิ่ง ธรรมชาติ ท้ังสองฝงั่ สูงโดยเฉลีย่ ประมาณ ๑๐ ม. มคี วามลาดชนั ประมาณ ๔๕ องศา ข้ามแมน่ า้ กระบุรีซึ่งกว้าง ประมาณ ๑๐๐ ม. ในฤดูน้าหลากใช้แพหรอื เรือยนต์ขนาดเล็กเป็นพาหนะในการเดนิ ทาง จากทา่ ขา้ มบ้านหาด จิก ไปทางทิศตะวันตก ระยะทางประมาณ ๐.๑ กม. ถึงบ้านหลุมพอ อ.เหมาใหญ่ จว.เกาะสอง ใช้ไปมาหาสู่ ติดต่อค้าขาย ซือ้ เครอ่ื งอปุ โภค - บรโิ ภค ยารกั ษาโรค ๗๓. บริเวณแนวพรมแดนท่ีใช้ร่องน้าลึกของแม่น้าปากจั่น (แม่น้ากระบุรี) เป็นเส้นแบ่งเขต ลักษณะ ชอ่ งทางสว่ นใหญเ่ ป็นท่าข้ามและท่าเทยี บเรอื ซง่ึ มีลกั ษณะที่คล้ายกันคือ มีการก่อสรา้ งอาคารคอนกรีตซ่ึงเป็น ท่ีตั้งและท่ีทาการของท่าเทียบเรือ มีทางข้ึนลงเป็นบันไดคอนกรีต กว้างตั้งแต่ ๔ - ๒๐ ม. ข้ามแม่น้ากระบุรใี น เขต อ.กระบุรี และ อ.ละอุ่น ในส่วนของ อ.เมอื งระนอง อ.กะเปอร์ และ อ.สขุ สาราญ จะเดินทางจะออกสู่ทะเล อันดามัน ใช้แพหรือเรือยนต์ขนาดใหญ่เป็นพาหนะในการเดินทางทุกฤดูกาล ใช้เป็นเส้นทางไปมาหาสู่ ติดต่อ คา้ ขาย ซือ้ เครอ่ื งอุปโภค - บริโภค ยารกั ษาโรค ขนส่งสนิ คา้ บริการและการท่องเทย่ี ว สารวจเมื่อปี พ.ศ. ๒๕๕๔ โดย ผท.ทหาร ในพ้ืนท่ี อ.กระบรุ ี อ.ละอุน่ อ.เมอื งระนอง อ.กะเปอร์ และ อ.สุขสาราญ มีทง้ั สิน้ ๕๙ ช่องทาง มี ช่องทางท่ีสาคญั ๗ ชอ่ งทาง ดังนี้ ๗๓.๑ ท่าเทยี บเรอื บางกงุ้ อย่ใู นพื้นทบ่ี ้านบางกงุ้ ต.น้าจืด อ.กระบุรี จว.ระนอง ลกั ษณะชอ่ งทางเป็น สะพานคอนกรีต กวา้ งประมาณ ๔ ม. ยาวประมาณ ๑๕ ม. สงู ประมาณ ๑๕ ม. ทางขึน้ - ลงเปน็ บันไดคอนกรตี กวา้ งประมาณ ๔ ม. ลกั ษณะตล่งิ เป็นตล่งิ ธรรมชาติ สูงประมาณ ๓ ม. มคี วามลาดชันประมาณ ๔๕ องศา ข้าม แม่น้ากระบรุ ี ใช้แพหรือเรือยนต์ขนาดเล็กเป็นพาหนะในการเดินทางได้ทุกฤดูกาล จากท่าเทียบเรือบางกุ้ง ไป ทางทศิ ตะวันตก ระยะทางประมาณ ๑ กม. ถงึ บา้ นหาดกก อ.เหมาใหญ่ จว.เกาะสอง สหภาพเมียนมา ใช้ไปมา หาสู่ ติดตอ่ คา้ ขาย ซื้อเครอ่ื งอปุ โภค - บริโภค ยารกั ษาโรค ๗๓.๒ ทา่ ข้ามบา้ นหนิ กอง อยูใ่ นพน้ื ท่บี า้ นหินกอง ต.บางแกว้ อ.ละอนุ่ จว.ระนอง ลกั ษณะชอ่ งทางเป็น สะพานคอนกรีต กว้างประมาณ ๓ ม. ยาวประมาณ ๘๐ ม. สูงประมาณ ๑๐ ม. ข้ามแม่น้ากระบุรี ใช้แพหรือเรือ ยนต์ขนาดเล็กเป็นพาหนะในการเดินทางได้ทุกฤดูกาล จากท่าข้ามบ้านหินกอง ไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ระยะทางประมาณ ๒ กม. ถึง อ.เหมาใหญ่ จว.เกาะสอง สหภาพเมียนมา ใช้ไปมาหาสู่ ติดต่อค้าขาย ซื้อเครื่อง อุปโภค - บรโิ ภค ยารกั ษาโรค

๓ – ๓๘ ๗๓.๓ จุดผ่อนปรน กม.๓๐ (เขาฝาชี) อยู่ในพื้นท่ีบ้านเขาฝาชี ต.บางแก้ว อ.ละอุ่น จว.ระนอง ลกั ษณะชอ่ งทางเป็นสะพานเหลก็ กวา้ งประมาณ ๒ ม. ยาวประมาณ ๑๐ ม. ลาดลงคลองละอุ่น ใช้แพหรอื เรือ ยนต์ขนาดเล็กเป็นพาหนะในการเดินทางได้ทุกฤดูกาล จากจุดผ่อนปรน กม.๓๐ (เขาฝาชี) ไปทางทิศตะวันตก เฉียงเหนือตามคลองละอุ่นและข้ามแม่น้ากระบุรี ระยะทางประมาณ ๗ กม. ถึงบ้านมะลิวัลย์ อ.เกาะสอง จว. เกาะสอง สหภาพเมียนมา ปัจจุบันเป็นเป็นจุดผ่อนปรน ให้ราษฎรท้ังสองฝ่ังใช้ไปมาหาสู่ ติดต่อค้าขาย ซ้ือ เครือ่ งอุปโภค - บรโิ ภค ยารกั ษาโรค เปิด - ปิดเวลา ๐๘๐๐ - ๑๘๐๐ ของทกุ วัน ๗๓.๔ ท่าเทียบเรือเขานางหงษ์ค้าไม้ อยู่ในพื้นที่บ้านหินช้าง ต.ปากน้า อ.เมืองระนอง จว.ระนอง ลักษณะชอ่ งทางเป็นทา่ เทยี บเรือสะพานคอนกรีต กวา้ งประมาณ ๖ ม. ยาวประมาณ ๕๐ ม. สูงประมาณ ๕ ม. มีรางเหล็ก กว้างประมาณ ๒ ม. ใช้สาหรับลากไม้ขึ้นจากเรือ ใช้สาหรับขนถ่ายปละบรรทุกสินค้าประเภทไม้ สามารถใช้ได้ทุกฤดูกาล ข้ามแม่น้ากระบุรี จากท่าเทียบเรือเขานางหงษ์ค้าไม้ ไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ ระยะทางประมาณ ๖ กม. ถึงบา้ นสายจีน อ.เกาะสอง จว.เกาะสอง สหภาพเมียนมา ๗๓.๕ จุดผ่านแดนถาวรตารวจตรวจคนเข้าเมืองปากน้า อยู่ในพ้ืนท่ีเทศบาลตาบลปากน้า อ.เมือง ระนอง จว.ระนอง เป็นด่านตรวจคนเขา้ เมืองเป็นอาคารคอนกรตี กว้างประมาณ ๑๐ ม. ยาวประมาณ ๒๐ ม. ลักษณะท่าเทียบเรือเป็นสะพานคอนกรีต กว้างประมาณ ๔ ม. ยาวประมาณ ๒๐ ม. สูงประมาณ ๕ ม. ใช้แพ หรอื เรือยนต์เปน็ พาหนะในการเดนิ ทางได้ทุกฤดกู าล จากจุดผ่านแดนถาวรตารวจตรวจคนเข้าเมอื งปากน้า ไป ทางทิศตะวนั ตกเฉยี งใต้ ระยะทางประมาณ ๖ กม. ถงึ อ.เกาะสอง จว.เกาะสอง สหภาพเมียนมา ใช้ไปมาหาสู่ ตดิ ตอ่ คา้ ขาย ซื้อเครอ่ื งอปุ โภค - บริโภค ยารกั ษาโรคและท่องเทีย่ ว เปิด - ปดิ เวลา ๐๗๓๐ - ๑๘๐๐ ของทุกวนั ๗๓.๖ ทา่ เรือแหลมสน อย่ใู นพนื้ ที่บ้านบางเบน ต.มว่ งกลวง อ.กะเปอร์ จว.ระนอง ลกั ษณะชอ่ งทาง เป็นท่าเทยี บเรอื สะพานคอนกรตี กว้างประมาณ ๒ ม. ยาวประมาณ ๘๐ ม. สูงประมาณ ๕ ม. ทางขึ้น - ลงเปน็ บันไดคอนกรีต กว้างประมาณ ๓ ม. ใช้แพหรือเรือยนต์เป็นพาหนะในการเดินทางได้ทุกฤดูกาล จากท่าเทียบ เรือแหลมสน ไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนอื ออกสู่ทะเลอันดามนั ระยะทางประมาณ ๔๐ กม. ถึง อ.เกาะสอง จว.เกาะสอง สหภาพเมยี นมา ใชไ้ ปมาหาสู่ ติดต่อคา้ ขาย ซ้อื เครื่องอุปโภค - บริโภค ยารกั ษาโรคและทอ่ งเที่ยว ๗๓.๗ ท่าเรือบ้านทะเลนอก อยู่ในพื้นที่บ้านทะเลนอก ต.นาคา อ.สุขสาราญ จว.ระนอง ลักษณะ ช่องทางเป็นท่าเทียบเรือสะพานคอนกรีต กว้างประมาณ ๔ ม. ยาวประมาณ ๕๐ ม. สูงประมาณ ๕ ม. ใช้แพ หรือเรือยนต์เป็นพาหนะในการเดินทางได้ทุกฤดูกาล จากท่าเทียบเรือบ้านทะเลนอก ไปทางทิศตะวันตกเฉียง เหนอื ออกสู่ทะเลอนั ดามนั ระยะทางประมาณ ๖๓ กม. ถึง อ.เกาะสอง จว.เกาะสอง สหภาพเมียนมา ใชไ้ ปมา หาสู่ ติดตอ่ คา้ ขาย ซอื้ เคร่อื งอุปโภค - บริโภค ยารักษาโรคและทอ่ งเทีย่ ว ๗๔. แนวพรมแดนไทย - มาเลเซีย กาหนดโดยใชส้ ันปันน้าของทิวเขาสันกาลาครี ีซึ่งทอดขวางจากฝง่ั ทะเล อันดามัน ในเขต จว.สตูลผ่าน จว.สงขลา และยะลา ไปถึงฝั่งทะเลอ่าวไทย สิ้นสุดที่ อ.แว้ง จว.นราธิวาส รวม ความยาว ๕๕๒ กม. ตอ่ จากนนั้ จะเป็นลาห้วยอัยเยอร์ยาวะ (ต้นน้าของแม่น้าโก-ลก) ลาห้วยอยั เยอร์บาตฮู ับปา, ลานา้ สระ และรอ่ งน้าลกึ ของแม่นา้ โก-ลก ออกสู่ทะเลที่ อ.ตากใบ จว.นราธวิ าส รวมความยาวในช่วงนปี้ ระมาณ ๙๕ กม. ๗๕. ช่องทางผ่านพรมแดนไทย - มาเลเซีย ในพ้ืนที่ จว.สตูล ส่วนใหญ่เป็นท่าข้ามและท่าเทียบเรือซึ่งมี ลักษณะท่ีคลา้ ยกันกล่าวคอื มีการก่อสร้างอาคารคอนกรีตซ่ึงเปน็ ที่ต้งั และที่ทาการของท่าเทียบเรือ มีทางขน้ึ ลง เป็นบันไดคอนกรีต กว้างตั้งแต่ ๔-๒๐ ม. ออกสู่ทะเลอันดามัน ใช้เรือยนต์ขนาดใหญ่หรอื เรอื ขนถ่ายสนิ ค้าเป็น พาหนะในการเดินทางทุกฤดูกาล ใช้เป็นเส้นทางไปมาหาสู่ ติดต่อค้าขาย ซ้ือเคร่ืองอุปโภค - บริโภค ยารักษา โรค ขนส่งสินคา้ บรกิ ารและการท่องเที่ยว สารวจเม่อื ปี พ.ศ.๒๕๕๔ โดย ผท.ทหาร ในพน้ื ท่ี อ.ทุ่งหวา้ อ.ละงู อ. ท่าแพ และ อ.เมอื งสตูล จว.สตลู มีทัง้ สนิ้ ๓๙ ท่าเทยี บเรือ มเี ทียบเรือท่ีสาคญั ๔ ทา่ เทียบเรอื ดังน้ี

๓ – ๓๙ ๗๕.๑ ท่าเทียบเรือบ้านมะหงัง อยู่ในพื้นที่บ้านมะหงัง ต.ทุ่งบุหลัง อ.ทุ่งหว้า ลักษณะช่องทางเป็น อาคารคอนกรีต เท่าเทียบเรือเป็นสะพานคอนกรีต กว้างประมาณ ๔ ม. ยาวประมาณ ๑๕ ม. มีความลาดชัน ประมาณ ๒๐ องศา ลกั ษณะเปน็ ตลิ่งหินท้ิง ใชแ้ พหรือเรือยนต์เป็นพาหนะในการเดนิ ทางไดท้ ุกฤดกู าล จากท่า เทียบเรือบ้านมะหงัง ไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ตามคลองบารายีออกสู่ทะเลอันดามัน ไปสู่รัฐเปอร์ลิส ประเทศมาเลเซีย ใชไ้ ปมาหาสู่ ตดิ ต่อค้าขาย ซ้ือเครือ่ งอุปโภค - บรโิ ภค ยารักษาโรคและท่องเทีย่ ว ๗๕.๒ ท่าเทียบเรืออุทยานแห่งชาติตะรุเตา อยู่ในพื้นท่ีบ้านปากบารา ต.ปากน้า อ.ละงู ลักษณะ ช่องทางเป็นอาคารคอนกรีต ท่าเทียบเรือเป็นสะพานคอนกรีต กว้างประมาณ ๔ ม. ยาวประมาณ ๕๐ ม. สูง ประมาณ ๑๕ ม. มีความลาดชันประมาณ ๔๕ องศา ลักษณะตล่ิงเป็นตลิ่งเป็นเข่ือนคอนกรีตกันการกัดเซาะ ทางข้ึน - ลงเป็นบันไดคอนกรีต กว้างประมาณ ๔ ม. สงู ประมาณ ๒๐ ม. ใช้แพหรอื เรือยนต์เปน็ พาหนะในการ เดินทางไดท้ กุ ฤดกู าล จากท่าเทยี บเรอื อุทยานแห่งชาติตะรุเตา ไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ ตามคลองปากบารา ออกสูท่ ะเลอนั ดามนั ไปสรู่ ฐั เปอร์ลสิ ประเทศมาเลเซีย ส่วนใหญใ่ ช้เพอื่ การทอ่ งเท่ยี ว ๗๕.๓ ท่าเทียบเรือบ้านสาคร อยู่ในพื้นท่ีบ้านสาคร ต.สาคร อ.ท่าแพ ลักษณะช่องทางเป็นท่าเทยี บ เรือสะพานคอนกรตี กวา้ งประมาณ ๓ ม. ยาวประมาณ ๓๐ ม. มคี วามลาดชันประมาณ ๒๐ องศา ลกั ษณะเป็น ตล่งิ เขื่อนคอนกรีตกนั การกัดเซาะ ทางขึน้ - ลงเปน็ บันไดคอนกรีต กวา้ งประมาณ ๓ ม. สูงประมาณ ๑๕ ม. ใช้ แพหรือเรือยนต์เป็นพาหนะในการเดินทางไดท้ ุกฤดูกาล จากท่าเทียบเรือบ้านสาคร ไปทางทิศตะวันออกเฉยี ง ใต้ ออกสู่ทะเลอันดามัน ไปสู่รัฐเปอร์ลิส ประเทศมาเลเซีย ใช้ไปมาหาสู่ ติดต่อค้าขาย ซื้อเคร่ือง อุปโภค - บรโิ ภค ยารกั ษาโรคและทอ่ งเทยี่ ว ๗๕.๔ ท่าเทียบเรือด่านศุลกากรสตูล อยู่ในพ้ืนท่ีบ้านตามะลังใต้ ต.ตามะลัง อ.เมืองสตูล ลักษณะ ช่องทางเป็นท่าเทียบเรือสะพานคอนกรีต กว้างประมาณ ๖ ม. ยาวประมาณ ๓๐ ม. มีความลาดชันประมาณ ๒๐-๒๕ องศา ลักษณะตลิ่งเป็นตลิ่งเป็นเขื่อนคอนกรีตกันการกัดเซาะ ใช้แพหรือเรือยนต์เป็นพาหนะในการ เดินทางได้ทุกฤดูกาล จากท่าเทียบเรือด่านศุลกากรสตูล ไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ ตามคลองตามะลังออกสู่ ทะเลอันดามัน ไปสู่รัฐเปอร์ลิส ประเทศมาเลเซีย ใช้ไปมาหาสู่ ติดต่อค้าขาย ซ้ือเครื่องอุปโภค - บริโภค ยา รกั ษาโรคขนส่งสนิ คา้ บรกิ ารและท่องเท่ยี ว ๗๖. การจัดทาหลักเขตแดนไทย - มาเลเซีย โดยคณะกรรมการร่วมไทย - มาเลเซีย ได้ดาเนินการตั้งแต่ พ.ศ. ๒๕๑๖ สนิ้ สดุ ในปี พ.ศ. ๒๕๒๙ จัดทาหลกั เขตมาตรฐานท้งั สิ้นจานวน ๑๐๙ หลัก จานวนหมายเลขหลัก เขตมีจานวน ๗๒ หลัก (ท่ีเหลืออีก ๓๗ หลักเป็นหลักเขตย่อย แซมระหว่างหลักเขตหลักท่ีมีระยะห่างกันมาก เชน่ หลกั ที่ ๕๐/๑, ๕๒/๒ เปน็ ต้น) การดาเนนิ การได้เสร็จสิ้นลงแต่มาเลเซยี ยอมรบั ถึงหลกั เขตที่ ๖๙ เท่าน้ัน สว่ นหลักเขตที่ ๗๐, ๗๑, และ ๗๒ ยังคงเป็นปญั หาและดาเนินการเจรจาในระดับรฐั บาล ๗๗. ช่องทางผา่ นพรมแดนทางบกระหว่างไทย - มาเลเซยี ทส่ี าคญั ได้แก่ ๗๗.๑ ช่องด่านพรมแดนวังประจัน อยู่ในเขตพื้นที่บ้านวังประจัน ต.วังประจัน อ.ควนโดน จว.สตูล ลักษณะช่องทางเป็นถนนลาดยาง กว้างประมาณ ๖ ม. ลักษณะภูมิประเทศเป็นที่ราบ ลักษณะพืชพันธุเ์ ป็นปา่ โปร่ง สภาพสองข้างทางเปน็ ที่อยอู่ าศยั ย่านธุรกิจการค้าสลับพ้นื ท่ีการเกษตร ยานพาหนะทุกชนดิ สามารถผ่าน ได้ทุกฤดูกาล จากช่องด่านพรมแดนวังประจัน ไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ระยะทางประมาณ ๓ กม. ถึง บ้านเกลียน เมอื งกางาห์ รฐั เปอร์ลสิ ประเทศมาเลเซีย ปจั จุบนั เปดิ จุดผ่านแดนถาวร ใช้ไปมาหาสู่ ตดิ ตอ่ คา้ ขาย ซ้อื เครอื่ งอุปโภค - บริโภค ยารกั ษาโรคขนส่งสนิ คา้ บรกิ ารและทอ่ งเที่ยว เปดิ - ปิดเวลา ๐๗๓๐ - ๑๘๐๐ ของ ทกุ วนั ๗๗.๒ ด่านปาดังเบซาร์ อยู่ในเขตพื้นท่ีเทศบาลตาบลปาดังเบซาร์ อ.สะเดา จว.สงขลา ลักษณะ ช่องทางเป็นถนนลาดยาง กว้างประมาณ ๑๒ ม. มีประตูเหล็กกว้างประมาณ ๑๒ ม. สูงประมาณ ๓ ม. มีแนว กาแพงคอนกรีตประกอบด้วยร้ัวลวดหนามสูงประมาณ ๕ ม. ขนานไปตามแนวพรมแดน ลักษณะภูมิประเทศ

๓ – ๔๐ เป็นทีร่ าบ สภาพสองข้างทางเปน็ ท่อี ยูอ่ าศยั ย่านธรุ กิจการค้าสลบั พ้นื ท่ีการเกษตร ยานพาหนะทุกชนดิ สามารถ ผ่านได้ทุกฤดูกาล จากช่องด่านปาดังเบซาร์ ไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ ระยะทางประมาณ ๑ กม. ถึงบ้านปา ดังเบซาร์ รัฐเปอร์ลิส ประเทศมาเลเซีย ปัจจุบันเปิดจุดผ่านแดนถาวร ใช้ไปมาหาสู่ ติดต่อค้าขาย ซ้ือเครื่อง อปุ โภค - บรโิ ภค ยารกั ษาโรค ขนส่งสนิ ค้าบรกิ ารและทอ่ งเทย่ี ว เปดิ - ปดิ เวลา ๐๕๐๐ - ๒๑๐๐ ของทุกวัน ๗๗.๓ ด่านพรมแดนสะเดา อยู่ในเขตพ้ืนที่บ้านไทยจังโหลน ต.สานักขาม อ.สะเดา จว.สงขลา ลักษณะช่องทางเปน็ ถนนลาดยาง กว้างประมาณ ๘ ม. มปี ระตูเหลก็ กวา้ งประมาณ ๘ ม. สงู ประมาณ ๓ ม. มี แนวกาแพงคอนกรีตประกอบด้วยรั้วลวดหนามสูงประมาณ ๕ ม. ขนานไปตามแนวพรมแดน ลักษณะภูมิ ประเทศเป็นทรี่ าบ สภาพสองข้างทางเปน็ ที่อยอู่ าศยั ย่านธรุ กิจการคา้ สลบั พ้นื ทีก่ ารเกษตร ยานพาหนะทกุ ชนิด สามารถผ่านได้ทุกฤดูกาล จากช่องด่านพรมแดนสะเดา ไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ ข้ามแนวพรมแดนถึงรฐั เค ดาห์ ประเทศมาเลเซีย ปจั จบุ ันเปิดจดุ ผา่ นแดนถาวร ใช้ไปมาหาสู่ ติดตอ่ ค้าขาย ซือ้ เครอื่ งอปุ โภค - บรโิ ภค ยา รักษาโรค ขนสง่ สนิ คา้ บรกิ ารและท่องเทยี่ ว เปิด - ปิดเวลา ๐๕๐๐ - ๒๓๐๐ ของทุกวัน ๗๗.๔ ด่านบ้านประกอบ อยู่ในเขตพ้ืนที่บ้านประกอบออก ต.ประกอบ อ.นาทวี จว.สงขลา ลักษณะ ช่องทางเป็นถนนลาดยาง กว้างประมาณ ๒๐ ม. มีประตูเหล็กกว้างประมาณ ๒๐ ม. สูงประมาณ ๓ ม. มีแนว กาแพงเหล็กประกอบด้วยร้ัวลวดหนามสูงประมาณ ๕ ม. ขนานไปตามแนวพรมแดน ลักษณะภูมิประเทศเป็นที่ ราบ สภาพสองข้างทางเปน็ ท่อี ย่อู าศัยสลบั พนื้ ทก่ี ารเกษตร ยานพาหนะทกุ ชนิดสามารถผา่ นไดท้ ุกฤดูกาล จากชอ่ ง ด่านบ้านประกอบ ไปทางทิศใต้ ข้ามแนวพรมแดนถึงบ้านดูเรียนบูรง รัฐเคดาห์ ประเทศมาเลเซีย ปัจจุบันเปิดจุด ผ่านแดนถาวร ใช้ไปมาหาสู่ ติดต่อค้าขาย ซ้ือเคร่ืองอุปโภค - บริโภค ยารักษาโรค ขนส่งสินค้าบริการและ ทอ่ งเท่ียว เปิด - ปิดเวลา ๐๗๐๐ - ๑๗๐๐ ของทุกวนั ๗๗.๕ จุดผ่านแดนถาวรเบตง อยู่ในเขตพ้ืนที่เทศบาลเมอื งเบตง อ.เบตง จว.ยะลา ลักษณะช่องทาง เป็นถนนลาดยาง กว้างประมาณ ๗ ม. มีประตเู หล็กกว้างประมาณ ๗ ม. สงู ประมาณ ๒ ม. มีแนวร้วั ลวดหนาม สูงประมาณ ๕ ม. ขนานไปตามแนวพรมแดน ลักษณะภูมปิ ระเทศเป็นท่รี าบระหว่างหุบเขา สภาพสองขา้ งทาง เป็นที่อยู่อาศัยสลับ ย่านธุรกิจการค้าและพ้ืนท่ีทางการเกษตร ยานพาหนะทุกชนิดสามารถผ่านได้ทุกฤดูกาล จากจุดผ่านแดนถาวรเบตง ไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ ระยะทางประมาณ ๒.๕ กม. ถึงบ้านบูกิตบือราปิต อ. เปิงกาลันฮูลู รัฐเปรัค ประเทศมาเลเซีย ปัจจุบันเปิดจุดผ่านแดนถาวร ใช้ไปมาหาสู่ ติดต่อค้าขาย ซื้อเครื่อง อุปโภค - บริโภค ยารักษาโรค ขนส่งสนิ คา้ บรกิ ารและท่องเทีย่ ว เปิด - ปดิ เวลา ๐๕๐๐ - ๒๒๐๐ ของทกุ วนั ๗๗.๖ ช่องบ้านภูเขาทอง อยู่ในเขตพ้ืนท่ีบ้านภูเขาทอง ต.ภูเขาทอง อ.สุคิริน จว.นราธิวาส ลักษณะ ช่องทางเป็นถนนลาดยาง กว้างประมาณ ๔ ม. มีแนวร้ัวลวดหนามกว้างประมาณ ๔ ม. กันระหว่างแนว พรมแดน ลักษณะภมู ปิ ระเทศเป็นท่ีราบระหว่างหุบเขา สภาพสองพ้นื ท่ีทางการเกษตร จากชอ่ งบ้านภูเขาทอง ไปทางทิศใต้ ระยะทางประมาณ ๓ กม. ถงึ บ้านกาแล อ.เยอลี รฐั กลันตนั ประเทศมาเลเซยี ๗๘. จากช่องบ้านภูเขาทอง บริเวณหลักเขตแดนที่ ๗๒ เสน้ เขตแดนจะไปตามลาห้วยอัยเยอร์ยาวะ (ตน้ น้า ของแม่นา้ โก-ลก) ลาห้วยอัยเยอร์บาตูฮับปา, ลานา้ สระ และร่องนา้ ลึกของแม่น้าโก - ลก ออกสู่ทะเลท่ี อ.ตากใบ จว.นราธวิ าส รวมความยาวตามลาน้าประมาณ ๙๕ กม. ลักษณะชอ่ งทางส่วนใหญจ่ งึ เป็นท่าข้ามและทา่ เทยี บเรือ ซึ่งมีลักษณะท่ีคล้ายกันกล่าวคือ ลักษณะช่องทางเป็นจุดจอดเรือของราษฎรทั้งชาวไทยและมาเลเซีย ลักษณะ เปน็ ตลิ่งหินท้ิง สงู ประมาณ ๕-๑๐ ม. มคี วามลาดชันประมาณ ๑๐ - ๒๕ องศา ทางข้นึ - ลงเป็นบนั ไดคอนกรีต กว้างประมาณ ๕ - ๑๐ ม. ข้ามแม่น้าโก-ลก กว้างประมาณ ๑๐๐ - ๒๕๐ ม. ใช้แพและเรือยนต์ขนาดเล็กเป็น พาหนะในการข้ามใช้ได้ทกุ ฤดูกาล สภาพภมู ิประเทศโดยทั่วไปเป็นท่ีราบ สภาพสองข้างทางเป็นท่ีอยู่อาศัย ยา่ น ธรุ กิจการคา้ และพ้นื ท่ีทางการเกษตร ใชเ้ ป็นเส้นทางไปมาหาสู่ ตดิ ต่อค้าขาย ซือ้ เคร่ืองอุปโภค - บรโิ ภค ยารกั ษา โรค ขนส่งสินค้าบริการและการท่องเท่ียว สารวจล่าสุดเม่ือปี พ.ศ.๒๕๕๙ โดย ผท.ทหาร ในพน้ื ที่ อ.แวง้ อ.สุไหง โก-ลก และ อ.ตากใบ จว.นราธวิ าส มที ั้งส้ิน ๔๕ ชอ่ งทาง มชี อ่ งทางผา่ นพรมแดนท่ีสาคญั ๑๐ ช่องทาง ดงั น้ี

๓ – ๔๑ ๗๘.๑ จุดผ่านแดนถาวรดา่ นบูเกะ๊ ตา อยู่ในเขตพ้ืนที่บ้านบูเก๊ะตา ต.โละจูด อ.แว้ง ลักษณะช่องทาง เป็นสะพานคอนกรีต กว้างประมาณ ๗ ม. ยาวประมาณ ๒๐๐ ม. มีความสูงจากท้องสะพานถึงระดับน้าต่าสดุ ประมาณ ๒๐ ม. ข้ามแม่น้าโก-ลก กว้างประมาณ ๑๐๐ ม. ยานพาหนะทุกชนิดสามารถผ่านไปได้ทุกฤดูกาล สภาพภูมิประเทศโดยท่ัวไปเป็นท่ีราบ สภาพสองข้างทางเป็นท่ีอยู่อาศัยสลับพ้ืนท่ีทางการเกษตร จากจุดผ่าน แดนถาวรดา่ นบเู ก๊ะตา ไปทางทิศตะวนั ออก ระยะทางประมาณ ๐.๑ กม. ถึงบา้ นบูเก๊ะบอออ อ.โกตาบารู รฐั ก ลนั ตนั ประเทศมาเลเซีย ปจั จบุ ันเปิดเปน็ จุดผ่านแดนถาวร ให้ราษฎรทั้งชาวไทยและมาเลเซีย ใช้ไปมาหาสู่ ซอื้ เครื่องอุปโภค - บริโภค ยารักษาโรค ขนส่งสินค้า บริการและท่องเท่ียว เปิด - ปิดเวลา ๐๖๐๐ - ๑๘๐๐ ของ ทุกวัน ๗๘.๒ จุดผ่อนปรนบา้ นกะนดู ง อย่ใู นเขตพน้ื ทบี่ ้านกะนดู ง ต.ฆอเลาะ อ.แว้ง ลกั ษณะช่องทางเปน็ จุด จอดเรือของราษฎรทง้ั ชาวไทยและมาเลเซีย ลกั ษณะเป็นตลง่ิ หนิ ท้ิง สงู ประมาณ ๕ ม. มีความลาดชันประมาณ ๑๐-๑๕ องศา ทางขน้ึ - ลงเป็นบนั ไดคอนกรตี กว้างประมาณ ๕ ม. ข้ามแมน่ ้าโก-ลก กวา้ งประมาณ ๑๐๐ ม. ใช้แพและเรอื ยนตข์ นาดเลก็ เปน็ พาหนะในการขา้ มใช้ได้ทกุ ฤดูกาล สภาพภมู ปิ ระเทศโดยทวั่ ไปเป็นทีร่ าบ สภาพ สองข้างทางเป็นที่อยู่อาศัยสลับพ้ืนท่ีทางการเกษตร จากจุดผ่อนปรนบ้านกะนูดง ไปทางทิศตะวันออก ระยะทางประมาณ ๐.๑ กม. ถงึ บ้านกาแย อ.ตาเนาะแมเราะ รัฐกลนั ตัน ประเทศมาเลเซีย ปจั จบุ นั เปิดเป็นจุด ผ่อนปรน ให้ราษฎรท้ังชาวไทยและมาเลเซีย ใช้ไปมาหาสู่ ซ้ือเคร่ืองอุปโภค - บริโภค ยารักษาโรค เปิด - ปิด เวลา ๐๖๐๐ - ๑๘๐๐ ของทกุ วัน ๗๘.๓ จุดผ่อนปรนบ้านตอออ อยู่ในเขตพื้นท่ีบ้านตอออ ต.กายูคละ อ.แว้ง ลักษณะช่องทางเป็นจุด จอดเรอื ของราษฎรท้ังชาวไทยและมาเลเซีย ลักษณะเปน็ ตล่ิงหินทงิ้ สงู ประมาณ ๕ ม. มีความลาดชนั ประมาณ ๑๐-๑๕ องศา ทางข้ึน - ลงเปน็ บันไดคอนกรีต กวา้ งประมาณ ๕ ม. ขา้ มแมน่ ้าโก-ลก กว้างประมาณ ๑๐๐ ม. ใชแ้ พและเรือยนต์ขนาดเล็กเป็นพาหนะในการขา้ มใชไ้ ดท้ ุกฤดูกาล สภาพภูมปิ ระเทศโดยทว่ั ไปเป็นที่ราบ สภาพ สองข้างทางเปน็ ท่อี ยูอ่ าศัยสลับพื้นทีท่ างการเกษตร จากจุดผ่อนปรนบ้านตอออ ไปทางทิศตะวันออก ระยะทาง ประมาณ ๐.๕ กม. ถึงบ้านกาปงปาลู อ.ปาเสมสั รฐั กลันตัน ประเทศมาเลเซีย ปัจจุบันเปิดเป็นจดุ ผ่อนปรน ให้ ราษฎรทงั้ ชาวไทยและมาเลเซีย ใชไ้ ปมาหาสู่ ซ้ือเครือ่ งอุปโภค - บริโภค ยารักษาโรค เปดิ - ปิดเวลา ๐๖๐๐ - ๑๘๐๐ ของทกุ วนั ๗๘.๔ จุดผ่อนปรนประปา อยู่ในเขตพื้นที่เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก อ.สุไหงโก-ลก ลักษณะช่องทาง เป็นจุดจอดเรือของราษฎรทั้งชาวไทยและมาเลเซีย ลักษณะเป็นตลิ่งหินท้ิง สูงประมาณ ๕ ม. มีความลาดชัน ประมาณ ๑๐-๑๕ องศา ทางข้นึ - ลงเปน็ บนั ไดคอนกรีต กว้างประมาณ ๕ ม. ข้ามแมน่ า้ โก-ลก กว้างประมาณ ๑๐๐ ม. ใช้แพและเรือยนต์ขนาดเล็กเป็นพาหนะในการข้ามใช้ได้ทุกฤดูกาล สภาพภูมิประเทศโดยทั่วไปเปน็ ท่ี ราบ สภาพสองข้างทางเป็นท่ีอยู่อาศัยสลับพื้นที่ทางการเกษตร จากจุดผ่อนปรนประปา ไปทางทิศตะวันออก ระยะทางประมาณ ๑ กม. ถงึ บ้านรนั ตูปนั จงั อ.ปาเสมสั รฐั กลนั ตัน ประเทศมาเลเซีย ปจั จุบันเปิดเปน็ จุดผ่อน ปรน ให้ราษฎรทั้งชาวไทยและมาเลเซีย ใช้ไปมาหาสู่ ซ้ือเครื่องอุปโภค - บริโภค ยารักษาโรค เปิด - ปิดเวลา ๐๖๐๐ - ๑๘๐๐ ของทกุ วัน ๗๘.๕ จุดผ่านแดนถาวรด่านสุไหงโก-ลก อยู่ในเขตพ้ืนท่ีเทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก อ.สุไหงโก-ลก ลักษณะช่องทางเป็นสะพานคอนกรีต กว้างประมาณ ๗ ม. ยาวประมาณ ๒๐๐ ม. ความสงู จากท้องสะพานถึง ระดับน้าตา่ สุด ประมาณ ๒๐ ม. ขา้ มแมน่ ้าโก-ลก กวา้ งประมาณ ๑๐๐ ม. ยานพาหนะทุกชนิดสามารถผ่านได้ ทุกฤดูกาล สภาพภูมิประเทศโดยท่ัวไปเป็นที่ราบ สภาพสองข้างทางเป็นท่ีอยู่อาศัยสลับและย่านธุรกิจการคา้ จากจุดผ่านแดนถาวรด่านสุไหงโก-ลก ไปทางทิศตะวันออก ระยะทางประมาณ ๑ กม. ถงึ บ้านรันตปู ันจัง อ.ปา เสมสั รัฐกลันตัน ประเทศมาเลเซยี ปัจจุบันเปดิ เป็นจดุ ผ่านแดนถาวร ให้ราษฎรทัง้ ชาวไทยและมาเลเซีย ใช้ไป

๓ – ๔๒ มาหาสู่ ซื้อเครื่องอุปโภค - บรโิ ภค ยารักษาโรค ขนสง่ สินคา้ บริการและการท่องเท่ยี ว เปดิ - ปิดเวลา ๐๕๐๐ - ๒๑๐๐ ของทุกวัน ๗๘.๖ จุดผ่อนปรนบ้านมูโนะ ๑ อยู่ในเขตพ้ืนที่บ้านมูโนะ ต.มูโนะ อ.สุไหงโก-ลก ลักษณะช่องทาง เป็นจดุ จอดเรือของราษฎรท้งั ชาวไทยและมาเลเซีย ลกั ษณะเป็นตล่ิงหนิ ท้ิง สูงประมาณ ๑๐ ม. มีความลาดชัน ประมาณ ๑๐-๑๕ องศา ทางขน้ึ - ลงเป็นบันไดคอนกรีต กวา้ งประมาณ ๕ ม. ข้ามแม่น้าโก-ลก กว้างประมาณ ๑๐๐ ม. ใช้แพและเรือยนต์ขนาดเล็กเป็นพาหนะในการข้ามใช้ได้ทุกฤดูกาล สภาพภูมิประเทศโดยท่ัวไปเปน็ ที่ ราบ สภาพสองข้างทางเป็นท่ีอยู่อาศัยสลับพื้นท่ีทางการเกษตร จากจุดผ่อนปรนบ้านมูโนะ ๑ ไปทางทิศ ตะวันออกเฉียงใต้ ระยะทางประมาณ ๘ กม. ถึงบ้านรันตูปันจัง อ.ปาเสมัส รัฐกลันตัน ประเทศมาเลเซีย ปัจจุบันเปิดเป็นจุดผ่อนปรน ให้ราษฎรทั้งชาวไทยและมาเลเซีย ใช้ไปมาหาสู่ ซ้ือเคร่ืองอุปโภค - บริโภค ยา รกั ษาโรค เปดิ - ปดิ เวลา ๐๖๐๐ - ๑๘๐๐ ของทุกวัน ๗๘.๗ จุดผ่อนปรนบ้านกัวลอต๊ะ ๑ อยู่ในเขตพื้นที่บ้านกัวลอต๊ะ ต.นานาค อ.ตากใบ ลักษณะ ช่องทางเป็นจุดจอดเรอื ของราษฎรทั้งชาวไทยและมาเลเซีย ลักษณะเป็นตลิ่งหนิ ทิ้ง สูงประมาณ ๕ ม. มีความ ลาดชันประมาณ ๑๐-๑๕ องศา ทางข้ึน - ลงเป็นบันไดคอนกรีต กว้างประมาณ ๕ ม. ข้ามแม่น้าโก-ลก กว้าง ประมาณ ๑๐๐ ม. ใช้แพและเรือยนต์ขนาดเล็กเป็นพาหนะในการข้ามใช้ได้ทุกฤดูกาล สภาพภูมิประเทศ โดยทว่ั ไปเป็นที่ราบ สภาพสองขา้ งทางเป็นทีอ่ ยอู่ าศัยสลับพ้ืนท่ีทางการเกษตร จากจดุ ผ่อนปรนกัวลอตะ๊ ๑ ไป ทางทิศตะวันออก ระยะทางประมาณ ๐.๕ กม. ถึงบ้านบูเก๊ะยามู อ.ตุมปัด รัฐกลันตัน ประเทศมาเลเซีย ปัจจุบันเปิดเป็นจุดผ่อนปรน ให้ราษฎรท้ังชาวไทยและมาเลเซีย ใช้ไปมาหาสู่ ซื้อเคร่ืองอุปโภค - บริโภค ยา รกั ษาโรค เปิด - ปดิ เวลา ๐๖๐๐ - ๑๘๐๐ ของทุกวัน ๗๘.๘ จดุ ผอ่ นปรนบา้ นปะลุกา ๑ อยใู่ นเขตพื้นท่ีบ้านปะลุกา ต.โฆษติ อ.ตากใบ ลกั ษณะช่องทางเป็น จุดจอดเรือของราษฎรทั้งชาวไทยและมาเลเซีย ลักษณะเป็นตล่ิงหินทิ้ง สูงประมาณ ๕ ม. มีความลาดชัน ประมาณ ๑๐-๑๕ องศา ทางขนึ้ - ลงเป็นบนั ไดคอนกรีต กว้างประมาณ ๕ ม. ขา้ มแมน่ ้าโก-ลก กวา้ งประมาณ ๑๐๐ ม. ใช้แพและเรือยนต์ขนาดเล็กเป็นพาหนะในการข้ามใชไ้ ด้ทุกฤดูกาล สภาพภูมิประเทศโดยทั่วไปเปน็ ท่ี ราบ สภาพสองข้างทางเป็นท่ีอยู่อาศัยสลับพ้ืนที่ทางการเกษตร จากจุดผ่อนปรนบ้านปะลุกา ๑ ไปทางทิศ ตะวันออกเฉียงเหนอื ระยะทางประมาณ ๐.๕ กม. ถึงบ้านนิบง อ.ตมุ ปดั รัฐกลันตัน ประเทศมาเลเซยี ปจั จุบัน เปิดเป็นจุดผ่อนปรน ให้ราษฎรท้ังชาวไทยและมาเลเซยี ใช้ไปมาหาสู่ ซ้ือเคร่ืองอุปโภค - บริโภค ยารักษาโรค เปดิ - ปดิ เวลา ๐๖๐๐ - ๑๘๐๐ ของทกุ วนั ๗๘.๙ จุดผ่อนปรนบ้านศรีพงัน ๑ อยู่ในเขตพื้นที่บ้านศรีพงัน ต.เกาะสะท้อน อ.ตากใบ ลักษณะ ช่องทางเป็นจุดจอดเรือของราษฎรทั้งชาวไทยและมาเลเซีย ลักษณะเป็นตล่ิงหินท้ิง สูงประมาณ ๕ ม. มีความ ลาดชันประมาณ ๑๐-๑๕ องศา ทางข้ึน - ลงเป็นบันไดคอนกรตี กว้างประมาณ ๕ ม. ข้ามแม่น้าโก-ลก กว้าง ประมาณ ๑๐๐ ม. ใช้แพและเรือยนต์ขนาดเล็กเป็นพาหนะในการข้ามใช้ได้ทุกฤดูกาล สภาพภูมิประเทศ โดยทัว่ ไปเป็นทรี่ าบ สภาพสองข้างทางเปน็ ที่อยอู่ าศัยสลับพืน้ ท่ีทางการเกษตร จากจดุ ผ่อนปรนบ้านศรีพงัน ๑ ไปทางทิศตะวันออก ระยะทางประมาณ ๑๓.๕ กม. ถึงบ้านซิมแปงัน อ.ตุมปัด รัฐกลันตัน ประเทศมาเลเซีย ปัจจุบันเปิดเป็นจุดผ่อนปรน ให้ราษฎรท้ังชาวไทยและมาเลเซีย ใช้ไปมาหาสู่ ซื้อเคร่ืองอุปโภค - บริโภค ยา รกั ษาโรค เปดิ - ปิดเวลา ๐๖๐๐ - ๑๘๐๐ ของทุกวนั ๗๘.๑๐ จุดผ่านแดนถาวรตากใบ อยู่ในเขตพ้นื ท่ีบ้านตาบา ต.เจ๊ะเห อ.ตากใบ ลักษณะช่องทางเปน็ จุดจอดเรือของราษฎรท้ังชาวไทยและมาเลเซีย ลักษณะเป็นตล่ิงหินท้ิง สูงประมาณ ๕ ม. มีความลาดชัน ประมาณ ๑๐ - ๑๕ องศา ทางขึ้น - ลงเป็นบันไดคอนกรีต กว้างประมาณ ๕ ม. ข้ามแม่น้าโก-ลก กว้าง ประมาณ ๒๕๐ ม. ใชแ้ พและเรอื ยนต์เป็นพาหนะในการข้ามใชไ้ ด้ทุกฤดูกาล สภาพภมู ปิ ระเทศโดยทัว่ ไปเป็นที่ ราบ สภาพสองข้างทางเป็นท่ีอยู่อาศัยสลับและย่านธุรกิจการค้า จากจุดผ่านแดนถาวรตากใบ ไปทางทิศ

๓ – ๔๓ ตะวันออกเฉียงใต้ ระยะทางประมาณ ๑ กม. ถึงบ้านเปิงกาลันกูโปร์ อ.ตุมปัด รัฐกลันตัน ประเทศมาเลเซีย ปัจจุบันเปิดเป็นจุดผ่อนปรน ให้ราษฎรท้ังชาวไทยและมาเลเซีย ใช้ไปมาหาสู่ ซ้ือเครื่องอุปโภค - บริโภค ยา รกั ษาโรคและทอ่ งเท่ียว เปดิ - ปิดเวลา ๐๖๐๐ - ๑๘๐๐ ของทกุ วนั ๗๙. ตามแนวพรมแดนไทย - มาเลเซยี สามารถผา่ นได้ตลอดแนวทงั้ การเดินข้ามบริเวณช่องทางสนั เขา และ การลุยขา้ มลานา้ หรอื ใชเ้ รอื ในบางช่วงของแมน่ ้าโก-ลก แต่การผ่านแดนโดยถกู ต้อง และสะดวกทส่ี ดุ ทงั้ ทางรถยนต์ และรถไฟ คือ ๗๙.๑ ทางรถยนต์ เส้นทางสายที่ ๑ สงขลา-สะเดา-จังโหลน-อลอสตาร์, เส้นทางสายท่ี ๒ ยะลา-เบ ตง-โกร๊ะ-บาลงิ -ปนี ัง และเสน้ ทางสายท่ี ๓ นราธวิ าส-สุไหงโก-ลก-ลันตูบนั ยัง-โก,ตาบารู ๗๙.๒ ทางรถไฟ เส้นทางสายที่ ๑ สายหาดใหญ่-ปาดังเบซาร์- บัตเตอร์เวิร์ธ และเส้นทางสายที่ ๒ สายหาดใหญ่-สุไหงโก-ลก-ลนั ตูบนั ยัง-ปาเซมสั ๘๐. ลาน้าในภาคใต้สว่ นใหญ่เป็นลาน้าสายสน้ั ๆ ขนาดไมส่ ู้กวา้ งมากนัก แบ่งออกได้เป็น ๒ พวก ตามทิศ ทางการไหลลงสู่ทะเลอนั ดามนั และไหลลงสู่ทะเลทางด้านอา่ วไทย ๘๐.๑ แม่นา้ ที่ไหลลงสู่ทะเลอันดามัน ไดแ้ ก่ แมน่ ้าปากจน่ั (กระบุรี) และแม่น้าตรงั ๘๐.๒ แม่นา้ ทไี่ หลลงสู่ทะเลทางด้านอ่าวไทย ได้แก่ แม่น้าชุมพร, แมน่ ้าหลังสวน, แม่นา้ ตาป,ี แม่นา้ สายบรุ ี และแม่นา้ โก-ลก ๘๑. ภาคใต้เป็นภาคซึ่งมีชายฝ่ังทะเลทั้ง ๒ ด้าน ทางด้านตะวันออกเป็นฝ่ังทะเลด้านอ่าวไทย ส่วนฝั่ง ตะวันตกเปน็ ฝั่งทะเลอนั ดามันชายฝ่งั ทะเลทัง้ สองด้านมีลักษณะแตกต่างกัน คอื ๘๑.๑ ลักษณะฝั่งทะเลด้านอ่าวไทย มีความยาวประมาณ ๑,๒๕๐ กม. เป็นฝั่งที่มีลักษณะเวา้ แหวง่ ไม่ มากนกั แตก่ ็ยังมอี ่าวซึง่ พอจะใช้เป็นท่าจอดเรอื ได้หลายแห่ง ๘๑.๒ สว่ นชายฝงั่ ทะเลทางดา้ นทะเลอนั ดามนั มีความยาวประมาณ ๗๔๐ กม. เป็นลักษณะชายฝ่ังท่ี มีความเวา้ แหวง่ และเต็มไปดว้ ยเกาะแก่งมากมาย ชายฝงั่ ทางด้านน้แี มจ้ ะมีอ่าวอย่หู ลายแหง่ กย็ ังหาท่าจอดเรือ ท่ดี ีไดย้ าก ๘๒. ทะเลสาบสงขลา เป็นทะเลสาบแห่งเดียวในประเทศไทย อยู่ในพ้ืนท่ีกระหนาบระหว่างทิวเขา นครศรีธรรมราช ทางตะวันตกและอ่าวไทยทางตะวันออก ในพ้ืนที่ของ จว.นครศรีธรรมราช พัทลุง และสงขลา แบง่ ออกเปน็ ๒ ตอน คือ ๘๒.๑ ทะเลหลวง เป็นตัวทะเลสาบสงขลาอันแท้จริง เป็นบริเวณน้าขังอันกว้างใหญ่ทางเหนือของ จว. พัทลุง ผ่านมาทางตะวันออกขนานฝ่ังทะเลมาจนถึงตะวันตกเฉียงใต้ของ จว.สงขลา ยาวประมาณ ๘๐ กม. กว้างสุด ประมาณ ๒๕ กม. ๘๒.๒ ทะเลน้อย เป็นทะเลสาบซ่ึงน้าขังขนาดเล็กว่าทะเลหลวงต้ังอยู่ทางตะวนั ออกเฉียงเหนือของ อ.เมอื งพัทลงุ ทางใต้ของทะเลน้อยติดต่อกับทะเลหลวงไดต้ ามพื้นที่หล่มโคลนซ่งึ กั้นอยู่ ๘๓. พื้นท่ีราบในภาคใต้ส่วนมากเป็นพ้ืนที่ราบชายฝั่งทะเล มีลักษณะเป็นที่ราบแคบ ยาวไปตามชายฝ่ัง ทะเลบางตอนจะมีทิวเขากั้นแบ่งออกจากกนั ท่ีราบทสี่ าคัญ ไดแ้ ก่ ๘๓.๑ ทีร่ าบสุราษฎรธ์ านี เปน็ ท่ีราบผืนใหญท่ ่ีสุดของภาคใต้ ซงึ่ อยใู่ นระหวา่ งทิวเขานครศรีธรรมราช กับทิวเขาภูเก็ต มีพ้ืนท่ีกว้างขวาง ตอนกลางมีลาน้าตาปีกับลาน้าคีรีรัฐ และเป็นพื้นที่ย่านกสิกรรมสาคัญทาง ภาคใต้ มีทางออกสทู่ ะเลท่สี ะดวกทางอา่ วบา้ นดอน ๘๓.๒ ที่ราบพัทลุง เป็นที่ราบฝ่ังทะเลตะวันออกของทิวเขานครศรีธรรมราช และบริเวณทะเลสาบ สงขลา ๘๓.๓ ท่ีราบปัตตานี เป็นที่ราบตอนใต้สุดของชายแดนไทย อยู่ในระหว่างทิวเขาสันกาลาคีรีกับฝั่ง ทะเล มลี าน้าที่สาคัญไหล่ผา่ น ได้แก่ ลาน้าเทพา ลานา้ ปัตตานี ลาน้าสายบรุ ี และลาน้านราธิวาส

๓ – ๔๔ ๘๔. ปญั หาแนวชายแดนท่สี าคัญ ๘๔.๑ การอ้างกรรมสทิ ธ์ิเหนอื เกาะ บริเวณปากแมน่ ้ากระบรุ ี อ.เมอื ง จว.ระนอง ไทย - เมียนมา อ้าง กรรมสิทธิ์ จานวน ๓ เกาะ ได้แก่ เกาะหลาม เกาะคัน เกาะขี้นก ๘๔.๒ หลักเขตแดนท่ี ๖๙ – ๗๒ อ.สุคิริน จว.นราธิวาส ไทย – มาเลเซีย มีความเห็นไม่ตรงกัน เกี่ยวกับตาแหน่งท่ีต้ังหลักเขตแดนที่ ๗๐ และ ๗๑ ปัจจุบันมีข้อตกลงว่า “จะปล่อยเร่ืองนี้ไว้ก่อนโดยไม่มี กาหนด” โดยใชค้ าภาษาอังกฤษว่า “Carbon Sink Approach”


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook